5. สาระการเรียนรู้ 5.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1) ลักษณะการกระท าความผิดทางอาญาและโทษ 2) ตัวอย่างการกระท าความผิดทางอาญา เช่น ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ 5.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา) 5.3 สาระการเรียนรู้ที่ได้จากสื่อ -กฎหมายอาญา • ลักษณะการกระท าความผิดทางอาญาและโทษทางอาญา • กระบวนการยุติธรรมทางอาญา 6. กิจกรรมการเรียนรู้(เชื่อมโยงในเรื่องที่บูรณาการด้วย Active Learning) วิธีสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ชั่วโมงที่ 1 7.ขั้นน า ขั้นที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบถึงวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชื่อเรื่อง ที่จะเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ 2. ครูน าภาพการกระท าความผิดทางอาญามาให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าการกระท า ผิดตามภาพมีผลกระทบต่อใครบ้าง สร้างปัญหาให้สังคมและประเทศชาติอย่างไร 3. ครูอาจสรุปให้เห็นว่า การกระท าผิดทางอาญา นอกจากจะมีผลต่อผู้ถูกกระท าแล้วยังมีผลกระทบ ที่เสียหายต่อสังคมอีกด้วย 4. ให้นักเรียนท าแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง กฎหมายอาญาเพื่อทดสอบความรู้ก่อนเรียน 8.ขั้นสอน ขั้นที่ 2 ส ารวจค้นหา (Explore) 1.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับกฎหมายอาญา จากหนังสือเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันมธัยมศึกษาปีที่ 3 หรือจากแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ เช่น หนังสือในห้องสมุด เว็บไซต์ ในอินเทอร์เน็ต 2.ครูแนะน าแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่น่าเชื่อถือให้กับนกัเรียนเพิ่มเติม ขั้นที่3 อธิบายความรู้ (Explain) 1. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มน าข้อมูลที่ตนได้จากการรวบรวม มาอธิบายแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน 2. จากน้นัสมาชิกในกลุ่มช่วยกนัคดัเลือกขอ้มูลที่นา เสนอเพื่อให้ไดข้อ้มูลที่ถูกตอ้ง
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนา เสนอขอ้มูลหน้าช้ันเรียนตามประเด็นที่ศึกษา อภิปรายและตอบ ค าถามร่วมกัน 4. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับกฎหมายอาญา และสุ่มตัวแทนนักเรียนเพื่อตอบค าถาม เช่น 1) องคป์ระกอบของการกระทา ความผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนาไดแ้ก่สิ่งใด (แนวตอบ มีการกระท าคือ การฆ่า มีผู้ถูกกระท าคือผู้ถูกฆ่าเป็ นผู้อื่น และมีเจตนา) 2) องคป์ระกอบของการกระทา ความผิดฐานฆ่าคนตายโดยไม่เจตนาไดแ้ก่สิ่งใด (แนวตอบ มีการท าร้ายผู้อื่น เป็นเหตุให้ผูถู้กทา ร้ายถึงแก่ความตายและมีเจตนาทา ร้ายแต่ไม่มี เจตนาฆ่า) 9.ขั้นสรุป ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Expand) 1. ครูให้นักเรียนท าใบงานที่ เรื่องการกระทา ความผิดทางอาญาโดยครูแนะนา เพิ่มเติม 2. ครูให้นักเรี ยนท าแบบฝึ กสมรรถนะฯ เกี่ยวกับเรื่อง กฎหมายอาญา เพื่อเป็ นการบ้านส่งครู ในชวั่โมงถดัไป 3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังน้ี กฎหมายอาญาเป็ นกฎหมาย ที่บญัญตัิว่าดว้ยการกระทา ความผิดและกา หนดโทษแก่ผูก้ระทา ความผิด โดยมีความมุ่งหมายที่จะรักษาความ สงบเรียบร้อยในสังคม กฎหมายอาญาจึงมีความส าคัญต่อชีวิตประจ าวัน เพื่อช่วยให้ด ารงชีวิตอยู่ในสังคได้ อย่างปกติสุข 10.ขั้นประเมิน ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบผลจากการตอบค าถามการท าใบงาน 2. ครูมอบหมายให้นกัเรียนทา ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างของ การกระท าความผิดระหว่างคดีแพ่งกับคดีอาญา 3. ให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กฎหมายอาญาเพื่อทดสอบความรู้ที่ได้ศึกษามา 11. การวัดและประเมินผล สิ่งที่ต้องการวัด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ 1.ด้านความรู้ (K) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรื่อง กฎหมายอาญา แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการ เรียนรู้ที่ 1 (ประเมินตามสภาพจริง) ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานกลุ่ม ตรวจ ใบงานเดี่ยว ใบงานกลุ่ม ใบงานเดี่ยว ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 2.ด้านทักษะ (P) สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบุคคล ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน กลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 3.ด้านเจตคติหรือจิตพิสัย (A) มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์
12. ภาระ / ชิ้นงาน / ร่องรอย /หลักฐานการเรียนรู้ 1. ใบงานกลุ่ม เรื่อง กฎหมายอาญา 2. ใบงานเดี่ยว เรื่อง กฎหมายอาญา 3.แบบประเมินการทดสอบก่อนเรียน/หลงัเรียน 13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 13.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนรรม ม.3 2) ใบความรู้ เรื่อง เรื่อง กฎหมายอาญา 3) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนรรม ม.3 4) ใบงานกลุ่ม เรื่อง กฎหมายอาญา 5) ใบงานเดี่ยว เรื่อง กฎหมายอาญา 13.2 แหล่งการเรียนรู้ -
บันทึกหลังสอน 1. ด้านความรู้ ( Knowledge) .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2. ด้านทักษะกระบวนการ ( Process) .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ( Attitude) .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ....................................................... ผู้สอน นางสาวกรรณานุต บ ารุงพงษ์ นิเทศการสอนและข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ....................................................... ( ) รองผู้อ านวยการฝ่ ายวิชาการ อนุมัติแผนจัดการเรียนรู้/ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ....................................................... ( ) ผู้อ านวยการโรงเรียน
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 กฎหมายอาญา กฎหมายอาญา 1. กฎหมายอาญาเป็ นกฎหมายที่มีวัตถุประสงค์ในการป้องกันสังคมให้เกิดความสงบเรียบร้อย โดยก าหนด ว่าการกระท าใดเป็ นความผิดอาญาและก าหนดโทษของผู้ฝ่ าฝื น 2. ลักษณะที่ส าคัญของกฎหมายอาญา คือเป็ นกฎหมายที่ก าหนดเป็ นความผิดชัดแจ้งและไม่มีผลบังคับ ยอ้นหลงัที่เป็นโทษแก่ผูก้ระทา ความผิด 3. โทษทางอาญามี 5 ชนิด คือ ประหารชีวิต จ าคุก กักขัง ปรับและริบทรัพย์สิน 4. การกระท าความผิดทางอาญามีบางกรณีที่กฎหมายยกเว้นโทษและยกเว้นความผิด 5. เด็กและเยาวชนกระท าความผิดอาจได้รับโทษต่างกับการกระท าความผิดของผู้ใหญ่ เนื่องจากเด็กและ เยาวชนเป็ นผู้อ่อนเยาว์ ปราศจากความรู้สึกรับผิดชอบ การลงโทษต้องค านึงถึงอายุของเด็กกระท าความผิด กฎหมายอาญา คือ กฎหมายที่ว่าด้วยความผิดและโทษที่ก าหนดไว้ส าหรับความผิด ตัวบทที่ ส าคัญๆ ของกฎหมายอาญาก็คือ ประมวลกฎหมายอาญา นอกจากประมวลกฎหมายอาญาแล้ว ยังมี พระราชบัญญัติอื่นๆที่กา หนดโทษทางอาญาส าหรับการฝ่าฝืนพระราชบญัญตัิน้ัน เช่น พระราชบญัญตัิยา เสพติดให้โทษ พระราชบัญญัติการพนัน เป็ นต้น ทุกสังคมยอ่มมีกฎเกณฑ์ขอ้บงัคบัความประพฤติของสมาชิกในสังคมน้นัๆ บุคคลใดมีการกระทา ที่ มีผลกระทบกระเทือนต่อสังคมหรือคนส่วนใหญ่ จัดเป็ นการกระท าความผิดทางอาญา ดงัน้นักฎหมายอาญา จึงเป็ นกฎหมายซึ่ งมีวัตถุประสงค์ในการป้องกันสังคม เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยโดยการก าหนดว่า การกระทา ใดเป็นความผิดอาญาและไดก้า หนดโทษของผูฝ้่าฝืน กระทา ความผิดน้นัๆ 1. ความผิดทางอาญา ความผิดทางอาญา คือ การกระท าที่มีผลกระทบกระเทือนต่อสังคมหรือคนส่วนใหญ่ของประเทศ เมื่อบุคคลใดกระทา ความผิดทางอาญา จะตอ้งไดร้ับโทษตามกฎหมายมากน้อยเพียงใดน้ันข้ึนอยู่กบัความ ร้ายแรงของการกระท าความผิด กฎหมายมิได้ถือว่าการกระท าความผิดทุกอย่างร้ายแรงเท่าเทียมกัน การลงโทษผู้กระทา ความผิดจึงข้ึนอยู่กบัการกระทา และสังคมมีความรู้สึกต่อการกระทา น้นัๆ ว่าอะไรเป็น ปัญหาส าคัญมากน้อยเพียงใด ซึ่งอาจจะแบ่งการกระท าความผิดอาญาออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ 1.1ความผิดต่อแผ่นดิน หมายถึงความผิดในทางอาญา ซ่ึงนอกจากเรื่องน้นัจะมีผลต่อตวัผูร้ับผลร้าย แล้วยังมีผลกระทบที่เสียหายต่อสังคมอีกด้วย และรัฐจ าเป็ นต้องป้องกันสังคมเอาไว้ด้วยการยื่นมือเข้ามาเป็ น ผูเ้สียหายเอง ดงัน้ันแมผู้ร้ับผลร้ายจากการกระทา โดยตรงจะไม่ติดใจเอาความ แต่ก็ยงัตอ้งเขา้ไปดา เนินคดี ฟ้องร้องเอาตัวผู้กระท าผิดมาลงโทษให้ได้
1.2 ความผิดอันยอมความกันได้ หมายถึง ความผิดในทางอาญาซึ่งไม่ได้มีผลร้ายกระทบต่อสังคม โดยตรง หากตัวผู้รับผลร้ายไม่ติดใจเอาความแล้ว รัฐก็ไม่อาจยื่นมือเข้าไปด าเนินคดีกับผู้กระท าความผิดได้ และถึงแม้จะด าเนินคดีไปแล้ว เมื่อตัวผู้เสียหายพอใจยุติคดีเพียงใดก็ย่อมท าได้ด้วยการถอนค าร้องทุกข์ ถอน ฟ้อง หรือยอมความ เช่น ความผิดฐานหมิ่นประมาท ความผิดเกี่ยวกบัเสรีภาพ เป็นตน้ 2. ลักษณะส าคัญของกฎหมายอาญา 2.1 เป็ นกฎหมายที่ก าหนดเป็ นความผิดชัดแจ้ง ในขณะกระท าความผิดต้องมีกฎหมายบัญญัติไว้แล้ว อย่างชัดแจง้ว่าการกระทา น้ันเป็นความผิด เจา้หน้าที่ผูใ้ช้กฎหมายจะสร้างกฎหมายใหม่ข้ึนมาใช้บงัคบัแก่ ประชาชนคนใดคนหน่ึงโดยเฉพาะไม่ได้เช่น กฎหมายบญัญตัิว่า “การลกัทรัพยเ์ป็นความผิด” ดงัน้ัน ผูใ้ด ลักทรัพย์ก็ย่อมมีความผิดเช่นเดียวกัน 2.2 เป็ นกฎหมายที่ไม่มีผลย้อนหลัง เป็ นโทษไม่ได้แต่เป็ นคุณได้ ถ้าหากในขณะที่มีการกระทา สิ่งใด ยงัไม่มีกฎหมายบญัญตัิว่าเป็นความผิด แมต้่อมาภายหลงัจะมีกฎหมายบญัญตัิว่าการกระทา อยา่งเดียวกนัน้ัน เป็ นความผิด ก็จะน ากฎหมายใหม่ใช้กับผู้กระท าผิดคนแรกไม่ได้ 3. โทษทางอาญา 1) ประหารชีวิต คือ น าตัวไปยิงด้วยปื นให้ตาย 2) จ าคุกคือ น าตัวไปขังไว้ที่เรือนจ า 3) กักขัง คือน าตัวไปขังไว้ ณ ที่อื่น ที่ไม่ใช่เรือนจ า เช่น น าไปขังไว้ที่สถานีต ารวจ 4) ปรับ คือ นา ค่าปรับซ่ึงเป็นเงินไปชา ระให้แก่เจา้พนกังาน 5)ริบทรัพยส์ิน คือริบเอาทรัพยส์ินน้นัเป็นของหลวง เช่น ปืนเถื่อน ให้ริบ ฯลฯ 4. บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาและได้รับโทษทางอาญาเมื่อใด บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาต่อเมื่อ 4.1 กระท าโดยเจตนา คือ การกระท าโดยรู้ส านึกในการที่กระท าและในขณะเดียวกันผู้กระท าประสงค์ ต่อผลหรือยอ่มเล็งเห็นผลของการกระทา น้นั 4.2 กระท าโดยไม่เจตนา แต่ต้องเป็ นกรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้ โดยแจ้งชัดให้รับผิดแม้กระท าโดยไม่ เจตนากระท าโดยไม่เจตนา คือ ผูก้ระทา ไม่ไดป้ระสงค์ต่อผล หรือไม่อาจเล็งเห็นผลของการกระทา น้นั ได้ เช่น เราผลกัเพื่อนเพียงจะหยอกลอ้เท่าน้ัน แต่บงัเอิญเพื่อนลม้ลงไป ศีรษะฟาดขอบถนนถึงแก่ความตาย เป็ นต้น 4.3 กระท าโดยประมาท แต่ต้องเป็ นกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ต้องรับผิดเมื่อได้กระท าโดยประมาท การกระท าโดยประมาท คือ การกระท าความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระท าโดยปราศจากความระมัดระวัง ซ่ึงบุคคลในภาวะเช่นน้ันจะตอ้งมีตามวิสัยและพฤติการณ์และผูก้ระทา อาจใช้ความระมดัระวงัเช่นว่าน้ีได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่ อนึ่ง “การกระท า” ไม่ไดห้มายความเฉพาะถึงการลงมือกระทา สิ่งใดสิ่งหน่ึงเท่าน้นัแต่หมายความ รวมถึงการงดเวน้การกระทา โดยประสงคใ์ห้เกิดผลและเล็งเห็นผลที่จะเกิดเช่น แม่จงใจทิ้งลูกไม่ให้กินขา้ว
จนทา ให้ลูกตาย ตามกฎหมายแม่มีหน้าที่จะต้องเล้ียงดูลูกเมื่อแม่ละเลยไม่ทา หน้าที่ดังกล่าวจึงเป็ นเหตุ ให้ลูกตาย ย่อมเป็นการกระทา ความผิดโดยงดเวน้ถ้าการงดเวน้น้ันมีเจตนางดเวน้ก็ต้องรับผิดในฐานะ กระท าโดยเจตนา ถือว่าเป็ นความผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา
ใบงานกลุ่ม เรื่อง กฎหมายอาญา คำชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านกรณีตัวอย่างแล้วตอบคำถาม กรณีตัวอย่างที่ 1 นายหมึกทะเลาะกบันางปลาถึงข้นัทา ร้ายร่างกายกนันางปลาสู้นายหมึกไม่ไดจ้ึงใชม้ีดปลายแหลมแทง นายหมึก จา นวน 8คร้ัง นายหมึกถึงแก่ความตายทนัที นางปลามีความผิดฐานใด ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. กรณีตัวอย่างที่ 2 นายก้อนต่อว่านายเกิดที่มาจีบคนรักของนายก้อน นายเกิดพูดจาย้อนนายก้อนท าให้นายก้อนชก นายเกิดทา ให้นายเกิดลม้ลงและพลาดตกบนัไดศีรษะฟาดพ้ืนถึงแก่ความตาย นายก้อนมีความผิดฐานใด ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. กรณีตัวอย่างที่ 3 นางสาวทับทิมยืนอยู่หน้าบ้าน ถูกนายต้านกระชากโทรศัพท์มือถือของนางสาวทับทิมไปแล้ว ขี่รถจักรยานยนต์หนีไปแต่ต ารวจสามารถจับนายต้านได้ทันที นายต้านมีความผิดฐานใด ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ชื่อ-นามสกุล..........................................................................................เลขที่................................. ชื่อ-นามสกุล..........................................................................................เลขที่................................. ชื่อ-นามสกุล..........................................................................................เลขที่................................. ชื่อ-นามสกุล..........................................................................................เลขที่................................. ชื่อ-นามสกุล..........................................................................................เลขที่.................................
เฉลย ใบงานกลุ่ม เรื่อง กฎหมายอาญา กรณีตัวอย่างที่ 1 นายหมึกทะเลาะกบันางปลาถึงข้นัทา ร้ายร่างกายกนันางปลาสู้นายหมึกไม่ไดจ้ึงใชม้ีดปลายแหลมแทง นายหมึก จา นวน 8คร้ัง นายหมึกถึงแก่ความตายทนัที นางปลามีความผิดฐานใด นางปลามีความผิดฐานเจตนาฆ่านายหมึก เข้าองค์ประกอบ คือ นางปลารู้ส านึกในการเคลื่อนไหวร่างกาย และประสงค์ต่อผลที่เกิดตามที่คิดไวแ้ละเล็งเห็นผลของการกระทา น้ัน คือ การแทงนายหมึกถึง 8 คร้ัง ย่อมเล็งเห็นผลว่านายหมึกตอ้งถึงแก่ความตาย กรณีตัวอย่างที่ 2 นายก้อนต่อว่านายเกิดที่มาจีบคนรักของนายก้อน นายเกิดพูดจาย้อนนายก้อนท าให้นายก้อนชก นายเกิดทา ให้นายเกิดลม้ลงและพลาดตกบนัไดศีรษะฟาดพ้ืนถึงแก่ความตาย นายก้อนมีความผิดฐานใด นายก้อนมีความผิดฐานฆ่าคนตายโดยไม่เจตนา เข้าองค์ประกอบความผิด คือ เป็ นการกระท าโดยรู้สึกนึกแต่ ผูก้ระทา ไม่ประสงคต์ ่อผลหรือไม่อาจเล็งเห็นผลของการกระทา ว่าจะเกิดข้ึน กรณีตัวอย่างที่ 3 นางสาวทับทิมยืนอยู่หน้าบ้าน ถูกนายต้านกระชากโทรศัพท์มือถือของนางสาวทับทิมไปแล้ว ขี่รถจักรยานยนต์หนีไปแต่ต ารวจสามารถจับนายต้านได้ทันที นายต้านมีความผิดฐานใด นายตา้นมีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์เขา้องคป์ระกอบความผิด คือเป็นการลกัทรัพยโ์ดยฉกฉวยเอาซ่ึงหนา้ (แนวตอบ)
ใบงานเดี่ยว เรื่อง กฎหมายอาญา ชื่อ...................................................................................................................ชั้น......................เลขที่............... ค าชี้แจง ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะการกระท าความผิดทางอาญา โดยการ ตอบคา ถาม ดงัน้ี • ลักษณะของการกระท าความผิดทางอาญามีกี่ลักษณะ อะไรบ้าง และการกระท าแต่ละ ลักษณะ เป็ นอย่างไร โดยบันทึกค าตอบของนักเรียนเป็ นแผนภาพความคิดบนกระดาน ดังตัวอย่าง ......................... การกระทา ที่ผูก้ระทา ต้งัใจ จงใจ หรือมุ่งหมายโดยส านึก ในการกระท าและผู้กระท าประสงค์ผล คือ คาดหมายได้ว่า ผลน้นัจะเกิดข้ึนอยา่งไร ลักษณะการกระท า ความผิดทางอาญา ........................... การกระท าไปเพราะความประมาทหรื อไม่มีความ ระมัดระวังจนทา ให้ผูอ้ื่นได้รับบาดเจ็บหรือถึงแก่ความ ตาย ........................ การกระท าที่ผู้กระท าไม่มีเจตนา แต่ผู้กระท าก็ต้องรับผิด เพราะกฎหมายก าหนดให้ต้องรับผิด ซึ่งมีก าหนดไว้ใน กฎหมายอาญาไดแ้ก่ความผิดลหุโทษ
เฉลย ใบงานเดี่ยว เรื่อง กฎหมายอาญา ชื่อ...................................................................................................................ชั้น......................เลขที่............... ค าชี้แจง ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะการกระท าความผิดทางอาญา โดยการ ตอบคา ถาม ดงัน้ี • ลักษณะของการกระท าความผิดทางอาญามีกี่ลักษณะ อะไรบ้าง และการกระท าแต่ละ ลักษณะ เป็ นอย่างไร โดยบันทึกค าตอบของนักเรียนเป็ นแผนภาพความคิดบนกระดาน ดังตัวอย่าง (แนวตอบ) การกระท าโดยเจตนา ....................... การกระทา ที่ผูก้ระทา ต้งัใจ จงใจ หรือมุ่งหมายโดยส านึก ในการกระท าและผู้กระท าประสงค์ผล คือ คาดหมายได้ว่า ผลน้นัจะเกิดข้ึนอยา่งไร ลักษณะการกระท า ความผิดทางอาญา การกระท าโดยประมาท การกระท าไปเพราะความประมาทหรื อไม่มีความ ระมัดระวังจนทา ให้ผูอ้ื่นได้รับบาดเจ็บหรือถึงแก่ความ ตาย การกระท าโดยไม่เจตนา การกระท าที่ผู้กระท าไม่มีเจตนา แต่ผู้กระท าก็ต้องรับผิด เพราะกฎหมายก าหนดให้ต้องรับผิด ซึ่งมีก าหนดไว้ใน กฎหมายอาญาไดแ้ก่ความผิดลหุโทษ
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง กฎหมายอาญา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ค าสั่ง ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดโดยกากบาทลงในช่องกระดาษค าตอบที่ก าหนดให้พียงค าตอบ เดียว 1. ข้อใดให้ความหมายของค าว่า “กฎหมาย” ได้ถูกต้องมากที่สุด 1 จารีตหรือประเพณีของคนในสังคม 2 กฎ ระเบียบที่ทุกคนต้องปฏิบัติตาม 3 บรรทัดฐานของการอยู่ร่วมกันในสังคม 4 กฎที่ควรปฏิบัติตาม ไม่มีบทลงโทษที่แน่นอน 2. กฎหมายอาญาหมายถึงข้อใด 1 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับมรดก 2 กฎหมายที่เกี่ยวขอ้งกบัการชดใชห้น้ี 3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการท านิติกรรม 4 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันของคนในสังคม 3. หลักเกณฑ์ที่ส าคัญของกฎหมายอาญาคือข้อใด 1 ผูก้ระทา ความผิดตอ้งชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนให้แก่ผูเ้สียหาย 2 เป็ นข้อผูกพันทางกฎหมายที่ต้องมีการชดใช้ค่าเสียหาย 3 ไม่มีโทษ ถ้ากฎหมายไม่บัญญัติไว้ให้ต้องรับโทษ 4 เป็ นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเอกชน 4. การกระท าในข้อใดมีพฤติกรรมกระท าความผิดทางอาญาโดยเจตนา 1 ต้งัใจต่อยเพื่อน เพราะโมโหที่เพื่อนขโมยโทรศพัทเ์คลื่อนที่ของตนไป 2 ถีบจักรยานด้วยความเร็วจนเป็ นเหตุให้ไปชนผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ 3 ใชห้นงัสติ๊กยิงนายสุวิทยแ์ต่พลาดไปโดนนายสมชาย 4 ต้งัใจไม่คืนเงินที่ยืมมาจากเจา้หน้ี
5. ข้อใดไม่ใช่โทษทางอาญา 1 ปรับ 2 กักกัน 3 ประหารชีวิต 4 ริบทรัพย์สิน 6. ข้อใดหมายถึงการรับผิดทางแพ่ง 1 การลงโทษผู้ที่กระท าความผิดด้วยการจ าคุก 2 การน าตัวผู้ที่กระท าความผิดไปคุมขังไว้ที่เรือนจ า 3 การมีหนา้ที่ผูกพนัตามกฎหมายที่จะตอ้งชา ระหน้ี 4 การลงโทษผู้กระท าความผิดด้วยการริบทรัพย์สินให้ตกเป็ นของแผ่นดิน 7. “สิทธิมนุษยชน” มีความส าคัญต่อมนุษย์อย่างไร 1 สิ่งที่ทา ให้เกิดการแบ่งชนช้นัข้ึนในสังคม 2 สิ่งที่ทา ให้มนุษยม์ ีฐานะทางสังคมเท่าเทียมกนั 3 สิ่งที่ทา ให้มนุษยใ์ชช้ีวิตไดอ้ยา่งอิสระไร้ขีดจา กดั 4 สิ่งที่ทา ให้มนุษยไ์ดร้ับการคุม้ครองและมีความเสมอภาคในการดา รงชีวิต 8. การท าประชาพิจารณ์ของประชาชนเป็ นการแสดงออกถึงการใช้สิทธิด้านใด 1 สิทธิในการมีส่วนร่วมในกระบวนการพิจารณาของเจ้าหน้าที่รัฐ 2 สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย 3 สิทธิในการฟ้องร้องหน่วยงานต่าง ๆ 4 สิทธิในกระบวนการยุติธรรม 9. การกระท าในข้อใดสอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐ 1 ตรวจสอบรายชื่อผูม้ีสิทธิเลือกต้งัก่อนการเลือกต้งั 2 ประชาชนมีสิทธิเขา้ชื่อถอดถอนสมาชิกสภาทอ้งถิ่น 3 ประชาชนในทอ้งถิ่นร่วมกนัต่อตา้นการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน 4 ประชาชนในทอ้งถิ่นเขา้ร่วมประเพณีเพื่อการอนุรักษ์วัฒนธรรมที่ดีงามของชาติ 10. บทบญัญตัิเกี่ยวกบัการเลือกต้งัขอ้ใดกล่าวถึงคุณสมบตัิของผูม้ีสิทธิเลือกต้งัไม่ถูกต้อง 1 มีอายไุม่ต่า กว่า18 ปีบริบูรณ์ในวนัเลือกต้งั 2 มีสัญชาติไทยเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี 3 มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านไม่น้อยกว่า 30 วัน 4 ต้องไม่เป็ นภิกษุ สามเณร หรือนักบวช
(เฉลย) แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง กฎหมายอาญา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ค าสั่ง ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดโดยกากบาทลงในช่องกระดาษค าตอบที่ก าหนดให้พียงค าตอบ เดียว 1. ข้อใดให้ความหมายของค าว่า “กฎหมาย” ได้ถูกต้องมากที่สุด 1 จารีตหรือประเพณีของคนในสังคม 2 กฎ ระเบียบที่ทุกคนต้องปฏิบัติตาม 3 บรรทัดฐานของการอยู่ร่วมกันในสังคม 4 กฎที่ควรปฏิบัติตาม ไม่มีบทลงโทษที่แน่นอน 2. กฎหมายอาญาหมายถึงข้อใด 1 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับมรดก 2 กฎหมายที่เกี่ยวขอ้งกบัการชดใชห้น้ี 3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการท านิติกรรม 4 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันของคนในสังคม 3. หลักเกณฑ์ที่ส าคัญของกฎหมายอาญาคือข้อใด 1 ผูก้ระทา ความผิดตอ้งชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนให้แก่ผูเ้สียหาย 2 เป็ นข้อผูกพันทางกฎหมายที่ต้องมีการชดใช้ค่าเสียหาย 3 ไม่มีโทษ ถ้ากฎหมายไม่บัญญัติไว้ให้ต้องรับโทษ 4 เป็ นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเอกชน 4. การกระท าในข้อใดมีพฤติกรรมกระท าความผิดทางอาญาโดยเจตนา 1 ต้งัใจต่อยเพื่อน เพราะโมโหที่เพื่อนขโมยโทรศพัทเ์คลื่อนที่ของตนไป 2 ถีบจักรยานด้วยความเร็วจนเป็ นเหตุให้ไปชนผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ 3 ใชห้นงัสติ๊กยิงนายสุวิทยแ์ต่พลาดไปโดนนายสมชาย 4 ต้งัใจไม่คืนเงินที่ยืมมาจากเจา้หน้ี
5. ข้อใดไม่ใช่โทษทางอาญา 1 ปรับ 2 กักกัน 3 ประหารชีวิต 4 ริบทรัพย์สิน 6. ข้อใดหมายถึงการรับผิดทางแพ่ง 1 การลงโทษผู้ที่กระท าความผิดด้วยการจ าคุก 2 การน าตัวผู้ที่กระท าความผิดไปคุมขังไว้ที่เรือนจ า 3 การมีหนา้ที่ผูกพนัตามกฎหมายที่จะตอ้งชา ระหน้ี 4 การลงโทษผู้กระท าความผิดด้วยการริบทรัพย์สินให้ตกเป็ นของแผ่นดิน 7. “สิทธิมนุษยชน” มีความส าคัญต่อมนุษย์อย่างไร 1 สิ่งที่ทา ให้เกิดการแบ่งชนช้นัข้ึนในสังคม 2 สิ่งที่ทา ให้มนุษยม์ ีฐานะทางสังคมเท่าเทียมกนั 3 สิ่งที่ทา ให้มนุษยใ์ชช้ีวิตไดอ้ยา่งอิสระไร้ขีดจา กดั 4 สิ่งที่ทา ให้มนุษยไ์ดร้ับการคุม้ครองและมีความเสมอภาคในการดา รงชีวิต 8. การท าประชาพิจารณ์ของประชาชนเป็ นการแสดงออกถึงการใช้สิทธิด้านใด 1 สิทธิในการมีส่วนร่วมในกระบวนการพิจารณาของเจ้าหน้าที่รัฐ 2 สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย 3 สิทธิในการฟ้องร้องหน่วยงานต่าง ๆ 4 สิทธิในกระบวนการยุติธรรม 9. การกระท าในข้อใดสอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐ 1 ตรวจสอบรายชื่อผูม้ีสิทธิเลือกต้งัก่อนการเลือกต้งั 2 ประชาชนมีสิทธิเขา้ชื่อถอดถอนสมาชิกสภาทอ้งถิ่น 3 ประชาชนในทอ้งถิ่นร่วมกนัต่อตา้นการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน 4 ประชาชนในทอ้งถิ่นเขา้ร่วมประเพณีเพื่อการอนุรักษว์ฒันธรรมที่ดีงามของชาติ 10. บทบญัญตัิเกี่ยวกบัการเลือกต้งัขอ้ใดกล่าวถึงคุณสมบตัิของผูม้ีสิทธิเลือกต้งัไม่ถูกต้อง 1 มีอายไุม่ต่า กว่า18 ปีบริบูรณ์ในวนัเลือกต้งั 2 มีสัญชาติไทยเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี 3 มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านไม่น้อยกว่า 30 วัน 4 ต้องไม่เป็ นภิกษุ สามเณร หรือนักบวช
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กฎหมายอาญา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ค าสั่ง ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดโดยกากบาทลงในกระดาษค าตอบที่ก าหนดให้พียงค าตอบเดียว 1. การกระท าในข้อใดสอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐ 1 ตรวจสอบรายชื่อผูม้ีสิทธิเลือกต้งัก่อนการเลือกต้งั 2 ประชาชนมีสิทธิเขา้ชื่อถอดถอนสมาชิกสภาทอ้งถิ่น 3 ประชาชนในทอ้งถิ่นร่วมกนัต่อตา้นการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน 4 ประชาชนในทอ้งถิ่นเขา้ร่วมประเพณีเพื่อการอนุรักษว์ฒันธรรมที่ดีงามของชาติ 2. บทบัญญัติเกี่ยวกับการเลือกต้งัขอ้ใดกลา่วถึงคุณสมบตัิของผูม้ีสิทธิเลือกต้งัไม่ถูกต้อง 1 มีอายไุม่ต่า กว่า18 ปีบริบูรณ์ในวนัเลือกต้งั 2 มีสัญชาติไทยเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี 3 มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านไม่น้อยกว่า 30 วัน 4 ต้องไม่เป็ นภิกษุ สามเณร หรือนักบวช 3. ข้อใดหมายถึงการรับผิดทางแพ่ง 1 การลงโทษผู้ที่กระท าความผิดด้วยการจ าคุก 2 การน าตัวผู้ที่กระท าความผิดไปคุมขังไว้ที่เรือนจ า 3 การมีหนา้ที่ผูกพนัตามกฎหมายที่จะตอ้งชา ระหน้ี 4 การลงโทษผู้กระท าความผิดด้วยการริบทรัพย์สินให้ตกเป็ นของแผ่นดิน 4. “สิทธิมนุษยชน” มีความส าคัญต่อมนุษย์อย่างไร 1 สิ่งที่ทา ให้เกิดการแบ่งชนช้นัข้ึนในสังคม 2 สิ่งที่ทา ให้มนุษยม์ ีฐานะทางสังคมเท่าเทียมกนั 3 สิ่งที่ทา ให้มนุษยใ์ชช้ีวิตไดอ้ยา่งอิสระไร้ขีดจา กดั 4 สิ่งที่ทา ให้มนุษยไ์ดร้ับการคุม้ครองและมีความเสมอภาคในการดา รงชีวิต 5. การท าประชาพิจารณ์ของประชาชนเป็ นการแสดงออกถึงการใช้สิทธิด้านใด 1 สิทธิในการมีส่วนร่วมในกระบวนการพิจารณาของเจ้าหน้าที่รัฐ 2 สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย 3 สิทธิในการฟ้องร้องหน่วยงานต่าง ๆ 4 สิทธิในกระบวนการยุติธรรม
6. ข้อใดให้ความหมายของค าว่า “กฎหมาย” ได้ถูกต้องมากที่สุด 1 จารีตหรือประเพณีของคนในสังคม 2 กฎ ระเบียบที่ทุกคนต้องปฏิบัติตาม 3 บรรทัดฐานของการอยู่ร่วมกันในสังคม 4 กฎที่ควรปฏิบัติตาม ไม่มีบทลงโทษที่แน่นอน 7. กฎหมายอาญาหมายถึงข้อใด 1 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับมรดก 2 กฎหมายที่เกี่ยวขอ้งกบัการชดใชห้น้ี 3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการท านิติกรรม 4 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันของคนในสังคม 8. หลักเกณฑ์ที่ส าคัญของกฎหมายอาญาคือข้อใด 1 ผูก้ระทา ความผิดตอ้งชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนให้แก่ผูเ้สียหาย 2 เป็ นข้อผูกพันทางกฎหมายที่ต้องมีการชดใช้ค่าเสียหาย 3 ไม่มีโทษ ถ้ากฎหมายไม่บัญญัติไว้ให้ต้องรับโทษ 4 เป็ นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเอกชน 9. การกระท าในข้อใดมีพฤติกรรมกระท าความผิดทางอาญาโดยเจตนา 1 ต้งัใจต่อยเพื่อน เพราะโมโหที่เพื่อนขโมยโทรศพัทเ์คลื่อนที่ของตนไป 2 ถีบจักรยานด้วยความเร็วจนเป็ นเหตุให้ไปชนผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ 3 ใชห้นงัสติ๊กยิงนายสุวิทยแ์ต่พลาดไปโดนนายสมชาย 4 ต้งัใจไม่คืนเงินที่ยืมมาจากเจา้หน้ี 10. ข้อใดไม่ใช่โทษทางอาญา 1 ปรับ 2 กักกัน 3 ประหารชีวิต 4 ริบทรัพย์สิน
(เฉลย) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กฎหมายอาญา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ค าสั่ง ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดโดยกากบาทลงในกระดาษค าตอบที่ก าหนดให้พียงค าตอบเดียว 1. การกระท าในข้อใดสอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐ 1 ตรวจสอบรายชื่อผูม้ีสิทธิเลือกต้งัก่อนการเลือกต้งั 2 ประชาชนมีสิทธิเขา้ชื่อถอดถอนสมาชิกสภาทอ้งถิ่น 3 ประชาชนในทอ้งถิ่นร่วมกนัต่อตา้นการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน 4 ประชาชนในทอ้งถิ่นเขา้ร่วมประเพณีเพื่อการอนุรักษว์ฒันธรรมที่ดีงามของชาติ 2. บทบญัญตัิเกี่ยวกบัการเลือกต้งัขอ้ใดกลา่วถึงคุณสมบตัิของผูม้ีสิทธิเลือกต้งัไม่ถูกต้อง 1 มีอายุไม่ต ่ากว่า 18 ปี บริบูรณ์ในวันเลือกต้งั 2 มีสัญชาติไทยเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี 3 มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านไม่น้อยกว่า 30 วัน 4 ต้องไม่เป็ นภิกษุ สามเณร หรือนักบวช 3. ข้อใดหมายถึงการรับผิดทางแพ่ง 1 การลงโทษผู้ที่กระท าความผิดด้วยการจ าคุก 2 การน าตัวผู้ที่กระท าความผิดไปคุมขังไว้ที่เรือนจ า 3 การมีหนา้ที่ผูกพนัตามกฎหมายที่จะตอ้งชา ระหน้ี 4 การลงโทษผู้กระท าความผิดด้วยการริบทรัพย์สินให้ตกเป็ นของแผ่นดิน 4. “สิทธิมนุษยชน” มีความส าคัญต่อมนุษย์อย่างไร 1 สิ่งที่ทา ให้เกิดการแบ่งชนช้นัข้ึนในสังคม 2 สิ่งที่ทา ให้มนุษยม์ ีฐานะทางสังคมเท่าเทียมกนั 3 สิ่งที่ทา ให้มนุษยใ์ชช้ีวิตไดอ้ยา่งอิสระไร้ขีดจา กดั 4 สิ่งที่ทา ให้มนุษยไ์ดร้ับการคุม้ครองและมีความเสมอภาคในการดา รงชีวิต 5. การท าประชาพิจารณ์ของประชาชนเป็ นการแสดงออกถึงการใช้สิทธิด้านใด 1 สิทธิในการมีส่วนร่วมในกระบวนการพิจารณาของเจ้าหน้าที่รัฐ 2 สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย 3 สิทธิในการฟ้องร้องหน่วยงานต่าง ๆ 4 สิทธิในกระบวนการยุติธรรม
6. ข้อใดให้ความหมายของค าว่า “กฎหมาย” ได้ถูกต้องมากที่สุด 1 จารีตหรือประเพณีของคนในสังคม 2 กฎ ระเบียบที่ทุกคนต้องปฏิบัติตาม 3 บรรทัดฐานของการอยู่ร่วมกันในสังคม 4 กฎที่ควรปฏิบัติตาม ไม่มีบทลงโทษที่แน่นอน 7. กฎหมายอาญาหมายถึงข้อใด 1 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับมรดก 2 กฎหมายที่เกี่ยวขอ้งกบัการชดใชห้น้ี 3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการท านิติกรรม 4 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันของคนในสังคม 8. หลักเกณฑ์ที่ส าคัญของกฎหมายอาญาคือข้อใด 1 ผูก้ระทา ความผิดตอ้งชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนให้แก่ผูเ้สียหาย 2 เป็ นข้อผูกพันทางกฎหมายที่ต้องมีการชดใช้ค่าเสียหาย 3 ไม่มีโทษ ถ้ากฎหมายไม่บัญญัติไว้ให้ต้องรับโทษ 4 เป็ นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเอกชน 9. การกระท าในข้อใดมีพฤติกรรมกระท าความผิดทางอาญาโดยเจตนา 1 ต้งัใจต่อยเพื่อน เพราะโมโหที่เพื่อนขโมยโทรศพัทเ์คลื่อนที่ของตนไป 2 ถีบจักรยานด้วยความเร็วจนเป็ นเหตุให้ไปชนผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ 3 ใชห้นงัสติ๊กยิงนายสุวิทยแ์ต่พลาดไปโดนนายสมชาย 4 ต้งัใจไม่คืนเงินที่ยืมมาจากเจา้หน้ี 10. ข้อใดไม่ใช่โทษทางอาญา 1 ปรับ 2 กักกัน 3 ประหารชีวิต 4 ริบทรัพย์สิน
แบบประเมินผลงานนักเรียน ชื่อ - นามสกุล......................................................................................................... เลขที่ .................... ค าชี้แจง: ให้ครูผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน ใส่เครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับ ระดับคะแนน รายการประเมิน ระดับคะแนน 5 4 3 2 1 1. รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย 2. น าเสนอผลงานได้น่าสนใจ 3. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 4. ท างานเสร็จตามเวลาที่ก าหนด รวม รวมคะแนนสุทธิ ระดับเกณฑ์คุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างดีเยี่ยม 5 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างดีมาก 4 คะแนน ปฏิบตัิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง 3 คะแนน ปฏิบตัิหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้งั2 คะแนน ปฏิบตัิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ยคร้งั1 คะแนน เกณฑ์การประเมิน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 17 -20 ดีเยี่ยม 13 -16 ดีมาก 9 -12 ดี 5 -8 พอใช้ ต ่ากว่า 4 ปรับปรุง ลงชื่อ ................................................ครูผู้สอน (นางสาวกรรณานุต บ ารุงพงษ์)
แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม สมาชิก 1 ..........................................................................................................เลขที่ .................. 2 ..........................................................................................................เลขที่ .................. 3 ..........................................................................................................เลขที่ .................. 4 ..........................................................................................................เลขที่ ................. 5 ..........................................................................................................เลขที่ .................. ค าชี้แจง: ให้ครูผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน ใส่เครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับ ระดับคะแนน รายการประเมิน ระดับคะแนน 5 4 3 2 1 1. ต้งัใจและมีความสามคัคีกนั ในกลุ่ม 2. ร่วมมือกันในการหาค าตอบภายในกลุ่ม 3. มีความรอบคอบในการท างาน 4. เกิดทักษะกระบวนการ 5. ช่วยกันคิด แก้ไขปัญหาที่ได้รับมอบหมาย 6. กระตือรือร้นในการท างาน 7. ช่วยกันแสดงความคิดเห็นภายในกลุ่ม 8. เน้ือหาผลงานที่นา เสนอถูกตอ้งครบถว้น 9. การน าเสนอผลงานได้น่าสนใจ 10. ผลงานภายในกลุ่มเสร็จตามเวลาที่ก าหนด รวม รวมคะแนนสุทธิ ระดับเกณฑ์คุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างดีเยี่ยม 5 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างดีมาก 4 คะแนน ปฏิบตัิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง 3 คะแนน ปฏิบตัิหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง 2 คะแนน ปฏิบตัิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ยคร้ัง 1 คะแนน
เกณฑ์การประเมิน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 45 - 50 ดีเยี่ยม 39 – 44 ดีมาก 33 - 38 ดี 25 - 32 พอใช้ ต ่ากว่า 25 ปรับปรุง ลงชื่อ ........................................................ (นางสาวกรรณานุต บ ารุงพงษ์) ครูผู้สอน
แบบประเมินเจตคติหรือจิตพิสัยของนักเรียน ชื่อ - นามสกุล................................................................................................. ชั้น ............เลขที่............ คำชี้แจง: ให้ครูผู้สอนสังเกตจิตพิสัยของนักเรียน (E-PLC) ในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน ใส่เครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน เจตคติหรือจิต พิสัย รายการประเมิน ระดับคะแนน 5 4 3 2 1 1. มีวินัย 1. ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัวและโรงเรี ยน มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติ กิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน มีความรับผิดชอบ 2. ใฝ่ เรียนรู้ 1. ต้งัใจเรียน เอาใจใส่ในการเรียน และมีความเพียรพยายาม ในการเรียน 2. เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ 3.ศึกษาคน้ควา้หาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ แหล่งการเรียนรู้ท้ังภายในและภายนอก โรงเรียน และเลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะสม 1. บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็ นองค์ความรู้ 5. แลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยวิธีการต่างๆ และน าไปใช้ใน ชีวิตประจ าวัน 3. มุ่งมั่นในการ ท างาน 1. มีความต้งัใจและพยายามในการทา งานที่ไดร้ับมอบหมาย 2. มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ รวม รวมคะแนนสุทธิ ระดับเกณฑ์คุณภาพ
เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างดีเยี่ยม 5 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างดีมาก 4 คะแนน ปฏิบตัิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง 3 คะแนน ปฏิบตัิหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง 2 คะแนน ปฏิบตัิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ยคร้ัง 1 คะแนน เกณฑ์การประเมิน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 45 -50 ดีเยี่ยม 39 – 44 ดีมาก 33 -38 ดี 25 -32 พอใช้ ต ่ากว่า 25 ปรับปรุง ลงชื่อ ........................................................... (นางสาวกรรณานุต บ ารุงพงษ์) ครูผู้สอน
แบบประเมินความพึงพอใจต่อการสอนของครู และการหาประสิทธิภาพของครู คำชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านรายละเอียดแล้วประเมินครูผู้สอน (E-PLC ของครู) จากการเรียนการสอนแล้วขีด✓ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน ตอนที่1ข้อมูลทั่วไป 1. เพศ ชาย หญิง 2. อายุ....................ปี ตอนที่ 2 แบบสำรวจความพึงพอใจต่อการสอน มีดังต่อไปนี้ ข้อ รายการ ระดับเกณฑ์การประเมิน 5 4 3 2 1 ด้านกระบวนการเรียนการสอน 1 ครูดูความพร้อมของนักเรียนทุกครั้งก่อนลงมือสอน 2 ครูใช้เทคนิคเร้าความสนใจนำเข้าสู่บทเรียน 3 ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน 4 ครูมีบทสรุปท้ายบทเรียนในชั่วโมงทุกครั้ง ด้านการใช้สื่อการสอนและการปกครองชั้นเรียนของครู 5 ครูมีสื่อประกอบการสอนที่หลากหลาย 6 ครูสร้างบรรยากาศในห้องเรียนเป็นกันเองและน่าเรียน 7 ครูสามารถควบคุมชั้นเรียนได้ดี 8 ครูมีแบบทดสอบและเอกสารประกอบการสอน ด้านบุคลิกภาพของครู 9 ครูแต่งกายสะอาดเรียบร้อย 10 ครูใช้ภาษาที่เข้าใจง่ายและสุภาพ 11 ครูมีกิริยาท่าทางกระตือรือร้น ด้านการเรียนการสอนนักเรียน 12 นักเรียนเพลิดเพลินกับกิจกรรมการเรียนการสอน 13 เรื่องนี้มีประโยชน์ในชีวิตประจำวัน 14 นักเรียนทำงานร่วมกันอย่างมีความสุขในเรื่องนี้ 15 เรื่องนี้เป็นวิชาที่น่าสนใจและน่าเรียน ด้านจรรณยาบรรณวิชาชีพครูในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม (E-PLC สำหรับครู) 16 ครูมีความรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กำลังใจแก่ศิษย์ 17 ครูมีสัจจะ ความยุติธรรม และแสดงความจริงใจแก่ศิษย์ 18 ครูมีความเอื้ออาทร และเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่ศิษย์ 19 ครูมีความอ่อนน้อม และสุภาพแก่ศิษย์ 20 ครูต้องมีระเบียบวินัย และตรงต่อเวลา รวม
เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างดีเยี่ยม 5 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างดีมาก 4 คะแนน ปฏิบตัิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง 3 คะแนน ปฏิบตัิหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง 2 คะแนน ปฏิบตัิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ยคร้ัง 1 คะแนน