The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การสอนโดยใช้สื่อประสม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nitchakan, 2021-10-15 10:13:18

วิจัยในชั้นเรียน

การสอนโดยใช้สื่อประสม

วิจัยในชั้นเรียน

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เรื่อง คำยืมภาษาต่างประเทศ

โดยใช้สื่อประสมเชื่อมโยงกับสถานการณ์จริง
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการปราณบุรี

โดย

นางสาวณิชกานต์ อรชร

ครูผู้ช่วย

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัมนาการปราณบุรี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาประจวบคีรีขันธ์

การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น เร่ือง คำยมื ภาษาต่างประเทศโดยใชส้ อ่ื ประสมเชอ่ื มโยงกบั
สถานการณจ์ รงิ ของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2
โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษาพฒั นาการปราณบุรี

นางสาวณชิ กานต์ อรชร1
บทคดั ยอ่

การศกึ ษาครัง้ นี้มีวตั ถุประสงค์เพือ่ พฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เรอื่ ง คำยืมภาษาต่างประเทศ
โดยใชส้ อ่ื ประสมเชื่อมโยงกบั สถานการณ์จรงิ ของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปี 2 โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษา
พัฒนาการปราณบรุ ี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 39 คน โดยผู้วิจยั ใช้วธิ ีการเลอื กแบบ
เจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือท่ีใช้ในการวจิ ัยครัง้ น้ี คอื แผนการจดั การเรียนรู้ เรอื่ งคำยมื
ภาษาตา่ งประเทศ, แบบทดสอบ เรอ่ื ง คำยืมภาษาต่างประเทศก่อนและหลังเรียน สถติ ทิ ่ีใชใ้ นการ
วิเคราะห์ข้อมลู คือ สถิติพ้ืนฐานและคะแนนพัฒนาการสมั พัทธ์

ผลการวิจยั พบวา่
1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลักภาษา เรอ่ื ง คำยืมภาษาต่างประเทศ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2
โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษาพฒั นาการปราณบุรี มีคะแนนเฉลี่ยของการวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนหลงั เรียน
สงู กวา่ คะแนนเฉลี่ยที่ไดจ้ ากการวัดความสามารถก่อนเรยี นซ่ึงเป็นไปตามสมมตฐิ านทีต่ งั้ ไว้

1 ตำแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศึกษาพฒั นาการปราณบุรี E-mail : [email protected]

บทนำ

ภาษาเปน็ เคร่อื งมือทีม่ นุษยใ์ ช้ตดิ ต่อ สอ่ื สาร สื่อความคดิ ระหวา่ งกันและกัน ยอ่ มมกี ารถ่ายทอด
หรอื หยบิ ยมื ภาษาซ่ึงกันและกัน นันทพร นลิ จินดา (2539 : 19) กลา่ วถึงความจําเป็นและเหตขุ องการยืม
คาํ ภาษาตา่ งประเทศมาใชใ้ นภาษาไทย สรปุ ได้วา่ สาเหตุของการยืมภาษามีหลายประการ ไดแ้ ก่ มีความ
เกยี่ วพันทางด้านเช้อื ชาติ สญั ชาติ ความสัมพนั ธท์ างสภาพแวดล้อม หรอื สภาพความเปล่ียนแปลงทาง
สงั คม ดงั น้ันเรือ่ งคาํ ภาษาต่างประเทศในภาษาไทยจงึ มีความสำคัญและเป็นเร่ืองทน่ี กั เรียนจะต้องเรียนรู้
เพ่อื ใหใ้ ช้ภาษาไทยได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม โดยคาํ ภาษาต่างประเทศในภาษาไทยได้มีกำหนดไวใ้ น
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2551: 44) ชนั้
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ในสาระที่ 4 หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 ม.2/5 รวบรวมและอธบิ าย
ความหมายของคำภาษาตา่ งประเทศท่ใี ชใ้ นภาษาไทย

แต่ปัจจบุ ันการจดั การเรียนรู้ในห้องเรียนก็พบปัญหา คือ ความเขา้ ใจในเร่ืองคําภาษาต่างประเทศ
ของนักเรียนมรี ะดบั ค่อนขา้ งตํ่า โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งเร่ืองภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร และ
ภาษาจนี ทาํ ให้นกั เรียนใช้คาํ ผิดความหมาย นกั เรียนมักใช้คาํ ภาษาไทยสลบั กับภาษาอังกฤษ โดยไม่รู้คาํ
เดิมทมี่ ีใช้ในภาษาไทยและไม่สามารถแยกคาํ ภาษาตา่ งประเทศอน่ื ๆ ได้

ภัทรภรณ์ สืบจากอินทร์ (2554: 5) อา้ งถึงปัญหาความลม้ เหลวในการจัดการเรียนการสอนหลัก
ภาษาไทยสรุปไดว้ ่า ส่วนใหญเ่ กิดจากสภาพการเรยี นการสอนไม่เหมาะกบั สภาพสังคม ทําใหน้ กั เรียนรสู้ กึ
เบ่ือหนา่ ย ครบู างคนสอนภาษาไทยโดยเนน้ เน้ือหาสอนให้จํา บางคนสอนโดยเน้นกระบวนการแตว่ ดั
ความรคู้ วามจาํ จากสภาพปัญหาดงั กล่าวสอดคลอ้ งกบความเห็นของ สมุ น อมรวิวฒั น์ (2540 : 6) ทก่ี ลา่ ว
ว่า “การจดั กระบวนการเรยี นการสอนยงั ไม่เออื้ ต่อการพัฒนาคนให้มลี กั ษณะมองกวา้ ง คิดไกลใฝ่รู้ วิธกี าร
เรยี นรู้ยังม่งุ เน้นการถา่ ยทอดเน้ือหาวชิ ามากกวาการเรียนรู้จากสภาพจริง”

จากสภาพปัญหาแสดงให้เหน็ ถงึ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่ควรส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนไดฝ้ ึก
การวิเคราะห์จากปัญหาท่สี อดคล้องกบั ความเปน็ จริงในชวี ติ ประจำวันโดยการจดั กจิ กรรมทเ่ี ราความสนใจ
และเอ้ือต่อการเรียนรู้เพอ่ื ให้ผ้เู รยี นไดม้ ีจินตนาการ ความคิดสรา้ งสรรค์ สนกุ กบั การเรียน ซงึ่ สอดคล้องกับ
นโยบายกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเพื่อเข้าส่โู ลกยุคศตวรรษท่ี 21 โดยม่งุ ส่งเสริม
ให้ผ้เู รียนมคี ุณธรรม รกั ความเป็นไทย มที ักษะการคิดวิเคราะห์ สรา้ งสรรค์ มีทกั ษะด้านเทคโนโลยี
สามารถทำงานร่วมกับผูอ้ ่นื และสามารถอย่รู ่วมกับผู้อื่นในสงั คมโลกได้อย่างสันติ อีกท้ังยงั เหน็ วา่ ส่อื การ

เรยี นรเู้ ป็นเครอื่ งมอื สง่ เสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ใหผ้ ้เู รยี นเขา้ ถงึ ความรทู้ กั ษะกระบวนการ
และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลกั สตู รได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ (2521 : 100)
กลา่ ววา่ การใช้สือ่ การเรียนการสอนหลายชนิดในการสอนแต่ละคาบโดยใหส้ ัมพนั ธก์ นั เป็นไปอย่างมรี ะบบ
ในรูปของส่ือประสมจะเป็นผลดกี วา่ การใช้สอ่ื อย่างใดอย่างหน่งึ ซงึ่ สอดคล้องกับคำกล่าวของวชิ ัย วงศ์
ใหญ่ (2521 : 29) ท่ีกล่าวไว้ว่าการสอนโดยใช้ส่อื การสอนในรปู แบบสอ่ื ประสมทม่ี รี ะบบการผลิตโดย
นำเอาสื่อการเรยี นหลายหลายอยา่ งมาสัมพันธ์กันและมีคุณค่าส่งเสรมิ กันแลว้ จะทำให้ครูมคี วามมั่นใจใน
การสอนเด็กและเกดิ การเรยี นรูอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

ดังนนั้ ในการจัดการเรียนการสอนหลกั ภาษาไทยให้กับผเู้ รียนในระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้น
ผู้วิจยั จึงสนใจท่จี ะนำส่ือประสมที่เช่ือมโยงเน้ือหากับสถานการณจ์ ริงในชวี ติ ประจำวนั มาใชใ้ นการจดั การ
เรียนการสอนเพือ่ เปน็ ตัวกลางในการถ่ายทอดความรูท้ ี่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรมมากข้นึ รวมท้ังเร้า
ความสนใจของผู้เรียนเพื่อใหเ้ กิดการเรียนรู้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

วตั ถุประสงค์ของวจิ ัย
1. เพอ่ื พฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรอื่ ง คำยมื ภาษาต่างประเทศโดยใชส้ ื่อประสมเช่ือมโยงกับ

สถานการณจ์ ริงของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรยี นเตรียมอดุ มศกึ ษาพฒั นาการปราณบุรี

สมมติฐานการวจิ ยั

1. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน เรื่อง คำยืมภาษาตา่ งประเทศโดยใช้ส่ือประสมเช่อื มโยงกบั
สถานการณ์จริงของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษาพฒั นาการปราณบุรีหลังเรยี น
สงู กวา่ ก่อนเรียน

ความสำคัญของการวจิ ัย
ผลของการวิจยั ในครง้ั นี้จะเป็นประโยชน์ต่อนักเรยี นระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนเตรยี ม

อุดมศึกษาพัฒนาการปราณบุรี ในการพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เรอ่ื ง คำยืมภาษาตา่ งประเทศ อกี ทงั้
ยังทำให้ผ้เู รยี นได้เห็นความสำคัญและตระหนักถงึ การใช้หลกั ภาษาในการสอ่ื สารในชวี ิตประจำวัน
ตลอดจนนำความรู้เรื่องที่มาของคำไปบรู ณาการกับวชิ าอืน่ ๆ เพื่อให้สามารถใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องตาม
ความหมายและระดับของภาษา นอกจากนี้ผลจากการศึกษาค้นคว้าจะเป็นแนวทางในการจัดการเรียน
การสอนให้ครูผู้สอนในรายวิชาภาษาไทย หรือวชิ าอน่ื ๆ ที่สนใจต่อไปได้

ขอบเขตการวิจัย

ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง

ประชากร
ประชากร คือ นกั เรียนระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นเตรียมอุดมศกึ ษาพฒั นาการปราณบรุ ี
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ทง้ั หมด 8 ห้อง จำนวน 340 คน

กลุม่ ตวั อย่าง
กลมุ่ ตัวอย่าง คอื นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2/1 โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษาพัฒนาการปราณบรุ ี
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 39 คน

ตัวแปรทใ่ี ช้ในงานวิจัย
ตัวแปรต้น ได้แก่ สอื่ ประสมเชือ่ มโยงกบั สถานการณ์จรงิ
ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง คำยมื ภาษาตา่ งประเทศ

กรอบแนวคดิ การวิจยั ตัวแปรตาม
ตัวแปรอิสระ

สื่อประสมเช่ือมโยงกับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง
สถานการณ์จริง คำยมื ภาษาต่างประเทศ

เนือ้ หาการเรยี นรู้
เน้อื หาทีใ่ ช้ในการวิจยั ครั้งน้ี คือ เนอ้ื หากล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย สาระที่ 4 หลกั การใช้
ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 ม.2/5 รวบรวมและอธิบายความหมายของคำภาษาตา่ งประเทศที่ใชใ้ น
ภาษาไทย

กระบวนการและขัน้ ตอนการดำเนินงาน
ขั้นวางแผนงาน (P)
1. สำรวจปญั หาในชัน้ เรยี น
2. ออกแบบงานวิจัย โดยกำหนดวัตถุประสงค์ วิธีการในการดำเนินงาน และเครื่องมือที่ใช้ใน
งานวิจยั
ขน้ั ดำเนินการ (D)
1. นกั เรยี นทดสอบก่อนเรียน เรอื่ ง คำยืมภาษาตา่ งประเทศ ผ่าน Socrative
2. นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะของคำยืมภาษาต่างประเทศผ่านสื่อการสอนที่หลากหลาย
เช่น วีดิโอที่ครูจัดทำโดยเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวันด้วยการยกตัวอย่างคำที่เจอและใช้ใน
ชวี ติ ประจำวนั , PowerPoint , infographic
3. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันอภปิ รายความเหมือนและความแตกต่างของคำยืมแต่ละภาษา
4. นกั เรียนจัดทำคลิปวิดีโอเกีย่ วคำยืมภาษาตา่ งประเทศทเี่ จอในชีวิตประจำวนั
ขน้ั สรปุ และประเมินผล (C)
1. นักเรยี นนำเสนอส่อื วดิ โี อท่นี ำเสนอคำยมื ภาษาตา่ งประเทศท่พี บเจอในชวี ติ ประจำวนั
2. นกั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น เรือ่ ง คำยมื ภาษาตา่ งประเทศ
ขัน้ ปรบั ปรุงตามผลการประเมนิ (A)
1. นักเรยี นวิเคราะห์แบบทดสอบหลงั เรยี น และร่วมกันอธิบายว่าแต่ละขอ้ ตอบอย่างไร
2. ครใู หข้ อ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ เก่ยี วกับคลิปวดิ ีโอ

ผลการดำเนินการ

ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรอ่ื ง คำยืมภาษาต่างประเทศ
โดยใชส้ อื่ ประสมเช่ือมโยงกับสถานการณจ์ รงิ ของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษา
พัฒนาการปราณบุรี ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง โดยใช้สถติ ิพื้นฐานในการวเิ คราะห์ข้อมูล
นกั เรยี นท่ไี ด้รบั การจดั การเรียนการสอนโดยใช้สอ่ื ประสมเชื่อมโยงกบั สถานการณจ์ ริง เรอื่ ง คำยมื
ภาษาต่างประเทศ มผี ลการเรียนรู้หลงั การทดลองสงู กวา่ ก่อนการทดลอง จากแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์
ซง่ึ มคี ะแนนเต็ม 20 คะแนน นักเรียนกลุม่ เป้าหมายจำนวน 39 คน มีคะแนนเฉลี่ยก่อนการทดลองเทา่ กับ
10.51 คะแนน และคะแนนเฉลยี่ หลังการทดลองเทา่ กับ 14.53 คะแนน ดงั นน้ั จงึ สรุปได้ว่า การจดั การ
เรยี นการสอนโดยใช้ส่อื ผสมเช่ือมโยงกับสถานการณจ์ ริง ส่งผลใหน้ กั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 2/1 โรงเรยี น
เตรียมอดุ มศกึ ษาพัฒนาการปราณบุรี มผี ลการเรียนรู้ทด่ี ีขน้ึ ดงั ตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 แสดงผลการวิเคราะหก์ ารเปรยี บเทียบผลการเรียนรู้ก่อนการทดลองและหลงั การทดลองโดยใช้
สื่อประสมเชื่อมโยงกับสถานการณ์จริง เรื่อง คำยืมภาษาต่างประเทศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
โรงเรยี นเตรียมอุดมศกึ ษาพัฒนาการปราณบรุ ี

การทดสอบ N ̅
กอ่ นการทดลอง 39 10.51
หลงั การทดลอง 39 14.53

ดังนน้ั จงึ สรปุ ได้วา่ การจดั การเรียนการสอนโดยใช้ใชส้ ่ือผสมเชอื่ มโยงกับสถานการณ์จริงส่งผลให้
นักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษาพัฒนาการปราณบรุ ี มีความผลสมั ฤทธิท์ างการ
เรียน เร่อื ง คำยืมภาษาต่างประเทศทด่ี ีขึ้น

สรุปผลการวิจัย
1. การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง คำยืมภาษาตา่ งประเทศโดยใชส้ ื่อประสมเชื่อมโยงกบั
สถานการณจ์ รงิ ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษาพฒั นาการปราณบุรี โดย
เปรยี บเทยี บผลการเรยี นรู้ก่อนและหลงั การทดลอง พบวา่ คะแนนเฉลย่ี ของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น เรื่อง
คำยืมภาษาตา่ งประเทศ หลังเรยี นสูงกวา่ คะแนนเฉลย่ี ก่อนเรยี น ซึง่ เปน็ ไปตามสมมตฐิ านทต่ี ้ังไว้

อภิปรายผล
จากผลวิจยั ท่ีเป็นไปตามสมมตฐิ านขา้ งต้นแสดงให้เหน็ ว่า การใช้สื่อผสมเช่อื มโยงกับสถานการณ์

จริงสามารถพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น เรื่อง คำยืมภาษาตา่ งประเทศของนกั เรียนได้ตรงตาม
วตั ถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ เนื่องจากสือ่ ประสมทผ่ี ูว้ ิจยั สร้างข้ึนเป็นการนำสือ่ การสอนทห่ี ลากหลายมาใช้ในการ
จดั การเรียนการสอนให้สัมพนั ธ์กนั โดยศึกษาจากทฤษฎี งานวิจัยท่เี ก่ียวข้อง และเอกสารคู่มือครู
แบบเรยี นต่าง ๆ ซึง่ สอดคลอ้ งกบั แนวคิดของชยั ยงค์ พรหมวงศ์ (2523 : 115) ว่าส่ือประสมช่วยใหผ้ ้เู รยี น
มปี ระสบการณ์ทผ่ี สมผสานกัน ไดค้ ้นพบวิธกี ารทีจ่ ะเรยี นในสงิ่ ทีต่ ้องการได้ด้วยตนเองมากยิ่งข้ึน เพราะส่ือ
แต่ละชิ้นสง่ เสริม สนบั สนนุ กันและกนั ส่ือการสอนอย่างหน่ึงอาจใช้เพ่ือเราความสนใจในขณะท่ีอีกอย่าง
หนง่ึ ใช้เพ่อื กอ่ ให้เกิดความเข้าใจทล่ี ึกซงึ้ ในเนื้อหาการเรยี นรู้ นอกจากนส้ี ื่อประสมเชอ่ื มโยงเน้ือหากับ
สถานการณจ์ รงิ เปน็ การนำเสนอสิง่ ท่ีพบเห็นไดจ้ ริงในชีวิตประจำวนั ทำใหน้ กั เรยี นเหน็ คณุ ค่าของเนื้อหาที่
เรยี น ซง่ึ สอดคล้องกับจรรยา พรอุดม (2545 : 23-24) ท่ีกล่าววา่ การฝกึ ให้นักเรียนได้เผชิญกับสิ่งที่
เกิดขึ้นในชีวติ ย่อมทำให้นักเรียนเห็นคณุ ค่าของส่งิ นั้นนนั้ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้

เอกสารอา้ งอิง

กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2558). หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551.
กรุงเทพฯ: สกสค. ลาดพรา้ ว.

จรรยา ภูอุดม. (2545, พฤษภาคม - กรกฎาคม). แนวการจดั การเรียนการสอนและการประเมนิ ผลที่
สอดคล้องกบั สาระท่ี 6 ทกั ษะ/กระบนการทางคณติ ศาสตร์. วารสารคณติ ศาสตร.์
46(524-526): 23-24.

ชัยยงค์ พรหมวงศ.์ (2521). ระบบส่ือการสอน. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พจ์ ุฬลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วชิ ยั วงษ์ใหญ่. (2521). พฒั นาหลกั สูตรและการสอนมิตใิ หม.่ กรงุ เทพฯ: รงุ่ เรอื งการพมิ พ์.
สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลุ่มสาระการ

เรียนรูภ้ าษาไทย. กรงุ เทพฯ: สำนักวชิ าและมาตรฐานการศึกษา.

ภาคผนวก





Scan เพื่อดูวิดีโอการสอน
คำยืมภาษาจีน
คำยืมภาษาญี่ปุ่น



แผนการจัดการเรียนรู้

กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศึกษาพัฒนาการปราณบรุ ี
รายวิชา ภาษาไทย
หน่วยท่ี ๕ คำยืมภาษาต่างประเทศ รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒
ผสู้ อน นางสาวณิชกานต์ อรชร
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ เร่อื ง คำยืมภาษาบาลี สันสกฤต

ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ เวลา ๒ คาบ

๑. มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๔ : หลกั การใชภ้ าษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ : เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ

ภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้ไปสมบตั ขิ องชาติ

๒. ตวั ชี้วัด/ผลการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๔.๑ ม.๒/๕ รวบรวมและอธบิ ายความหมายของคำภาษาต่างประเทศทีใ่ ช้ในภาษาไทย

๓. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
๓.๑ ความสามารถในดา้ นการส่อื สาร
๓.๒ ความสามารถในด้านการคิด
๓.๒.๑ การคดิ อย่างสรา้ งสรรค์

๔. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
๔.๑ มีวินัย
๔.๒ ม่งุ มั่นในการทำงาน

๕. จดุ เนน้ ในการพัฒนาผเู้ รยี น
นักเรียนมีทกั ษะการสอ่ื สารและทักษะการคดิ

๖. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด

ภาษาบาลีและภาษาสนั สกฤต เป็นภาษาในตระกูลเดียวกันคือตระกูลอนิ โด-ยูโรเปยี น (Indo-European) ภาษาใน

กลมุ่ นเ้ี ปน็ ภาษาท่ีมีรากศัพท์ประกอบกันมาแล้วและภาษาไทยรับเอาคำบาลแี ละสันสกฤตมาใชเ้ ป็นจำนวนไม่น้อย ซึ่ง

มากกว่าภาษาอื่นๆ ที่นำมาใชใ้ นปัจจุบัน การศึกษาภาษาบาลแี ละสันสกฤตจะช่วยใหผ้ ู้เรียนเข้าใจ จำแนก คำไทยแท้

และคำที่มาจากภาษาต่างประเทศได้ ทำให้ผู้เรียนได้ทราบที่มาของคำ ส่งผลให้ผู้เรียนเขียนคำต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง

และสามารถนำคำไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งถูกต้องได้

๗. สาระการเรียนรู้

๗.๑ ลักษณะของคำทมี่ าจากภาษาบาลี

๗.๒ ลักษณะของคำทีม่ าจากภาษาสนั สกฤต

๘. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K)

๘.๑ นักเรียนสามารถบอกลักษณะของคำท่ีมาจากภาษาบาลี สันสกฤตได้

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)

๘.๒ นกั เรียนสามารถจำแนกคำทีม่ าจากภาษาบาลี สนั สกฤตได้

ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A)

๘.๓ นกั เรียนเข้าเรยี นตรงต่อเวลา

๘.๔ นกั เรียนตั้งใจทำงานที่ไดร้ บั มอบหมาย

๙. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ ๑ (ภาษาบาลี)

ข้นั นำ (๑๐ นาท)ี

๙.๑ นกั เรยี นเขยี นคำศัพทต์ ามคำบอก จำนวน ๕ คำ ได้แก่ อชั ฌาสยั ปรัชญา พยคั ฆ์ อาสาฬห อจั ฉรยิ ะ

๙.๒ นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกีย่ วกับคำศพั ท์บนกระดานวา่ มีลกั ษณะแบบใด และเป็นคำที่มาจากภาษาใด

ขั้นสอน ( ๔๐ นาท)ี

๙.๓ นักเรียนศกึ ษาสื่อการสอนเร่ือง คำท่ีมาจากภาษาบาลี - สนั สกฤต ใน google classroom

๙.๒ นักเรยี นรว่ มกันอภปิ ราย เรือ่ ง ทม่ี า พยญั ชนะ และสระในภาษาบาลโี ดยให้นักเรยี นเติมข้อความลงในใบ

ความรู้ประกอบ โดยครเู ป็นผู้กระตุ้นใหน้ ักเรยี นตอบหรอื เสนอความคิดเหน็ เปน็ ระยะ ๆ

๙.๓ นกั เรยี นร่วมกันเสนอวธิ ีจำพยญั ชนะวรรค เพ่ือสะดวกตอ่ การจำแนกคำทม่ี าจากภาษาบาลี ตัวอยา่ งเชน่

ไก่ ไข่ ควาย ฆา่ งู จบั ฉัน ชู ฌ เฌอ หญงิ

ฏัก ฐาน โท เฒ่า ณิง เต่า ถกู ทง้ิ ธ ธง นาย

ป่า ไผ่ พง เภา มา้ ยาย รีบ ลา วา่ เสอื หาย

จุฬา วาดลวดลาย นิคหติ มิตรคู่กัน

๙.๔ สรปุ ลกั ษณะและหลักการจำ คำยมื ภาษาบาลี โดยครอู าจเรยี กส่มุ ใหน้ ักเรียนตอบคำถามเพื่อเป็นการ

กระต้นุ ใหผ้ ู้เรยี นมีส่วนรว่ ม รวมถงึ ให้นักเรยี นลองบอกพยัญชนะวรรคของภาษาบาลี

ขน้ั สรุป ( ๕ นาที)

๙.๖ นกั เรยี นทำกิจกรรม “บงิ โกภาษาบาลี” โดยเลน่ เกมบิงโกออนไลน์ผ่านเว็บไซต์

https://myfreebingocards.com

คาบที่ ๒ (ภาษาสันสกฤต)
ข้ันนำ (๑๐ นาท)ี
๙.๑ นักเรียนทบทวนความรู้ เรื่อง ลกั ษณะคำยืมจากภาษาบาลี โดยนำคำทย่ี กตวั อย่างจากคาบทีแ่ ลว้ มา
ช่วยกันวเิ คราะห์และเฉลยว่าคำไหนเป็นภาษาบาลี และมีวิธกี ารสงั เกตอย่างไร
ขั้นสอน ( ๔๐ นาท)ี
๙.๓ นกั เรยี นและครรู ว่ มกันอธิบายขอ้ สังเกตของคำที่มาจากภาษาสันสกฤต โดยใชส้ ่ือ PowerPoint พร้อม
ทั้งใหน้ กั เรยี นชว่ ยวิเคราะห์ และยกตัวอยา่ งคำศัพท์ตามขอ้ สังเกตตา่ ง ๆ
๙.๔ นกั เรียนชว่ ยกันสรปุ ความแตกต่างของลกั ษณะคำยมื ท่ีมาจากภาษาบาลีและสันสกฤต พร้อมทงั้ ทำสรปุ
ความรู้ในรปู แบบ infographic
ขนั้ สรปุ ( ๕ นาที)
๙.๖ นักเรียนทำกิจกรรม “บิงโกภาษาบาลี - สนั สกฤต” โดยเล่นเกมบิงโกออนไลน์ผา่ นเว็บไซต์
https://myfreebingocards.com

๑๐. ช้ินงาน/ภาระงาน

ชิ้นงาน

- ใบงาน เร่อื ง คำยืมภาษาบาลสี ันสกฤต จาก live worksheets

๑๑. สอ่ื /อปุ กรณ์/แหล่งการเรียนรู้

 สื่อคลปิ VDO  แหลง่ เรียนรู้ ชอ่ื สถานท.ี่ ....................................

 สอ่ื CD เรือ่ ง...............................................  สือ่ สง่ิ พิมพ์

 สื่อ รูปภาพ เร่ือง....................................... ๑. หนงั สือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใช้

 ส่ือ ICT,Website ภาษาม.๒ เลม่ ๑

๑. Power Point ประกอบการสอนเรอ่ื ง  ส่อื บคุ คล ชือ่ .....................................................

“คำยืมภาษาบาลีสันสกฤต”  สอื่ ของจรงิ .........................................................

๒. https://myfreebingocards.com

๓. https://www.liveworksheets.com

 สือ่ App

๑๒. การวดั และประเมินผล วธิ กี ารวัด เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ
การตอบคำถาม
สงิ่ ท่ีวดั และประเมินผล คำถาม ตอบถูกต้องรอ้ ยละ ๘๐
การประเมนิ ของชนั้ เรยี น
ด้านความรู้ (K) สมรรถนะ
๑. นกั เรยี นสามารถบอกลักษณะของ แบบประเมนิ ได้ในระดับดีข้ึนไปถือวา่
คำทม่ี าจากภาษาบาลี สันสกฤตได้ สมรรถนะ ผ่าน

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน
๑. ความสามารถในดา้ นการส่อื สาร
๒. ความสามารถในด้าน
การคดิ

ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) สังเกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤติกรรม เขา้ เรยี นตามเวลาท่ี
๑. นกั เรยี นเขา้ เรยี น ในชั้นเรยี นรายบุคคล ในชน้ั เรยี นรายบุคคล กำหนดถือว่าผา่ น
ตรงต่อเวลา แบบสงั เกตพฤติกรรม ไดใ้ นระดับดีขึ้นไปถือว่า
๒. นักเรียนตั้งใจทำงานที่ได้รับ การประเมินทักษะ ในช้นั เรียนรายบคุ คล
มอบหมาย การตรวจแบบฝกึ หัด ผา่ น
จุดเน้นในการพัฒนาผู้เรียน แบบประเมินทกั ษะ
เน้นให้ผู้เรียนมที ักษะการคิดและการ ได้ในระดับดขี น้ึ ไปถือว่า
ส่ือสาร แบบฝึกหดั ผ่าน
ทักษะกระบวนการ (P)
๑. นักเรยี นสามารถจำแนกคำทีม่ า ตอบถูกตอ้ งรอ้ ยละ ๘๐
จากภาษาบาลี สันสกฤตได้ ขนึ้ ไปถือว่าผา่ น

แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรยี น
คำชแ้ี จง

๑. ครูผู้สอนทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องว่างทตี่ รงกบั พฤติกรรมของนกั เรียน โดยคะแนนระดับพฤตกิ รรมมดี งั นี้
๓ หมายถงึ ดีมาก
๒ หมายถงึ ดี
๑ หมายถงึ ปรับปรุง

๒. พฤตกิ รรมการเขา้ ชน้ั เรียนให้ยดึ ตามเวลาทก่ี ำหนด หากสายเกนิ ๑๕ นาทโี ดยขาดเหตผุ ลจำเปน็ ถอื วา่ ไมผ่ ่าน

เล ชอื่ – นามสกลุ การเข้า ปฏิบตั ิ การตอบ การแสดง การมสี ว่ นร่วม รวม เกณฑ์
ข ชน้ั เรยี น กิจกรรม คำถาม ความคดิ เห็น และกระตอื รือร้น
ที่ ครบ
๕ นาที ๓๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ระดบั









๑๐

เกณฑก์ ารประเมิน

รายการประเมิน คะแนน ระดบั

ทำกิจกรรมครบรวมถึงส่งงานตรงเวลา มสี ว่ นรว่ มในชน้ั เรยี น ตอบคำถามถูกต้อง แสดงความคดิ เห็นมเี หตุผล ๓ ดมี าก

ขาดอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ในการทำกิจกรรมหรือสง่ งานตรงเวลา มสี ว่ นรว่ มบางคร้ัง ตอบคำถามถกู ตอ้ งบ้าง แสดง ๒ ดี

ความคดิ เหน็ แตข่ าดเหตุผลสนบั สนุน

ไมป่ ฏิบัติกิจกรรม ไม่มีสว่ นร่วมในช้นั หลบั ไม่ฟงั ไม่สง่ งาน ตอบคำถามไมถ่ กู ต้อง ไม่แสดงความคิดเห็น ๑ ปรับปรงุ

คะแนนกิจกรรม ผู้ประเมิน....................................................
๙ – ๑๒ = ดมี าก (นางสาวณิชกานต์ อรชร)
๕ – ๘ = ดี วันที่.............../........./..............
๑ – ๔ = ปรบั ปรุง

แบบประเมนิ สมรรถนะ
คำช้ีแจง

๑. แบบประเมนิ สมรรถนะและกิจกรรมฉบับนใ้ี ช้ประกอบแผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๑
หน่วยที่ ๑ วรรณกรรมกับการคิด เร่อื ง การฟงั และการดูอย่างมีวิจารณญาณ

๒. ครผู สู้ อนทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องว่างที่ตรงกับการประเมนิ ของนักเรยี น โดยคะแนนการประเมนิ มีดงั นี้

สมรรถนะ

๑ หมายถงึ มี
๐ หมายถงึ ไม่มี

เลขที่ ชือ่ – นามสกลุ การส่อื สาร สมรรถนะ รวม
การคดิ วิเคราะห์









๑๐

เกณฑ์การประเมนิ สมรรถนะ → คะแนน ๐ – ๑ = ปรบั ปรงุ ๒ – ๓ = ดี ๔ = ดีมาก คะแนน
รายการประเมนิ ๑

มกี ารส่อื สาร การคิดวเิ คราะห์ การคดิ วเิ คราะห์
ไม่มีการสอื่ สาร การคดิ วิเคราะห์ การคิดวเิ คราะห์

ผปู้ ระเมนิ ....................................................
(นางสาวณิชกานต์ อรชร)
วนั ท.่ี ............../........./..............

ความคดิ เหน็ หรอื ข้อเสนอแนะของหัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ .............................................................

(........................................................................)

หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้

............/............../................

บนั ทึกผลหลงั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่.ี ............ เรือ่ ง ...................................................................................... เวลา ..................... ชว่ั โมง

รหัสวชิ า .......................... ช่ือวิชา ....................................................................... กลมุ่ สาระการเรยี นรู้...............................

ภาคเรยี นท่ี ............... ปีการศกึ ษา .............................. ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ .........................................................................

จำนวนห้องท่สี อน ................. หอ้ ง ได้แก่ ..................................................... จำนวนนักเรียนทส่ี อนทงั้ หมด .............. คน

1. การดำเนนิ การจัดการเรยี นรู้ ( ) เป็นไปตามแผน ( ) ไมเ่ ปน็ ไปตามแผน

2. ผลการจัดการเรยี นรู้

2.1) ความเหมาะสมของระยะเวลา ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรบั ปรงุ

2.2) ความเหมาะสมของเนอ้ื หา ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรบั ปรงุ

2.3) ความเหมาะสมของกจิ กรรมการเรยี นการสอน ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรับปรุง

2.4) ความเหมาะสมของส่อื การสอนที่ใช้ ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ตอ้ งปรับปรงุ

2.5) พฤตกิ รรม / การมีสว่ นรว่ มของนักเรยี น ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรบั ปรุง

2.6) ผลการปฏิบตั กิ จิ กรรม / ใบกจิ กรรม

2.6.1) การประเมินผลด้านความรหู้ ลังการเรียน

โดยใช้ ( ) แบบทดสอบ ( ) แบบประเมิน ( ) แบบสอบถาม ( ) แบบสงั เกต ( ) อนื่ ๆ ...................... พบว่ามี

นกั เรยี นจำนวน .................. คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ .............. ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ และมนี กั เรยี น

จำนวน ................ คน คิดเป็นร้อยละ ................. ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ตามจุดประสงค์การเรยี นรู้

2.6.2) การะประเมนิ ผลด้านทักษะกระบวนการ

โดยใช้ ( ) แบบทดสอบ ( ) แบบประเมนิ ( ) แบบสอบถาม ( ) แบบสงั เกต ( ) อื่น ๆ ...................... พบวา่ มี

นักเรยี นจำนวน .................. คน คดิ เป็นรอ้ ยละ .............. ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ และมีนกั เรยี น

จำนวน ................ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ................. ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมินตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้

2.6.3) การประเมนิ ผลด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

โดยใช้ ( ) แบบทดสอบ ( ) แบบประเมิน ( ) แบบสอบถาม ( ) แบบสังเกต ( ) อนื่ ๆ ...................... พบว่ามี

นักเรียนจำนวน .................. คน คดิ เปน็ ร้อยละ .............. ผ่านเกณฑก์ ารประเมินตามจุดประสงค์การเรยี นรู้ และมนี กั เรยี น

จำนวน ................ คน คิดเป็นร้อยละ ................. ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมินตามจุดประสงค์การเรยี นรู้

3. ปญั หาท่ีพบในการจัดการเรยี นรู้ ( ) ไม่มี

( ) มี ปัญหาท่พี บในการจัดการเรยี นรู้ คอื

............................................................................................................

4. ส่งิ ท่ีควรพฒั นาในการจดั การเรียนรู้คร้ังตอ่ ไป

....................................................................................................................................................................................................

5. แนวทางการแก้ไขนักเรยี นทไี่ มผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ

....................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ ........................................................... ผูส้ อน

(นางสาวณิชกานต์ อรชร)

ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย

กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย โรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษาพัฒนาการปราณบรุ ี
รายวชิ า ภาษาไทย
หนว่ ยที่ ๕ คำยืมภาษาต่างประเทศ รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ ชั้น มธั ยมศึกษาปีที่ ๒
ผูส้ อน นางสาวณิชกานต์ อรชร
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒ เรอื่ ง คำยมื ภาษาจนี - ญ่ีปุ่น

ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ เวลา ๑ คาบ

๑. มาตรฐานการเรยี นรู้
สาระที่ ๔ : หลกั การใชภ้ าษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ : เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ

ภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวไ้ ปสมบัติของชาติ

๒. ตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๔.๑ ม.๒/๕ รวบรวมและอธบิ ายความหมายของคำภาษาตา่ งประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย

๓. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน
๓.๑ ความสามารถในด้านการสอ่ื สาร
๓.๒ ความสามารถในด้านการคิด
๓.๒.๑ การคิดอยา่ งสรา้ งสรรค์

๔. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
๔.๑ มวี นิ ยั
๔.๒ มงุ่ มน่ั ในการทำงาน

๕. จดุ เนน้ ในการพฒั นาผู้เรยี น
นกั เรยี นมที ักษะการส่อื สารและทกั ษะการคดิ

๖. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด

ภาษาจีนมีลักษณะคล้ายคลึงกบั ภาษาไทยมาก คือ เป็นภาษาคำโดดมีเสียงวรรณยกุ ต์ยเมื่อนำคำภาษาจนี มา

ใช้ในภาษาไทยซึ่งมีวรรณยุกต์และสระประสมใช้จึงทำให้สามารถออกเสียงวรรณยุกต์และสระตามภาษาจีนได้อย่าง

ง่ายดาย สว่ นคำยืมภาษาญ่ปี ่นุ มักจะรับมาทางด้านวัฒนธรรม อาหาร กีฬา การศกึ ษาคำยืมภาษาจีนและญ่ีปุ่นจะช่วย

ให้ผู้เรียนเข้าใจ จำแนก คำไทยแท้ และคำที่มาจากภาษาต่างประเทศได้ ทำให้ผู้เรียนได้ทราบที่มาของคำ ส่งผลให้

ผ้เู รียนเขียนคำต่างๆ ได้อยา่ งถกู ต้อง และสามารถนำคำไปใชไ้ ด้อย่างถกู ตอ้ งได้

๗. สาระการเรียนรู้

๗.๑ ลกั ษณะของคำท่มี าจากภาษาจนี

๗.๒ ลักษณะของคำที่มาจากภาษาญ่ีปุ่น

๘. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ดา้ นความรู้ (K)

๘.๑ นกั เรยี นสามารถบอกลักษณะของคำที่มาจากภาษาจนี และญ่ีปุ่นได้
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)

๘.๒ นกั เรยี นสามารถจำแนกคำท่ีมาจากภาษาจนี และญ่ีป่นุ ได้
ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A)

๘.๓ นกั เรียนเขา้ เรียนตรงต่อเวลา
๘.๔ นกั เรยี นตัง้ ใจทำงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
๙. กิจกรรมการเรียนรู้
ขน้ั นำ (๑๐ นาที)
๙.๑ นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างอาหารที่รับประทานในชวี ิตประจำวนั แล้วให้บอกว่าชื่ออาหารเหล่านั้นเป็น
คำยมื จากภาษาอะไร
๙.๒ นักเรียนร่วมกันสังเกตชอ่ื อาหารท่เี พอ่ื นนำมายกตัวอยา่ งแล้วร่วมกันวเิ คราะห์ลักษณะของคำยืม
ข้นั สอน ( ๔๐ นาท)ี
๙.๓ นักเรียนศึกษาวิดีโอการสอนเรอื่ ง คำยมื ภาษาจนี และคำยมื ภาษาญป่ี ุ่น ผา่ น link YouTube ทคี่ รูจดั ทำ

ข้นั สรปุ ( ๕ นาที)
๙.๔ นกั เรียนรว่ มกันสรปุ ลกั ษณะของคำยืมภาษาจนี และญ่ีปุ่นทไ่ี ดจ้ ากการดูคลิปในรูปแบบแผนผงั ความคิด
๙.๕ นกั เรียนทบทวนบทเรียน เรอ่ื งคำยมื ภาษาต่างประเทศ โดยใช้ Kahoot หากนกั เรียนยังไม่เข้าใจ ครูคอย
อธิบายเพิม่ เติมหลงั จากเฉลยในแต่ละข้อ และใหน้ ักเรียนสะท้อนความคิดเห็นท่ีมีตอ่ สื่อการเรียนการสอนของครู
๑๐. ชนิ้ งาน/ภาระงาน
ชน้ิ งาน
- คลปิ คำยืมภาษาต่างประเทศทีพ่ บในชวี ิตประจำวัน

๑๑. สือ่ /อุปกรณ/์ แหล่งการเรยี นรู้

 สือ่ คลิป VDO  แหล่งเรยี นรู้ ช่ือสถานที่

https://www.youtube.com/watch?v=4yln6f8vhYU .....................................

https://www.youtube.com/watch?v=Eu8iwPlQpFI&t=3s  สอ่ื สิ่งพิมพ์

 สือ่ CD เรอ่ื ง............................................... ๑. หนงั สือเรยี นภาษาไทย หลักภาษาและการ

 ส่ือ รูปภาพ เรื่อง....................................... ใช้ภาษาม.๒ เล่ม ๑

 สือ่ ICT,Website  ส่อื บคุ คล ชือ่

๑. Power Point ประกอบการสอนเรอ่ื ง .....................................................

“คำยืมภาษาญี่ปุ่น - จนี ”  สือ่ ของจริง

๒. https://kahoot.it/ .........................................................

๓.  สื่อ App

๑๒. การวดั และประเมินผล วิธีการวัด เครอื่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ
การตอบคำถาม
สงิ่ ท่ีวดั และประเมนิ ผล คำถาม ตอบถูกตอ้ งร้อยละ ๘๐
การประเมิน ของชัน้ เรยี น
ด้านความรู้ (K) สมรรถนะ
๑. นกั เรยี นสามารถบอกลักษณะของ แบบประเมิน ไดใ้ นระดับดขี น้ึ ไปถือว่า
คำทมี่ าจากภาษาจีน และญ่ีปุ่นได้ สมรรถนะ ผา่ น

สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น
๑. ความสามารถในดา้ นการสอ่ื สาร
๒. ความสามารถในดา้ น
การคดิ

ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤติกรรม เขา้ เรยี นตามเวลาท่ี
๑. นกั เรียนเข้าเรียน ในช้ันเรียนรายบคุ คล ในชน้ั เรยี นรายบคุ คล กำหนดถือวา่ ผา่ น
ตรงต่อเวลา แบบสงั เกตพฤติกรรม ได้ในระดบั ดีขน้ึ ไปถือว่า
๒. นักเรียนตั้งใจทำงานที่ได้รับ การประเมินทักษะ ในชั้นเรียนรายบุคคล
มอบหมาย การตรวจแบบฝกึ หดั ผา่ น
จุดเน้นในการพฒั นาผู้เรียน แบบประเมินทกั ษะ
เน้นให้ผู้เรียนมที ักษะการคิดและการ ไดใ้ นระดบั ดีขนึ้ ไปถือวา่
ส่ือสาร แบบฝึกหดั ผา่ น
ทักษะกระบวนการ (P)
๑. นกั เรียนสามารถจำแนกคำที่มา ตอบถูกต้องร้อยละ ๘๐
จากภาษาจีนและญป่ี นุ่ ได้ ขึ้นไปถือว่าผา่ น

แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรยี น
คำชแ้ี จง

๑. ครูผู้สอนทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องว่างทตี่ รงกบั พฤติกรรมของนกั เรียน โดยคะแนนระดับพฤตกิ รรมมีดงั นี้
๓ หมายถงึ ดีมาก
๒ หมายถงึ ดี
๑ หมายถงึ ปรับปรุง

๒. พฤตกิ รรมการเขา้ ชน้ั เรียนให้ยดึ ตามเวลาทก่ี ำหนด หากสายเกนิ ๑๕ นาทีโดยขาดเหตุผลจำเปน็ ถอื วา่ ไมผ่ า่ น

เล ชอื่ – นามสกลุ การเข้า ปฏิบตั ิ การตอบ การแสดง การมสี ว่ นร่วม รวม เกณฑ์
ข ชน้ั เรยี น กิจกรรม คำถาม ความคดิ เหน็ และกระตอื รือร้น
ที่ ครบ
๕ นาที ๓๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒ ระดบั









๑๐

เกณฑก์ ารประเมิน

รายการประเมิน คะแนน ระดบั

ทำกิจกรรมครบรวมถึงส่งงานตรงเวลา มสี ว่ นรว่ มในชน้ั เรยี น ตอบคำถามถูกต้อง แสดงความคดิ เห็นมเี หตุผล ๓ ดมี าก

ขาดอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ในการทำกิจกรรมหรือสง่ งานตรงเวลา มสี ว่ นรว่ มบางคร้ัง ตอบคำถามถกู ตอ้ งบ้าง แสดง ๒ ดี

ความคดิ เหน็ แตข่ าดเหตุผลสนบั สนุน

ไมป่ ฏิบัติกิจกรรม ไม่มีสว่ นร่วมในช้นั หลบั ไม่ฟงั ไม่สง่ งาน ตอบคำถามไมถ่ กู ต้อง ไม่แสดงความคิดเห็น ๑ ปรับปรงุ

คะแนนกิจกรรม ผู้ประเมิน....................................................
๙ – ๑๒ = ดมี าก (นางสาวณิชกานต์ อรชร)
๕ – ๘ = ดี วันที่.............../........./..............
๑ – ๔ = ปรบั ปรุง

แบบประเมนิ สมรรถนะ
คำช้ีแจง

๑. แบบประเมนิ สมรรถนะและกิจกรรมฉบับนใ้ี ช้ประกอบแผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๒
หน่วยที่ ๑ วรรณกรรมกับการคิด เร่อื ง การฟงั และการดูอย่างมีวิจารณญาณ

๒. ครผู สู้ อนทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องว่างที่ตรงกับการประเมนิ ของนักเรยี น โดยคะแนนการประเมนิ มีดงั นี้

สมรรถนะ

๑ หมายถงึ มี
๐ หมายถงึ ไม่มี

เลขที่ ชือ่ – นามสกลุ การส่อื สาร สมรรถนะ รวม
การคดิ วิเคราะห์









๑๐

เกณฑ์การประเมนิ สมรรถนะ → คะแนน ๐ – ๑ = ปรบั ปรงุ ๒ – ๓ = ดี ๔ = ดีมาก คะแนน
รายการประเมนิ ๑

มกี ารส่อื สาร การคิดวเิ คราะห์ การคดิ วเิ คราะห์
ไม่มีการสอื่ สาร การคดิ วิเคราะห์ การคิดวเิ คราะห์

ผปู้ ระเมนิ ....................................................
(นางสาวณิชกานต์ อรชร)
วนั ท.่ี ............../........./..............

ความคดิ เหน็ หรอื ข้อเสนอแนะของหัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ .............................................................

(........................................................................)

หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้

............/............../................

บนั ทึกผลหลงั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่.ี ............ เรอื่ ง ...................................................................................... เวลา ..................... ชวั่ โมง

รหัสวชิ า .......................... ชอื่ วิชา ....................................................................... กลมุ่ สาระการเรยี นรู้...............................

ภาคเรยี นที่ ............... ปีการศกึ ษา .............................. ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี .........................................................................

จำนวนห้องท่ีสอน ................. หอ้ ง ไดแ้ ก่ ..................................................... จำนวนนักเรียนทสี่ อนทง้ั หมด .............. คน

1. การดำเนนิ การจัดการเรียนรู้ ( ) เป็นไปตามแผน ( ) ไมเ่ ป็นไปตามแผน

2. ผลการจดั การเรยี นรู้

2.1) ความเหมาะสมของระยะเวลา ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรบั ปรุง

2.2) ความเหมาะสมของเนอ้ื หา ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรับปรงุ

2.3) ความเหมาะสมของกจิ กรรมการเรยี นการสอน ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ตอ้ งปรบั ปรงุ

2.4) ความเหมาะสมของสือ่ การสอนท่ีใช้ ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรบั ปรงุ

2.5) พฤตกิ รรม / การมีสว่ นร่วมของนักเรียน ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ตอ้ งปรบั ปรงุ

2.6) ผลการปฏิบตั กิ ิจกรรม / ใบกจิ กรรม

2.6.1) การประเมนิ ผลดา้ นความรูห้ ลงั การเรียน

โดยใช้ ( ) แบบทดสอบ ( ) แบบประเมนิ ( ) แบบสอบถาม ( ) แบบสงั เกต ( ) อื่น ๆ ...................... พบวา่ มี

นกั เรียนจำนวน .................. คน คดิ เป็นรอ้ ยละ .............. ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตามจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ และมนี กั เรยี น

จำนวน ................ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ................. ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

2.6.2) การะประเมนิ ผลดา้ นทกั ษะกระบวนการ

โดยใช้ ( ) แบบทดสอบ ( ) แบบประเมนิ ( ) แบบสอบถาม ( ) แบบสังเกต ( ) อื่น ๆ ...................... พบว่ามี

นักเรียนจำนวน .................. คน คดิ เปน็ ร้อยละ .............. ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินตามจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ และมีนักเรยี น

จำนวน ................ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ................. ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตามจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

2.6.3) การประเมนิ ผลดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

โดยใช้ ( ) แบบทดสอบ ( ) แบบประเมิน ( ) แบบสอบถาม ( ) แบบสังเกต ( ) อน่ื ๆ ...................... พบวา่ มี

นักเรยี นจำนวน .................. คน คดิ เป็นรอ้ ยละ .............. ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ตามจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ และมนี ักเรยี น

จำนวน ................ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ................. ไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้

3. ปัญหาทีพ่ บในการจัดการเรยี นรู้ ( ) ไมม่ ี

( ) มี ปัญหาทพี่ บในการจัดการเรยี นรู้ คือ

............................................................................................................

4. ส่ิงท่คี วรพฒั นาในการจดั การเรยี นรูค้ รง้ั ต่อไป

....................................................................................................................................................................................................

5. แนวทางการแกไ้ ขนักเรยี นทไ่ี มผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมิน

....................................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ........................................................... ผู้สอน

(นางสาวณิชกานต์ อรชร)

ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย

ช่ือ - นามสกุล ชั้น เลขที่

คาํ ยมื ภาษาบาลี สนั สกฤต

ตอนท่ี ๑ ใหนักเรียนระบุวาขอความท่ีกําหนดใหถูกหรือผิด

๑. ภาษาบาลีมีหลักตัวสะกดตัวตามท่ีแนนอน
๒. ภาษาบาลี พยัญชนะแถวท่ี ๒ สะกด พยัญชนะแถวที่ ๒,๔ ในวรรคเดียวกันเปนตัวตาม
๓. คาํ บาลีมีพยัญชนะ ๓๕ ตัว เพ่ิมจากคาํ สันสกฤต ๒ ตัว คือ ศ ษ
๔. "ฤทธ์ิ" เปนคาํ ที่มาจากภาษาบาลี
๕. "รัตนา" เปนคําที่มาจากภาษาบาลี
๖. คนไทยรับคําจากภาษาบาลีเขามาใชในศาสนาพราหมณ
๗. "ปฤจฉา" เปนคาํ ท่ีมาจากภาษาบาลี
๘. สระในภาษาสันสกฤตมีมากกวาสระในภาษาบาลี ๕ ตัว
๙. "นาิกา ภริยา จักษุ" เปนคาํ ท่ีมาจากภาษาบาลีท้ังหมด
๑๐. "จรรยา" เปนคาํ ที่มาจากภาษาสันสกฤต สวนภาษาบาลีใช "จริยา"

ตอนท่ี ๒ ใหนักเรียนเลือกคาํ มาเติมในชองวาง โดยจาํ แนกตามหลักตัวสะกดตัวตามใหถูกตอง

ทุกข สงฆ แถวท่ี ๑ สะกด แถวท่ี ๑,๒ ตาม
พุทธ แถวท่ี ๓ สะกด แถวท่ี ๓,๔ ตาม

วิรุฬห สัมพันธ หัตถา แถวท่ี ๕ สะกด ตามไดทุกแถว
คัพภะ บัลลังก เศษวรรคสะกด ตามดวยเศษวรรค
ปจฉิม

อัยยิกา สัญญา อัคคี

ตอนที่ ๓ ใหนักเรียนระบุวาคําที่กําหนดใหเปนคําบาลีหรือสันสกฤต

ขัณฑสีมา ทัพพี ทรรศนะ เชษฐา
ปฏิรูป ทันต บุคลิก นฤมิต
จาตุรงค กนิษฐา วรรณ
มนัส จักรพรรดิ มัจฉา ฤดู
มัคคะ กษัตริย กีฬา เกษตร
กรีฑา

ตอนที่ ๔ ใหนักเรียนเขียนคาํ คูภาษาบาลี - สันสกฤตลงในชองวาง ใหเปนคาํ ท่ีมีความหมายเดียวกัน
กับคําท่ีกาํ หนดให

คาํ คําคู จากภาษา

๑. มัจฉา
๒. บุษบา
๓. มัธยม
๔. อมตะ
๕. จริยา
๖. จักษุ
๗. กฤษณา
๘. ปญญา
๙. ศึกษา
๑๐. อิทธิ

แบบทดสอบ

เรื่อง คำยืมภาษาต่างประเทศ

Name  
Date  

คํายืมภาษาตางประเทศ Score  

1. ขอ ใดเป็นปัจจัยสําคญั ทีส่ ดุ ทีท่ ําใหมกี ารเรียนรคู ําจากภาษาอ่นื

A เพราะมีการติดตอกับตางประเทศ
B เพราะคาํ ในภาษาไทยมไี มเพียงพอ
C เพราะคําในภาษาอ่ืนมคี วามเป็นสากลมากกวา
D เพราะในประเทศไทยมีคนหลายเช้ือชาตศิ าสนา

2. ขอใดเป็นคําในภาษาบาลี - สันสกฤตทงั้ หมด

A ศลี พทุ ธ สบาย
B สวรรค นรก ทาํ ลาย
C เทวดา สักกะ  ภาวนา
D ศาสดา ไสยศาสตร  ขลงั

3. คาํ ยืมในภาษาจีนมักปรากฏเสียงพยัญชนะใด

A เอก โท
B โท ตรี
C ตรี จตั วา
D จัตวา เอก

4. ขอใดไมม คี ําในภาษาเขมรปรากฏอยู

A พอ ช่อื ศริ วทิ ย
B นองทาํ การบา นจนชํานาญ
C ยายหลับสบายอยูใตถ นุ บา น
D ปูเป็นหวัดคดั จมูก

5. ขอ ใดไมป รากฏคาํ ภาษาตา งประเทศ

A กระโถนทอ งพระโรง
B มือถือสากปากถือศลี
C ตงี ใู หก ากนิ
D ทําคณุ บูชาโทษ โปรดสตั วไดบาป

6. ขอใดไมม คี ําท่มี าจากภาษาสันสกฤต

A รานศรีวชิ ัย  สินทรพั ยธ านี
B ศึกยุทธหัตถ ี หมบู านโอฬาร
C หมบู านกฤษฎา  เมืองทองนิเวศน
D หอศลิ ปเจา ฟา  องคก ารเภสชั กรรม

7. คาํ ในขอใดเป็นคาํ ไทยแททุกคํา

A อวย  ถนน จมกู
B ตะวนั กระโดด โปรด
C จงั หวดั ลําเนา เพลา
D สะใภ ตะวนั มะพรา ว

8. ขอ ความตอ ไปนี้มคี าํ ยมื จากภาษาญี่ปุน ภาษาจนี

และภาษาองั กฤษอยางละกค่ี ํา
“ฉันชอบกนิ สกุ แี้ ละเกยี๊ วใสซ อสสวนนองฉันชอบกินขนมโมจริ สเกก ฮวย ขนมเคกรสบว ย และชอบรอ ง
คาราโอเกะ”
A ภาษาญี่ปุน ๓ คํา ภาษาจีน ๔ คาํ ภาษาอังกฤษ ๑ คํา
B ภาษาญ่ปี ุน ๓ คาํ ภาษาจนี ๓ คาํ ภาษาองั กฤษ ๒ คาํ
C ภาษาญ่ปี นุ ๒ คาํ ภาษาจีน ๓ คํา ภาษาองั กฤษ ๓ คํา
D ภาษาญีป่ ุน ๒ คาํ ภาษาจนี ๔ คํา ภาษาองั กฤษ ๒ คาํ

9. ขอ ใดมคี ําทบั ศัพทภ าษาองั กฤษมากทส่ี ุด

A เคนใสส ทู ขนึ้ แทก็ ซีไ่ ปคลินิกเพ่อื เอกซเรยก ระดูก
B ดอนไปแบงกเพ่อื แลกดอลลารแลวไปเอาเช็คขนึ้ บัญชี
C สปาเกตตแี ละมะกะโรนีเสิรฟวนั นี้ถกู ปากมอสทงั้ นั้น
D กอ นไปพัทยาเจมสเ อารถไปซอมเบรกแลว เปล่ียนคลัตซและแบตเตอรี่ใหม

10. ขอ ใดเรยี งจากคํายืมภาษาจนี ญปี่ นุ อังกฤษ

A กยุ ชา ย เซรมุ ซาโยนาระ
B สเต็ก วาซาบิ องั้ โล
C สนึ ามิ ไชเ ทา ทอฟฟ่ี
D ซาเลง ซาบะ แยม

11. ช่อื ในขอใดเป็นคํายืมมาจากภาษาสันสกฤตทัง้ หมด

A อรรถพล กิตตกิ านต
B บษุ ราคมั ธติ ิสรร
C สุชัญญา วรลกั ษณ
D ศุภสิ รา ณกมล

12. คาํ วา "ทิวตั ถ" มีวิธีการสะกดคําตามหลักภาษาบาลีอยูในวรรคใดและสะกดอยา งไร

A วรรคกะ สะกดดวยแถวท่ี 1 ตามดวยแถวที่ 2
B วรรคจะ สะกดดวยแถวที่ 3 ตามดวยแถวท่ี 4
C วรรคฏะ สะกดดว ยแถวที่ 5 ตามดวยแถวท่ี 2
D วรรคตะ สะกดดว ยแถวที่ 1 ตามดว ยแถวที่ 2

13. คาํ วา "พุทธ" เป็นคํายืมจากภาษาใด

A ภาษาบาลี - สนั สกฤต
B ภาษาเขมร
C ภาษาจนี
D ภาษาอังกฤษ

14. คาํ วา "ไนโตรเจน" เป็นคํายมื จากภาษาใด

A ภาษาบาลี - สนั สกฤต
B ภาษาเขมร
C ภาษาจนี
D ภาษาอังกฤษ

15. คําวา "สบาย" เป็นคาํ ยมื จากภาษาใด

A ภาษาบาลี - สันสกฤต
B ภาษาเขมร
C ภาษาจีน
D ภาษาองั กฤษ

16. คาํ วา "ทิพยเนตร" เป็นคาํ ยมื จากภาษาใด

A ภาษาบาลี - สันสกฤต
B ภาษาเขมร
C ภาษาจีน
D ภาษาอังกฤษ

17. คําวา "ระบํา" เป็นคํายืมจากภาษาใด

A ภาษาบาลี - สันสกฤต
B ภาษาเขมร
C ภาษาจนี
D ภาษาองั กฤษ

18. คําวา "ซาลาเปา" เป็นคํายมื จากภาษาใด

A ภาษาบาลี - สนั สกฤต
B ภาษาเขมร
C ภาษาจีน
D ภาษาอังกฤษ

19. ขอ ใดเป็นลกั ษณะคํายมื ภาษาเขมร

A มตี ัวสะกดตัวตามไมแ นนอน
B พยัญชนะตนมักเป็นอกั ษรกลาง
C นิยมใชอ กั ษรนํา
D สวนใหญเป็นคํายมื เกี่ยวกับอาหาร ของใช

20. ในภาษาบาลี หาก "ญ" เป็นตวั สะกด พยญั ชนะตวั ใดไมส ามารถเป็นตวั ตามได

A จ /ญ
B ต/ ธ
C ฉ /ช
D ฌ/ จ

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัมนาการปราณบุรี


Click to View FlipBook Version