The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การมีตัวแบบที่ดี ช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ในสิ่งที่ถูกต้อง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supatsara123, 2021-05-19 03:13:50

ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม:การเรียนรู้ผ่านตัวแบบ (Modeling)

การมีตัวแบบที่ดี ช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ในสิ่งที่ถูกต้อง

ทฤษฎีการเรยี นรทู้ างสงั คม :

การเรียนรูผ้ ่านตัวแบบ (Modeling)

ตัวแบบนั้นสาคญั อยา่ งไร ???
ตวั แบบนนั้ จาเปน็ หรือไม่ ???
การมตี ัวแบบทีด่ ยี ่อมสง่ ผลใหเ้ ด็กมีพฤติกรรม

ในทางทเี่ หมาะสม

เพราะฉะนัน้ ...ต. ัวแบบจึงสาคัญ

หนงั สือเลม่ นเี้ ปน็ สว่ นหน่งึ ของ รายวิชา SE 814
:การสอนและการใหค้ วามชว่ ยเหลือผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ
(Teaching and Supporting Learners with Special Needs)

หลักสตู รดุษฎบี ัณฑติ สาขาวชิ าการศึกษาพิเศษ
ศนู ยพ์ ัฒนาการศกึ ษาพเิ ศษ คณะศกึ ษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ





1

ความเปน็ มาของทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ างสงั คม

Albert Bandura เกิดวนั ท่ี 4 ธนั วาคม 1925 ประเทศแคนาดา
(Stokes, 1986) แบนดูราเริ่มตน้ เรยี นสาขาวทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพและ
มคี วามสนใจเก่ยี วกบั จิตวทิ ยา จนสาเร็จการศกึ ษาศลิ ปศาสตรบัณฑติ
จากมหาวิทยาลยั บรติ ชิ โคลมั เบยี (Pajares, 2004)

ปี 1949 สาเร็จการศกึ ษาจากมหาวิทยาลัยบริตชิ โคลมั เบยี ด้วย
ปรญิ ญาจติ วิทยา ไดร้ บั ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑติ และปรชั ญาดุษฎี
บัณฑติ ทางจิตวทิ ยาคลนิ ิก จากมหาวิทยาลัยไอโอวา (University of
Iowa) ในปี 1952 เขา้ ฝกึ งานทศ่ี ูนยแ์ นะแนววชิ ิตา (Wichita Guidance
Center)

แบนดูรา เช่ือว่า ปจั จยั ทางด้านการรูค้ ดิ (cognitive factor)
เป็นสาเหตขุ องพฤตกิ รรมมนษุ ย์ งานวจิ ัยเน้นไปดา้ นปฏกิ ิริยา
ระหวา่ งการรูค้ ดิ พฤติกรรม และส่งิ แวดล้อม งานส่วนใหญ่
จึงเนน้ การได้มาของความรู้ (acquisition) และการปรับเปลีย่ น
ลักษณะบคุ ลกิ ภาพของเด็ก

2

โดยเฉพาะผลกระทบจากการเรยี นรู้จากการสังเกต
(observational learning) การดตู ัวแบบ (modeling)
ซึ่งเขาเช่อื ว่า มีบทบาทต่อการกาหนดพฤติกรรมทีเ่ กดิ ข้ึน
ตวั แบบเปน็ ตวั กาหนดความคดิ ความร้สู กึ และพฤติกรรม
และการลงโทษหรือการเสรมิ แรง มีผลตอ่ การเลียนแบบ
ตามตวั แบบทไ่ี ดร้ ับรางวลั

ในปี 1974 แบนดรู า ดารงตาแหนง่ เปน็ ประธานสมาคม
จิตวิทยาอเมริกนั ในปี 2004 ไดร้ บั เลอื กใหเ้ ปน็ ผู้มีผลงาน

ด้านจิตวทิ ยาอเมริกนั ที่โดดเดน่ ของสมาคมจติ วิทยา
และไดร้ บั การยกย่องใหเ้ ป็นบดิ าแหง่ ทฤษฎีการเรียนรทู้ างสงั คม

(Bandura, 2006)

3

หลกั ของการเรียนรู้ทางสังคมถือว่า การเรยี นรจู้ ากการสงั เกตเกดิ ข้ึนได้
ทกุ เพศทุกวัย เมือ่ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลใหม่จากตวั แบบ ทส่ี ง่ เสริมต่อการเรยี นรู้
ส่ิงใหมๆ่ (Newman B.M. & P.R, 2007) และสาเหตุพฤติกรรมเกดิ จาก
ความสมั พันธแ์ บบกาหนดซ่งึ กนั และกนั (Reciprocal Determinism) ได้แก่

1. ปจั จยั ส่วนบุคคล (Personal factor: P)
2. ปจั จัยเชงิ พฤตกิ รรม (Behavior condition: B)
3. สภาพแวดลอ้ ม (Environmental condition: E)

P

BE

ดงั น้ันปจั จยั ทง้ั 3 สว่ น ไดแ้ ก่ การรับร้สู ว่ นบคุ คล
ภายในสภาพแวดล้อมตา่ งๆ และการเกิดพฤตกิ รรม
เป็นตวั กาหนดซง่ึ กนั และกนั เช่น ความคดิ สตปิ ญั ญา
ปจั จัยทางชีวภาพ มผี ลตอ่ การเรยี นรู้ และการกระทาตา่ งๆ

4

ตัวแบบ (Modeling) หมายถงึ การสร้างตัวอยา่ งที่ได้รบั การคดั เลอื กวา่
เปน็ ตัวอย่างทด่ี ที สี่ ดุ สามารถใชเ้ ป็นแบบอยา่ งของการกระทาให้แก่ผู้เรยี นได้
เปน็ การเรยี นรู้ด้วยวิธีธรรมชาติทีเ่ กิดข้ึนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เม่ือสังเกตแล้วใช้
กระบวนการทางสตปิ ญั ญา แปลการกระทาของตัวแบบเปน็ รหสั หรือ
สัญลักษณ์ ต่อมาผูเ้ รียนจะแสดงพฤตกิ รรมมาเป็นการกระทาใหม่ โดยไม่ต้อง
ลองผิดลองถกู ซ่งึ สงิ่ ที่ถูกสังเกตเรยี กวา่ ตัวแบบ และกระบวนการเรียนรู้
เรียกวา่ การสรา้ งตัวแบบ (Bandura. 1968, p. 99-108; Newman B.M. &
P.R, 2007)

ดังนน้ั ตัวแบบตอ้ งเปน็ ส่งิ ทมี่ ีมาตรฐาน
สรา้ งความนา่ สนใจใหแ้ ก่ผสู้ งั เกต
จงึ จะสามารถเปน็ ตวั แบบใหก้ ับผเู้ รยี น
เลยี นแบบอย่างถกู ต้องและทาใหเ้ กดิ

การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรม

5

กระบวนการเรียนรู้ผา่ นตัวแบบ มี 4 กระบวนการ ดังนี้

1. กระบวนการความสนใจ (Attention Processes) ของผเู้ รยี น
เปน็ ตัวกาหนดว่าจะสงั เกตและอยากเรียนรูอ้ ะไรจากตวั แบบ ถ้าผเู้ รียนไมม่ ีความสนใจ
การเรียนรู้กจ็ ะไม่เกดิ ขึ้น ตวั แบบท่มี ีลักษณะเดน่ สร้างความพงึ ใจต่อผู้เรียน
ประกอบกับความสามารถในการเรยี นรู้ของผ้เู รียน

2. กระบวนการเกบ็ จดจา (Retention Processes)
ผู้เรียนจะเก็บจดจาส่ิงทสี่ ังเกตและเลยี นแบบได้ ซงึ่ เป็นข้อมูลได้
จากการรับรผู้ า่ นทางตา หู จมูก ลิน้ ผวิ กาย แลว้ นาขอ้ มลู
ทไ่ี ด้รับไปสะสมเกบ็ ไว้ และนามาใชเ้ มือ่ มสี ่งิ เร้ากระตุน้

6

3. กระบวนการแสดงพฤตกิ รรมเหมอื นตวั แบบ (Reproduction Processes)
เป็นกระบวนการทผ่ี ู้เรยี นนาขอ้ มูลหรอื สัญลกั ษณ์ที่เกบ็ จา แสดงออกมาเป็นการ
กระทาหรอื พฤติกรรมเหมือนตวั แบบ ซึง่ การแสดงครัง้ แรกจะไมส่ มบรู ณแ์ บบ
ผเู้ รียนจะทาซ้าหลายครงั้ แล้วนาประสบการณใ์ นการกระทานั้นมาแกไ้ ข
เพ่อื ให้ได้พฤติกรรมที่ตอ้ งการหรอื พอใจ

4. กระบวนการแรงจงู ใจ (Motivation Processes)
ผเู้ รียนจะแสดงพฤติกรรมเหมอื นตวั แบบนั้นหรือไมข่ ้นึ อยู่กับแรงจงู ใจ
สง่ิ เร้าจากภายนอกทีเ่ ข้ามากระตนุ้ และผูเ้ รยี นมีความพึงพอใจ
ตอ่ ส่งิ เร้านัน้ ถึงจะแสดงพฤติกรรมออกมา

7

กระบวนการ ตัวแบบ กระบวนการ
แรงจงู ใจ ความสนใจ

กระบวนการ กระบวนการ
แสดงพฤตกิ รรม เกบ็ จดจา
เหมือนตวั แบบ

8

หนงั สือเล่มนผ้ี ูจ้ ดั ทาหวังเปน็ อยา่ งย่ิงวา่ จะช่วยให้ครูและ
ผูป้ กครองเข้าใจถงึ สาเหตุของการมพี ฤตกิ รรมต่างๆ ในเดก็
ซง่ึ จะเหน็ ว่า เดก็ ได้เรยี นรูผ้ า่ นการสังเกตตัวแบบ

ปจั จุบันจากความรนุ แรงท่เี ด็กได้รับ ไม่ว่าจากคนในครอบครัว
ส่อื ล้วนมาจากการเห็นตวั แบบทัง้ สนิ้ จึงเปน็ แรงผลักดนั ให้เด็ก
แสดงออกถึงการกระทาตา่ งๆ ได้

การสงั เกต การเลียนแบบผ้อู ่นื มบี ทบาทสาคัญมาก
นามาสกู่ ารได้รบั ความรูแ้ ละทกั ษะใหม่ๆ

การสรา้ งตัวแบบใหส้ มบูรณท์ ่ีทรงพลงั ต่อการสงั เกต
จงึ มอี ทิ ธิพลทั้งต่อตวั ผสู้ ร้างและผเู้ ลยี นแบบ

ดังนัน้ ตวั แบบจึงเป็นตัวกาหนด
การสร้างพฤตกิ รรมในเดก็

9

การเสริมแรงทางบวกเปน็ วธิ ที ไ่ี ด้รบั ความนิยมเปน็ อยา่ งมาก
ในการปรับพฤติกรรมเด็กใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ
เม่อื นาการเสริมแรงทางบวกมาใช้ในหอ้ งเรยี น

ช่วยปรับพฤติกรรมของนกั เรียนใหเ้ หมาะสมย่ิงขน้ึ

Skinner เห็นความสาคญั ของการเสริมแรงทางบวก โดยไดแ้ ยก
วิธกี ารเสริมแรงออกเปน็ 2 วธิ ี คอื การใหแ้ รงเสรมิ ทุกครง้ั
(Continuous Reinforcement) ท่ผี ู้เรยี นแสดงพฤติกรรม
ทีพ่ ึงประสงค์ตามที่กาหนดไว้ และการให้แรงเสรมิ เป็นครง้ั คราว
(Partial Reinforcement) คือ ไม่ต้องใหแ้ รงเสริมทกุ ครั้ง
ทผ่ี ูเ้ รียนแสดงพฤตกิ รรมท่ีพึงประสงค์

10

การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement)
หมายถงึ การใหส้ ง่ิ เร้า ดว้ ยรางวลั คาพูด สหี น้า กิริยาท่าทาง
ท่ีพงึ ปราถนาหรอื พอใจ หลังแสดงพฤติกรรม ซ่ึงส่ิงเรา้ นีจ้ ะไปกระตุ้น
เสรมิ สรา้ งพฤตกิ รรมทพี่ ึงประสงคใ์ หม้ ีแนวโนม้ กลบั มาอกี ครั้ง
(สรุ างค์ โค้วตระกลู , 2554: น. 191; สมโภชน์ เอ่ยี มสุภาษติ , 2562:
น. 172; Ceccarelli, Loffler, Bourne, Al Moajil‐Cole,
Boström‐Einarsson, Evans‐Illidge, & Bay, 2018)

ดังนัน้ การเสรมิ แรงทางบวก ไดแ้ ก่
รางวัล คาชม การแสดงสหี น้า

กริ ยิ าทา่ ทางท่ีเปน็ มติ รและอบอนุ่
เปน็ วธิ ีการชว่ ยให้เพมิ่ พฤตกิ รรมท่พี ึงประสงค์

ใหก้ ลับมาแสดงอีกครงั้ และคงอยตู่ อ่ ไป

11

ตัวอยา่ งที่ 1

โรงเรยี นแหง่ หนง่ึ มีรา้ นขายขนมสาหรับให้นกั เรยี น
ซ้ือรับประทาน ในร้านมีขนม นา้ วางขายหลายชนิด

จจี ี้ เป็นเด็กผู้หญงิ ชอบทานขนมมาก ทุกครง้ั หลงั รบั ประทานอาหารเทย่ี ง
จจี จี้ ะเดินเขา้ ไปในร้านและหยิบขนมทช่ี อบ 1 อย่าง
แล้วเดนิ ออกจากร้าน โดยไม่ชาระเงิน

12

จงั หวะนั้นกสั เหน็ พอดี จึงมาเลา่ เรอ่ื งใหค้ รฟู งั

ครไู ด้เรยี กจีจม้ี าคยุ ถงึ การซื้อขนมว่า
เราต้องจ่ายเงนิ กอ่ นออกจากรา้ นเสมอ

13

วนั ต่อมา ครูยืนสงั เกตและพบวา่ จีจ้หี ยบิ ขนมในร้านแลว้ เดนิ ออกมา
โดยไมไ่ ดช้ าระเงินจริง

ครจู ึงพาจจี แี้ ละกสั เข้าไปในรา้ นแลว้ ให้จจี ี้สงั เกตกสั และทาตาม
กสั ได้หยิบขนม 1 อยา่ ง และเดนิ ไปชาระเงินกอ่ นออกจากรา้ น

14

วนั ตอ่ มา ครูยืนสังเกตเห็นจจี ้ีอยใู่ นร้าน
จีจี้หยบิ ขนมทชี่ ่นื ชอบมา 1 อย่าง แล้วเดินไปชาระเงนิ

ครกู ลา่ วชนื่ ชมจจี ีท้ ี่ชาระเงินก่อนออกจากร้าน

15

ตวั อย่างที่ 2

ณ โรงเรียนแห่งหน่ึง มีตู้ขายน้าอัตโนมัติให้นกั เรยี นสามารถยอดเหรยี ญ
เพ่ือกดนา้ มาดืม่ ได้

นนท์ เป็นเดก็ ผ้ชู าย เมอ่ื เดินผา่ นตู้ขายนา้ อตั โนมัติ นนท์เห็นในตู้
มนี ้าทช่ี อบดื่ม จึงเดนิ เขา้ ไปยืนทหี่ น้าตู้ แลว้ เอามอื ไปกดปุ่มซา้ ๆ

เพ่อื ให้นา้ ที่อยากดม่ื ออกมา

16

เกง่ เดินมาผา่ นและเหน็ จงึ มาเลา่ ใหค้ รฟู ัง

ครจู ึงให้นนทอ์ ยหู่ นา้ ตู้ขายน้าอัตโนมตั ิ แล้วให้นนท์ดวู ธิ กี ดน้าจากเพือ่ น

17

ครูใหน้ นท์ลองกดด้วยตนเองตามทีเ่ หน็ จากตัวอยา่ ง

วนั ตอ่ มา ครสู ังเกตเหน็ นนท์กาลงั กดตูน้ ้าในตอู้ อกมาได้ดว้ ยตนเอง

18

ครจู ึงกลา่ วช่นื ชมนนท์

....เราไม่อยากให้เด็ก พดู จาไม่สุภาพ
เราไมอ่ ยากใหเ้ ดก็ มีพฤติกรรมกา้ วรา้ ว

เราไม่อยากให้เดก็ เป็นเด็กดอื้
ดงั นั้น เร่ิมต้นด้วยการ…....
…..“สรา้ งแบบอยา่ งทดี่ จี ากคนรอบตัวเดก็ ”…..

“ ตวั อยา่ งท่ีดีมีคา่ มากกว่าคาสอน ”

พระมหาวรี ะพนั ธ์ ชุติปญั โญ (สุปัญบตุ ร)

19

สมโภชน์ เอย่ี มสภุ าษติ . (2562). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับ
พฤตกิ รรม. (พิมพค์ รงั้ ท่ี 9). กรงุ เทพฯ: สานักพมิ พ์
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรางค์ โคว้ ตระกูล. (2554). จิตวิทยาการศึกษา. (พิมพค์ ร้งั ท่ี 10).
กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .

Bandura, A. (2006). Autobiography. MG Lindzey & WM
Runyan (Eds.), A history of psychology in
autobiography. (Vol. IX). Washington, DC:
American Psychological Association.

Ceccarelli, D. M., Loffler, Z., Bourne, D. G., Al Moajil‐Cole,
G. S., Boström‐Einarsson, L., Evans‐Illidge, E., ...
& Bay, L. (2018). Rehabilitation of coral reefs
through removal of macroalgae: state of
knowledge and considerations for management
and implementation. Restoration ecology, 26(5),
827-838.

Newman, B. M., & Newman, P. R. (2007). Theories of
human development: Lawrence Erlbaum.

Pajares, F. (2004). Albert Bandura: biographical sketch.
Retrieved April, 10, 2006.

Stokes, D. (1986). Chance can play key role in life
psychologist says. Campus Report.(June 10), 1-4.

ทฤษฎกี ารเรียนรูท้ างสังคม :

การเรยี นรู้ผา่ นตัวแบบ (Modeling)

การมีตวั แบบทด่ี ี จะเป็นประสบการณท์ ลี่ าคา่ สาหรบั เด็ก
ดังนนั เดก็ จะพดู หรอื ปฏบิ ัตกิ ับคนในครอบครัวหรือผอู้ ่ืน

ตามทเี่ ด็กไดเ้ รยี นรูจ้ าก “ตัวแบบ”


Click to View FlipBook Version