The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aranyachuaynoen, 2021-06-15 07:15:14

หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร

หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร

ปฐมนิเทศ

วิชา ภาษาไทยพื้นฐาน

รหัสวิชา ๒๐๐๐๐-๑๑๐๑

ข้อมูลครูผู้สอน

ช่ือ-สกุล นางสาวอรัญญา ช่วยเนิน
(ครูอ๋ิว)

ตาแหน่งครู คศ.1
แผนกวิชา สามัญสัมพันธ์
ช่องทางติดต่อ ๐๘๐-๑๔๒๕๓๕๘

Aiw ranya
ID aiwaiw15

เน้ือหาการเรียนรู้

• หน่วยท่ี ๑ ภาษากบั การสอ่ื สาร • หน่วยที่ 7 การเขยี นประเภทต่าง ๆ
• หนว่ ยที่ ๒ การใช้ถอ้ ยคา • หน่วยที่ 8 การเขยี นประวตั ิย่อ การกรอก

แบบฟอรม์ และการเขยี นข้อความตดิ ตอ่ กิจธรุ ะ
• หนว่ ยท่ี ๓ การใช้ประโยค สานวนโวหารและระดับภาษา • หนว่ ยที่ 9 การเขยี นรายงานวิชาการและการเขียน
• หน่วยที่ ๔ การฟงั และดูส่อื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
โครงการ

• หน่วยที่ ๕ การอา่ นสื่อสง่ิ พิมพ์และส่อื อิเล็กทรอนิกส์ • หน่วยท่ี ๑๐-๑๒ การพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ

• หน่วยท่ี ๖ การเขยี น • หนว่ ยท่ี ๑๓ เทคนิคการพัฒนาทักษะรับสาร

และส่งสาร

หน่วยที่ ๑
ภาษากับการส่ือสาร

ถ้ อ ย คา ภ า ษ า คื อ ? เ สี ย ง
พู ด กิ ริ ย า
เ ขี ย น อาการ
ท่ี สื่ อ ค ว า ม ไ ด้
ข อ ง ค น ก ลุ่ ม
ใ ด ก ลุ่ ม ห นึ่ ง

ภาษา เป็นเครื่องมือในการส่ือสารของมนุษย์

โดยสามารถจาแนกความหมายของภาษา ได้ ๒ ประเภท ไดแ้ ก่
วจั นภาษา คือ ภาษาพดู ภาษาเขยี น และอวจั นภาษา คอื ภาษามือ
ภาษาท่าทาง หรอื สญั ลกั ษณต์ า่ ง ๆ

วัจนภาษา อวัจนภาษา

พดู กริ ิยา
เขียน
อาการ
สญั ลักษณ์
(แสง สี เสยี ง)

ค ว า ม สา คั ญ
ของภาษา

ภาษา มีความสาคัญกับมนุษย์

ทัง้ การตดิ ต่อสื่อสาร การถ่ายทอดความรู้ ความคดิ
และวัฒนธรรมซงึ่ ชว่ ยให้เกิดความเขา้ ใจซง่ึ กนั และกันในสังคม

ความสาคญั ของภาษา

๑. ภาษามลี กั ษณะเปน็ วัฒนธรรม
๒. ภาษาเปน็ สมบตั ิของสังคม
๓. ภาษาเป็นศาสตรแ์ ละศลิ ป์
๔. ภาษาเปน็ เครื่องมือท่ีใช้ตดิ ต่อสอ่ื สารและส่อื ความคิด
๕. ภาษาเปน็ เครื่องมอื ในการคดิ
๖. ภาษาชว่ ยให้บรรลพุ ันธกิจตา่ ง ๆ และช่วยธารงสงั คม

๑ . ผู้ ส่ ง ส า ร ก า ร ส่ื อ ส า ร ป ฏิ กิ ริ ย า
ตอบสนอง
๒.สาร ก ร ะ บ ว น ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ส า ร

( ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง
ข้ อ คิ ด เ ห็ น )

๓ . ส่ื อ

( บุ ค ค ล สิ่ ง พิ ม พ์
อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์

เ ฉ พ า ะ กิ จ )

๔ . ผู้ รั บ ส า ร

องค์ประกอบของการสื่อสาร

การส่ือสาร หมายถึง กระบวนการถ่ายทอดสาร โดยจะมี
องค์ประกอบ ๔ ประการ ได้แก่ ผู้ส่งสาร สาร ส่ือ และผู้รับสาร
กระบวนการส่ือสารจะเกิดขึ้น ก็ต่อเมื่อผู้ส่งสารส่งสารลักษณะต่าง ๆ ผ่าน
ส่ือไปยงั ผรู้ บั สาร เพอ่ื ให้ผู้รับสารรู้และเข้าใจความหมายของสารนน้ั ๆ

ส่ื อ

ส่ือ คือ ตัวกลางท่ที าหน้าท่นี าสารจากผู้สง่ สารไปยงั ผู้รบั สาร
สอ่ื ทม่ี นษุ ยใ์ ชส้ อื่ สารมีหลายประเภท เช่น สือ่ บุคคล สอ่ื สิ่งพมิ พ์
สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ และสื่อเฉพาะกิจ

ส่ือบุคคล • นกั ข่าว โฆษก พธิ กี ร

ส่ือ ส่อื สง่ิ พมิ พ์ • หนงั สอื พมิ พ์ วารสาร
แผ่นพับ

สือ่ • วิทยุ โทรทัศน์ คอมพวิ เตอร์
อเิ ล็กทรอนกิ ส์

สอ่ื เฉพาะกจิ • ป้ายช่ือถนน ป้ายโฆษณา
จดหมาย การบรรยายการสัมมนา

สาร

สาร คือ ข้อมูล เน้ือหาสารระ หรือใจความที่ผู้ส่งสารต้องการ
ถ่ายทอดให้ผู้รับสารรับรู้และเข้าใจสาร สามารถเนได้ทั้งถ้อยคา
ตัวหนังสือ หรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ เนื้อหาของสารสามารถจาแนกได้
๒ ประเภท คือ ๑.สารท่ีเป็นข้อเท็จจริง(สามารถพิสูจน์ได้ว่าจริงหรือ
เท็จ) ๒.สารที่เปน็ ข้อคิดเหน็ (สารทีแ่ สดงความร้สู ึกนึกคดิ และความเช่อื )

ระดบั ความรู้ • เหมาะสมกับผูส้ ง่ สารและผรู้ ับ
สาร

สารท่ีดี เนื้อหาสาระ • สอดคล้องกบั จดุ มุ่งหมายใน
การสือ่ สาร
ภาษาทใ่ี ช้
• สอดคล้องกบั ลักษณะของสาร
สงั คม และช่องทางในการสอ่ื สาร

• เหมาะสมกบั บริบททางสงั คม
วฒั นธรรม ความเช่ือ ค่านิยม

ปริมาณ • ไม่มากหรือน้อยเกินไป

มอบหมายงาน หมายเหตุ เขยี นลง
คาช้ีแจง ในหนังสือได้เลย

ให้นักเรียนตอบคาถามท้าย
หน่วยการเรียนรู้ในหนังสือ
หน้าท่ี ๑๑ - ๑๓


Click to View FlipBook Version