แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖7 ระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๖ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕67 นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน ตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน สังกัดกองการศึกษา เทศบาลเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน เทศบาลเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ ที่ พร ๕๒๐๐๕.๓/พิเศษ วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เรื่อง เสนอเพื่อพิจารณาจัดทำแบบบันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) เรียน ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน สิ่งที่ส่งมาด้วย แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖7 ด้วยข้าพเจ้า นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน ตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ปฏิบัติหน้าที่สอน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ซึ่งตามมติคณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น (ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต.) ในการประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๕ ได้มีมติเห็นชอบให้ กำหนดมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะสำหรับข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากร ทางการศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๕ ที่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์และวิธีการฯ ที่ ก.ค.ศ. กำหนด โดยกำหนดให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๕ เป็นต้นไปนั้น ข้าพเจ้าจึงได้จัดทำแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) สำหรับ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖7 ซึ่งเป็นการ ทำแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ระหว่างนางสาวนิยาภรณ์ คำปัน ตำแหน่งครู(ยังไม่มีวิทยฐานะ) และนางจินตนา ทุ่งเก้า ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา วิทยฐานะ ผู้อำนวยการ เชี่ยวชาญ บัดนี้ ข้าพเจ้าได้จัดทำเอกสารแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ตามรายละเอียดดังแนบ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณาดำเนินการต่อไป ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะผู้อำนวยการสถานศึกษา ...................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ผู้รายงาน (นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน) ตำแหน่งครู ลงชื่อ (นางจินตนา ทุ่งเก้า) ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา วิทยฐานะ ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖7 ระหว่างวันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖6 ถึงวันที่ ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖7 ผู้จัดทำข้อตกลง ชื่อ นางสาวนิยาภรณ์ นามสกุล คำปัน ตำแหน่ง ครู รับเงินเดือนในอันดับ คศ. 1 อัตราเงินเดือน 25,730 บาท สถานศึกษา โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน สังกัด อบจ./เทศบาล/อบต. เทศบาลเมืองแพร่ . อำเภอ เมืองแพร่ จังหวัด แพร่ . ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้(สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัดการเรียนรู้จริง) ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน ❑ ห้องเรียนปฐมวัย ❑ ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ ❑ ห้องเรียนสายวิชาชีพ ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แล้วแต่กรณี ไว้ ดังต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. กำหนด 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน ๑5 ชั่วโมง 35 นาที/สัปดาห์ ดังนี้ - กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ม. ๔ จำนวน ๕ ชั่วโมง 3๐ นาที/สัปดาห์ - กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาประวัติวรรณคดี ม.4/3 จำนวน 3 ชั่วโมง 4๐ นาที/สัปดาห์ - กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาการพูดในโอกาสต่างๆ จำนวน - ชั่วโมง 55นาที/สัปดาห์ - กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาประวัติศาสตร์ ม.2 จำนวน 3 ชั่วโมง 40นาที/สัปดาห์ - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ม. ๔ จำนวน - ชั่วโมง ๕๕ นาที/สัปดาห์ - กิจกรรมชุมนุม ม. ๔ จำนวน - ชั่วโมง ๕๕ นาที/สัปดาห์ PA 1/ส
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์ - การออกแบบบแผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์ - การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์ - การสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน จำนวน 2 ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์ 1.3 การมีส่วนร่วมในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ จำนวน 2 ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์ - กิจกรรมความร่วมมือแห่งชุมชนวิชาชีพ PLC จำนวน 2 ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์ 1.4 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 6 ชั่วโมง – นาที/สัปดาห์ - งานกิจการนักเรียน จำนวน 1 ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์ - งานวิจัยในชั้นเรียน จำนวน 2 ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์ - งานที่ปรึกษา,งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และงานโฮมรูม จำนวน 2 ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์ - เวรประจำวันอังคาร จำนวน ๑ ชั่วโมง - นาที/สัปดาห์ 1.5 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ -งานกิจกรรมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ -งานกิจกรรมขับเคลื่อนโรงเรียนสิ่งแวดล้อมศึกษา จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งครู ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ใน การดำเนินการด้วยก็ได้ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานกำหนด ตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตาม ข้อตกลง ใน 1 รอบการ ประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1. ด้านการจัดการ เรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ ครอบคลุมถึงการสร้าง แ ล ะ ห ร ื อ พ ั ฒ น า หลักสูตร การออกแบบ การจัดการเรียนรู้ การ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ กา ร สร ้า งและหรือ พัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่ง เรียนรู้ การวัดและประเมินผล การจัดการเรียนรู้ การศึกษา วิเคราะห์ ส ั ง เ ค ร า ะ ห ์ เ พื่ อ แ ก ้ ป ั ญ ห า ห รื อ พัฒนาการเรียนรู้ การ จ ั ด บ ร ร ย า ก า ศ ที่ ส่งเสริมและพัฒนา ผู้เรียน และการอบรม และพัฒนาคุณลักษณะ ที่ดีของผู้เรียน 1.1 สร้างและหรือพัฒนา หลักสูตร ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยมี การศึกษาคำอธิบายรายวิชา วิเคราะห์มาตรฐาน ตัวชี้วัดหรือ ผลการเรียนรู้ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ และสมรรถนะ สำคัญ เพื่อจัดทำหลักสูตร ระดับชั้นเรียน ที่ประกอบไป ด้วยตารางวิเคราะห์มาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด แบบ วิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบาย รายวิชาคำอธิบายรายวิชา / ตัวชี้วัด วิเคราะห์ตัวชี้วัด รวมทั้งมีการประเมินความ สอดคล้องกับมาตรฐานการ เรียนรู้และตัวชี้วัด บริบทของ สถานศึกษา จุดเน้นสถานศึกษา ส่งผลให้คุณภาพการจัดการ เรียนรู้สูงขึ้นและเป็นแบบอย่าง ที่ดี ๑. ผู้เรียนได้รับการ จ ั ด ก า ร เ ร ีย น ร ู้ต า ม ห ล ั ก ส ู ต รร า ย ว ิ ช า ภาษาไทยผู้เรียนได้ เรียนรู้ตรงตามหลักสูตร ท ี ่ ก ํ า ห น ด อ ย ่ า ง มี ประสิทธิภาพ ๒. ผู้เรียนมีหลักสูตร สถานศึกษาที่มีการ วิเคราะห์มาตรฐาน ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ อ ั น พึ ง ประสงค์ และสมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน ตาม หลักสูต รแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) ทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ที่ สอดคล้องกับธรรมชาติ รายวิชาอย่างเหมาะสม ส่งผลให้ผู้เรียนมีความ กระตือรือร้นในการเรียน และมีทักษะในกา ร เรียนรู้ ๑. ร้อยละ ๖๕ ของ ผ ู ้ เ ร ี ย น ม ี ค ว า ม รู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ตรงตาม หลักสูตรฯ ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากำหนด ๒. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๖๕
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานกำหนด ตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตาม ข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) ๑.๒ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ ๑. ออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ สมรรถนะที่สำคัญ ตามหลักสูตร โดยมีการปรับประยุกต์ให้ สอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษา ผู้เรียนและชุมชน โดยมีการออกแบบการจัดการ เรียนรู้ ที่สามารถแก้ไขปัญหาใน การจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้ วิชาภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ คำนึงถึงความ แตกต่างของผู้เรียน จัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่หลากหลาย เปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ๒. จัดทำแผนการจัดการ เรียนรู้วิชาภาษาไทย ผลิตสื่อ นวัตกรรมการสอน และใบงาน ๑. ผู้เรียนมีความรู้ ตามมาตรฐานและ ตัวชี้วัดตามธรรมชาติ ของวิชา ได้เรียนรู้ ตามความสนใจ ตาม ความถนัด ซึ่งจะทำ ให้ผู้เรียนมีความ สนใจในการเรียน ส่งผลให้ผู้เรียน มี คุณลักษณะเป็นไป ต า ม ม า ต ร า ฐ า น ต ั ว ช ี ้ ว ั ด แ ล ะ ผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น ๒. ท ำ ใ ห้ผ ู ้ เ ร ียน สามารถทำงานเป็น ทีมได้ ๑. ร้อยละ ๖๕ ของ ผ ู ้ เ ร ี ย น มีผ ล ก า ร ประเมินตามตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต า มที่สถา นศึก ษ า กำหนด ๒. ผู้เรียนร้อยละ ๖๕ มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่สูงขึ้น ตามเกณฑ์ที่ สถานศึกษากำหนด 3. ผู้เรียนร้อยละ 70 มี ความสามารถทำงาน ร่วมกับผู้อื่นได้
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานกำหนด ตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๑. กำหนดแนวทางการ จัดการเรียนรู้ เตรียมการสอนและ กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ล่วงหน้า จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ การ กำหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้ (Active Learning)เพื่อแก้ไข ปัญหาในการจัดการเรียนรู้ ที่ เหมาะสมกับวัยและความแตกต่าง ระหว่างบุคคล มีการสอดแทรก คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และให้ คำปรึกษาช่วยเหลือ ในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้มี ความสามารถในการเรียนรู้ และ สามารถทำงานร่วมกันได้บรรลุเป้า ตามหมายที่กำหนด ๒. จัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้รูปแบบ เทคนิค และวิธีการ ที่เน้นการ ปฏิบัติมีความหลากหลาย ใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี เพื่อแก้ไข ปัญหาในการจัดการเรียนรู้ มีการ วัดผลประเมินผลตามแผนการ จัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน ตัวชี้วัด สมรรถนะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หรือผล การเรียนรู้ สอดคล้องกับธรรมชาติ ของผู้เรียน และสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ๑ . ผ ู ้ เ ร ี ย น มี ความสามารถเรียนรู้ ด้วยตนเอง ส่งผลให้ ผู้เรียนมีทักษะการ คิดในการแก้ปัญหา ๒ . ผ ู ้ เ ร ี ย น มี คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ มีนิสัยใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการ ทำงาน ๓. ผู้เรียนทำงาน ร่วมกันเป็นทีมได้ 1. ผู้เรียนร้อยละ 70 มี ทักษะการคิดแก้ไข ปัญหา ๒. ผู้เรียนร้อยละ 70มี ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ อ ั น พึ ง ประสงค์อยู่ในระดับดี 3. ผู้เรียนร้อยละ 75 มี ความสามารถทำงาน ร่วมกับผู้อื่นได้
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานกำหนด ตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตาม ข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่ง เรียนรู้ 1. มีการสร้างสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ให้ สอดคล้องกับแผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 2. ออกแบบ คัดสรร พัฒนาสื่อ การเรียนรู้โดยดำเนินการ วิเคราะห์ มาตรฐาน ตัวชี้วัด เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนรู้ ท ี ่ อ อ ก แ บ บ ไ ว ้ แ ล ะ จ ั ด ห า ประยุกต์ หรือพัฒนาสื่อการ เรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี ทีสอดคล้อง กันเนื้อหาสาระ กิจกรรมการ เร ียนร ู้ และสอด คล้องกับ มาตราฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้เป็นสื่อที่ช่วย ส่งเสริมทักษะกระบวนการคิด แก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับ ผู้เรียน มีการประเมินการใช้สื่อ การเรียนรู้ เพื่อนำผลไปปรับปรุง พัฒนาให้มีคุณภาพสูงขึ้น 1. ผู้เรียนมีความ สนใจในการเรียนรู้ เพิ่มมากขึ้น ส่งผล ผ ู ้ ใ ห ้ ผ ู ้ เ ร ี ย น มี ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสูงขึ้น 2. ผู้เรียนมีทักษะ ก ร ะ บ ว น ก า ร คิ ด สามารถคิดแก้ไข ป ั ญ ห า แ ล ะ สร้างสรรค์ผลงาน 1. ผู้เรียนร้อยละ ๖๕ มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่สูงขึ้น ตามเกณฑ์ที่ สถานศึกษากำหนด 2. ผู้เรียนร้อยละ 75 มี ทักษะกระบวนการคิด สามารถทำงานตามที่ กำหนดได้อย่างถูกต้อง
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานกำหนด ตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตาม ข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1.5 วัดและประเมินผลการ เรียนรู้ 1. ออกแบบการวัดประเมินผล การเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่หลากหลายวิธี เหมาะสมกับ ผู้เรียน 2. ศึกษาวิเคราะห์หน่วยการ เรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ การออกแบบวิธีการวัดและ ประเมินผลให้มีความหลากหลาย เหมาะสมกับผู้เรียน สอดคล้อง กับมาตราฐาน ตัวชี้วัด และ กิจกรรมการเรียนรู้ ดำเนินการวัด และประเมินผลการเรียนระหว่าง เรียน หลังเรียน และสะท้อนผล ให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง 1. ผ ู ้ เ ร ี ย น ไ ด้ พัฒนาการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง มี ความสามารถในการ พ ั ฒ น า ต น เ อ ง ไ ด้ ส่งผลให้ผู้เรียนมี ผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรียนที่สูงขึ้น 1. ผู้เรียนร้อยละ ๖๕ มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่สูงขึ้น ตามเกณฑ์ที่ สถานศึกษากำหนด
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานกำหนด ตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตาม ข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา หรือ พัฒนาการเรียนรู้ 1. ศึกษาวิเคระห์ผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เพื่อแก้ไข ปัญหาและปรับปรุงงการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีคุณภาพเป็นไปตาม หลักสูตร 2. วิเคราะห์ผลการประเมินการ จัดการเรียนรู้ในระหว่างเรียนของ ผู้เรียน สรุปผลการเรียน นำผล การเรียนตามมาตรฐานและ ตัวชี้วัดที่มีปัญหา มาวางแผน ออกแบบการแก้ไขปัญหาโดยให้ กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริม และพัฒนาผู้เรียน 1.จัดบรรยากาศในชั้นเรียนทั้ง ด้านกายภาพและด้านจิตวิทยา 2. จัดบรรยากาศในชั้นเรียน ให้เอื่อต่อการเรียนรู้ เป็นระเบียบ สะอากชด ปลอดภัย 3.จัดบรรยากาศในการเรียนรู้โดย การกระตุ้น ให้โอกาศผู้เรียนได้ใช้ กระบวนการคิด การตัดสินใจ และให้กำลังใจในการเรียนรู้ของ ผู้เรียน และสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดี กับผู้เรียนทางบวก 1. ผู้เรียนได้รับการ แ ก ้ ไ ข พ ั ฒ น า ก า ร เรียนรู้ทำให้มีผลการ เรียนตามมาตรฐาน และตัวชี้วัดผ่าน เกณฑ์ที่กำหนด 1. ทำให้ผู้เรียนมี ค ว า ม ส ุ ข แ ล ะ กระตือรือร้นในการ เรียนรู้ ส่งผลให้ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขั้น แ ล ะ ม ี ท ั ก ษ ะ กระบวนการคิด 1. ผู้เรียนร้อยละ 70 มี ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น มาตราฐานและตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์ในระดับดีขึ้น ไป 1. ผู้เรียนร้อยละ ๖๕ มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่สูงขึ้น ตามเกณฑ์ที่ สถานศึกษากำหนด 2. ผู้เรียนร้อยละ 70 มี ทักษะกระบวนการคิด
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานกำหนด ตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตาม ข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1 . 8 อ บ ร ม แ ล ะ พ ั ฒ น า คุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน 1. จัดทำข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เรียนเป็นราบบุคคลอย่างเป็น ระบบ ถูกต้องเป็นปัจจุบัน 2. ดำเนินการจัดทำระบบข้อมูล สารสนเทศ โดยเก็บรวบรวม ข้อมูลของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ทั้งด้านการเรียนรู้ ด้านสุขภาพ และพฤติกรรม อารมณ์และจิตใจ โดยใช้การสัมภาษณ์ การเยี่ยม บ้าน ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมโฮมรูม การเข้าค่าย คุณธรรมจริยธรรม และการมอบ ทุนการศึกษาแก่นักเรียนเรียนดี 1. ผู้สอนมีการจัดทำ ข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เร ียน สา มา รถ นำไปใช้ได้รับความ ช่วยเหลือสนับสนุน ให้มีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ตามสภาพ ปัญหา นักเรียนได้รับ ทุนการศึกษา ทำให้ นักเรียนมีสุขภาพจิต ใจและพฤติกรรมการ เรียนรู้ที่ดีขึ้นส่งผลทำ ให้ผู้เรียนมีผลการ เรียนรู้ที่สูงขึ้น 1. ผู้เรียนร้อยละ ๖๕ มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่สูงขึ้น ตามเกณฑ์ที่ สถานศึกษากำหนด 2. ผู้เรียนร้อยละ 100 มีสุขภาพจิตดีขึ้นมี อารมณ์ร่าเริงแจ่มใส
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานกำหนด ตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตาม ข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 2. ด้านการส่งเสริมและ สนับสนุนการจัดการ เรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอ ให้ครอบคลุมถึงการ จัดทำข้อมูลสารสนเทศ ของผู้เรียนและรายวิชา การดำเนินการตาม ระบบดูแลช่วยเหลือ ผู้เรียน การปฏิบัติงาน วิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา และ การประสานความ ร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือ สถานประกอบการ 2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศ ของผู้เรียนและรายวิชา ๑. จัดทำข้อมูลสารสนเทศ ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล และ รายวิชาภาษาไทย เพื่อใช้ในการ ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ แก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนและเป็นการให้ข้อมูล ย้อนกลับแก้ผู้เรียนและผู้ปกครอง เช่น แบบบันทึกผลการพัฒนา คุณภาพผู้เรียน แบบรายงานผล การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รายบุคคล บันทึกกิจกรรมโฮมรูม สถิติมาเรียน ของนักเรียน ประมวลผลเป็นข้อมูลสารสนเทศ และจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ อย่างเป็นระบบในรูปแบบของ โปรแกรม Excel 1. ผู้สอนมีการจัดทำ ข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เร ียน สา มา รถ นำไปใช้ได้รับความ ช่วยเหลือสนับสนุน ให้มีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ตามสภาพ ปัญหา นักเรียนได้รับ ทุนการศึกษา ทำให้ นักเรียนมีสุขภาพจิต ใจและพฤติกรรมการ เรียนรู้ที่ดีขึ้นส่งผลทำ ให้ผู้เรียนมีผลการ เรียนรู้ที่สูงขึ้น 1. ผู้เรียนร้อยละ ๖๕ มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่สูงขึ้น ตามเกณฑ์ที่ สถานศึกษากำหนด 2. ผู้เรียนร้อยละ 100 มีสุขภาพจิตดีขึ้นมี อารมณ์ร่าเริงแจ่มใส
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานกำหนด ตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตาม ข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 2.2 ดำเนินการตามระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน 1. ดำเนินการดูแลช่วยเหลือ นักเรียนในการส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาให้นักเรียนมี คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และมี คุณภาพ ตามที่สังคมต้องการ 2. วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ ของนักเรียนรายบุคคล คัดกรอง ผู้เรียนกลุ่มเสี่ยงให้คำปรึกษา ช่วยเหลือนักเรียนอย่างทั่วถึงตรง ตามสภาพปัญหา ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และส่งเสริม ผู้เรียนมีความสามารถสูงขี้น โดย การออกเยี่ยมบ้านนักเรียนและ ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร ่ ว ม ม ื อ กั บ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ ผู้ปกครองในการช่วยเหลือผู้เรียน ตามสภาพปัญหา รวมถึงมอบ ทุนการศึกษาแก่นักเรียนเรียนดี 2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และ งานอื่นๆ ของสถานศึกษา 1. ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ ของสถานศึกษา เพื่อส่งเสริมให้ การจัดการเรียนรู้มีคุณภาพตาม เป้าหมายของสถานศึกษา ได้แก่ 1. ผู้เรียนได้รับการ ดูแลช่วยเหลืออย่าง ทั่วถึงต่อเนื่อง ทำให้ ผู้เรียนมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดีขึ้น เ ร ี ย น ร ู ้ อ ย ่ า ง มี ความสุข ส่งผลให้ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนที่สูงขี้น 2. ผู้เรียนสามารถ ผ ่ า น ก า ร เ ร ี ย น รู้ รายวิชาภาษาไทยได้ อย่างมีคุณภาพ 1.ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขึ้น และได้รับการพัฒนา ทางด้านวิชาการ อย่างมีคุณภาพ 1. ผู้เรียนร้อยละ 80 มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงขึ้น 2. ผู้เรียนร้อยละ 100 ผ่านการเรียนรู้รายวิชา ภาษาไทยตามเกณฑ์ที่ กำหนด 1. ผู้เรียนร้อยละ 65 มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ต า ม เ ก ณ ฑ ์ ที่ สถานศึกษากำหนด
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานกำหนด ตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตาม ข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) ได้แก่ จัดทำหลักสูตรกลุ่มสาระ การเรียนรู้ - วิชาภาษาไทยพื้นฐาน (ท31101) - วิชาภาษาและวัฒนธรรม (ท30201) - วิชาประวัติวรรณคดี (ท31201) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 2.ปฏิบัติหน้าที่ครูประจำชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4/3 3. จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน ค ุ ณ ธ ร ร ม จ ร ิ ย ธ ร ร ม ชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ 4 2.4 ประสานความร่วมมือกับ ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และ ห ร ื อ ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร 1. ประสานความร่วมมือกับ ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย เพื่อ ส่งเสริมให้การจัดการเรียนรู้มี คุณภาพตามเป้าหมายของ สถานศึกษาผ่านกิจกรรมประชุม ผู้ปกครอง 2. จัดทำกลุ่มไลน์ผู้ปกครองเพื่อ ติดต่อสื่อสารและร่วมมือกัน ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน 1. ผู้เรียนได้รับการ แก้ไขและพัฒนาทั้ง ด้านวิชาการ ลักษณะ อ ั น พ ึ ง ป ร ะ ส ง ค์ รวมทั้งสมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน 1. ผู้เรียนร้อยละ 65 มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ต า ม เ ก ณ ฑ ์ ที่ สถานศึกษากำหนด
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานกำหนด ตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตาม ข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 3. ด้านการพัฒนา ตนเองและวิชาชีพ ลักษณะงานที่เสนอให้ ครอบคลุมถึงการพัฒนา ตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง การมีส่วน ร่วมในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ และการนำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ ได้จากการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพมาใช้ในการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน และการพัฒนา นวัตกรรมการจัดการ เรียนรู้ ๓.๑ พัฒนาตนเองอย่างเป็น ระบบและต่อเนื่อง ๑. พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง โดยมีแผนพัฒนา ตนเอง (ID Plan) ที่สอดคล้องกับ สภาพการปฏิบัติงานความ ต้องการจำเป็นตามแผนกลยุทธ์ ของโรงเรียน การพัฒนาตนเอง ตามแผนนำความรู้ ความสามารถ และทักษะที่ได้จากการพัฒนา ตนเองมาจัดกิจกรรม การเรียนรู้ สร้างและพัฒนานวัตกรรมและ ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ๒. พัฒนาตนเองโดยการเข้า อบรม/ประชุม/สัมนาที่เหมาะสม กับตนเอง 20 ชม./ปี เพื่อนำมา แก้ไขปัญหา พ ัฒนา การจัด กิจกรรมด้านการเรียนการสอน 3 . 2 ม ี ส ่ ว น ร ่ ว ม ใ น ก า ร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนา การ จัดการเรียนรู้ 1. เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียน 2. เข้าร่วมปฏิบัติการตาม กระบวนการ (PLC) สัปดาห์ละ 1 ครั้ง โดยเป็นทั้งผู้นำและผู้เข้าร่วม ๑. ครูนำความรู้มาใช้ ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ ว ิธ ีกา ร เร ียนร ู ้ ที่ ท้าทายหลากหลาย ทำให้ผู้เรียนได้รับ การเรียนรู้จากสื่อ สมัยใหม่ ทำให้ผู้เรียน มีความสนใจและ กระตือรือร้นในการ เรียนรู้มากขึ้นส่งผล ให้ผู้เรียนมีผลการ เรียนรู้สูงขึ้น ๒. นำความรู้ทักษะ ไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนโดย การจัดกิจกรรมที่ หลากหลาย 1. ผู้เรียนได้รับการ จัดการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพสูง ผู้เรียนมีความสนใจ ท้าทายที่ได้เรียนรู้สิ่ง ใหม่ๆ ส่งผลให้ผู้เรียน 1. ผู้เรียนร้อยละ ๖๕ ม ี ค ว า ม ร ู ้ ท ั ก ษ ะ สมรรถนะผ่านเกณฑ์ กิจกรรมการเรียนการ ส อ น / ก ิ จ ก ร ร ม ที่ ครูผู้สอนจัดทำขึ้น 1. ผู้เรียนร้อยละ 65 มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ต า ม เ ก ณ ฑ ์ ที่ สถานศึกษากำหนด
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานกำหนด ตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตาม ข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) การปฏิบัติ (PLC) มาวางแผน ปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง 3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะ ที่ได้จากการพัฒนา ตนเอง และวิชาชีพมาใช้ในการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ 1. นำความรู้เรื่องการออกแบบ การเรียนรู้มาใช้ในการออกแบบ การเรียนรู้ทักษะการอ่าน เพื่อ แก้ปัญหาการอ่านจับใจความ สำคัญ 2. นำความรู้และประสบการณ์ ในการพัฒนาตนเองและพัฒนา วิชาชีพ มาพัฒนาการจัดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณภาพเต็มตามศักยภาพ มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนที่สูงขึ้น 1 . ผ ู ้ เ ร ี ย น มี ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสูงขึ้น 2. ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ผ่านเกณฑ์การ เรียนรู้ที่กำหนดอย่าง มีคุณภาพ 1. ผู้เรียนร้อยละ 65 มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ต า ม เ ก ณ ฑ ์ ที่ สถานศึกษากำหนด 2. ผู้เรียนร้อยละ 100 ผ่านการเรียนรู้รายวิชา ภาษาไทยตามเกณฑ์ที่ กำหนด
หมายเหตุ 1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพ การจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แล้วแต่กรณี และ ครู ผู้จัดทำข้อตกลง 2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ที่ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวม ของรายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน ตามข้อตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2 3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตาม ข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA2จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการจัดการเรียนรู้ ในบริบทของแต่ละ สถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลง เป็นสำคัญ โดยไม่เน้นการ ประเมินจากเอกสาร
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ แก้ไขพัฒนา พัฒนาการจัดการเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังในวิทยฐานะที่สูงกว่าได้) ประเด็นท้าทาย เรื่อง การแก้ไขพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทย เรื่อง การอ่านจับ ใจความสำคัญ โดยใช้บทเรียนออนไลน์ Google site ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน จากสภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 1/2566 ของผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปัจจุบันพบว่าคุณภาพของผู้เรียนไม่เป็นไปตามเป้าหมายของหลักสูตรสถานศึกษาที่ได้ กําหนดไว้ นักเรียนมีทักษะการอ่าน คิด วิเคราะห์ ต่ำกว่าเกณฑ์ร้อยละ 65 ซึ่งต่ำกว่าค่าเป้าหมายที่โรงเรียนได้ กําหนดไว้ประกอบกับผู้เรียนไม่ชอบอ่านหนังสือ ทำให้เกิดความบกพร่องในการใช้ภาษาไทยในชีวิตประจำวัน อ่านจับใจความสำคัญ และสามารถคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ข้อสอบในวิชาต่างๆ ไม่ได้ ส่งผลกระทบทำให้ การเรียนรู้ในหลายๆ วิชาเรียนรู้ได้ช้า และส่งผลต่อเนื่องทำให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ อีกทั้งนักเรียนปัจจุบัน นิยมเล่นเกม อยู่กับหน้าจอมือถือเป็นเวลานาน ข้าพเจ้ามีความตั้งใจที่จะพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์ Google site โดยให้นักเรียนเข้า ไปศึกษาในช่วงเวลาว่าง และครูเป็นให้คำแนะนำ ซึ่งสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 เรื่อง วรรณคดี มงคลสูตรคำฉันท์ในสาระที่ ๑ การอ่าน มฐ ท๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ ตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ม.๔ – ๖/2 ตีความ แปลความและขยาย ความเรื่องที่อ่าน ผู้เรียนมีผลการเรียนรู้ต่ำกว่าระดับ ๒ (พอใช้) ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ซึ่งเมื่อนักเรียนได้รับ การแก้ไขปัญหา จะทำให้ทักษะการอ่าน การคิดวิเคราะห์ดีขึ้นส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทุกๆวิชาสูงขึ้น 2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล ๒.1 ศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดการเรียนรู้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2560 ที่สอดคล้องกับการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คือ สาระที่ ๑ การอ่าน มฐ ท๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการ ดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ม.๔ – ๖/2 ตีความ แปลความและขยายความเรื่องที่อ่าน วิชาภาษาไทย พื้นฐาน รหัสวิชา ท ๓2๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖๖ โดยใช้บทเรียนออนไลน์ Google site ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ๒.๒ ศึกษาขอบข่ายของตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ของโรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน . ๒.3 เขียนแผนออกแบบการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรม/ชุดกิจกรรมการเรียนรู้การ์ตูน/แบบฝึกหัดที่ เกม เกี่ยวข้องกับกิจกรรม การเรียนรู้ซึ่งมีองค์ประกอบของแผน คือมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
สาระสําคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อชุดการสอน แบบฝึกหัด การ วัดผลประเมินผล บันทึกหลังสอนและดําเนินกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนที่เขียนขึ้น ๒.4 ออกแบบเครื่องมือวัดประเมินผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน หลังเรียนหน่วยการเรียนรู้การอ่านจับใจความ สำคัญ 2.5 ดำเนินการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้บทเรียนออนไลน์ Google site เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ ใช้เวลา 10 ชั่วโมง ระยะเวลาดำเนินการ มกราคม-กุมภาพันธ์ 2566 ๒.6 ออกแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ Google site เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 2.7 สรุปผลรายงานผลการพัฒนา 3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง 3.1 เชิงปริมาณ ๓.๑.๑ ผู้เรียนที่เรียนวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓1102 ร้อยละ ๗0 ขึ้นไป (K) อ่านจับใจความ สำคัญ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด ๓.๑.๒ ผู้เรียนที่เรียนวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓1102 ร้อยละ ๗0 ขึ้นไป (P) มีผลงานทีสะท้อนความคิดสร้างสรรค์และองค์ความรู้ด้วยตนเองอย่างน้อย 1 ชิ้นขึ้นไป ๓.๑.๓ ผู้เรียนที่เรียนวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓1102 ร้อยละ 75 ขึ้นไป (A) ) ผ่านเกณฑ์การประเมินสมรรถนะความสามารถในการสื่อสาร และความสามารถในการคิด และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ในแผนการจัดการเรียนรู้ 3.2 เชิงคุณภาพ ๓.๒.๑ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์วิชาภาษาไทยพื้นฐาน รหัสวิชา ท ๓1102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖๖ เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ มีคุณภาพในระดับดี ๓.๒.2 ผู้เรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และค้นพบองค์ความรู้และสรุปองค์ความรู้ด้วย ตนเอง 3.2.3 ผู้เรียนที่เรียนวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓1102 มีผลงานทีสะท้อนความคิดสร้างสรรค์ และองค์ความรู้ด้วยตนเอง ลงชื่อ.......................................................... (นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน) ตำแหน่ง ครู ผู้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน 29 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖6
ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แล้วแต่กรณี ( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไขและเสนอ เพื่อพิจารณาอีกครั้ง ดังนี้ .............................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.......................................................... (นางจินตนา ทุ่งเก้า ) ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน 1 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖6