The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการเรียน 2.2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Niyaporn Kumpun, 2024-02-17 01:58:13

แผนการเรียน 2.2566

แผนการเรียน 2.2566

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 รายวิชา ท๓๓๑๐2 ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 นิราศนรินทร์คำโคลง เรื่องที่ 1 ปฐมนิเทศ เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 256๖ สอนวันที่______________________ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ - ตัวชี้วัด - ๒. สาระสำคัญ มนุษย์ใช้ภาษาเพื่อสื่อความรู้ ความคิด ความต้องการ ความเข้าใจ และประสบการณ์ต่าง ๆ ทุกชาติ ย่อมมีภาษาเพื่อใช้สื่อสารซึ่งกันและกัน ภาษาจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับมนุษย์อย่างยิ่ง การมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับธรรมชาติของภาษาและพลังของภาษา จะช่วยให้ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้ชัดเจนถูกต้อง สามารถ พัฒนาทักษะทางภาษาได้ตามกระบวนวิธี ตระหนักถึงความงาม ความเหมาะสม และความหมายของภาษาได้ อย่างแท้จริง ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถอธิบายความสำคัญของการเรียนภาษาไทย ๒. นักเรียนสามารถบอกประโยชน์ที่ได้จากการเรียนวิชาภาษาไทยได้ ๔. สาระการเรียนรู้ ด้านความรู้ ๑. ความสำคัญของภาษาไทย ด้านทักษะ/กระบวนการ ๑. ทักษะการพูด ๒. ทักษะการฟัง ๓. ทักษะการคิด ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้


๕. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน (๕ นาที) ๑. ครูกล่าวทักทายนักเรียน ตรวจสอบรายชื่อ และอุปกรณ์การเรียน ๒. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ การใช้ภาษาไทยในชีวิตประจำวันว่าเป็นอย่างไร จากนั้นครู กล่าวเพิ่มเติมเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้(๔๐ นาที) ๓. นักเรียนร่วมตอบคำถาม “การใช้ภาษาไทยมีความสำคัญต่อเราอย่างไร” โดยให้นักเรียนทุกคนบอก ความสำคัญเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยเป็นรายบุคคล ๔. ชี้แจงเรื่อง หนังสืออ่านนอกเวลา โดยให้นักเรียนเลือกอ่านหนังสือคนละ ๑ เล่ม แล้วทำรายงานส่ง โดยมีหัวข้อดังนี้ - ชื่อหนังสือ - ประวัติผู้แต่ง - จุดประสงค์ของเรื่อง - เรื่องย่อ - การวิเคราะห์ด้านการใช้ภาษา - การวิเคราะห์ด้านสังคม - ข้อคิด - ประโยชน์ที่ได้รับ ๕. กล่าวข้อตกลงในชั้นเรียนวิชาภาษาไทย ท ๓๑๑๐๒ และคำอธิบายรายวิชาเพื่อแจ้งเรื่องที่นักเรียน จะได้เรียนในภาคเรียนที่ ๒ ๖. นักเรียนทำใบงาน “ฉันคิดว่าฉันจะได้...” โดยให้นักเรียนเขียนบอกสิ่งที่นักเรียนคาดว่าจะได้รับจาก การเรียนในรายวิชา ภาษาไทย ท ๓๑๑๐๒ พร้อมตกแต่งให้สวยงาม กิจกรรมรวบยอด (๕ นาที) ๑๑. นักเรียนบอกประโยชน์ของภาษาไทยที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ๖. สื่อและแหล่งเรียนรู้ ๑. โปรมแกรมนำเสนอภาพนิ่ง เรื่อง ปฐมนิเทศ ภาคเรียนที่ ๒ ๗. ภาระงาน / ชิ้นงาน ๑. ใบงาน “ฉันคิดว่าฉันจะได้...”


๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ๘.๑ วิธีการวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือที่ใช้วัด เกณฑ์การประเมิน ๑. นักเรียนสามารถ อธิบายความสำคัญของ การเรียนภาษาไทย แบบสังเกตพฤติกรรมการ ร่วมกันตอบคำถาม การร่วม กิจกรรม แบบประเมินพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ - ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ ๒. นักเรียนสามารถบอก ประโยชน์ที่ได้จากการ เรียนวิชาภาษาไทยได้ แบบสังเกตพฤติกรรมการ ร่วมกันตอบคำถาม การร่วม กิจกรรม แบบประเมินพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ - ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ ๘.๒ เกณฑ์การประเมินผล ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ ด้านความรู้ (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการ ร่วมกันตอบคำถาม การ ร่วมกิจกรรม ปฏิบัติได้ ถูกต้อง ปฏิบัติมี ข้อบกพร่อง เล็กน้อย ปฏิบัติมี ข้อบกพร่อง ปานกลาง ปฏิบัติมี ข้อบกพร่อง มาก ต้อง ปรับปรุง ด้านทักษะ/ กระบวนการ (P) ๑. สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานรายบุคคล - การแสดงความคิดเห็น - การทำงานตามหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย - การตรงต่อเวลา ๒.สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม - การแสดงความคิดเห็น - การยอมรับฟังคนอื่น - ความมีน้ำใจ - การมีส่วนร่วมในการ ปรับปรุง ผลงานกลุ่ม ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม


ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยม (A) ๑. สังเกตความมีวินัย - ปฏิบัติตาม ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัว โรงเรียน และสังคม ไม่ละเมิด สิทธิของผู้อื่น ตรงต่อ เวลาในการปฏิบัติ กิจกรรมต่าง ๆ ใน ชีวิตประจำวัน และ รับผิดชอบในการทำงาน ๒.ใฝ่เรียนรู้ - แสวงหาข้อมูลจาก แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ - มีการจดบันทึก ความรู้อย่างเป็นระบบ - สรุปความรู้ได้อย่างมี เหตุผล ๓. มุ่งมั่นในการทำงาน - เอาใจใส่ต่อการ ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย - ตั้งใจและรับผิดชอบ ในการทำงานให้สำเร็จ - ปรับปรุงและพัฒนา การทำงานรอบคอบ - ทุ่มเท ทำงาน อดทน ไม่ท้อต่อปัญหาอุปสรรค - พยายามแก้ปัญหา และอุปสรรคในการ ทำงานให้สำเร็จ ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม


ผ่านเกณฑ์คะแนนรูบริคส์ระดับ ๓ ขึ้นไป เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ อยู่ในระดับ ๑๐ - ๑๒ ดีมาก ๔ ๗ - ๙ ดี ๓ ๕ - ๖ พอใช้ ๒ ต่ำกว่า ๕ ปรับปรุง ๑


เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนรายบุคคล คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินนี้สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนโดยครู ตามรายการประเมินพร้อมทั้ง เกณฑ์การให้คะแนนในแต่ละหัวข้อที่ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียนตามความเป็นจริง และครูจะประเมินลงใน แบบสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน รายการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) ๑. มารยาทในการฟัง การดู นั่งอยู่กับที่และ ไม่พูดคุยเวลาทำกิจกรรม ไม่นั่งอยู่กับที่ หรือ พูดคุยกับเพื่อนบ้าง เป็นบางครั้ง (อย่างใด อย่างหนึ่ง) เดินในห้องโดยไม่ได้รับ อนุญาต หรือพูดคุยกับ เพื่อนตลอดเวลา ๒.การมีส่วนร่วมใน การแสดงความคิดเห็น ซักถาม หรือแสดง ความคิดเห็นในเรื่องที่ เรียนมากกว่า ๑ ครั้ง เมื่อครูถาม ซักถาม หรือแสดง ความคิดเห็นในเรื่องที่ เรียน ๑ ครั้ง เมื่อครูถาม ไม่ซักถาม และแสดง ความคิดเห็นเลย หรือ ซักถาม และแสดง ความคิดเห็นในเรื่องที่ไม่ เกี่ยวกับการเรียน ๓.มุ่งมั่นในการทำงาน ๑. ปฏิบัติงานที่ตามครู มอบหมาย ๒. ส่งงานตรงตามเวลา ๑. ปฏิบัติงานที่ตามครู มอบหมาย ๒. ส่งงานไม่ตรงตาม เวลา ๑. ไม่ปฏิบัติงานที่ตาม ครูมอบหมาย ๒. ไม่ส่งงาน ๔.คุณธรรมในการเรียน เช่น มีวินัย ซื่อสัตย์ ฯลฯ ๑. มีวินัย ได้แก่ แต่งการ เรียบร้อย และปฏิบัติ ตามข้อตกลงในการเรียน ๒.ซื่อสัตย์ ไม่ลอกงาน เพื่อน ขาดคุณสมบัติข้อใดข้อ หนึ่ง ขาดคุณสมบัติทั้ง ๒ ข้อ ระดับคุณภาพ/การวัดประเมินผล คะแนนรวม ๙-๑๒ หมายถึง นักเรียนมีพฤติกรรมในกิจกรรมการเรียนการสอนระดับ ดี คะแนนรวม ๕-๘ หมายถึง นักเรียนมีพฤติกรรมในกิจกรรมการเรียนการสอนระดับ พอใช้ คะแนนรวม ๐-๔ หมายถึง นักเรียนมีพฤติกรรมในกิจกรรมการเรียนการสอนระดับ ปรับปรุง ลงชื่อ………………………………………………..ครูผู้สอน (นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน) ตำแหน่ง ครู รับเงินเดือนอันดับ คศ.1


๙. ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นก่อนใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ๙.๑ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………..…….…… ……………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….…. ............................……………………………………………………………………………………………………………..…………………… ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางสาวปุญญาภา ศรีวิชัย) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย …………..………../……..……………/……………….. ๙.๒ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาฝ่ายวิชาการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………....……………….………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..……...................................………… ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางกิตติมา เทพสาร) รองผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน …………..………../……..……………/……………….. ๙.๓ ผู้อำนวยการสถานศึกษา อนุมัติ ไม่อนุมัติ เพราะ............................................................................................................ ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางจินตนา ทุ่งเก้า) ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน ………..………../……..……………/……………….


๑๐. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ ๑๐.๑ ผลการสอน / ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ / ความเข้าใจ (A) ผ่านเกณฑ์การประเมิน......คน คิดเป็นร้อยละ........ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน.......คน คิดเป็นร้อยละ.... ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ด้านทักษะ / กระบวนการ (P) ผ่านเกณฑ์การประเมิน......คน คิดเป็นร้อยละ........ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน.......คน คิดเป็นร้อยละ.... ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์(A) ผ่านเกณฑ์การประเมิน......คน คิดเป็นร้อยละ........ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน.......คน คิดเป็นร้อยละ.... ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ๑๐.๒ ปัญหา / อุปสรรค ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ๑๐.๓ แนวทางการแก้ปัญหา ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.....................................................ครูผู้สอน (นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน) ................../.................../.....................


๑๑. ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นหลังใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๑.๑ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… ………………………………………………………………...............................……………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางสาวปุญญาภา ศรีวิชัย) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย …………..………../……..……………/……………….. ๑๑.๒ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาฝ่ายวิชาการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………… ………………………………………………………………................................……………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางกิตติมา เทพสาร) รองผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน …………..………../……..……………/……………….. ๑๑.๓ ผู้อำนวยการสถานศึกษา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ……………………………………………………………………………...............................………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางจินตนา ทุ่งเก้า) ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน ………..………../……..……………/………………..


คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนสิ่งที่นักเรียนคาดว่าจะได้รับจากการเรียนรายวิชาภาษาไทย ท ๓๑๑๐๒ และสิ่งที่ อยากเรียนรู้ในรายวิชานี้ ฉันคิดว่าฉันจะได้....


แบบประเมินจุดประสงค์การเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/๑ คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมรายบุคคลของนักเรียน ตามประเด็นการประเมินต่อไปนี้ แล้วให้น้ำหนักคะแนนตามระดับคุณภาพ ๑. นักเรียนสามารถอธิบายความสำคัญของการเรียนภาษาไทย ๒. นักเรียนสามารถบอกประโยชน์ที่ได้จากการเรียนวิชาภาษาไทยได้ เลขที่ ชื่อ – สกุล ประเด็นการประเมิน รวม ผลการประเมิน ประเด็นที่ ๑ (K) ประเด็นที่ ๒ (P) ประเด็นที่ ๓ (A) ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ 1 นายนพรัตน์ ทุ่งเก้า 2 นายวรฤทธิ์ คิดชอบ 3 นายวีรภาพ วงษ์ไล 4 นางสาวกชพร ทองประไพ 5 นางสาวดวงฤดี อนามัย 6 นางสาวธัญชนก ปัญญาแก้ว 7 นางสาวเบญญาภา ผาทอง 8 นางสาวพัลลภา วงค์สกุล 9 นางสาววนัชพร ยะตื้อ 10 นางสาวสรัญรัตน์ วุฒิ 11 นางสาวสิริกร พุ่มวิริยะมงคล 12 นางสาวอธิชา จักษุจินดา ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน ( นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน ) เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ อยู่ในระดับ/คะแนน แปลผล ๑๐ - ๑๒ ดีมาก ๔ ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ๗ - ๙ ดี ๓ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อยมาก ๕ - ๖ พอใช้ ๒ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อย ต่ำกว่า ๕ ปรับปรุง ๑ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่


แบบประเมินจุดประสงค์การเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔/๒ คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมรายบุคคลของนักเรียน ตามประเด็นการประเมินต่อไปนี้ แล้วให้น้ำหนักคะแนนตามระดับคุณภาพ ๑. นักเรียนสามารถอธิบายความสำคัญของการเรียนภาษาไทย ๒. นักเรียนสามารถบอกประโยชน์ที่ได้จากการเรียนวิชาภาษาไทยได้ เลขที่ ชื่อ – สกุล ประเด็นการประเมิน รวม ผลการประเมิน ประเด็นที่ ๑ (K) ประเด็นที่ ๒ (P) ประเด็นที่ ๓ (A) ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ 1 นายจิณณวัตร ศรจักร 2 นายวรฤทธิ์ คิดชอบ 3 นายวิชชากร วังใน 4 นางสาวขวัญจิรา มิ่งมา 5 นางสาวชลกร แสนโซ้ง 6 นางสาวณัฐสุดา เวียงทอง 7 นางสาวธนภรณ์ ทะนะชัย 8 นางสาวธนัทชา อถานา 9 นางสาวธวรรณรัตน์ ไชยะกูล 10 นางสาวธัญญาศิริ จันทร์หมื่น 11 นางสาวนันทิชา ข้ามหก 12 นางสาวปรียะพัฒน์ ศรีทันต์ 13 นางสาวพณัฐดา สองเมือง 14 นางสาวพิจิตรา ข้ามสาม 15 นางสาวไพลิน ป่งสม 16 นางสาวสุภารัตน์ เขื่อนเก้า 17 นางสาวอิสรยา ศรีลารักษ์ ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน ( นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน) เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ อยู่ในระดับ/คะแนน แปลผล ๑๐ - ๑๒ ดีมาก ๔ ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ๗ - ๙ ดี ๓ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อยมาก ๕ - ๖ พอใช้ ๒ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อย ต่ำกว่า ๕ ปรับปรุง ๑ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่


แบบประเมินจุดประสงค์การเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/๓ คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมรายบุคคลของนักเรียน ตามประเด็นการประเมินต่อไปนี้ แล้วให้น้ำหนักคะแนนตามระดับคุณภาพ ๑. นักเรียนสามารถอธิบายความสำคัญของการเรียนภาษาไทย ๒. นักเรียนสามารถบอกประโยชน์ที่ได้จากการเรียนวิชาภาษาไทยได้ เลขที่ ชื่อ – สกุล ประเด็นการประเมิน รวม ผลการประเมิน ประเด็นที่ ๑ (K) ประเด็นที่ ๒ (P) ประเด็นที่ ๓ (A) ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ 1 นายกิตติภณ เรือนคำ 2 นายณัชพล มีหล้า 3 นายณัฐกรณ์ กลิ่นเกษร 4 นายณัฐพล ขันคำนันต๊ะ 5 นายถิรวัฒน์ จิรปุญญพัฒน์ 6 นายธีรภัทร รั้งกลาง 7 นายธีรภัทร อินต๊ะนอน 8 นายนิกร จันทราพรม 9 นายพัทรดนย์ แปงชัย 10 นายพีรภัทร ศรีใจ 11 นายรัฐภูมิ ข้ามสาม 12 นางสาวณัฐณิชา เทียมตา 13 นางสาวณัฐวิมล ขันขวา 14 นางสาวนันท์นภัส พลอยสุขแก้ว 15 นางสาวประภาศิริ พันธ์กวาง 16 นางสาวพรทวี มีชัย 17 นางสาวพัทธ์ธีรา ตาทิพย์ 18 นางสาวภัทราวดี กะนะลัย 19 นางสาวเมย์ษา เดชกูล 20 นางสาวอรวรรณ ยันสูงเนิน 21 นางสาวสุธาวัลย์ วังแผน 22 นางสาวอาทิตยากรณ์ แสนทา 23 นายจิราณะ เหมืองจา ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน ( นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน ) เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ อยู่ในระดับ/คะแนน แปลผล ๑๐ - ๑๒ ดีมาก ๔ ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ๗ - ๙ ดี ๓ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อยมาก ๕ - ๖ พอใช้ ๒ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อย ต่ำกว่า ๕ ปรับปรุง ๑ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 รายวิชา ท๓๓๑๐2 ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 นิราศนรินทร์คำโคลง เรื่องที่ 2 ระดับภาษา เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 256๖ สอนวันที่______________________ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญา ของภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ม.๔-๖/๓ ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคำราชาศัพท์อย่างเหมาะสม ๒. สาระสำคัญ ระดับภาษาเป็นลักษณะเด่นประการหนึ่งของภาษาไทย แสดงให้เห็นความละเมียดละไมใน การใช้ภาษาของคนไทย ถ้อยคำในภาษาไทยนั้นจะมีระดับหรือศักดิ์ที่แตกต่างกันซึ่งจะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม กับบุคคล เวลาและสถานที่ ดังนั้นนักเรียนจึงต้องศึกษาการใช้ภาษาในระดับต่าง ๆ และสามารถใช้สื่อสารใน ชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนบอกลักษณะของภาษาในแต่ละระดับได้ถูกต้อง (K) ๒. นักเรียนสามารถจำแนกภาษาในระดับต่าง ๆ ได้ถูกต้อง (P) ๓. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน (A) ๔. สาระการเรียนรู้ ด้านความรู้ ๑. ระดับภาษา ด้านทักษะ/กระบวนการ ๑. ทักษะการพูด ๒. ทักษะการฟัง ๓. ทักษะการคิด ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้


๕. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน (๕ นาที) ๑. ครูกล่าวทักทายนักเรียน ตรวจสอบรายชื่อ และอุปกรณ์การเรียน ๒. ยกตัวอย่างสถานการณ์ โดยสุ่มนักเรียน ๓ คน และตั้งคำถามดังนี้ - “ถ้านักเรียนจะชวนเพื่อนไปกินข้าว นักเรียนจะพูดอย่างไร” - “ถ้านักเรียนจะชวนครูไปกินข้าว นักเรียนจะพูดอย่างไร” - “ถ้านักเรียนจะชวนท่านผู้อำนวยการไปกินข้าว นักเรียนจะพูดว่าอย่างไร” ให้นักเรียนตอบคำถามดังกล่าว จากนั้นครูเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนว่าจากสถานการณ์ดังกล่าวนักเรียน จะเห็นความแตกต่างในการใช้ภาษา นั้นจะขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการใช้ โดยในภาษาไทยนั้นเรียกว่า “ระดับภาษา” กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้(๔๐ นาที) ๓. นักเรียนร่วมกันตอบคำถาม “ภาษามีกี่ระดับ อะไรบ้าง” จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติมเรื่องประเภท ของระดับภาษา โดยใช้โปรแกรมนำเสนอภาพนิ่ง นักเรียนจดบันทึกลงสมุด ๔. นักเรียนร่วมกันตอบคำถาม “ในการเลือกใช้ระดับภาษาเราจะต้องดูปัจจัยใดบ้าง” จากนั้นครู อธิบายเพิ่มเติมเรื่องปัจจัยที่กำหนดระดับภาษา โดยใช้โปรแกรมนำเสนอภาพนิ่ง นักเรียนจดบันทึกลงสมุด ๕. นักเรียนทำกิจกรรม “เปลี่ยนแปลงฉันที” ครูฉายข้อความที่เป็นภาษาปาก จากนั้นสุ่มนักเรียนร่วม ตอบคำถามว่า “ข้อความที่ปรากฏเป็นภาษาระดับใด และให้แก้ไขเป็นภาษาระดับทางการ” ๕. นักเรียนทำกิจกรรมฝึกทักษะโดยให้นักเรียนทำใบงาน “ระดับภาษา” เป็นเวลา ๑๐ นาที จากนั้น ครูสุ่มตัวแทนแต่ละกลุ่มร่วมกันเฉลยใบงาน ๖. นักเรียนทำแบบทดสอบท้ายบทเรียนเรื่อง ระดับภาษา เป็นเวลา ๑๐ นาที กิจกรรมรวบยอด (๕ นาที) ๗. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปบทเรียน โดยครูตั้งคำถามว่า “ระดับภาษามีกี่ประเภท อะไรบ้าง” สุ่มนักเรียน จำนวน ๒ คน ร่วมตอบคำถามสรุปบทเรียน ๖. สื่อและแหล่งเรียนรู้ ๑. โปรแกรมนำเสนอภาพนิ่ง เรื่อง ระดับภาษา ๒. ใบงานระดับภาษา ๓. แบบทดสอบ เรื่อง ระดับภาษา ๗. ภาระงาน / ชิ้นงาน ๑. ใบงาน ระดับภาษา ๒. แบบทดสอบเรื่อง ระดับภาษา ฉัน หัว กิน คลิป แอร์ อ้วก เทป หนัง มอไซค์ หมา หมอ สนามบิน เผาศพ ตาย ในหลวง


๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ๘.๑ วิธีการวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือที่ใช้วัด เกณฑ์การประเมิน 1. บอกลักษณะของภาษา ในแต่ละระดับได้ถูกต้อง (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการ ร่วมกันตอบคำถาม การร่วม กิจกรรม แบบประเมินพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ - ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ 2. นักเรียนสามารถ จำแนกภาษาในระดับต่าง ๆ ได้ถูกต้อง(P) แบบประเมินใบงาน แบบประเมินใบงาน ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ 3.นักเรียนมีความมุ่งมั่นใน การทำงาน(A) สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ ๘.๒ เกณฑ์การประเมินผล ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ ด้านความรู้ (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการ ร่วมกันตอบคำถาม การ ร่วมกิจกรรม ปฏิบัติได้ ถูกต้อง ปฏิบัติมี ข้อบกพร่อง เล็กน้อย ปฏิบัติมี ข้อบกพร่อง ปานกลาง ปฏิบัติมี ข้อบกพร่อง มาก ต้อง ปรับปรุง ด้านทักษะ/ กระบวนการ (P) ๑. สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานรายบุคคล - การแสดงความคิดเห็น - การทำงานตามหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย - การตรงต่อเวลา ๒.สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม - การแสดงความคิดเห็น - การยอมรับฟังคนอื่น - ความมีน้ำใจ - การมีส่วนร่วมในการ ปรับปรุง ผลงานกลุ่ม ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม


ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยม (A) ๑. สังเกตความมีวินัย - ปฏิบัติตาม ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัว โรงเรียน และสังคม ไม่ละเมิด สิทธิของผู้อื่น ตรงต่อ เวลาในการปฏิบัติ กิจกรรมต่าง ๆ ใน ชีวิตประจำวัน และ รับผิดชอบในการทำงาน ๒.ใฝ่เรียนรู้ - แสวงหาข้อมูลจาก แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ - มีการจดบันทึก ความรู้อย่างเป็นระบบ - สรุปความรู้ได้อย่างมี เหตุผล ๓. มุ่งมั่นในการทำงาน - เอาใจใส่ต่อการ ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย - ตั้งใจและรับผิดชอบ ในการทำงานให้สำเร็จ - ปรับปรุงและพัฒนา การทำงานรอบคอบ - ทุ่มเท ทำงาน อดทน ไม่ท้อต่อปัญหาอุปสรรค - พยายามแก้ปัญหา และอุปสรรคในการ ทำงานให้สำเร็จ ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม


ผ่านเกณฑ์คะแนนรูบริคส์ระดับ ๓ ขึ้นไป เกณฑ์การประเมินคุณภาพ เกณฑ์การประเมินใบงาน ระดับภาษา คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินนี้สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนโดยครูผู้สอน ตามรายการประเมิน พร้อมทั้งเกณฑ์การให้คะแนนในแต่ละหัวข้อที่ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียนตามความเป็นจริง รายการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ๓ (ดี) ๒ (ปานกลาง) ๑ (ควรปรับปรุง) ๑. ความครบถ้วนถูกต้อง ของเนื้อหาที่บันทึก ๑. บันทึกได้ครบถ้วน ๒. บันทึกและเขียนสะกดคำ ได้ถูกต้อง ๑. บันทึกได้ครบถ้วน ๒. บันทึกไม่ถูกต้อง ๑. บันทึกไม่ครบถ้วน ๒. บันทึกไม่ถูกต้อง ๒. ความตรงต่อเวลา ๑. ส่งงานตรงต่อเวลาที่ กำหนด ๑. ส่งงานช้ากว่าเวลาที่ กำหนด ระดับคุณภาพ/ การวัดและประเมินผล คะแนนรวม ๕ คะแนน หมายถึงนักเรียนปฏิบัติงานอยู่ในระดับ ดี คะแนนรวม ๓ – ๔ คะแนน หมายถึงนักเรียนปฏิบัติงานอยู่ในระดับพอใช้ คะแนนรวม ๒ คะแนน หมายถึงนักเรียนปฏิบัติงานอยู่ในระดับควรปรับปรุง ลงชื่อ………………………………………………..ครูผู้สอน (นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน) ตำแหน่ง ครู รับเงินเดือนอันดับ คศ.1 ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ อยู่ในระดับ ๑๐ - ๑๒ ดีมาก ๔ ๗ - ๙ ดี ๓ ๕ - ๖ พอใช้ ๒ ต่ำกว่า ๕ ปรับปรุง ๑


๙. ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นก่อนใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ๙.๑ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………..…….…… ……………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….…. ............................……………………………………………………………………………………………………………..…………………… ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางสาวปุญญาภา ศรีวิชัย) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย …………..………../……..……………/……………….. ๙.๒ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาฝ่ายวิชาการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………....……………….………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..……...................................………… ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางกิตติมา เทพสาร) รองผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน …………..………../……..……………/……………….. ๙.๓ ผู้อำนวยการสถานศึกษา อนุมัติ ไม่อนุมัติ เพราะ............................................................................................................ ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางจินตนา ทุ่งเก้า) ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน ………..………../……..……………/……………….


๑๐. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ ๑๐.๑ ผลการสอน / ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ / ความเข้าใจ (A) ผ่านเกณฑ์การประเมิน......คน คิดเป็นร้อยละ........ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน.......คน คิดเป็นร้อยละ.... ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ด้านทักษะ / กระบวนการ (P) ผ่านเกณฑ์การประเมิน......คน คิดเป็นร้อยละ........ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน.......คน คิดเป็นร้อยละ.... ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์(A) ผ่านเกณฑ์การประเมิน......คน คิดเป็นร้อยละ........ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน.......คน คิดเป็นร้อยละ.... ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ๑๐.๒ ปัญหา / อุปสรรค ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ๑๐.๓ แนวทางการแก้ปัญหา ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.....................................................ครูผู้สอน (นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน) ................../.................../.....................


๑๑. ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นหลังใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๑.๑ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… ………………………………………………………………...............................……………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางสาวปุญญาภา ศรีวิชัย) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย …………..………../……..……………/……………….. ๑๑.๒ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาฝ่ายวิชาการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………… ………………………………………………………………................................……………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางกิตติมา เทพสาร) รองผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน …………..………../……..……………/……………….. ๑๑.๓ ผู้อำนวยการสถานศึกษา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ……………………………………………………………………………...............................………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางจินตนา ทุ่งเก้า) ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน ………..………../……..……………/………………..


ระดับภาษา คำชี้แจง: ให้นักเรียนเปลี่ยนคำจากภาษาไม่เป็นทางการต่อไปนี้ ให้เป็นภาษาทางการให้ถูกต้อง ภาษาไม่เป็นทางการ ภาษาทางการ ๑. โรงหนัง ๒. หมอ ๓. หมา ๔. แสตมป์ ๕. ตีตรา ๖. ผัวเมีย ๗. มอไซค์ ๘. รถเมล์ ๙. ตาย ๑๐. บวช ๑๑. อ้วก ๑๒. งานแต่ง ๑๓. หัว ๑๔. ภาคอีสาน ๑๕. แอร์


ตอนที่ ๒ คำชี้แจง: ให้นักเรียนเปลี่ยนภาษาในประโยคต่อไปนี้ให้เป็นภาษาทางการที่ถูกต้อง ๑. คุณปู่และคุณย่าของเขาตายหมดแล้ว ................................................................................................................................................................... ๒. หมาตัวนั้นเห่าเสียงดัง ................................................................................................................................................................... ๓. ในช่วงปิดเทอมวัดต่าง ๆ จะมีการบวชเณรภาคฤดูร้อน ................................................................................................................................................................... ๔. ตาของเขามีอาการโคม่า ................................................................................................................................................................... ๕. ขอเชิญร่วมฟังสวดศพคุณมะลิที่วัดประดู่นอก ................................................................................................................................................................... ๖. ฉันนั่งรถเมล์ไปโรงเรียนทุกวัน ................................................................................................................................................................... ๗. เย็นนี้ไปดูหนังกันนะ ................................................................................................................................................................... ๘. การกินเหล้าไม่ดีต่อร่างกาย ................................................................................................................................................................... ๙. นายกไปกินข้าวกับเมีย ................................................................................................................................................................... ๑๐. พ่อมาถึงสนามบินแล้ว ................................................................................................................................................................... คนที่ประสบความสำเร็จ คือ คนที่ลงมือทำและ หมั่นพัฒนาตนอยู่เสมอ


แบบทดสอบเรื่อง ระดับภาษา ๑. ภาษาระดับพิธีการ ใช้เนื่องในโอกาสใด ก. การประชุมกลุ่มหรืออภิปรายกลุ่ม ข. การกล่าวรายงานในพิธีมอบปริญญาบัตร ค. การเขียนจดหมายระหว่างเพื่อน ง. บทความในหนังสือพิมพ์ กิจธุระต่าง ๆ ๒. “เฮ้อ! เซ็ง เงินทองก็ไม่ค่อยจะมี” จากข้อความเป็นภาษาในระดับใด ก. ภาษาระดับทางการ ข. ภาษาระดับกึ่งทางการ ค. ภาษาระดับไม่เป็นทางการ ง. ภาษาระดับกันเอง ๓. ข้อใดอธิบายความหมายของระดับภาษาได้ขัดเจนที่สุด ก. การใช้ภาษาเป็นเครื่องมือสื่อสาร ข. การใช้ภาษาตามสัมพันธภาพของบุคคลโดยคำนึงถึงกาลเทศะ ค. การใช้ภาษาแบบเป็นทางการ ง. การใช้ภาษาแบบไม่เป็นทางการ ๔. ข้อใดใช้ภาษาระดับทางการได้ถูกต้อง ก. คลอดบุตร ข. เผาศพ ค. ทิ้งจดหมาย ง. ตีตรา ๕. คำในข้อใดมักจะใช้ในภาษาระดับสนทนาและระดับกันเองเท่านั้น ก. อย่างนั้น อย่างนี้ อย่างไร ข. บริโภค รับประทาน เสวย ค. กระผม ดิฉัน คุณ ง. ฉัน กัน เรา ๖. ภาษาในข้อใดไม่ใช่ภาษาที่ใช้ในระดับทางการ ก. สุนัข สุกร ข. โรงหนัง แสตมป์ ค. โรงภาพยนตร์ ดวงตราไปรษณีย์ ง. รถประจำทาง หนังสือรับรอง ๗. ข้อใดใช้ภาษาระดับสนทนามากที่สุด ก. การประชุมกลุ่มหรืออภิปรายกลุ่ม ข. การพูดจาระหว่างบุคคลภายในครอบครัว ค. การเขียนจดหมายระหว่างเพื่อน ง. การเปิดประชุมรัฐสภา ๘. ข้อใดใช้ภาษาระดับทางการ ก. นายกรัฐมนตรีกำลังบรรยายเรื่องเศรษฐกิจไทยในปัจจุบัน ข. คืนนี้ฉันต้องไปงานศพของพ่อเพื่อนน่ะ ค. เด็กวัยรุ่นสมัยนี้ชอบโทรศัพท์คุยกับเพื่อน ง. พ่อคงจะกลับดึกหน่อยเพราะต้องไปร่วมงานแต่งลูกน้อง ๙. ข้อใดใช้ถ้อยคำสื่อความหมายได้เหมาะกับบุคคล ก. ขอบคุณนักเรียนมากนะคะที่ตั้งใจเรียน ข. ขอเชิญบรรทมได้แล้ว ดึกมากแล้ว ค. อาจารย์คะ กรุณาอธิบายการบ้านข้อนี้ให้หน่อยค่ะ ง. พระครูวิสุทธิได้รับเชิญไปแสดงปาฐกถาธรรม ๑๐. ระดับภาษาที่ใช้ในการสื่อสารนั้นขึ้นอยู่กับข้อใด ก. ตัวสาร ข. ผู้ส่งสาร ค. ผู้รับสาร ง. ตัวบุคคลและโอกาส


ระดับภาษา คำชี้แจง: ให้นักเรียนเปลี่ยนคำจากภาษาไม่เป็นทางการต่อไปนี้ ให้เป็นภาษาทางการให้ถูกต้อง ภาษาไม่เป็นทางการ ภาษาทางการ ๑. โรงหนัง โรงภาพยนตร์ ๒. หมอ แพทย์ ๓. หมา สุนัข ๔. แสตมป์ ดวงตราไปรษณียากร ๕. ตีตรา ประทับตรา ๖. ผัวเมีย สามีภรรยา ๗. มอไซค์ รถจักรยานยนต์ ๘. รถเมล์ รถโดยสารประจำทาง ๙. ตาย ถึงแก่กรรม ๑๐. บวช อุปสมบท ๑๑. อ้วก อาเจียน ๑๒. งานแต่ง งานมงคลสมรส ๑๓. หัว ศีรษะ ๑๔. ภาคอีสาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑๕. แอร์ เครื่องปรับอากาศ


ตอนที่ ๒ คำชี้แจง: ให้นักเรียนเปลี่ยนภาษาในประโยคต่อไปนี้ให้เป็นภาษาทางการที่ถูกต้อง ๑. คุณปู่และคุณย่าของเขาตายหมดแล้ว ........................................................คุณปู่และคุณย่าของเขาถึงแก่กรรมหมดแล้ว................................................ ๒. หมาตัวนั้นเห่าเสียงดัง .......................................สุนัขตัวนั้นเห่าเสียงดัง.................................................................................................... ๓. ในช่วงปิดเทอมวัดต่าง ๆ จะมีการบวชเณรภาคฤดูร้อน ..................................ในช่วงปิดภาคเรียนวัดต่าง ๆ จะมีการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน................................... ๔. ตาของเขามีอาการโคม่า ........................................ตาของเขามีอาการป่วยหนัก.......................................................................................... ๕. ขอเชิญร่วมฟังสวดศพคุณมะลิที่วัดประดู่นอก .......................ขอเชิญร่วมฟังสวดอภิธรรมคุณมะลิที่วัดประดู่นอก........................................................................ ๖. ฉันนั่งรถเมล์ไปโรงเรียนทุกวัน ................................ฉันนั่งรถโดยสารประจำทางไปโรงเรียนทุกวัน........................................................................ ๗. เย็นนี้ไปดูหนังกันนะ ...............................ค่ำวันนี้ไปชมภาพยนตร์ด้วยกัน............................................................................................... ๘. การกินเหล้าไม่ดีต่อร่างกาย ...................................การดื่มสุราไม่ดีต่อร่างกาย.................................................................................................. ๙. นายกไปกินข้าวกับเมีย .............................................นายกรัฐมนตรีไปรับประทานอาหารกับภริยา........................................................... ๑๐. พ่อมาถึงสนามบินแล้ว ..............................พ่อเดินทางมาถึงท่าอากาศยานแล้ว............................................................................ คนที่ประสบความสำเร็จ คือ คนที่ลงมือทำและ หมั่นพัฒนาตนอยู่เสมอ


แบบทดสอบเรื่อง ระดับภาษา ๑. ภาษาระดับพิธีการ ใช้เนื่องในโอกาสใด ก. การประชุมกลุ่มหรืออภิปรายกลุ่ม ข. การกล่าวรายงานในพิธีมอบปริญญาบัตร ค. การเขียนจดหมายระหว่างเพื่อน ง. บทความในหนังสือพิมพ์ กิจธุระต่าง ๆ ๒. “เฮ้อ! เซ็ง เงินทองก็ไม่ค่อยจะมี” จากข้อความเป็นภาษาในระดับใด ก. ภาษาระดับทางการ ข. ภาษาระดับกึ่งทางการ ค. ภาษาระดับไม่เป็นทางการ ง. ภาษาระดับกันเอง ๓. ข้อใดอธิบายความหมายของระดับภาษาได้ขัดเจนที่สุด ก. การใช้ภาษาเป็นเครื่องมือสื่อสาร ข. การใช้ภาษาตามสัมพันธภาพของบุคคลโดยคำนึงถึงกาลเทศะ ค. การใช้ภาษาแบบเป็นทางการ ง. การใช้ภาษาแบบไม่เป็นทางการ ๔. ข้อใดใช้ภาษาระดับทางการได้ถูกต้อง ก. คลอดบุตร ข. เผาศพ ค. ทิ้งจดหมาย ง. ตีตรา ๕. คำในข้อใดมักจะใช้ในภาษาระดับสนทนาและระดับกันเองเท่านั้น ก. อย่างนั้น อย่างนี้ อย่างไร ข. บริโภค รับประทาน เสวย ค. กระผม ดิฉัน คุณ ง. ฉัน กัน เรา ๖. ภาษาในข้อใดไม่ใช่ภาษาที่ใช้ในระดับทางการ ก. สุนัข สุกร ข. โรงหนัง แสตมป์ ค. โรงภาพยนตร์ ดวงตราไปรษณีย์ ง. รถประจำทาง หนังสือรับรอง ๗. ข้อใดใช้ภาษาระดับสนทนามากที่สุด ก. การประชุมกลุ่มหรืออภิปรายกลุ่ม ข. การพูดจาระหว่างบุคคลภายในครอบครัว ค. การเขียนจดหมายระหว่างเพื่อน ง. การเปิดประชุมรัฐสภา ๘. ข้อใดใช้ภาษาระดับทางการ ก. นายกรัฐมนตรีกำลังบรรยายเรื่องเศรษฐกิจไทยในปัจจุบัน ข. คืนนี้ฉันต้องไปงานศพของพ่อเพื่อนน่ะ ค. เด็กวัยรุ่นสมัยนี้ชอบโทรศัพท์คุยกับเพื่อน ง. พ่อคงจะกลับดึกหน่อยเพราะต้องไปร่วมงานแต่งลูกน้อง ๙. ข้อใดใช้ถ้อยคำสื่อความหมายได้เหมาะกับบุคล ก. ขอบคุณนักเรียนมากนะคะที่ตั้งใจเรียน ข. ขอเชิญบรรทมได้แล้ว ดึกมากแล้ว ค. อาจารย์คะ กรุณาอธิบายการบ้านข้อนี้ให้หน่อยค่ะ ง. พระครูวิสุทธิได้รับเชิญไปแสดงปาฐกถาธรรม ๑๐. ระดับภาษาที่ใช้ในการสื่อสารนั้นขึ้นอยู่กับข้อใด ก. ตัวสาร ข. ผู้ส่งสาร ค. ผู้รับสาร ง. ตัวบุคคลและโอกาส


แบบประเมินจุดประสงค์การเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/๑ คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมรายบุคคลของนักเรียน ตามประเด็นการประเมินต่อไปนี้ แล้วให้น้ำหนักคะแนนตามระดับคุณภาพ ๑. นักเรียนบอกลักษณะของภาษาในแต่ละระดับได้ถูกต้อง (K) ๒. นักเรียนสามารถจำแนกภาษาในระดับต่าง ๆ ได้ถูกต้อง (P) ๓. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน (A) เลขที่ ชื่อ – สกุล ประเด็นการประเมิน รวม ผลการประเมิน ประเด็นที่ ๑ (K) ประเด็นที่ ๒ (P) ประเด็นที่ ๓ (A) ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ 1 นายนพรัตน์ ทุ่งเก้า 2 นายวรฤทธิ์ คิดชอบ 3 นายวีรภาพ วงษ์ไล 4 นางสาวกชพร ทองประไพ 5 นางสาวดวงฤดี อนามัย 6 นางสาวธัญชนก ปัญญาแก้ว 7 นางสาวเบญญาภา ผาทอง 8 นางสาวพัลลภา วงค์สกุล 9 นางสาววนัชพร ยะตื้อ 10 นางสาวสรัญรัตน์ วุฒิ 11 นางสาวสิริกร พุ่มวิริยะมงคล 12 นางสาวอธิชา จักษุจินดา ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน ( นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน ) เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ อยู่ในระดับ/คะแนน แปลผล ๑๐ - ๑๒ ดีมาก ๔ ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ๗ - ๙ ดี ๓ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อยมาก ๕ - ๖ พอใช้ ๒ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อย ต่ำกว่า ๕ ปรับปรุง ๑ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่


แบบประเมินจุดประสงค์การเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔/๒ คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมรายบุคคลของนักเรียน ตามประเด็นการประเมินต่อไปนี้ แล้วให้น้ำหนักคะแนนตามระดับคุณภาพ ๑. นักเรียนบอกลักษณะของภาษาในแต่ละระดับได้ถูกต้อง (K) ๒. นักเรียนสามารถจำแนกภาษาในระดับต่าง ๆ ได้ถูกต้อง (P) ๓. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน (A) เลขที่ ชื่อ – สกุล ประเด็นการประเมิน รวม ผลการประเมิน ประเด็นที่ ๑ (K) ประเด็นที่ ๒ (P) ประเด็นที่ ๓ (A) ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ 1 นายจิณณวัตร ศรจักร 2 นายวรฤทธิ์ คิดชอบ 3 นายวิชชากร วังใน 4 นางสาวขวัญจิรา มิ่งมา 5 นางสาวชลกร แสนโซ้ง 6 นางสาวณัฐสุดา เวียงทอง 7 นางสาวธนภรณ์ ทะนะชัย 8 นางสาวธนัทชา อถานา 9 นางสาวธวรรณรัตน์ ไชยะกูล 10 นางสาวธัญญาศิริ จันทร์หมื่น 11 นางสาวนันทิชา ข้ามหก 12 นางสาวปรียะพัฒน์ ศรีทันต์ 13 นางสาวพณัฐดา สองเมือง 14 นางสาวพิจิตรา ข้ามสาม 15 นางสาวไพลิน ป่งสม 16 นางสาวสุภารัตน์ เขื่อนเก้า 17 นางสาวอิสรยา ศรีลารักษ์ ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน ( นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน) เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ อยู่ในระดับ/คะแนน แปลผล ๑๐ - ๑๒ ดีมาก ๔ ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ๗ - ๙ ดี ๓ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อยมาก ๕ - ๖ พอใช้ ๒ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อย ต่ำกว่า ๕ ปรับปรุง ๑ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่


แบบประเมินจุดประสงค์การเรียนรู้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/๓ คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมรายบุคคลของนักเรียน ตามประเด็นการประเมินต่อไปนี้ แล้วให้น้ำหนักคะแนนตามระดับคุณภาพ ๑. นักเรียนบอกลักษณะของภาษาในแต่ละระดับได้ถูกต้อง (K) ๒. นักเรียนสามารถจำแนกภาษาในระดับต่าง ๆ ได้ถูกต้อง (P) ๓. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน (A) เลขที่ ชื่อ – สกุล ประเด็นการประเมิน รวม ผลการประเมิน ประเด็นที่ ๑ (K) ประเด็นที่ ๒ (P) ประเด็นที่ ๓ (A) ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ 1 นายกิตติภณ เรือนคำ 2 นายณัชพล มีหล้า 3 นายณัฐกรณ์ กลิ่นเกษร 4 นายณัฐพล ขันคำนันต๊ะ 5 นายถิรวัฒน์ จิรปุญญพัฒน์ 6 นายธีรภัทร รั้งกลาง 7 นายธีรภัทร อินต๊ะนอน 8 นายนิกร จันทราพรม 9 นายพัทรดนย์ แปงชัย 10 นายพีรภัทร ศรีใจ 11 นายรัฐภูมิ ข้ามสาม 12 นางสาวณัฐณิชา เทียมตา 13 นางสาวณัฐวิมล ขันขวา 14 นางสาวนันท์นภัส พลอยสุขแก้ว 15 นางสาวประภาศิริ พันธ์กวาง 16 นางสาวพรทวี มีชัย 17 นางสาวพัทธ์ธีรา ตาทิพย์ 18 นางสาวภัทราวดี กะนะลัย 19 นางสาวเมย์ษา เดชกูล 20 นางสาวอรวรรณ ยันสูงเนิน 21 นางสาวสุธาวัลย์ วังแผน 22 นางสาวอาทิตยากรณ์ แสนทา 23 นายจิราณะ เหมืองจา ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน ( นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน ) เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ อยู่ในระดับ/คะแนน แปลผล ๑๐ - ๑๒ ดีมาก ๔ ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ๗ - ๙ ดี ๓ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อยมาก ๕ - ๖ พอใช้ ๒ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อย


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 รายวิชา ท๓๓๑๐2 ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 นิราศนรินทร์คำโคลง เรื่องที่ 3 การพูดระหว่างบุคคล เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 256๖ สอนวันที่______________________ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกใน โอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ม.๔-๖/๕ พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจและเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษา ถูกต้องเหมาะสม ๒. สาระสำคัญ การพูดระหว่างบุคคลเป็นการพูดที่ไม่เป็นทางการ ปกติผู้พูดและผู้ฟังมักไม่ได้เตรียมตัวล่วงหน้ามา ก่อน ไม่จำกัดสถานที่และเวลาเนื้อหาไม่มีขอบเขตจำกัดแน่นอน การพูดระหว่างบุคคลพอจะแยกได้ เป็น การทักทายปราศรัย การแนะนำตนเอง และการสนทนา ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถพูดสื่อสารระหว่างบุคคลได้ถูกต้องตามระดับภาษา(K) ๒. นักเรียนออกมาพูดตามหัวข้อที่กำหนดให้ได้(P) ๓. นักเรียนมีใฝ่เรียนรู้เรียน (A) ๔. สาระการเรียนรู้ ด้านความรู้ ๑. การพูดระหว่างบุคคล ด้านทักษะ/กระบวนการ ๑. ทักษะการพูด ๒. ทักษะการฟัง ๓. ทักษะการคิด ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้


๕. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน (๕ นาที) ๑. ครูกล่าวทักทายนักเรียน ตรวจสอบรายชื่อ และอุปกรณ์การเรียน ๒. นักเรียนดูวีดิทัศน์ตัวอย่างการพูดระหว่างบุคคล แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิดีทัศน์ ดังกล่าวว่ามีการพูดหรือใช้ภาษาอย่างไร จากนั้นครูกล่าวเพิ่มเติมเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน เรื่อง การพูด ระหว่างบุคคล กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้(๙๐ นาที) ๓. นักเรียนตอบคำถาม “การพูดระหว่างบุคคลต้องคำนึงถึงสิ่งใดบ้าง” จากนั้นครูกล่าวเพิ่มเติม ดังนี้ - เรื่องที่พูด - บุคคลที่พูดด้วย - มารยาท - สถานที่และกาลเทศะ ๔. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น “มารยาทในการพูดระหว่างบุคคลมีอะไรบ้าง” จากนั้นครูกล่าว เพิ่มเติม ดังนี้ ๑). เรื่องที่พูดควรเป็นเรื่องที่ทั้ง 2 ฝ่าย มีความสนใจและพอใจร่วมกัน ๒). ไม่พูดเรื่องของตนเองมากจนเกินไป ควรฟังในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งพูด ไม่สอดแทรกเมื่อเขาพูดยังไม่ จบ ๓). พูดตรงประเด็น อาจออกนอกเรื่องบ้างพอผ่อนคลายอารมณ์ ๔). เคารพความคิดเห็นของผู้อื่น ไม่บังคับให้ผู้อื่นเชื่อหรือคิดเหมือนตน ๕. นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง การพูดระหว่างบุคคล เป็นเวลา ๑๐ นาที ๖. นักเรียนทำกิจกรรม “พูดดีเป็นศรีแก่ปาก” ให้นักเรียนจับคู่กัน แล้วส่งตัวแทนมาจับสลากสาน การณ์จำลองการพูดหน้าชั้นเรียน ดังนี้ - การพูดสนทนาระหว่างนักเรียนกับคุณครู - การพูดสนทนาระหว่างนักเรียนกับผู้อำนวยการโรงเรียน - การพูดสนทนาระหว่างนักเรียนกับนายกรัฐมนตรี - การพูดสนทนาระหว่างนักธุรกิจ - การพูดสนทนาระหว่างประธานบริษัทกับพนักงาน - การพูดสนทนาระหว่างนักข่าวกับตำรวจ - การพูดสนทนาระหว่างตากับหลาน - การพูดสนทนาระหว่างนายอำเภอกับคนไปติดต่อราชการ โดยให้นักเรียนเตรียมหัวข้อและเนื้อหาในการพูดให้เข้ากับสถานการณ์ เป็นเวลา ๑๐ นาที นักเรียนสามารถนำ ข้อมูลมาสอบถามครูได้ ๗. นักเรียนออกมาพูดสนทนาตามสถานการณ์ที่ตนได้รับหน้าชั้นเรียน โดยครูเป็นผู้จับสลากเลขที่ นักเรียน ๘. เมื่อนักเรียนพูดหน้าชั้นเรียนครบทุกคู่แล้ว นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการพูดของ เพื่อนว่าเป็นอย่างไร จากนั้นครูเสนอแนะเกี่ยวกับการพูดระหว่างบุคคลของนักเรียน กิจกรรมรวบยอด (๕ นาที) ๙. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียน โดยสุ่มนักเรียนจำนวน ๓ คน ร่วมตอบคำถาม “คุณสมบัติของ การเป็นคู่สนทนาที่ดีควรมีอะไรบ้าง”


๖. สื่อและแหล่งเรียนรู้ ๑. ใบความรู้ เรื่อง การพูดระหว่างบุคคล ๒. สลากเลขที่ ๓. วิดีทัศน์ตัวอย่างการพูดระหว่างบุคคล ๗. ภาระงาน / ชิ้นงาน ๑. กิจกรรม “พูดดีเป็นศรีแก่ปาก” ๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ๘.๑ วิธีการวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือที่ใช้วัด เกณฑ์การประเมิน 1. บอกลักษณะของภาษา ในแต่ละระดับได้ถูกต้อง (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการ ร่วมกันตอบคำถาม การร่วม กิจกรรม แบบประเมินพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ - ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ 2. นักเรียนสามารถ จำแนกภาษาในระดับต่าง ๆ ได้ถูกต้อง(P) แบบประเมินใบงาน แบบประเมินใบงาน ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ 3.นักเรียนมีความมุ่งมั่นใน การทำงาน(A) สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ ๘.๒ เกณฑ์การประเมินผล ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ ด้านความรู้ (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการ ร่วมกันตอบคำถาม การ ร่วมกิจกรรม ปฏิบัติได้ ถูกต้อง ปฏิบัติมี ข้อบกพร่อง เล็กน้อย ปฏิบัติมี ข้อบกพร่อง ปานกลาง ปฏิบัติมี ข้อบกพร่อง มาก ต้อง ปรับปรุง


ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ ด้านทักษะ/ กระบวนการ (P) ๑. สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานรายบุคคล - การแสดงความคิดเห็น - การทำงานตามหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย - การตรงต่อเวลา ๒.สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม - การแสดงความคิดเห็น - การยอมรับฟังคนอื่น - ความมีน้ำใจ - การมีส่วนร่วมในการ ปรับปรุง ผลงานกลุ่ม ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยม (A) ๑. สังเกตความมีวินัย - ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม ไม่ ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรง ต่อเวลาในการปฏิบัติ กิจกรรมต่าง ๆ ใน ชีวิตประจำวัน และ รับผิดชอบในการทำงาน ๒.ใฝ่เรียนรู้ - แสวงหาข้อมูลจาก แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ - มีการจดบันทึกความรู้ อย่างเป็นระบบ - สรุปความรู้ได้อย่างมี เหตุผล ๓. มุ่งมั่นในการทำงาน ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม


- เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติ หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย - ตั้งใจและรับผิดชอบใน การทำงานให้สำเร็จ - ปรับปรุงและพัฒนา การทำงานรอบคอบ - ทุ่มเท ทำงาน อดทน ไม่ท้อต่อปัญหาอุปสรรค - พยายามแก้ปัญหา และอุปสรรคในการ ทำงานให้สำเร็จ ผ่านเกณฑ์คะแนนรูบริคส์ระดับ ๓ ขึ้นไป เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ อยู่ในระดับ ๑๐ - ๑๒ ดีมาก ๔ ๗ - ๙ ดี ๓ ๕ - ๖ พอใช้ ๒ ต่ำกว่า ๕ ปรับปรุง ๑


แบบประเมินกิจกรรม “พูดดีเป็นศรีแก่ปาก” คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินนี้สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนโดยครูผู้สอน ตามรายการประเมิน พร้อมทั้งเกณฑ์การให้คะแนนในแต่ละหัวข้อที่ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียนตามความเป็นจริง รายการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ๓ (ดี) ๒ (ปานกลาง) ๑ (ควรปรับปรุง) ๑. การออกอักขระ : ตัว ร , ล คำควบกล้ำ ชัดเจน ๒. การออกเสียง : เสียงดัง ฟังชัด มีความมั่นใจ ๓. การพูด : พูดอย่างเป็น ธรรมชาติ ใช้ระดับภาษาได้ ถูกต้อง เหมาะสม ๔. มีมารยาทในการพูด เคารพคู่สนทนา ๕. บุคลิกภาพ : ลักษณะ ท่าทาง การยืน ความมั่นใจ ระดับคุณภาพ/ การวัดและประเมินผล คะแนนรวม ๑๑ – ๑๕ คะแนน หมายถึง นักเรียนปฏิบัติงานอยู่ในระดับ ดี คะแนนรวม ๖ – ๑๐ คะแนน หมายถึง นักเรียนปฏิบัติงานอยู่ในระดับพอใช้ คะแนนรวม ๑ – ๕ คะแนน หมายถึง นักเรียนปฏิบัติงานอยู่ในระดับควรปรับปรุง ลงชื่อ………………………………………………..ครูผู้สอน (นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน) ตำแหน่ง ครู รับเงินเดือนอันดับ คศ.1


๙. ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นก่อนใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ๙.๑ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………..…….…… ……………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….…. ............................……………………………………………………………………………………………………………..…………………… ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางสาวปุญญาภา ศรีวิชัย) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย …………..………../……..……………/……………….. ๙.๒ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาฝ่ายวิชาการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………....……………….………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..……...................................………… ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางกิตติมา เทพสาร) รองผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน …………..………../……..……………/……………….. ๙.๓ ผู้อำนวยการสถานศึกษา อนุมัติ ไม่อนุมัติ เพราะ............................................................................................................ ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางจินตนา ทุ่งเก้า) ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน ………..………../……..……………/……………….


๑๐. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ ๑๐.๑ ผลการสอน / ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ / ความเข้าใจ (A) ผ่านเกณฑ์การประเมิน......คน คิดเป็นร้อยละ........ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน.......คน คิดเป็นร้อยละ.... ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ด้านทักษะ / กระบวนการ (P) ผ่านเกณฑ์การประเมิน......คน คิดเป็นร้อยละ........ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน.......คน คิดเป็นร้อยละ.... ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์(A) ผ่านเกณฑ์การประเมิน......คน คิดเป็นร้อยละ........ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน.......คน คิดเป็นร้อยละ.... ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ๑๐.๒ ปัญหา / อุปสรรค ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ๑๐.๓ แนวทางการแก้ปัญหา ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.....................................................ครูผู้สอน (นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน) ................../.................../.....................


๑๑. ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นหลังใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๑.๑ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… ………………………………………………………………...............................……………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางสาวปุญญาภา ศรีวิชัย) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย …………..………../……..……………/……………….. ๑๑.๒ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาฝ่ายวิชาการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………… ………………………………………………………………................................……………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางกิตติมา เทพสาร) รองผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน …………..………../……..……………/……………….. ๑๑.๓ ผู้อำนวยการสถานศึกษา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… ……………………………………………………………………………...............................………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางจินตนา ทุ่งเก้า) ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน ………..………../……..……………/………………..


ใบความรู้ เรื่อง การพูดระหว่างบุคคล การพูดระหว่างบุคคล การพูดระหว่างบุคคลเป็นการพูดที่ไม่เป็นทางการ ปกติผู้พูดและผู้ฟังมักไม่ได้เตรียมตัวล่วงหน้ามาก่อน ไม่จำกัดสถานที่และเวลาเนื้อหาไม่มีขอบเขตจำกัดแน่นอน การพูดระหว่างบุคคลพอจะแยกได้ เป็นการทักทาย ปราศรัย การแนะนำตนเอง และการสนทนา การทักทายปราศรัย คนไทยได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีอัธยาศัยไมตรีอันดี เพราะโดยทั่ว ๆ ไปแล้ว มักจะมีหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส รื่นเริง รู้จักโอภาปราศรัยเวลาที่คนไทยพบปะผู้ใดแม้จะเป็นคนแปลกหน้าก็ตาม มักจะยิ้มให้ก่อน เป็น การทักทายปราศรัยหรือการใช้อวัจนภาษา การทักทายปราศรัยควรปฏิบัติดังนี้ ๑. ยิ้มแย้มแจ่มใสด้วยความรู้สึกยินดีที่ได้พบผู้ที่เราทักทาย ๒. กล่าวคำปฏิสันถารหรือทักทายตามธรรมเนียมที่ยอมรับกันในสังคม เช่น “สวัสดีครับ/ค่ะ” ๓. แสดงกิริยาอาการประกอบคำปฏิสันถาร กิริยาที่แสดงออกนั้นขึ้นอยู่กับฐานะของบุคคลที่เราทักทาย การแนะนำตนเอง การแนะนำตนเองเป็นสิ่งที่จำเป็น และมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตประจำวันของคนเรา เพราะแต่ละ วันเรามักจะได้พบ ได้รู้จัก สังสรรค์ และติต่อธุรกิจการงานกับบุคคลอื่น ๆ อยู่เสมอ บุคคลอาจแนะนำตนเองในหลายโอกาสด้วยกัน ซึ่งในที่นี้จะยกมากล่าวเพียง ๓ โอกาสสำคัญ คือ การแนะนำตนเองในที่สาธารณะ ในการทำธุรกิจ และในกลุ่มย่อย - การแนะนำตนเองในที่สาธารณะ ในวันหนึ่ง ๆ คนเรามักจะได้พบประกับบุคคลอื่น ๆ อยู่เป็นประจำ อาจเป็นบนรถประจำทาง ที่ตลาด ที่ โรงเรียน หรือในที่ประชุมต่าง ๆ ก่อนที่จะแนะนำตัว มักจะมีการสนทนาสั้นๆ เริ่มขึ้น อาจมีการปรารภลอย ๆ ของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ต่อจากนั้นก็อาจมีการสนทนาโต้ตอบกันอีกเล็กน้อย เมื่อมีความรู้สึกว่าคู่สนทนามี อัธยาศัยไมตรี ก็อาจมีคนหนึ่งกล่าวแนะนำตนเอง และคู่สนทนาอีกคนหนึ่งก็จะแนะนำตนเองตามมา - การแนะนำตนเองในการทำธุรกิจ การติดต่อธุรกิจให้ดำเนินไปโดยเรียบร้อยมักจะต้องไปพบผู้ไม่รู้จักกัน ในการนี้จะต้องนัดหมายล่วงหน้า ควรแต่งกายให้เรียบร้อย ไปให้ตรงตามนัด เมื่อพบบุคคลที่นัดควรบอกชื่อแลละนามสกุลของเราให้ชัดเจนด้วย น้ำเสียงสุภาพ ไม่ดังหรือค่อยเกินไป เพื่อการสื่อสารจะได้ดำเนินไปราบรื่น เมื่อบอกชื่อนามสกุลแล้ว ก็ควรบอก ธุรกิจของตน หรือบอกธุรกิจเสียก่อนก็ได้ - การแนะนำตนเองในกลุ่มย่อย ในการประชุมกลุ่มย่อยที่มีผู้เข้าร่วมประชุมประมาณ ๑๐-๑๕ คน และส่วนใหญ่ไม่รู้จักกันมาก่อน เมื่อ เริ่มประชุมควรแนะนำตนเองให้รู้จักกัน เพื่อให้เกิดความเป็นกันเองจะได้แสดงความคิดเห็น และมีส่วนร่วมใน การประชุมอย่างสะดวกใจ การแนะนำตนเองในสถานการณ์เช่นนี้ก็เพียงบอกชื่อ และนามสกุล การสนทนา การสนทนา เป็นกิจกรรมที่บุคคลสองคนขึ้นไป พูดคุยกันเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ความรู้สึก และ ประสบการณ์ระหว่างกันอย่างไม่เป็นทางการ การสนทนามีกฎเกณฑ์ตายตัวที่จะต้องปฏิบัติตาม มนุษย์จึงควรที่ จะปรับปรุงพฤติกรรมการสนทนาให้เหมาะสมกับสมัยและสังคม


๑. การสนทนาระหว่างบุคคลที่รู้จักคุ้นเคย การสื่อสารชนิดนี้เป็นเรื่องที่สำคัญ การสนทนาที่ดีจะนำ ความราบรื่น ความเจริญ และความสุขมาให้ ดังนั้นการสนทนาระหว่างบุคคลที่รู้จักคุ้นเคย ควรจะคำนึงถึงเรื่อง สนทนาและคุณสมบัติของผู้ร่วมสนทนา โดยใช้คำให้คุ้นเคยและสุภาพ เรียบง่าย เข้าใจง่าย และควรรู้ว่าอะไร ควรพูด อะไรไม่ควรพูด ๒. การสนทนากับบุคคลแรกรู้จัก หัวข้อเรื่องที่นำมาสนทนาควรเป็นเรื่องทั่ว ๆ ไป เช่น เรื่องดินฟ้า อากาศ และข่าวสารต่าง ๆ ต้องสำรวมถ้อยคำ กิริยา มารยาท และควรสังเกตว่า คู่สนทนาชอบพูดหรือชอบฟัง ถ้าสังเกตว่าชอบพูด เราก็ควรเป็นฝ่ายฟัง และพูดให้น้อยลง ถ้าสังเกตว่าชอบฟัง ก็ควรหาเรื่องมาคุยด้วย วิธีการ เช่นนี้จะช่วยทำให้การสนทนาดำเนินไปได้ด้วยดีและมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน


แบบประเมินจุดประสงค์การเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/๑ คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมรายบุคคลของนักเรียน ตามประเด็นการประเมินต่อไปนี้ แล้วให้น้ำหนักคะแนนตามระดับคุณภาพ ๑. นักเรียนสามารถพูดสื่อสารระหว่างบุคคลได้ถูกต้องตามระดับภาษา(K) ๒. นักเรียนออกมาพูดตามหัวข้อที่กำหนดให้ได้(P) ๓. นักเรียนมีใฝ่เรียนรู้เรียน (A) เลขที่ ชื่อ – สกุล ประเด็นการประเมิน รวม ผลการประเมิน ประเด็นที่ ๑ (K) ประเด็นที่ ๒ (P) ประเด็นที่ ๓ (A) ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ 1 นายนพรัตน์ ทุ่งเก้า 2 นายวรฤทธิ์ คิดชอบ 3 นายวีรภาพ วงษ์ไล 4 นางสาวกชพร ทองประไพ 5 นางสาวดวงฤดี อนามัย 6 นางสาวธัญชนก ปัญญาแก้ว 7 นางสาวเบญญาภา ผาทอง 8 นางสาวพัลลภา วงค์สกุล 9 นางสาววนัชพร ยะตื้อ 10 นางสาวสรัญรัตน์ วุฒิ 11 นางสาวสิริกร พุ่มวิริยะมงคล 12 นางสาวอธิชา จักษุจินดา ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน ( นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน ) เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ อยู่ในระดับ/คะแนน แปลผล ๑๐ - ๑๒ ดีมาก ๔ ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ๗ - ๙ ดี ๓ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อยมาก ๕ - ๖ พอใช้ ๒ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อย ต่ำกว่า ๕ ปรับปรุง ๑ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่


แบบประเมินจุดประสงค์การเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔/๒ คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมรายบุคคลของนักเรียน ตามประเด็นการประเมินต่อไปนี้ แล้วให้น้ำหนักคะแนนตามระดับคุณภาพ ๑. นักเรียนสามารถพูดสื่อสารระหว่างบุคคลได้ถูกต้องตามระดับภาษา(K) ๒. นักเรียนออกมาพูดตามหัวข้อที่กำหนดให้ได้(P) ๓. นักเรียนมีใฝ่เรียนรู้เรียน (A) เลขที่ ชื่อ – สกุล ประเด็นการประเมิน รวม ผลการประเมิน ประเด็นที่ ๑ (K) ประเด็นที่ ๒ (P) ประเด็นที่ ๓ (A) ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ 1 นายจิณณวัตร ศรจักร 2 นายวรฤทธิ์ คิดชอบ 3 นายวิชชากร วังใน 4 นางสาวขวัญจิรา มิ่งมา 5 นางสาวชลกร แสนโซ้ง 6 นางสาวณัฐสุดา เวียงทอง 7 นางสาวธนภรณ์ ทะนะชัย 8 นางสาวธนัทชา อถานา 9 นางสาวธวรรณรัตน์ ไชยะกูล 10 นางสาวธัญญาศิริ จันทร์หมื่น 11 นางสาวนันทิชา ข้ามหก 12 นางสาวปรียะพัฒน์ ศรีทันต์ 13 นางสาวพณัฐดา สองเมือง 14 นางสาวพิจิตรา ข้ามสาม 15 นางสาวไพลิน ป่งสม 16 นางสาวสุภารัตน์ เขื่อนเก้า 17 นางสาวอิสรยา ศรีลารักษ์ ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน ( นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน) เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ อยู่ในระดับ/คะแนน แปลผล ๑๐ - ๑๒ ดีมาก ๔ ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ๗ - ๙ ดี ๓ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อยมาก ๕ - ๖ พอใช้ ๒ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อย ต่ำกว่า ๕ ปรับปรุง ๑ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่


แบบประเมินจุดประสงค์การเรียนรู้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/๓ คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมรายบุคคลของนักเรียน ตามประเด็นการประเมินต่อไปนี้ แล้วให้น้ำหนักคะแนนตามระดับคุณภาพ ๑. นักเรียนสามารถพูดสื่อสารระหว่างบุคคลได้ถูกต้องตามระดับภาษา(K) ๒. นักเรียนออกมาพูดตามหัวข้อที่กำหนดให้ได้(P) ๓. นักเรียนมีใฝ่เรียนรู้เรียน (A) เลขที่ ชื่อ – สกุล ประเด็นการประเมิน รวม ผลการประเมิน ประเด็นที่ ๑ (K) ประเด็นที่ ๒ (P) ประเด็นที่ ๓ (A) ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ 1 นายกิตติภณ เรือนคำ 2 นายณัชพล มีหล้า 3 นายณัฐกรณ์ กลิ่นเกษร 4 นายณัฐพล ขันคำนันต๊ะ 5 นายถิรวัฒน์ จิรปุญญพัฒน์ 6 นายธีรภัทร รั้งกลาง 7 นายธีรภัทร อินต๊ะนอน 8 นายนิกร จันทราพรม 9 นายพัทรดนย์ แปงชัย 10 นายพีรภัทร ศรีใจ 11 นายรัฐภูมิ ข้ามสาม 12 นางสาวณัฐณิชา เทียมตา 13 นางสาวณัฐวิมล ขันขวา 14 นางสาวนันท์นภัส พลอยสุขแก้ว 15 นางสาวประภาศิริ พันธ์กวาง 16 นางสาวพรทวี มีชัย 17 นางสาวพัทธ์ธีรา ตาทิพย์ 18 นางสาวภัทราวดี กะนะลัย 19 นางสาวเมย์ษา เดชกูล 20 นางสาวอรวรรณ ยันสูงเนิน 21 นางสาวสุธาวัลย์ วังแผน 22 นางสาวอาทิตยากรณ์ แสนทา 23 นายจิราณะ เหมืองจา ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน ( นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน ) เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ อยู่ในระดับ/คะแนน แปลผล ๑๐ - ๑๒ ดีมาก ๔ ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ๗ - ๙ ดี ๓ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อยมาก ๕ - ๖ พอใช้ ๒ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องน้อย


แผนการจัดการเรียนรู้ที่4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 รายวิชา ท๓๓๑๐2 ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 นิราศนรินทร์คำโคลง เรื่องที่ 4 ผู้แต่ง นิราศนรินทร์คำโคลง เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 256๖ สอนวันที่______________________ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมา ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตัวชี้วัด ม.๔-๖/๑ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น ๒. สาระสำคัญ นิราศนรินทร์คำโคลง เป็นตัวอย่างของนิราศชั้นเยี่ยมที่เปี่ยมด้วยความไพเราะ และมีคุณค่าทาง วรรณศิลป์ เหมาะสำหรับเยาวชนจะนำไปเป็นแบบอย่างในการประพันธ์โคลงที่มีเนื้อหาพรรณนาอารมณ์ ความ รัก และธรรมชาติ รวมทั้งรูปแบบทางฉันทลักษณ์ของร้อยกรองไทย ได้เป็นอย่างดี ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถบอกที่มาของเรื่องได้(K) ๒. นักเรียนสามารถบอกประวัติผู้แต่งเรื่องได้(P) ๓. นักเรียนมีความรับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่งงานได้ทันตามที่กำหนด (A) ๔. สาระการเรียนรู้ ด้านความรู้ ๑. ที่มาของเรื่อง ๒. ประวัติผู้แต่ง ด้านทักษะ/กระบวนการ ๑. ทักษะการพูด ๒. ทักษะการฟัง ๓. ทักษะการคิด ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้


๕. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน (๕ นาที) ๑. ครูกล่าวทักทายนักเรียน ตรวจสอบรายชื่อ และอุปกรณ์การเรียน ๒. นักเรียนดูข้อความ “นิราศ” ที่ปรากฏบนจอนำเสนอโปรแกรมนำเสนอภาพนิ่ง แล้วร่วมกันแสดง ความคิดเห็นว่า “นิราศในความคิดเห็นของนักเรียนคืออะไร” ครูสุ่มนักเรียนตอบคำถาม จากนั้นกล่าวเชื่อมโยง เข้าสู่บทเรียน กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้(๔๐ นาที) ๓. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องนิราศนรินทร์คำโคลง เป็นเวลา ๑๐ นาที ๔. นักเรียนร่วมกันตอบคำถาม “นิราศมีที่มาอย่างไร” แล้วครูอธิบายคำตอบให้นักเรียนดังนี้ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระดำรงราชานุภาพทรงสันนิษฐานเกี่ยวกับที่มาของนิราศไว้ว่า เนื่องจากการเดินทางสมัยก่อนต้องใช้ระยะเวลายาวนาน กวีจึงใช้เวลาว่างจากการเดินทางให้เกิดประโยชน์ พร้อมบอกเล่าเส้นทางสถานที่ที่ผ่าน และสิ่งที่พบเห็นระหว่างทาง โดยใช้ธรรมชาติที่พบเห็นเป็นสื่อในการ พรรณนาเปรียบเทียบ ๕. นักเรียนศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับ นิราศ ในหนังสือเรียนวรรณคดีและวรรณกรรม เป็น เวลา ๕ นาที ๖. นักเรียนร่วมกันตอบคำถาม “นิราศนรินทร์คำโคลงมีที่มาอย่างไร” จากนั้นให้นักเรียนศึกษาที่มา ของนิราศนรินทร์คำโคลงใน หนังสือเรียนวรรณคดีและวรรณกรรม ๗. นักเรียนอ่านบทประพันธ์บนจอนำเสนอ ดังนี้ โคลงเรื่องนิราศนี้ นรินทร์อิน รองบาทบวรวังถวิล ว่าไว้ ๘. นักเรียนตอบคำถาม “บทประพันธ์ข้างต้นกล่าวถึงสิ่งใด” แล้วครูเฉลยคำตอบว่า บทประพันธ์ ข้างต้นกล่าวถึงผู้แต่งนามว่า นรินทร์หรืออิน จากนั้นครูอธิบายประวัติผู้แต่งเรื่องนิราศนรินทร์คำโคลงโดยใช้ โปรแกรมนำเสนอภาพนิ่ง ๙. นักเรียนทำใบงาน “รู้เฟื่องเรื่องนิราศนรินทร์คำโคลง” โดยครูแจกใบงานให้ทำเป็นรายบุคคล เป็น เวลา ๑๐ นาที กิจกรรมรวบยอด (๕ นาที) ๑๐. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียน โดยสุ่มนักเรียนจำนวน ๒ คน ตอบคำถาม “เพราะเหตุใด ประวัติของผู้แต่งนิราศนรินทร์คำโคลง จึงไม่ค่อยมีความชัดเจนมากที่ควร ความไม่ชัดเจนของประวัติผู้แต่งนี้ สะท้อนค่านิยมของสังคมไทยอย่างไร” ๖. สื่อและแหล่งเรียนรู้ ๑. โปรแกรมนำเสนอภาพนิ่ง เรื่อง นิราศนรินทร์คำโลง ๒. หนังสือวรรณคดีและวรรณกรรม ๓. แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง นิราศนรินทร์คำโคลง ๔. ใบงานเรื่อง รู้เฟื่องเรื่องนิราศนรินทร์คำโคลง ๗. ภาระงาน / ชิ้นงาน ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง นิราศนรินทร์คำโคลง ๒. ใบงาน รู้เฟื่องเรื่องนิราศนรินทร์คำโคลง


๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ๘.๑ วิธีการวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือที่ใช้วัด เกณฑ์การประเมิน ๑. นักเรียนสามารถบอก ที่มาของเรื่องได้(K) แบบสังเกตพฤติกรรมการ ร่วมกันตอบคำถาม การร่วม กิจกรรม แบบประเมินพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ - ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ ๒. นักเรียนสามารถบอก ประวัติผู้แต่งเรื่องได้(P) แบบประเมินใบงาน แบบประเมินใบงาน ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ ๓. นักเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและ ส่งงานได้ทันตามที่กำหนด (A) สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ ๘.๒ เกณฑ์การประเมินผล ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ ด้านความรู้ (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการ ร่วมกันตอบคำถาม การ ร่วมกิจกรรม ปฏิบัติได้ ถูกต้อง ปฏิบัติมี ข้อบกพร่อง เล็กน้อย ปฏิบัติมี ข้อบกพร่อง ปานกลาง ปฏิบัติมี ข้อบกพร่อง มาก ต้อง ปรับปรุง ด้านทักษะ/ กระบวนการ (P) ๑. สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานรายบุคคล - การแสดงความคิดเห็น - การทำงานตามหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย - การตรงต่อเวลา ๒.สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม - การแสดงความคิดเห็น - การยอมรับฟังคนอื่น - ความมีน้ำใจ - การมีส่วนร่วมในการ ปรับปรุง ผลงานกลุ่ม ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม


ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยม (A) ๑. สังเกตความมีวินัย - ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม ไม่ ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรง ต่อเวลาในการปฏิบัติ กิจกรรมต่าง ๆ ใน ชีวิตประจำวัน และ รับผิดชอบในการทำงาน ๒.ใฝ่เรียนรู้ - แสวงหาข้อมูลจาก แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ - มีการจดบันทึกความรู้ อย่างเป็นระบบ - สรุปความรู้ได้อย่างมี เหตุผล ๓. มุ่งมั่นในการทำงาน - เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติ หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย - ตั้งใจและรับผิดชอบใน การทำงานให้สำเร็จ - ปรับปรุงและพัฒนา การทำงานรอบคอบ - ทุ่มเท ทำงาน อดทน ไม่ท้อต่อปัญหาอุปสรรค - พยายามแก้ปัญหา และอุปสรรคในการ ทำงานให้สำเร็จ ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติ หรือแสดง พฤติกรรม อย่าง สม่ำเสมอ ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บ่อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม บางครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ปฏิบัติหรือ แสดง พฤติกรรม น้อยครั้ง ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม ต้อง ปรับปรุง พฤติกรรม


ผ่านเกณฑ์คะแนนรูบริคส์ระดับ ๓ ขึ้นไป เกณฑ์การประเมินคุณภาพ แบบประเมินใบงาน “รู้เฟื่องเรื่องนิราศนรินทร์คำโคลง” คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินนี้สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนโดยครูผู้สอน ตามรายการประเมิน พร้อมทั้งเกณฑ์การให้คะแนนในแต่ละหัวข้อที่ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียนตามความเป็นจริง รายการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ๓ (ดี) ๒ (ปานกลาง) ๑ (ควรปรับปรุง) ๑. ความครบถ้วนถูกต้อง ของเนื้อหาที่บันทึก ๑. บันทึกได้ครบถ้วน ๒. บันทึกและเขียนสะกดคำ ได้ถูกต้อง ๑. บันทึกได้ครบถ้วน ๒. บันทึกไม่ถูกต้อง ๑. บันทึกไม่ครบถ้วน ๒. บันทึกไม่ถูกต้อง ๒. ความตรงต่อเวลา ๑. ส่งงานตรงต่อเวลาที่ กำหนด ๑. ส่งงานช้ากว่าเวลาที่ กำหนด ระดับคุณภาพ/ การวัดและประเมินผล คะแนนรวม ๕ คะแนน หมายถึงนักเรียนปฏิบัติงานอยู่ในระดับ ดี คะแนนรวม ๓ – ๔ คะแนน หมายถึงนักเรียนปฏิบัติงานอยู่ในระดับพอใช้ คะแนนรวม ๒ คะแนน หมายถึงนักเรียนปฏิบัติงานอยู่ในระดับควรปรับปรุง ลงชื่อ………………………………………………..ครูผู้สอน (นางสาวนิยาภรณ์ คำปัน) ตำแหน่ง ครู รับเงินเดือนอันดับ คศ.1 ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ อยู่ในระดับ ๑๐ - ๑๒ ดีมาก ๔ ๗ - ๙ ดี ๓ ๕ - ๖ พอใช้ ๒ ต่ำกว่า ๕ ปรับปรุง ๑


๙. ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นก่อนใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ๙.๑ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………..…….…… ……………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….…. ............................……………………………………………………………………………………………………………..…………………… ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางสาวปุญญาภา ศรีวิชัย) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย …………..………../……..……………/……………….. ๙.๒ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาฝ่ายวิชาการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………....……………….………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..……...................................………… ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางกิตติมา เทพสาร) รองผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน …………..………../……..……………/……………….. ๙.๓ ผู้อำนวยการสถานศึกษา อนุมัติ ไม่อนุมัติ เพราะ............................................................................................................ ลงชื่อ…………………………………..……………….. (นางจินตนา ทุ่งเก้า) ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน ………..………../……..……………/……………….


Click to View FlipBook Version