The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Darunee, 2023-11-30 01:21:33

หนังสือแนะนำคณะ

คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

Keywords: คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์,วารสาร

Engineering Architecture คณะวิศวิวกรรมศาสตร์เ ร์ เละสถาปัต ปั ยกรรมศาตร์ FacultyofEngineeringandArchitecture มหาวิทวิยาลัยลัเทคโนโลยีร ยี าชมงคลสุว สุ รรณภูมิ ภูมิ https://fea.rmutsb.ac.th 0 2149 9092 คณะวิศวิวกรรมศาสตร์แร์ละสถาปัตปัยกรรมศาสตร์ RUS


ความเป็นมาของคณะวิศวกรรมศาสตร์ และสถาปัตยกรรมศาสตร์ ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัย แต่เดิมพื้นที่จัดการศึกษาจ านวน 3 แห่งของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลสุวรรณภูมิ เป็นวิทยาลัยในสังกัดกรมอาชีวศึกษาประกอบด้วย วิทยาลัยเกษตรกรรมพระนครศรีอยุธยา, วิทยาลัยพณิชยการพระนครศรีอยุธยาและวิทยาลัยเทคนิคนนทบุรี ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ. 2520 ได้มีพระราชบัญญัติ โอนกิจการบางส่วนของกรมอาชีวศึกษาไปเป็นของวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษารวม 28 แห่ง ซึ่งรวมวิทยาลัย ทั้ง 3 แห่ง ดังกล่าวด้วยพร้อมกันรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการเปลี่ยน ชื่อสถานศึกษาและตั้งเป็นวิทยาเขตทั้ง 28 แห่งในปีเดียวกันดังนั้น วิทยาเขตเกษตรพระนครศรีอยุธยา, วิทยาเขต พณิชยการพระนครศรีอยุธยาและวิทยาเขตเทคนิคนนทบุรี จึงสังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ซึ่งมีฐานะ เป็นกรมในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 เป็นต้นมา ต่อมาในปี 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า “สถาบัน เทคโนโลยีราชมงคล”และต่อมาในปี พ.ศ. 2532 กระทรวงศึกษาธิการได้มีประกาศเปลี่ยนชื่อวิทยาเขตในสังกัด สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เฉพาะวิทยาเขตในส่วนภูมิภาครวม 17 วิทยาเขต ส่งผลให้ทั้ง 3 วิทยาเขตเปลี่ยนชื่อ ใหม่เป็นวิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา หันตรา, วิทยาเขตพระนครศรีอยุธยาวาสุกรีและวิทยาเขตนนทบุรี ตามล าดับ ต่อมาในปี พ.ศ. 2538 ได้มีประกาศจัดตั้งวิทยาเขตสังกัดสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล จ านวน 5 แห่ง คือวิทยาเขต เชียงราย, วิทยาเขตสกลนคร, วิทยาเขตสุพรรณบุรี, วิทยาเขตศาลายาและวิทยาเขตศรีวิชัย นับเป็นจุดเริ่มต้น ของการก่อก าเนิด วิทยาเขตสุพรรณบุรี ซึ่งเป็นพื้นที่จัดการศึกษาแห่งที่ 4 ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ ดังที่กล่าวไว้ข้างต้น สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลได้ขยายการศึกษาออกไปในส่วนภูมิภาคต่าง ๆ จนถึง 35 วิทยาเขต รวมทั้งมีศูนย์กลางการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีซึ่งตั้งอยู่ที่ต าบลคลองหก อ าเภอคลองหลวง จังหวัด ปทุมธานีและมีการจัดการศึกษาระดับต่ ากว่าปริญญาตรีและปริญญาตรี ในทุกวิทยาเขต


การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีในวิทยาเขตต่างๆ มีปัญหาในด้านการบริหารจัดการค่อนข้างมากเพราะ แม้ว่าวิทยาเขตจะเปิดสอนระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาต่าง ๆ ได้แต่ก็เป็นการเปิดในนามของคณะซึ่งตั้งอยู่ที่ ศูนย์กลางฯ จังหวัดปทุมธานีเป็นหลักท าให้ขาดความคล่องตัวในการบริหารจัดการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้บริการ สนองตอบความต้องการของประชาชนในแต่ละภูมิภาค ดังนั้นหลังจากที่ประเทศไทยมีกฎหมายการศึกษาฉบับแรก คือ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ส่งผลให้สถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอนระดับปริญญามาอยู่ใน สังกัดเดียวกัน คือ ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลจึงได้ ด าเนินการปรับปรุงแก้ไข พระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2518 โดยมีการรวมกลุ่มวิทยาเขตใน สังกัดซึ่งอยู่ในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทยออกเป็น 9 กลุ่มและเสนอพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลสุวรรณภูมิ เพื่อจัดตั้งเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลจ านวน 9 แห่ง โดยมีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลสุวรรณภูมิ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจ านวน 9 แห่งนั้น ซึ่งเกิดจากการรวมทั้ง 4 วิทยาเขตเข้าด้วยกัน คือ วิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา หันตรา, วิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา วาสุกรี, วิทยาเขตนนทบุรี และวิทยาเขต สุพรรณบุรี โดยมีที่ตั้งส านักงานอธิการบดี อยู่ในพื้นที่วิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา หันตรา และหลังจากที่ กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการระดับคณะ สถาบัน ส านัก ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ มีผลใช้ บังคับแล้วทั้ง 4 แห่ง วิทยาเขตได้หลอมรวมเป็นมหาวิทยาลัย โดยจัดตั้งคณะ สถาบัน ส านัก ลงในพื้นที่ทั้ง 4 วิทยา เขตแทนและเพื่อให้สะดวกในการสื่อสารระหว่างภายในองค์กรและภายนอกองค์กร จึงเรียกทั้ง 4 พื้นที่ว่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ ศูนย์วาสุกรี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี ตามล าดับและคณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ เริ่มจัดการ เรียนการสอนครั้งแรกในระดับปริญญาตรีตั้งแต่ปีการศึกษา 2548 เป็นต้นมา


Vision Mission ผลิตบัณฑิตและพัฒนาก าลังคน ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์และ สถาปัตยกรรมศาสตร์ที่มีศักยภาพ เพื่อรองรับอุตสาหกร รมและ ส่งเสริมการสร้างนวัตกรสู่การเป็น ผู้ประกอบการ น าเทคโนโลยีและนวัตกรรม มาใช้เพื่อส่งเสริมการทะนุบ ารุง ศิลปวัฒนธรรมและการเป็น มหาวิทยาลัยสีเขียว 03 01 02 04 สร้างงานวิจัยนวัตกรรมสู่ เชิงพาณิชย์ตอบสนองความ ต้อง ก า ร ของ ชุมชนแล ะ อุตสาหกรรม บริหารจัดการด้วยระบบ เทคโนโลยีที่ทันสมัยลด ขั้นตอนการท างานและยึด หลักธรรมาภิบาล ผลิตวิศวกรและสถาปนิกที่มีHard Skills ด้านวิชาชีพ เทคโนโลยีขั้นสูง และมีSoft Skills เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสู่ความยั่งยืน


หลักสูตรและการจัดการศึกษา ปัจจุบัน คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ได้เปิด การเรียนการสอนทั้งหมด 3 ศูนย์พื้นที่คือ 1. ศูนย์นนทบุรี 2. ศูนย์สุพรรณบุรี และ 3.ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา มีหลักสูตรต่างๆ รวมทั้งสิ้น 19 หลักสูตร โดยแบ่งออกเป็นหลักสูตรในระดับปริญญาตรี จ านวน 13 หลักสูตร ระดับ ปริญญาโท จ านวน 3 หลักสูตร และระดับปริญญาเอก จ านวน 3 หลักสูตร หลักสูตรที่เปิดสอน ระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 – 5 ปี ภาคปกติ (รับวุฒิ ปวช. หรือ ม.6)


หลักสูตรเทียบโอนรายวิชา (รับวุฒิ ปวส.) หลักสูตร 4 – 5 ปี (รับวุฒิ ม.6)


หลักสูตรที่เปิดสอน ระดับปริญญาเอก หลักสูตรที่เปิดสอน ระดับปริญญาโท


เครือข่ายความร่วมมือ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ได้บันทึก ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (Memorandum Of Understanding (MOU) ) กับโรงเรียน วิทยาลัย และหน่วยงานภายนอก เพื่อให้มีความร่วมมือทางด้าน วิชาการและวิจัย รวมถึงการแลกเปลี่ยนความรู้, การ พัฒนาวิจัย, การให้ความร่วมมือในด้านวัสดุอุปกรณ์, เทคโนโลยี และองค์ความรู้ต่างๆ ซึ่งมุ่งเน้นในการสร้าง ความร่วมมือและการพัฒนาทางวิชาการร่วมกันอย่าง ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ


ศูนย์นนทบุรี คณะวิศวิวกรรมศาสตร์แร์ละสถาปัตปัยกรรมศาสตร์ RUS [email protected] https://fea.rmutsb.ac.th 0 2149 9091-93 / 086 999 0359 สอบถามข้อข้มูลเพิ่มพิ่เติม มทร.สุวสุรรณภูมิภูมิศูนย์นย์นทบุรี เขตเหนือ มทร.สุวสุรรณภูมิภูมิศูนย์นย์นทบุรี เขตใต้ เขตเหนือและเขตใต้


เป็นศาสตร์สาขาหนึ่งที่ครอบคลุมเรื่องการออกแบบ การก่อสร้าง และการบ ารุงรักษา สิ่งปลูกสร้างที่มนุษย์ เป็นผู้ที่สร้างขึ้นมาไม่ว่าจะเป็นการสร้างอาคาร สะพาน ถนน ระบบขนส่ง ระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ ตลอดจน การท ารังวัดในงานส ารวจและแผนที่รวมไปถึงการ วิเคราะห์ทางธรณีและชลศาสตร์การบริหารจัดการ งานก่อสร้างสาขาย่อยของวิศวกรรมโยธา ประกอบด้วย FOLLOW US: FACEBOOK: สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มทร.สุวรรณภูมิ นนทบุรี ชั้น 2 อาคาร 13 (สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา) 1. วิศวกรรมโครงสร้าง เน้นงานค านวณวิเคราะห์ ออกแบบโครงสร้างของสิ่งก่อสร้าง และแรงต้านทาน ของวัสดุ 2. วิศวกรรมก่อสร้างและการจัดการ ศึกษา เกี่ยวกับการก่อสร้างอาคารเป็นหลัก 3. วิศวกรรมขนส่ง แยกเป็น 2 สาขาคือ ระบบ และวัสดุงานทางด้านระบบจะเน้นทางด้านการวางผัง การจราจร และการจัดการทางด้านงานจราจร 4. วิศวก ร รมเทคนิคธ รณีศึกษ าเกี่ยวกับ คุณสมบัติทางด้านฟิสิกส์และวิศวกรรมของดินเพื่อ น ามาการวิเคราะห์ ออกแบบ และแก้ปัญหาด้าน วิศวกรรมโยธา 5. วิศวกรรมทรัพยากรน้ า ศึกษาเกี่ยวกับงาน ทางด้านแหล่งน้ าปริมาณน้ าฝน และระบบการระบาย น้ า รวมทั้งการก่อสร้างคูน้ า คลองและแม่น้ า 6. วิศวกรรมส ารวจ ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการท ารังวัด และงานทางด้านส ารวจ ส าหรับใช้ในทางด้านแผนที่ รวมถึงการศึกษาทางด้านจีพีเอส (GPS) และภูมิ ส า รสนเทศ (Geoinformatics ห รือ Geographic information system : GIS) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี เขตเหนือ (เปิดสอนหลักสูตร วศ.บ. , วศ.ม. และ วศ.ด. สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา) สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา • ห้องปฏิบัติการทดสอบวัสดุ • ห้องปฏิบัติการคอนกรีตเทคโนโลยี • ห้องปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร์ • ห้องปฏิบัติการชลศาสตร์ • ห้องปฏิบัติการทดสอบวัสดุการทาง • ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมส ารวจ ห้องปฏิบัติการ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มีความพร้อมทั้งทางด้าน บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ด้าน เครื่องมือในห้องปฏิบัติการที่พร้อมให้นักศึกษาได้ลงมือ ปฏิบัติจริง ด้านสถานที่ในการจัดการเรียนการสอน มี ความพร้อมทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ สาขาวิชามี การให้บริการวิชาการทดสอบวัสดุทางวิศวกรรมโยธา การให้บริการออกแบบงานวิศวกรรมด้านต่าง ๆ ที่บริการ วิชาการแก่สังคม ภาครัฐและภาคเอกชน สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering) Civil Engineering


FOLLOW US: FACEBOOK: วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม มทร.สุวรรณภูมิ ชั้น 9 อาคารเลิศสรรพวิทย์ สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering) สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม มีความพร้อมทั้งทางด้านบุคลากรที่มี ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ด้านเครื่องมือในห้องปฏิบัติการที่พร้อม ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง ด้านสถานที่ในการจัดการเรียนการสอน มีความ พร้อมทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ สาขาวิชามีการให้บริการวิชาการวิเคราะห์ คุณภาพทางสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ด้านน้ า, น้ าเสีย และอากาศ มีเครือข่ายโครงการ งานวิจัยและบันทึกข้อตกลงทั้งภาครัฐและภาคเอกชน (เปิดสอนหลักสูตร วศ.บ. สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) เป็นหนึ่งในเจ็ดของสาขาวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเป็นสาขาวิศวกรรมที่ประยุกต์ ใช้ความรู้ ฟิสิกส์ ชีว วิทย าและเคมีเพื่อออกแบบ ทางวิศวกรรม และควบคุมระบบ ควบคุม บ าบัด และ ก าจัดมลพิษที่อยู่รอบตัวของเราโดยประเภทของงาน วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ระบบน้ าประปา ระบบน้ า สะอาด ระบบน้ าเสียระบบน าน้ ากลับมาใช้ใหม่ ระบบ ระบายน้ า ระบบควบคุมมลพิษอากาศ ระบบจัดการ มลภาวะทางเสียงหรือความสั่นสะเทือน ระบบการฟื้นฟู สภาพดินและน้ าที่มีการปนเปื้อน ระบบการจัดการขยะ มูลฝอย ระบบการจัดการกากอุตสาหกรรมระบบดับเพลิง หรือป้องกันอัคคีภัย ระบบน้ าบาดาลหรือเติมน้ าลงในชั้น น้ าบาดาล การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ห้องปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี เขตเหนือ ▪ ห้องปฏิบัติการเคมี ▪ ห้องปฏิบัติการชีววิทยา ▪ ห้องปฏิบัติการเสียง ▪ ห้องปฏิบัติการน้ าเสีย ▪ ห้องปฏิบัติการน้ าประปา ▪ ห้องปฏิบัติการอากาศ Environmental Engineering


FOLLOW US: FACEBOOK: ARCHRMUTSB YOUTUBE: ARCH RUS INSTAGRAM: ARCHRUS2547 สาขาวิชาสถาปัตยกรรม สาขาวิชาสถาปัตยกรรม (Bachelor of Architecture Program) สาขาวิชาสถาปัตยกรรม มีความพร้อมทั้งทางด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ด้านการออกแบบทางสถาปัตยกรรมและเทคโนโลยี อาคาร ที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงสาขาวิชาสถาปัตยกรรมมีความพร้อมของสถานที่เพื่อการศึกษา ได้แก่ ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับการออกแบบทางสถาปัตยกรรม และวิชาการด้านต่างๆ ของหลักสูตรท าให้สาขาวิชาสถาปัตยกรรมมีความพร้อม ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ มีการบูรณาการกับการเรียนการสอนทั้งงานวิจัย และบริการวิชาการ เพื่อให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติกับพื้นที่ชุมชนได้อย่างแท้จริง ห้องปฏิบัติการของสาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม • พื้นที่ Co-Working Space • ห้องบรรยายแบบขั้นบันได 50 ที่นั่ง • ห้องบรรยายแนวราบแบบเชื่อมต่อกัน 50 – 100 ที่นั่ง • ห้องบรรยายแบบขั้นบันได 200 ที่นั่ง • ห้องปฏิบัติการออกแบบและเขียนแบบ • ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ • ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อม • พื้นที่กิจกรรมทางวิชาการและนันทนาการ ชั้น 10 อาคารเลิศสรรพวิทย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี เขตเหนือ (เปิดสอน 2 หลักสูตร วศ.บ. 1. สาขาวิชาสถาปัตยกรรม 2. สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม) เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นการสร้างสถาปนิกและนักออกแบบ รุ่นใหม่ที่เต็มเปี่ยมด้วยคว ามส าม า รถและความคิด สร้างสรรค์ ทั้งด้านแนวความคิดและทักษะทางการออกแบบ ผ่านการเรียนการสอนที่ประยุกต์ศาสตร์และศิลป์เข้าไว้ ด้วยกัน ด้วยการเรียนรู้องค์ความรู้ทางศิลปะผ่านการ ออกแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัย ผสานกับศาสตร์ความรู้ ในการบริหารจัดการงานออกแบบในทุกขั้นตอน พร้อมการ ค้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ เพื่อเตรียมความ พร้อมให้นักศึกษาก้าวสู่วิชาชีพทางสถาปัตยกรรมในระดับ สากลสามารถปรับตัวให้เข้ากับทิศทางการออกแบบ ในอนาคตและเรียนรู้ที่จะตอบโจทย์การท างานในระดับ ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นระดับองค์กรวิชาชีพหรือสังคมได้อย่าง มืออาชีพ Bachelor of Architecture Program


FOLLOW US: FACEBOOK: Landscape Architecture Rmutsb YOUTUBE: ARCH RUS INSTAGRAM: ARCHRUS2547 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape) ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผน ออกแบบ บริหารจัดการ และดูแลอนุรักษ์พื้นที่บริเวณสิ่งปลูกสร้าง และพื้นที่ธรรมชาติ เน้นการออกแบบพื้นที่ภายนอก อย่างเช่น การออกแบบสวนสาธารณะ สนามกอล์ฟ พื้นที่ บริเวณที่อยู่อาศัย สถานศึกษา โรงแรม ห้าง อาคารต่างๆ ตลอดไปจนพื้นที่บริเวณถนน และพื้นที่ในธรรมชาติ โดยลักษณะการสอนในหลักสูตรเน้นการสอน เข้าใจ ในพื้นฐานหลักการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมและ ปฏิบัติการเขียนแบบภูมิสถาปัตยกรรมที่สามารถน าความรู้ ไปใช้ในการประกอบวิชาภูมิสถาปัตยกรรม สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม มีความพร้อมทั้งทางด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ ด้านการออกแบบและการจัดการพืชพรรณ รวมไปถึงสาขาวิชาภูมิ สถาปัตยกรรม มีเครื่องมือในห้องปฏิบัติการที่พร้อมให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง เช่น เรือนเพาะช า เครื่องมือและวัสดุส าหรับการทดลองปลูกพืชพรรณ ด้านสถานที่ในการ จัดการเรียนการสอน มีความพร้อมทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ มีการบูรณาการ กับการเรียนการสอนทั้งงานวิจัยและบริการวิชาการ เพื่อให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติ กับพื้นที่ชุมชนได้อย่างแท้จริง ห้องปฏิบัติการของสาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม • ห้องบรรยาย 50 ที่นั่ง • ห้องบรรยาย 200 ที่นั่ง • ห้องปฏิบัติการออกแบบและเขียนแบบ • ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ • พื้นที่ปฏิบัติการเรือนเพาะช า • พื้นที่กิจกรรมทางวิชาการและนันทนาการ ชั้น 10 อาคารเลิศสรรพวิทย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี เขตเหนือ Landscape


FOLLOW US: FACEBOOK: วิศวกรรมอุตสาหการ มทร.สุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี ชั้น 2 อาคาร 18 สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering) เป็นการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่มีความเกี่ยวข้อง กับการออกแบบ พัฒนา วางแผน ควบคุม ขั้นตอน การด าเนินงาน การจัดการและประเมินผล ระบบต่างๆ โดยจะครอบคลุมทุกด้านทั้งบุคคล สารสนเทศ อุปกรณ์ พลังงาน วัสดุ สถานที่ เวลาและการเงิน โดยจะอาศัย หลักการและวิธีการทางด้านการวิเคราะห์และสังเคราะห์ ด้านวิศวกรรมเข้ามาช่วยท าให้การท างานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และยังรวมถึงความรู้ด้านคณิตศาสตร์ สถิติ ฟิสิกส์ การตลาดการบริหารจัดการ สารสนเทศเศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์และจิตวิทยาเข้ามาประยุกต์ใช้ร่วมกันด้วย เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ ให้ตรงต่อความต้องการของลูกค้ามากที่สุดงานของวิศวกร อุตสาหการ จะเกี่ยวข้องกับการลดเวลาการปฏิบัติงาน ค่าใช้จ่าย วัสดุ พลังงาน และทรัพยากรอื่น ๆ รวมไปถึง งานการควบคุมคุณภาพของการผลิตหรือการด าเนินงาน เพื่อให้อยู่ในระดับที่ต้องการโดยหากลวิธีต่างๆ ในการ พัฒนา ปรับปรุง แก้ไขเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการท างาน ให้คุ้มค่าที่สุด สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มีความพร้อม ทั้งทางด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ด้านเครื่องมือในห้องปฏิบัติการที่พร้อมให้นักศึกษา ได้ลงมือปฏิบัติจริงด้านสถานที่ในการจัดการเรียน การสอนมีความพร้อมทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ สาขาวิชามีบริการการให้ค าปรึกษาแก้ไขปัญหา ในกระบวนการผลิต การลดต้นทุน การควบคุมคุณภาพ บริการวิชาการทดสอบวัสดุทางวิศวกรรม และบริการ ออกแบบงานวิศวกรรม การผลิตสร้างชิ้นงานด้านต่าง ๆ ที่บริการวิชาการแก่สังคม ภาครัฐและภาคเอกชน ▪ ห้องปฏิบัติการทดสอบวัสดุ ▪ ห้องปฏิบัติการ เครื่องมือกล ▪ ห้องปฏิบัติการ วิศวกรรมงานเชื่อม ▪ ห้องปฏิบัติการโลหะวิทยาและงานหล่อโลหะ ▪ ห้องปฏิบัติการออกแบบและเขียนแบบวิศวกรรม ▪ ห้องปฏิบัติการห้องปฏิบัติการออกแบบและเขียนแบบวิศวกรรม ▪ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ทางด้านงานวิศวกรรมอุตสาหการ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (เปิดสอนหลักสูตร วศ.บ. สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ) ห้องปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี เขตใต้ Industrial Engineering


สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering) เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีและการ ประยุกต์ใช้ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อุปกรณ์ทางไฟฟ้า อุปกรณ์สารกึ่งตัวน าและวงจรไฟฟ้าต่างๆ เพื่อน าความรู้ ทางด้านไฟฟ้ามาใช้ในการท างานประกอบอาชีพหรือ ท างานในภาคอุตสาหกรรม ในสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ได้มีการจัดการเรียนการสอนในด้านเกี่ยวข้องกับงาน ไฟฟ้าหลายๆด้านเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ ครอบคลุม ซึ่งแบ่งย่อยออกเป็นด้านต่างๆ ได้หลากหลาย ด้วยกัน เช่น ไฟฟ้าก าลัง ไฟฟ้าระบบควบคุม ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ก าลัง เป็นต้น ส าข า วิช า วิศ วก ร รมไฟฟ้ า มีค ว ามพ ร้ อม ทั้งทางด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ด้านเครื่องมือในห้องปฏิบัติการที่พร้อมให้นักศึกษาได้ลง มือปฏิบัติจริง ด้านสถานที่ในการจัดการเรียนการสอน มีความพร้อมทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ สาขาวิชา มีการให้บริการวิชาการเกี่ยวกับการจัดอบรมเพื่อพัฒนา ทักษะเกี่ยวกับไฟฟ้า เช่น การเดินสายและการติดตั้ง อุปกรณ์ไฟฟ้าเพื่อควบคุมระบบอัตโนมัติด้วยพีแอลซี การออกแบบและติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์ แสงอาทิตย์ที่บริการวิชาการแก่สังคม ภาครัฐและ ภาคเอกชน เป็นต้น ▪ ห้องปฏิบัติการไฟฟ้าก าลัง ▪ ห้องปฏิบัติการระบบควบคุมไฟฟ้า ▪ ห้องปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ก าลัง สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า 1. ไฟฟ้าก าลัง ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการผลิต และการเปลี่ยนพลังงานอื่นๆ มาเป็นพลังงานไฟฟ้าซึ่งใช้ กับระบบแรงดันไฟฟ้าตั้งแต่แรงดันต่ าไปจนถึงแรงดันสูง ระบบการส่งจ่ายไฟฟ้าจากผู้ผลิตไปยังผู้ใช้ทั่วไป 2. ระบบควบคุมไฟฟ้า ศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ ออกแบบ และการเขียนโปรแกรม เพื่อสร้างระบบ ควบคุมหรือทั่วไปมักจะเรียกกันว่า ระบบอัตโนมัติ 3. อิเล็กทรอนิกส์ก าลัง ศึกษาเกี่ยวกับการน าอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการควบคุมและการแปลงพลังงาน ไฟฟ้า การออกแบบและควบคุมวงจรไฟฟ้าทั้งวงจรแบบ อนาล็อกและดิจิตอล ซึ่งเป็นส่วนส าคัญในการท างาน ของอุปกรณ์ทุกชนิดที่มีไฟฟ้าเข้าไปเกี่ยวข้อง ตั้งแต่ ของใช้ในชีวิตประจ าวัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี เขตใต้ (เปิดสอนหลักสูตร วศ.บ., วศ.ม. และ วศ.ด. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า) ห้องปฏิบัติการ FOLLOW US: FACEBOOK: วิศวกรรมไฟฟ้า มทร.สุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี ชั้น 2 อาคาร 9 (สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า) Electrical Engineering


เป็นหลักสูตรที่เกิดจากการรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับ ระบบกลไกไฟฟ้าคอมพิวเตอร์ การผลิต และเทคโนโลยี อัจฉริยะเข้าด้วยกันเพื่อเพื่อออกแบบ พัฒนาอุปกรณ์หรือ ระบบอัตโนมัติที่สามารถท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความแม่นย าสูงเป็นสาขาที่ค่อนข้างใหม่ซึ่งเกิดขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการที่เพิ่มขึ้นของการน าระบบ อัตโนมัติไปใช้งานอย่างหลากหลายในภาคอุตสาหกรรม ตามนโยบายอุตสาหกรรม 4.0 เริ่มตั้งแต่การผลิตอุปกรณ์ เบื้องต้นไปจนถึงการใช้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติที่มี ความซับซ้อนการเรียนการสอนของสาขาวิชาวิศวกรรม เมคคาทรอนิกส์จะครอบคลุมหัวข้อความรู้ต่างๆ มากมาย เช่น กลศาสตร์วัสดุ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระบบตรวจจับ อิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรม PLC การ ออกแบบระบบฝังตัว เทคโนโลยีเซ็นเซอร์ ระบบควบคุม และหุ่นยนต์ นักศึกษาจะได้เรียนรู้การใช้เครื่องมือ ช่วยออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์จ าลอง และการเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนาระบบอัจฉริยะ ที่สามารถรับรู้และตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมได้อย่าง เหมาะสม โดยมีการวัดผลการศึกษาในรายชั้นปีด้วย Capstone Project ที่มีชื่อรายวิชาว่า “Mechatron” โดยมุ่มเน้น ไปที่การน าสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ในชั้นปีนั้นๆ มาประยุกต์ใช้ในกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในภาคอุตสาหกรรม หลังจากส าเร็จการศึกษา วิศวกรเมคคาทรอนิกส์สามารถ ประกอบอาชีพได้หลากหลายในอุตสาหกรรม เช่น การ ผลิต ระบบอัตโนมัติ วิทยาการหุ่นยนต์ การออกแบบและ พัฒนาระบบขั้นสูง หรือการเขียนโปรแกรมและการ ควบคุมเครื่องจักรที่ซับซ้อน จึงกล่าวได้ว่าวิศวกรรม เมคคาทรอนิกส์เป็นสาขาที่มีความน่าสนใจและเติบโต อย่างรวดเร็วตามเทคโนโลยีสมัยใหม่ซึ่งมอบโอกาส ทางอาชีพที่หลากหลายให้กับผู้เรียน สาขาวิชาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส ประกอบไปด้วย บุคลกรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในแต่ละแขนงวิชา ของสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ ครบทุกแขนงทั้งในส่วนของวิศวก รรมเค รื่องกล วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรรมอุตสาหการ ▪ ห้องปฏิบัติการ PLC และระบบควบคุมอัตโนมัติ ▪ ห้องปฏิบัติการไฟฟ้าก าลัง ▪ ห้องปฏิบัติการระบบควบคุมไฟฟ้า FOLLOW US: FACEBOOK: Mechatronics × RUS ชั้น 3 อาคาร 8 (ตึกเขียว) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี เขตใต้ สาขาวิชาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส และเทคโนโลยีอัจฉริยะ (Mechatronics and Smart Technology Engineering) ห้องปฏิบัติการ (เปิดสอนหลักสูตร วศ.บ. สาขาวิชา วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส และเทคโนโลยีอัจฉริยะ) สาขาวิชาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส Mechatronics Engineering


สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering) เป็นสาขาที่เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้หลักการทาง คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เพื่อน าองค์ความรู้ จากการศึกษามาท าการประดิษฐ์ ท าการผลิต ดูแล รักษาระบบเชิงกล รวมถึงการใช้พลังงานของระบบ ต่างๆ ให้คุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุด การศึกษาด้าน วิศวกรรมเครื่องกล จ าเป็นต้องมีความเข้าใจหลักการ ด้านกลศาสตร์ พลศาสตร์ของระบบและการควบคุม อุณหพลศาสตร์ กลศาสตร์ของไหล และพลังงาน เป็นอย่างดี เพราะวิศวกรเครื่องกลจะต้องใช้ความรู้ เหล่านี้ เพื่อท างานในภาคปฏิบัติและการออกแบบ ระบบต่างๆ เช่น ยานยนต์ อากาศยาน ระบบท าความ ร้อนและความเย็น ระบบการผลิต ระบบจักรกลและ อุปกรณ์อุตสาหกรรม รวมถึงหุ่นยนต์และอุปกรณ์ การแพทย์ เป็นต้น ทางสาขามีความพร้อมทั้งทางด้านบุคลากรที่มี ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ด้านเครื่องมือ ในห้องปฏิบัติการ ด้านสถานที่ในการจัดการเรียนการ สอน มีความพร้อมด้านวิชาการและวิชาชีพโดย หลักสูตรมีการจัดการเรียนการสอนที่เป็นไปตามเกณฑ์ การรับรองปริญญาของสภาวิศวกรซึ่งมุ่งเน้นผลิต บัณฑิตให้เป็นวิศวกรที่มีคุณภาพอยู่บนพื้นฐานความ เชี่ยวชาญที่ช านาญการด้านทฤษฎีและปฏิบัติตาม ความต้องการของภาครัฐและภาคอุตสาหกรรม ▪ ห้องปฏิบัติการ Fluid Mechanics ▪ ห้องปฏิบัติการ Thermodynamics และ Heat Transfers ▪ ห้องปฏิบัติการ Dynamics และ Control ▪ ห้องปฏิบัติการ Material Testing ▪ ห้องปฏิบัติการด้านเครื่องกล ▪ ห้องเรียนทฤษฎี EV 1 ▪ ห้องเรียนทฤษฎี EV 2 FOLLOW US: ชั้น 1 อาคาร 16 (สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล) สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล Mechanical Engineering (เปิดสอน 2 หลักสูตร วศ.บ. 1. สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 2. สาขาวิชาวิศวกรรมยานยนต ไฟฟ้า ห้องปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี เขตใต้ สาขาวิชาวิศวกรรมยานยนต ไฟฟ้า เป็นสาขา วิศวกรรมที่เน้นการออกแบบและพัฒนาระบบยานยนต์ ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าหรือการประมวลผลไฟฟ้าเพื่อ ขับเคลื่อนรถยนต์หรือยานยนต์อื่น ๆ ที่ใช้พลังงาน ไฟฟ้าเป็นแหล่งพลังงานหลัก สาขานี้มีบทบาทส าคัญใน การพัฒนายานยนต์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมี ประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน รวมถึงการพัฒนา เทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับยานยนต์ไฟฟ้า


(เปิดสอนหลักสูตร วศ.บ. สาขาวิศวกรรมเครื่องมือและแม่พิมพ เป็นสาขาที่เรียนเกี่ยวกับกระบวนการผลิตโดยทาง สาขามีการเรียนการสอนเกี่ยวกับแม่พิมพ์โลหะแม่พิมพ์ พลาสติก และการผลิตชิ้นส่วนที่มีความเที่ยงตรงสูง ซึ่งในก ารผลิตแม่พิมพ์โลหะและแม่พิมพ์พลาสติก ซึ่งอุตสาหกรรมต่างๆ ส่วนใหญ่ได้มีการน าเข้าแม่พิมพ์ โลหะและแม่พิมพ์พลาสติกจากต่างประเทศ ประเทศไทย โดยรัฐบาลจึงให้ความส าคัญกับปัญหาในเรื่องดังกล่าว จึงให้การสนับสนุนงบประมาณ โดยให้หน่วยงานต่างๆ เช่น สถาบันการศึกษาหรือองค์กรที่มีขีดความสามารถเข้า มาร่วมกันแก้ปัญหาในการพัฒนาขีดความสามารถของ อุตสาหกรรมแม่พิมพ์และการผลิตชิ้นส่วนอุตสาหกรรม น าไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของภาคอุตสาหกรรมในประเทศ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องมือและแม่พิมพ มีความ พร้อมทั้งทางด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและ ประสบการณ์ในด้านของการขึ้นรูปด้วยแม่พิมพ์โลหะ แม่พิมพ์พลาสติกและการ Machining ด้วยเครื่องจักร อัตโนมัติ ในด้านของเครื่องมือเครื่องจักรในห้องปฏิบัติการ ที่พร้อมให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริงในเรื่องของสถานที่ การจัดการเรียนการสอนทางสาขาวิศวกรรมเครื่องมือและ แม่พิมพ์มีความพร้อมทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ อีก ทั้งยังเป็นศูนย์เทคโนโลยีแม่พิมพ์ (Tool and Die Technology Center) ที่ให้บริการด้านให้ค าปรึกษาใน ง านด้ านแม่พิมพ์โลหะ แม่พิมพ์พล าสติกแล ะก า ร Machining การจัดฝึกอบรมให้แก่สังคม ภาครัฐและ ภาคเอกชน รวมถึงการเป็นศูนย์รับรองสมรรถนะของ บุคคลตามมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการ ผลิตแม่พิมพ์ • ห้องปฏิบัติการจ าลอง CNC พื้นฐาน • ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อออกแบบ CAD, CAM, CAE • ห้องปฏิบัติการวัดละเอียด • ห้องปฏิบัติการขึ้นรูปชิ้นงาน • ห้องปฏิบัติการขึ้นรูปพลาสติก • ห้องปฏิบัติการ CNC Milling • ห้องปฏิบัติการ EDM Wire cut • โรงปฏิบัติการฝึกฝีมือพื้นฐาน • ห้องปฏิบัติการขึ้นรูปโลหะ FOLLOW US: Facebook: วิศวกรรมเครื่องมือและแม่พิมพ์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ สาขาวิศวกรรมเครื่องมือและแม่พิมพ ชั้น 2 อาคาร 15 (สาขาวิศวกรรมเครื่องมือและแม่พิมพ์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี เขตใต้ ห้องปฏิบัติการ Tool and Die Engineering สาขาวิศวกรรมเครื่องมือและแม่พิมพ Tool and Die Engineering


(เปิดสอน หลักสูตร วศ.ม และ วศ.ด. สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิตและนวัตกรรมวัสดุ เป็นหลักสูตรที่เน้นการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการ ผลิตและวิธีการใช้วัสดุในการสร้างผลิตภัณฑ์และ นวัตกรรมทางวัสดุในอุตสาหกรรมและสาขาอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้อง เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการผลิตสินค้าและ บริการ รวมถึงการวางแผนการผลิตและการจัดการโรงงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดค่าใช้จ่าย ศึกษาวิธีการ คัดเลือกวัสดุที่เหมาะสมส าหรับการใช้งานและวิธีการ ปรับปรุงสมรรถนะของวัสดุเพื่อให้มีคุณสมบัติที่ต้องการ ศึกษาการวิจัยและพัฒนาวัสดุใหม่ๆ ที่สามารถปรับปรุง สมรรถนะและการใช้งานในอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรม สร้างสรรค์อื่น ๆ เรียนรู้วิธีการทดสอบและวิเคราะห์วัสดุ เพื่อประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพในการใช้งาน หลังจากเรียนจบหลักสูตรนี้คุณสามารถประกอบอาชีพใน หลายสาขาได้ เช่น: วิศวกรผลิต, วิศวกรวัสดุ, ผู้จัดการ โครงการ, นักวิจัย, ผู้ประกอบการ เป็นต้น หลักสูตรนี้จะ เตรียมนักศึกษาให้มีความรู้และทักษะที่จ าเป็นใน อุตสาหกรรมที่เติบโตอย่างรวดเร็วและต้องการนวัตกรรม ในการผลิตและวัสดุในปัจจุบันและอนาคต. • ห้องปฏิบัติการวัดละเอียด • ห้องปฏิบัติการ EDM Wire cut FOLLOW US: ชั้น 2 อาคาร 15 (สาขาวิศวกรรมเครื่องมือและแม่พิมพ์ สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต และนวัตกรรมวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี เขตใต้ ห้องปฏิบัติการ Manufacturing and Materials Engineering สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิตและนวัตกรรมวัสดุ Manufacturing and Materials Engineering สาขาวิชานี้มีความหลากหลายและความเชี่ยวชาญ ที่มากมายในด้านวิศวกรรมและวัสดุ ซึ่งช่วยให้นักศึกษามี โอกาสที่จะเรียนรู้และพัฒนาทักษะในหลายด้านและ พร้อมที่จะท างานในหลายอาชีพและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ได้ตามความสนใจและความช านาญของแต่ละบุคคล


ทางสาขามีความพร้อมทั้งทางด้านบุคลากรที่มีความ เชี่ยวชาญและประสบการณ์ ด้านเครื่องมือในห้องปฏิบัติการ ที่พร้อมให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง ด้านสถานที่ในการ จัดการเรียนการสอน มีความพร้อมทั้งทางด้านวิชาการและ วิชาชีพ สาขาวิชามีการให้บริการวิชาการทางด้านเทคโนโลยี ระบบไอโอที การวัดความชื้นเป็นต้น การให้บริการด้าน ต่างๆ ที่บริการวิชาการแก่สังคม ภาครัฐและภาคเอกชน • ห้องปฏิบัติการการสื่อสารทางแสง • ห้องปฏิบัติการพื้นฐานทางไฟฟ้า • ห้องปฏิบัติการทางความถี่สูง • ห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์ • ห้องปฏิบัติการอัจฉริยะ FOLLOW US: Facebook: สาขาอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม มทรส. ชั้น 8 อาคาร 18 (สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม) สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส และโทรคมนาคม (เปิดสอน 2 หลักสูตร วศ.บ. 1. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร และอิเล็กทรอนิกส อัจฉริยะ 2. สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส อัจฉริยะ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ ) ห้องปฏิบัติการ สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส อัจฉริยะ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ Electronics and Telecommunications Engineering สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร และอิเล็กทรอนิกส อัจฉริยะ เป็นศาสตร์สาขาหนึ่ง ที่ครอบคลุมเรื่องระบบไฟฟ้า การสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ดูแลระบบ เครือข่ายสื่อสารไร้สาย ออกแบบระบบอิเล็กทรอนิกส์และ การสื่อสารโทรคมนาคม สามารถ เป็นผู้ประกอบการด้าน วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ เป็นสาขาวิชาทางวิศวกรรมที่เน้นการศึกษาและ พัฒนาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับอิเล็กทรอนิกส์และ เทคโนโลยีสมัยใหม่ในรูปแบบที่อัจฉริยะและนวัตกรรม ศาสตร์นี้มุ่งเน้นการวิเคราะห์และออกแบบระบบ อิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพสูง เพื่อแก้ไข ปัญหาและที่ยิ่งกว่านั้นยังมุ่งเน้นการพัฒนาเทคโนโลยี ใหม่ๆ และการน าเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในแวดวงต่างๆ เช่น ระบบอัตโนมัติ การสื่อสารไร้สาย ระบบควบคุม อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อมต่อ กับอินเทอร์เน็ต (IoT) และการพัฒนาแพลตฟอร์ม เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น 5G และการประมวลผลข้อมูล ในระดับสมัยใหม่ด้วยเทคโนโลยีเชิงระบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี เขตใต้


ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา คณะวิศวิวกรรมศาสตร์แร์ละสถาปัตปัยกรรมศาสตร์ RUS [email protected] https://fea.rmutsb.ac.th 094 221 6693 มทร.สุวสุรรณภูมิภูมิ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา สอบถามข้อข้มูลเพิ่มพิ่เติม


(เปิดสอนหลักสูตร วศ.บ. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า) • ห้องปฏิบัติการพื้นฐานไฟฟ้า • ห้องปฏิบัติการดิจิทัลและ IoT • ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ • ห้องปฏิบัติการ Automation • ห้องปฏิบัติการวงจรไฟฟ้าและเครืองมือวัด • ห้องปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม • ห้องปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ก าลัง • ห้องปฏิบัติการระบบ Protection สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มีความพร้อมทั้ง ทางด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและ ประสบการณ์ ด้านเครื่องมือในห้องปฏิบัติการที่พร้อมให้นักศึกษาได้ ลงมือปฏิบัติจริง มีห้องปฏิบัติการมากกว่า 10 ห้อง ครุภัณฑ์ใหม่ที่ทันสมัย ตอบโจทย์อุตสาหกรรม 4.0 รองรับหลักสูตร กว. สาขาไฟฟ้าแขนงไฟฟ้าก าลัง อาจารย์ผู้สอนจบจากมหาวิทยาลัยชั้นน าของประเทศ คอยให้ความรู้และค าแนะน า FOLLOW US: FACEBOOK: วิศวกรรมไฟฟ้า หันตรา มทร.สุวรรณภูมิ ชั้น 3 อาคาร 18 (สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า) สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering) สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา 1. ด้านไฟฟ้าก าลัง 2. ด้านระบบควบคุมอัตโนมัติ 3. ด้านพลังงานทดแทน 4. ด้านอินเตอร์เน็ตทุกสรรพ 5. ด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร เป็นสาขาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ พัฒนา และปรับปรุงระบบที่เกี่ยวข้องกับพลังงานไฟฟ้ารวมถึง การใช้และการควบคุมพลังงานไฟฟ้าให้มีประสิทธิภาพ สูงสุด สาขานี้มีความส าคัญอย่างยิ่งในเชิงเศรษฐกิจ และเทคโนโลยี ซึ่งมีบทบาทที่ส าคัญในการพัฒนา สิ่งแวดล้อมและพลังงานให้มีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น และมีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่องผู้ที่จบสาขา วิศวกรรมไฟฟ้าสามารถท างานได้ในหลากหลายสาขา เช่น วิศวกรไฟฟ้า วิศวกรพลังงาน วิศวกรระบบควบคุม ผู้ประกอบการ Start up ฯลฯ วิศวกรไฟฟ้า จึงเป็นที่ ต้องการของตลาด ซึ่งสอดรับกับการพัฒนาประเทศ และภูมิภาคไปสู่ยุคเปลี่ยนผ่านที่ส าคัญในอนาคต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ศูนย์หันตรา จึงได้มีการ ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนผ่าน ดังกล่าว โดยจะมีการเรียนการสอนซึ่งประกอบด้วย ห้องปฏิบัติการ Electrical Engineering


สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต (Manufacturing Engineering) สาขาวิชาวิศวกร รมก า รผลิต มีคว ามพร้อม ทั้งทางด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ด้านเครื่องมือในห้องปฏิบัติการที่พร้อมให้นักศึกษา ได้ลงมือปฏิบัติจริง ด้านสถานที่ในการจัดการเรียน การสอนมีความพร้อมทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ หลั กสู ต รนี้ได้ รับก า รพัฒน า แล ะ วิพ า กษ์หลั กสู ต ร จากผู้ทรงคุณวุฒิทั้งจากภาคการศึกษาภาคอุตสาหกรรม รวมถึงหน่วยงานที่มีหน้าที่รับรองสมรรถนะอาชีพ • ห้องปฏิบัติการมาตรวัดวิทยา • ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต • ห้องปฏิบัติการเครื่องจักรกลอัตโนมัต 5 แกน • ห้องปฏิบัติการเครื่องมือวัด 3 มิติ • ห้องปฏิบัติการเครื่องจักรกลอัตโนมัต 3 แกน • ห้องปฏิบัติการเครื่องจักรกลอัตโนมัต 2 แกน • ห้องปฏิบัติการอุตสาหกรรมอัตโนมัติ • ห้องปฏิบัติการเครื่องจักรอัตโนมัติด้วยกระแสไฟฟ้า • ห้องปฏิบัติการเครื่องจักรอัตโนมัติด้วยล าแสงเลเซอร์ • ลานปฏิบัติการด้านวิศวกรรม เป็นสาขาที่เกี่ยวกับกระบวนการการผลิต ที่น าเอาเทคโนโลยีทางวิศวกรรมมาใช้ในการออกแบบ และพัฒนากระบวนการการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ ต่าง ๆ ให้มีความมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และมี คุณภาพสูง โดยมุ่งเน้นการปรับปรุงกระบวนการ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต เช่น การออกแบบและ วิเคราะห์กระบวนการการผลิต การวางแผนการผลิต การจัดการสารสนเทศเพื่อควบคุมกระบวนการการ ผลิต การทดสอบและประเมินคุณภาพผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย เรื่องการควบคุม คุณภาพ และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (IoT) และ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการผลิตและจัดการกระบวนการ ที่ซับซ้อนขึ้นไปถึงขั้นตอนการวางแผนทรัพยากร การผลิตและการจัดการโรงงานอีกด้วย ในสาขาวิชานี้นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ การออกแบบและพัฒนากระบวนการการผลิต การวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า การควบคุม คุณภาพ การปรับปรุงกระบวนการ และการจัดการ ส าหรับการผลิตในสถานการณ์ที่แตกต่างกันไป สาขาวิชานี้มีความส าคัญในอุตสาหกรรมผลิตและ การผลิตสินค้าทุกประเภท เช่น ยานยนต์ อุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตส าหกรรมเครื่องส าอาง และอื่น ๆ อีกม าก การศึกษาในสาขาวิชานี้จะช่วยพัฒนาความรู้และ ทักษะที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ ออกแบบ และ จัดการกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพและเป็นไป ตามความต้องการของตลาดและลูกค้าในปัจจุบัน FOLLOW US: ชั้น 3 อาคาร 33 (สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต ) ห้องปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา (เปิดสอนหลักสูตร วศ.บ. สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต ) สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต Manufacturing Engineering


Universal Testing Machine Brinell and Rockwell Hardness Tester Torsion Test set Metallurgy Test set เป็นสาขาวิชาเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์ และกฎทางฟิสิกส์ เพื่อน าความรู้มาท าการประดิษฐ์ ท าการผลิต และดูแลรักษาระบบเชิงกล การศึกษา ด้านวิศวกรรมเครื่องกล จ าเป็นที่จะต้องมีความเข้าใจ ในหลักการขั้นพื้นฐานของหลักกลศาสตร์ พลศาสตร์ อุณหพลศาสตร์ กลศาสตร์ของไหล จลนศาสตร์ และ พลังงานเป็นอย่างดี เพราะวิศวกรเครื่องกลจะต้องใช้ ความรู้เหล่านี้มาใช้ท างานจริงทั้งในภาคสนาม เพื่อการ ออกแบบและการวิเคราะห์ยานยนต์ อากาศยาน ระบบ ท าความร้อนและความเย็น เรือ ระบบการผลิต จักรกล และอุปกรณ์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์และอุปกรณ์ทางการ แพทย์ เป็นต้น สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล-วิศวกรรมระบบราง เป็นสาขาหนึ่งในแขนงวิชาของสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ตั้งอยู่ที่ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา โดยเน้นทักษะ วิชาชีพด้านวิศวกรรมเครื่องกลจากวิศวกรหน้างาน สู่อาจารย์ประจ าหลักสูตรในห้องเรียน โดยมีวิชาเลือกเป็น ทักษะทางด้ านระบบรางตามยุทธศาสตร์ชาติและ มหาวิทยาลัย โดยยังคงความเป็นวิศวกรเครื่องกลอยู่ โดยสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล-วิศวกรรมระบบราง จะเน้นสร้างความถนัดในสายงานต่างๆ ทั้งด้านวัสดุ ของแข็ง ของไหล ความร้อนและพลังงาน ทั้งการลงปฏิบัติจริง กับเครื่องมือจริงที่ใช้ในอุตสาหกรรม รวมถึงการวิเคราะห์ ด้วยเครื่องมือต่างๆ เพื่อประเมินปัญหาหน้างานก่อนที่ จะลงมือปฏิบัติได้ • ห้องปฏิบัติการ Dynamics Lab • ห้องปฏิบัติการ Material Testing Lab • ห้องปฏิบัติการ วิศวกรรมระบบราง • ห้องปฏิบัติการ ทางระบบควบคุมอัตโนมัติ FOLLOW US: FACEBOOK: วิศวกรรมเครื่องกล ศูนย์หันตรา ชั้น 2 อาคาร 20 (สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล-วิศวกรรมระบบราง) วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา ห้องปฏิบัติการ (เปิดสอนหลักสูตร วศ.บ. สาขาวิชา วิศวกรรมเครื่องกล-วิศวกรรมระบบราง) Mechanical Engineering สาขาวิชาวิศวกรรม เครื่องกล-วิศวกรรมระบบราง


คณะวิศวิวกรรมศาสตร์แร์ละสถาปัตปัยกรรมศาสตร์ RUS [email protected] https://fea.rmutsb.ac.th มทร.สุวสุรรณภูมิภูมิศูนย์สุย์พสุรรณบุรี ศูนย์สุพรรณบุรี สอบถามข้อข้มูลเพิ่มพิ่เติม 03 543 4014 / 085 427 7712


เป็นสาขาหนึ่งของวิศวกรรมศาสตร์ เรียนเกี่ยวกับ ทฤษฎีไฟฟ้า การออกแบบ การวิเคราะห์ และสร้าง อุปกรณ์เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า โดยเน้นเรื่องประสิทธิภาพ การท างานและความปลอดภัยเป็นหลัก เป็นการเรียน เพื่อเข้าใจถึงพื้นฐาน การออกแบบและการผลิตระบบ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ แผงวงจร และนาโนเทคโนโลยี ส่ ว นให ญ่ใน ส ถ าบัน อุ ดม ศึ กษ าที่เปิ ด ส อน ด้ าน วิศวกรรมไฟฟ้าจะแบ่งสาขาย่อยออกเป็น 4 สาขา ได้แก่ ไฟฟ้าก าลัง ไฟฟ้าสื่อสารหรือโทรคมนาคม ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และไฟฟ้าควบคุม • ห้องปฏิบัติการเครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟ้า • ห้องปฏิบัติการเครื่องจักรกลไฟฟ้า • ห้องปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ • ห้องปฏิบัติอิเล็กทรอนิกส์ก าลัง • ห้องปฏิบัติการระบบไฟฟ้าก าลัง • ห้องปฏิบัติการอุปกรณ์ระบบป้องกันระบบไฟฟ้า • ห้องปฏิบัติการระบบควบคุม • ห้องปฏิบัติวงจรไฟฟ้า สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มีความพร้อมทั้งด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและ ประสบการณ์ มีเครื่องมือในห้องปฏิบัติการที่พร้อมให้ นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง มีสถานที่ในการจัดการ เรียนการสอน และมีความพร้อมทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ นอกจากนี้ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้ามีการ ให้บริการวิชาการเกี่ยวกับพลังงานทดแทน และการ ให้บริการออกแบบงานวิศวกรรมด้านต่างๆ ที่บริการ วิชาการแก่สังคมในภาครัฐและภาคเอกชน FOLLOW US: FACEBOOK: วิศวกรรมไฟฟ้าสุพรรณบุรี-มทรส ชั้น 7 อาคาร 3 (สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า) สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering) สาขาไฟฟ้าก าลัง เรียนเกี่ยวกับกระบวนการผลิต และแปรรูปพลังงานอื่นมาเป็นพลังงานไฟฟ้า ระบบ แรงดันไฟฟ้าตั้งแต่ต่ าไปจนถึงสูง ระบบการส่งจ่ายไฟฟ้า จากผู้ผลิตไปยังผู้ใช้ทั่วไป สาขาไฟฟ้าสื่อสารหรือโทรคมนาคม เรียนเกี่ยวกับ ระบบการสื่อสารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ระบบสื่อสาร ดาวเทียม ระบบเรดาร์ ระบบวิทยุ ระบบโทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต สัญญาณดิจิตอล เส้นใยแก้วน าแสง สาขาไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ เรียนเกี่ยวกับการ ออกแบบและควบคุมวงจรไฟฟ้าทั้งวงจรแบบอนาล็อก และดิจิตอล ซึ่งเป็นส่วนส าคัญในการท างานของอุปกรณ์ ทุกชนิดที่มีไฟฟ้าเข้าไปเกี่ยวข้อง ตั้งแต่ของใช้ใน ชีวิตประจ าวัน สาขาไฟฟ้าระบบควบคุม เรียนเกี่ยวกับการ วิเคราะห์ ออกแบบ และเขียนโปรแกรม เพื่อสร้างระบบ ควบคุมหรือที่คนทั่วไปมักเรียกว่า “ระบบอัตโนมัติ” ตัวอย่างเช่น สายพานล าเลียงในโรงงานอุตสาหกรรม เครื่องจักรผลิตสินค้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี (เปิดสอนหลักสูตร วศ.บ. และ วศ.ม. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า) ห้องปฏิบัติการ Electrical Engineering สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า


เป็นศาสตร์ของสาขาหนึ่งในทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ครอบคลุมการก่อสร้างตึก ตึกระฟ้า อาคาร สะพาน ถนน และระบบขนส่งอื่น ๆ รวมถึงระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น เขื่อน คลอง ตลอดจนการท ารังวัดในงานส ารวจและ แผนที่ รวมไปถึงการวิเคราะห์ทางธรณีและชลศาสตร์ และ การบริหารจัดการการก่อสร้าง งานในทางด้านวิศวกรรม จะเน้นทางด้านการใช้วัสดุและทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ สูงสุด การศึกษาทางด้านวิศวกรรมโยธานั้นนับว่ามี ความส าคัญเป็นอย่างยิ่งเนี่องจากการ พัฒนาทางด้าน เทคโนโลยีในปัจจุบันนั้นมีความก้าวหน้าสามารถเรียกได้ ว่าเป็น การพัฒนาแบบก้าวกระโดดซึ่งมีผลโดยตรงกับ ก า รศึกษ าท างด้ านวิศ วก ร รมโย ธ าเช่นกัน ดังนั้น สถาบันการศึกษาหลาย ๆ สถาบันจึงได้มีการปรับปรุง แผนการเรียนการสอนทาง ด้านวิศวกรรมโยธาให้มีความ ทันสมัยเพื่อผลิตบุคลากรทางด้านวิศวกรรมโยธา หรือที่ เรียกกันว่า “วิศวกรโยธา” ที่มีคุณภาพและตรงกับ ความต้องการของตลาดแรงงานมากขึ้น ประกอบด้วย สาขาย่อย ดังนี้ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มีความพร้อมทั้ง ทางด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ด้านเครื่องมือในห้องปฏิบัติการที่พร้อมให้นักศึกษาได้ลง มือปฏิบัติจริง ด้านสถานที่ในการจัดการเรียนการสอน มีความพร้อมทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ สาขาวิชา มีการให้บริการวิชาการทดสอบวัสดุทางวิศวกรรมโยธา การให้บริการออกแบบงานวิศวกรรมด้านต่าง ๆ ที่บริการวิชาการแก่สังคม ภาครัฐ และภาคเอกชน FOLLOW US: ชั้น 2 อาคาร 4 (สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ) สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering) • วิศวกรรมโครงสร้าง • วิศวกรรมก่อสร้างและการจัดการ • วิศวกรรมขนส่ง • วิศวกรรมเทคนิคธรณี • วิศวกรรมธรณี • วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม • วิศวกรรมทรัพยากรน้ า • วิศวกรรมส ารวจ (เปิดสอนหลักสูตร วศ.บ., วศ.ม. และ วศ.ด. สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา) • ห้องปฏิบัติการทดสอบวัสดุ • ห้องปฏิบัติการคอนกรีตเทคโนโลยี • ห้องปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร์ • ห้องปฏิบัติการชลศาสตร์ • ห้องปฏิบัติการทดสอบวัสดุการทาง • ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมส ารวจ ห้องปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี Civil Engineering สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา


สาขาวิชวิศวกรรม เครื่องกล วิศวกรรมระบบราง สาขาวิชวิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส์เเละ โทรคมนาคม สาขาวิชาวิศวกรรม การผลิต วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมอุตสาหการ สถาปัตยกรรมเเละ ภูมิสถาปัตยกรรม สาขาวิชวิศวกรรม เครื่องมือเเละเเม่พิมพ์ สาขาวิชวิศวกรรม โยธา สาขาวิชาวิศวกรรม สิ่งเเวดล้อม ENGINEERING ARCHITECTURE สาขาวิชาวิศวกรรม เมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาวิศวกรม เครื่องกล


ENGINEERING ARCHITECTURE คณะวิศวิวกรรมศาสตร์เร์เละสถาปัตปัยกรรมสาสตร์ ผลิตลิบัณบัฑิตฑิและพัฒพันากำ ลังลัคนทางด้าด้นวิศวิวกรรมศาสตร์แร์ละ สถาปัตปัยกรรมศาสตร์ที่ร์มี ที่ ศัมีกศัยภาพ เพื่อ พื่ รองรับรัอุตอุสาหกรรม และส่งส่เสริมริการสร้าร้งนวัตวักรสู่กสู่ารเป็นป็ผู้ปผู้ ระกอบการ ผู้ช่ผู้ ช่วยศาสตราจารย์พัย์ชพัระ กัญกัจนกาญจน์ คณบดีคดีณะวิศวิวกรรมศาสตร์แร์ละสถาปัตปัยกรรมศาสตร์ มหาวิทวิยาลัยลัเทคโนโลยีรยีาชมงคลสุวสุรรณภูมิภูมิ


Click to View FlipBook Version