The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุนีรัตน์ ชูช่วย, 2019-12-13 00:51:27

โครงสร้าง22562

โครงสร้าง22562

หลกั สตู รสถานศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๒) กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

โครงสร้างหลักสูตร
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562

๒๐

หลักสตู รสถานศกึ ษา พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ ๒๕๖๒) กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

บันทกึ ข้อความ

สว่ นราชการ โรงเรียนประสาธนร์ าษฎรบ์ า้ รุง ตา้ บลคลองเส อา้ เภอถ้าพรรณรา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80260

ที่ พิเศษ / 2562 วนั ท่ี 8 พฤศจิกายน 2562

เร่อื ง รายงานผลการจัดทาโครงสรา้ งรายวิชา ภาคเรยี นที่ 2/2562

เรยี น ผอู้ านวยการโรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารุง

ตามทข่ี า้ พเจ้า นางสุนรี ัตน์ ชูช่วย ต้าแหน่งครู อันดับ คศ. 3 ปฏิบตั ิหน้าท่คี รูผู้สอนในรายวชิ าฟิสิกส์
เพิ่มเติมไดด้ ้าเนนิ การจดั ทา้ โครงสร้างรายวชิ า ภาคเรยี นที่ 2/2562 จ้านวน 4 รายวชิ า ได้แก่ วชิ าฟิสิกส์
เพิม่ เติม 1 ว30201 , วชิ าฟสิ ิกส์ 3 ว30203 , วิชาฟสิ กิ ส์ 5 ว30205 , วชิ าโครงงานวิทยาศาสตร์ ว30285 น้ัน

บดั น้ขี า้ พเจา้ ไดด้ า้ เนนิ การจดั ทา้ โครงสร้างรายวิชาดังกล่าวเสรจ็ สิ้นเรยี บรอ้ ยแลว้ ซ่งึ รายละเอยี ดได้
แนบไวใ้ นเอกสารฉบบั น้ีด้วยแล้ว

จงึ เรียนมาเพื่อทราบ

ลงช่ือ ครูประจ้าวชิ า
( นางสนุ รี ัตน์ ชูชว่ ย )

๒๑

หลกั สตู รสถานศึกษา พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ ๒๕๖๒) กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

คาอธิบายรายวชิ าวิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน

ว ๓๐๑๐๑ รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๕
๓ ช่วั โมง/สปั ดาห์
ภาคเรียนท่ี ๑ ๖๐ ชว่ั โมง/ภาค จานวน ๑.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษาหลักการเก่ียวกับข้อมูลความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่ของวัตถุเพ่ืออธิบายความเร่งของวัตถุ
การหาแรงลัพธ์ท่ีเกิดจากแรงหลายแรงที่อยู่ในระนาบเดียวกันที่กระทาต่อวัตถุโดยการเขียนแผนภาพการรวม
แบบเวกเตอร์ ความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งของวัตถุกับแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุและมวลของวัตถุ แรงกิริยา
และแรงปฏิกิริยา ระหว่างวัตถุคู่หนึ่งๆ ผลของความเร่งท่ีมีต่อการเคลื่อนท่ีแบบต่างๆของวัตถุ ได้แก่ การ
เคล่อื นที่แนวตรงการเคล่ือนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนทีแ่ บบวงกลมและการเคล่อื นท่ีแบบสั่น แรงโน้มถ่วงที่
เกี่ยวกับการเคล่ือนท่ีของวัตถุต่างๆ รอบโลก การเกิดสนามแม่เหล็กเน่ืองจากกระแสไฟฟ้า แรงแม่เหล็กที่
กระทาต่ออนภุ าคท่มี ีประจุไฟฟา้ ทเ่ี คลอ่ื นทีใ่ นสนามแม่เหลก็ และ แรงแม่เหล็กท่ีกระทาต่อลวดตัวนาที่มีกระเเส
ไฟฟ้าผ่านในสนามแม่เหล็ก รวมทั้งอธิบายหลักการทางานของมอเตอร์ การเกิด EMS รวมทั้งยกตัวอย่างการ
นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ แรงเข้มและแรงอ่อน พลังงานนิวเคลียร์ฟิชชันและฟิวชันและความสัมพันธ์ระหว่าง
มวลกับพลังงานท่ีปลดปล่อยออกมาจากฟิชชันและฟิวชัน การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า
รวมท้ังสืบค้นและอภิปรายเก่ียวกับเทคโนโลยีท่ีนามาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงาน
โดยเน้นด้านประสิทธิภาพและความคุ้มค่าด้านค่าใช้จ่าย การสะท้อนการหักเหการเล้ียวเบนและการรวมคล่ืน
ความถ่ีธรรมชาติการส่ันพ้องและผลท่ีเกิดขึ้นจากการส่ันพ้อง การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการ
รวมคลื่นของคล่นื เสยี ง ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มเสียงกับระดับเสยี งและผลรวมของความถี่กับระดับเสียง
ที่มีต่อการได้ยินเสียง การเกิดเสียงสะท้อนกลับ บีต ดอปเพลอร์และการสั่นพ้องของเสียง การนาความรู้
เกี่ยวกับเสียงไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน การมองเห็นสีของวัตถุและความผิดปกติในการมองเห็นสี การ
ทางานของแผ่นกรองแสงสี การผสมแสง การผสมสารสีและ การนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจา คล่ืน
แม่เหล็กไฟฟ้าส่วนประกอบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและหลักการทางานของอุปกรณ์บางชนิดที่อาศัยคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า การสื่อสารโดยอาศัยคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศและเปรียบเทียบการส่ือสาร
ดว้ ยสัญญาณอนาล็อกกบั สัญญาณดจิ ิตอลและเชื่อมโยงบรู ณาการปรัญชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสบื คน้ ข้อมลู การสังเกต วเิ คราะห์
เปรยี บเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มที กั ษะปฏบิ ตั ิการทางวิทยาศาสตร์
รวมทง้ั ทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ในดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ด้านการคิดและการแกป้ ัญหา
ดา้ นการสือ่ สาร สามารถสอ่ื สารส่ิงทเี่ รียนรแู้ ละนาความรไู้ ปใชใ้ นชวี ติ ของตนเอง มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม
คุณธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม

๒๒

หลักสตู รสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง ๒๕๖๒) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ตัวช้ีวัด สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ ว2.2 5/1-10, ว2.3 5/1-12
๑. วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายข้อมูลความเรว็ กบั เวลาของการเคลือ่ นทข่ี องวตั ถุเพือ่ อธบิ ายความเรง่ ของวัตถุ
๒. สงั เกตและอธบิ ายการหาแรงลพั ธท์ ่ีเกดิ จากแรงหลายแรงทอ่ี ย่ใู นระนาบเดียวกนั ที่กระทาตอ่ วตั ถุโดยการ
เขยี นแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์
๓. สังเกตวิเคราะห์และอธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหว่างความเร่งของวตั ถกุ บั แรงลัพธท์ ก่ี ระทาตอ่ วตั ถแุ ละมวลของ
วตั ถุ
๔ สังเกตและอธิบายแรงกริ ยิ าและแรงปฏกิ ริ ยิ า ระหวา่ งวัตถุคู่หนงึ่ ๆ
๕. สังเกตและอธบิ ายผลของความเร่งท่มี ตี ่อการเคลอ่ื นทแี่ บบตา่ งๆของวตั ถุไดแ้ กก่ ารเคลอื่ นทแ่ี นวตรงการ
เคลอื่ นท่ีแบบโปรเจคไทล์การเคล่อื นทแ่ี บบวงกลมและการเคลือ่ นท่ีแบบสน่ั
๖. สืบคน้ ข้อมลู และอธบิ ายแรงโนม้ ถ่วงทีเ่ กี่ยวกับการเคลอ่ื นท่ขี องวัตถตุ า่ งๆ รอบโลก
๗. สงั เกตและอธบิ ายการเกิดสนามแมเ่ หล็กเน่ืองจากกระแสไฟฟ้า
๘. สงั เกตและอธิบายแรงแรงแมเ่ หล็กที่กระทาต่ออนภุ าคท่ีมปี ระจุไฟฟ้าทเี่ คล่ือนท่ีในสนามแมเ่ หล็กและ แรง
แม่เหล็กที่กระทาตอ่ ลวดตวั นาที่มีกระเเสไฟฟ้าผ่านในสนามแม่เหล็กรวมท้ังอธบิ ายหลกั การทางานของมอเตอร์
๙. สังเกตและอธิบายการเกดิ EMS รวมทง้ั ยกตวั อย่างการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
๑๐. สืบคน้ ข้อมลู และอธบิ ายแรงเขม้ และแรงอ่อน
๑๑. สืบค้นขอ้ มลู และอธิบายพลงั งานนวิ เคลียร์ฟชิ ชนั และฟิวชนั และความสัมพนั ธร์ ะหว่างมวลกบั พลงั งานท่ี
ปลดปลอ่ ยออกมาจากฟิชชนั และฟวิ ชนั
๑๒. สบื ค้นข้อมลู และอธบิ ายการเปล่ยี นพลงั งานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้ารวมทง้ั สบื ค้นและอภปิ รายเกี่ยวกบั
เทคโนโลยีที่นามาแก้ปญั หาหรอื ตอบสนองความตอ้ งการทางด้านพลงั งานโดยเน้นดา้ นประสทิ ธภิ าพและความ
คมุ้ ค่าด้านค่าใช้จ่าย
๑๓. สังเกตและอธิบายการสะท้อนการหักเหการเลีย้ วเบนและการรวมคลน่ื
๑๔. สังเกตและอธบิ ายความถธี่ รรมชาติการส่นั พ้องและผลทเ่ี กดิ ขึน้ จากการส่นั พ้อง
๑๕. สังเกตและอธิบายการสะทอ้ นการหกั เหการเล้ียวเบนและ สงั เกตและอธิบายการสะท้อนการหักเหการ
เลี้ยวเบนและการรวมคลนื่ ของคลืน่ เสยี ง
๑๖. สบื คน้ ข้อมูลและอธิบายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความเข้มเสียงกบั ระดบั เสยี งและผลรวมของความถ่ีกบั
ระดบั เสียงท่ีมีตอ่ การไดย้ นิ เสียง
๑๗. สังเกตและอธบิ ายการเกิดเสยี งสะท้อนกลับ บตี ดอปเพลอรแ์ ละการสัน่ พ้องของเสยี ง
๑๘. สบื คน้ ข้อมูลและยกตวั อย่างการนาความรู้เกย่ี วกับเสียงไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจาวนั
๑๙. สังเกตและอธบิ ายการมองเหน็ สขี องวัตถแุ ละความผดิ ปกติในการมองเหน็ สี
๒๐. สงั เกตและอธบิ ายการทางานของแผ่นกรองแสงสี การผสมแสง การผสมสารสแี ละ การนาไปใช้ประโยชน์
ในชีวติ ประจา

๒๓

หลักสตู รสถานศกึ ษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๒) กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์

๒๑. สืบคน้ ขอ้ มลู และอธิบายคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ สว่ นประกอบคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าและหลักการทางานของ
อุปกรณ์บางชนิดที่อาศยั คลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้
๒๒. สบื คน้ ขอ้ มูลและอธิบายการสอ่ื สารโดยอาศยั คลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้าในการส่งผา่ นสารสนเทศและเปรยี บเทยี บ
การสอื่ สารด้วยสัญญาณอนาลอ็ กกบั สญั ญาณดจิ ิตอล
รวมตัวชี้วดั ๒๒ ตวั ชี้วัด

๒๔

หลกั สตู รสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง ๒๕๖๒) กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

โครงสร้างผลการเรยี นรูร้ ายวชิ าวทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน
ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี ่ี ๔ ภาคเรียนที่ ๒

กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นประสาธนร์ าษฎร์บารงุ

๒๕

หลกั สตู รสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง ๒๕๖๒) กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

หนว่ ย ช่ือ ผลการเรียนรู้ รวม ปลาย
การ หน่วย เวลา คะ หนว่ ย กลาง ภาค
เรียนรู้ (ชั่วโมง) แนน หน่วย ภาค -
-
ยอ่ ย
-
1 วเิ คราะห์และแปลความหมายขอ้ มลู ความเรว็ กบั เวลา 1-2 3 2 1 -
ของการเคลื่อนทขี่ องวัตถเุ พ่ืออธบิ ายความเรง่ ของวัตถุ
-
2 สังเกตและอธิบายการหาแรงลพั ธท์ ่ีเกดิ จากแรงหลาย
แรงทอี่ ยู่ในระนาบเดยี วกนั ท่ีกระทาต่อวตั ถุโดยการ 3-4 3 2 1 -
-
เขียนแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์
-
3 การ สังเกตวเิ คราะห์และอธิบายความสมั พันธ์ระหวา่ ง 5-6 4 3 1
เคลือ่ นท่ี ความเรง่ ของวัตถุกับแรงลัพธท์ ่ีกระทาต่อวตั ถุและมวล -
-
และแรง ของวัตถุ 2

4 สงั เกตและอธิบายแรงกิริยาและแรงปฏกิ ิรยิ า ระหวา่ ง 7-8 3 2 1
วตั ถุค่หู นงึ่ ๆ

สังเกตและอธิบายผลของความเรง่ ทีม่ ตี ่อการเคล่ือนที่

5 แบบต่างๆของวัตถไุ ด้แก่ การเคล่อื นท่ีแนวตรง การ 9-12 4 3 1
เคลอ่ื นท่แี บบโปรเจคไทลก์ ารเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลมและ

การเคล่อื นทแี่ บบสน่ั

6 สบื คน้ ข้อมูลและอธบิ ายแรงโน้มถว่ งท่ีเกีย่ วกบั การ 13-14 3 2 1
เคลื่อนที่ของวัตถตุ ่างๆ รอบโลก

7 สังเกตและอธิบายการเกิดสนามแม่เหลก็ เนื่องจาก 15-16 3 2 1
กระแสไฟฟ้า

สังเกตและอธบิ ายแรงแรงแม่เหล็กท่กี ระทาต่ออนุภาค

8 ที่มีประจุไฟฟา้ ทีเ่ คลอื่ นท่ีในสนามแมเ่ หล็กและ แรง
แมเ่ หลก็ ที่กระทาต่อลวดตัวนาทีม่ กี ระเเสไฟฟ้าผา่ นใน 17-20 4 3 1
แรงใน สนามแม่เหลก็ รวมท้ังอธิบายหลกั การทางานของ
ธรรมชาติ มอเตอร์

9 สังเกตและอธบิ ายการเกิด EMS รวมทั้งยกตัวอย่าง 21 3 2 1
การนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

10 สืบค้นขอ้ มลู และอธิบายแรงเขม้ และแรงอ่อน 21 3 2 1

สบื ค้นข้อมูลและอธิบายพลังงานนิวเคลียร์ฟิชชัน
11 และฟิวชนั และความสัมพนั ธ์ระหว่างมวลกับพลังงานที่ 22-23 4 2
-

ปลดปล่อยออกมาจากฟชิ ชันและฟวิ ชัน

๒๖

หลกั สตู รสถานศกึ ษา พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง ๒๕๖๒) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

หนว่ ย ชื่อ ผลการเรยี นรู้ เวลา คะ รวม กลาง ปลาย
การ หน่วย (ช่ัวโมง) แน หน่วย ภาค ภาค
เรียนรู้ น หนว่ ย
ย่อย 2

เทคโนโล สืบค้นขอ้ มูลและอธิบายการเปล่ียนพลังงานทดแทนเป็น 3
ยีดา้ น 3
12 พลงั งาน พลงั งานไฟฟ้ารวมทง้ั สืบค้นและอภปิ รายเกย่ี วกบั 24-26 4 2 -
เทคโนโลยีที่นามาแก้ปญั หาหรอื ตอบสนองความตอ้ งการ
ทางด้านพลังงานโดยเน้นด้านประสิทธิภาพและความ

คุ้มคา่ ด้านค่าใชจ้ า่ ย

13 สงั เกตและอธิบายการสะท้อนการหกั เหการเลย้ี วเบน 27-28 5 2 -
ปรากฏ และการรวมคลืน่

14 การณ์ สังเกตและอธบิ ายความถ่ธี รรมชาตกิ ารส่ันพ้องและผลท่ี 29-30 5 2 -
คล่ืน เกิดขน้ึ จากการส่ันพ้อง

15 สงั เกตและอธิบายการสะท้อนการหักเหการเล้ยี วเบน 31-36 6 3 - 3
และ สงั เกตและอธบิ ายการสะท้อนการหักเหการ
- 2
เลีย้ วเบนและการรวมคล่นื ของคลน่ื เสยี ง - 2
- 2
16 เสยี ง สบื ค้นข้อมูลและอธบิ ายความสัมพันธ์ระหว่างความเข้ม 37-38 4 2 - 2
เสียงกบั ระดับเสียงและผลรวมของความถี่กบั ระดับเสียง - 2
ทม่ี ีตอ่ การไดย้ ินเสียง
- 3
17 สังเกตและอธบิ ายการเกดิ เสียงสะท้อนกลับ บีต 39-42 5 3
- 3
ดอปเพลอร์และการสั่นพ้องของเสียง 10 30

18 สืบค้นขอ้ มูลและยกตวั อยา่ งการนาความรเู้ กยี่ วกับเสยี ง 43-44 4 2
ไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวัน

19 สังเกตและอธบิ ายการมองเห็นสีของวตั ถุและความ 45-46 4 2
ผิดปกติในการมองเหน็ สี

20 แสงสี สงั เกตและอธบิ ายการทางานของแผ่นกรองแสงสี การ 47-50 4 2
ผสมแสง การผสมสารสีและ การนาไปใชป้ ระโยชนใ์ น

ชีวติ ประจา

21 สืบคน้ ขอ้ มูลและอธบิ ายคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า 51-54 11 8
22 55-60 11 8
คลน่ื ส่วนประกอบคล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้าและหลักการทางาน
แม่เหล็ก ของอปุ กรณบ์ างชนดิ ท่ีอาศัยคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า
ไฟฟา้
สืบคน้ ข้อมลู และอธบิ ายการส่ือสารโดยอาศยั คล่นื
แมเ่ หล็กไฟฟา้ ในการส่งผา่ นสารสนเทศและเปรยี บเทยี บ

การสื่อสารด้วยสัญญาณอนาลอ็ กกับสญั ญาณดิจติ อล

รวม 60 10 60

๒๗

หลักสตู รสถานศกึ ษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๒) กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

คาอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์เพ่มิ เติม

ว ๓๐๒๐๑ รายวิชาฟสิ กิ ส์เพิ่มเติม ๑ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๔
๔ ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ภาคเรยี นที่ ๑ ๘๐ ชั่วโมง/ภาค จานวน ๒.๐
หนว่ ยกิต

ศกึ ษาหลักการของกลศาสตร์ในเรอื่ งวชิ าฟสิกส ปรมิ าณกายภาพและหนวย การวดั ความคลาดเคลื่อน
ในการวดั และการทดลองในวิชาฟสิกส การบอกตาแหนงของวัตถุ ความสัมพนั ธ์ระหวางปริมาณตางๆ ทีเ่ กยี่ ว
ของกบั การเคลื่อนท่ีแนวตรงดวยความเรงคงตัว แรงและผลของแรงท่ีมีตอสภาพการเคล่ือนที่ของวัตถุ กฎการ
เคล่ือนที่ของนิวตัน กฎแรงดึงดูดระหวางมวล และแรงเสียดทาน การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลการเคล่ือนที่
แบบวงกลมและการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย สมดุลกลและเง่ือนไขที่ทาให้วัตถุหรือระบบอยู่ในสมดุล
กล ศนู ยก์ ลางมวลของวตั ถแุ ละผลของศูนย์ถ่วงท่ีมีต่อเสถียรภาพของวัตถุ งาน พลังงาน ความสัมพันธ์ระหว่าง
งานและพลังงานจลน์ ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วง และความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของ
แรงที่ใช้ดึงสปริงกับระยะท่ีสปริงยืดออก แรงอนุรักษ์ กฎการอนุรักษ์พลังงาน กาลัง เครื่องกลอย่างง่าย
ประสทิ ธภิ าพและการไดเ้ ปรยี บเชิงกลของเครื่องกลอย่างง่ายบางชนิด โมเมนตัม การชนกันของวัตถุในหน่ึงมิติ
การดล แรงดล และ กฎการอนุรักษ์โมเมนตัม การเคล่ือนที่แบบโพรเจกไทล์ และการเคลื่อนท่ีแบบวงกลมใน
ระนาบระดับ และเชอ่ื มโยงบูรณาการปรญั ชาเศรษฐกจิ พอเพียง

โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสบื ค้นข้อมลู การสังเกต วเิ คราะห์
เปรียบเทียบ อธิบาย อภปิ ราย และสรุป

เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ มีทักษะปฏบิ ัติการทางวทิ ยาศาสตร์
รวมท้งั ทักษะการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี ๒๑ ในดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคดิ และการแก้ปัญหา
ด้านการส่อื สาร สามารถส่อื สารสงิ่ ทเี่ รยี นรแู้ ละนาความรไู้ ปใช้ในชีวติ ของตนเอง มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม
คณุ ธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
๑. อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนต์และผลรวมของโมเมนตท์ มี่ ีต่อการหมนุ แรงคคู่ วบและผลของแรงคู่ควบที่
มตี ่อสมดลุ ของวตั ถุ เขยี นแผนภาพวัตถอุ สิ ระเมื่อวัตถุอยู่ในสมดุลกล และคานวณปรมิ าณต่าง ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง
รวมทงั้ ทดลองและอธิบายสมดุลของแรงสามแรง
๒. สังเกตและอธิบายสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ เมื่อแรงท่ีกระทาต่อวัตถผุ า่ นศนู ยก์ ลางมวลของวัตถุ และผล
ของศูนยถ์ ว่ งท่ีมตี อ่ เสถยี รภาพของวตั ถุ
๓. วิเคราะห์ และคานวณงานของแรงคงตัว จากสมการและพ้ืนท่ีใต้กราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับตาแหน่ง
รวมทั้งอธบิ ายและคานวณกาลงั เฉล่ีย

๒๘

หลกั สตู รสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง ๒๕๖๒) กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์

๔. อธบิ ายและคานวณพลังงานจลน์ พลังงานศักย์ พลงั งานกล ทดลองหาความสัมพนั ธ์ระหว่างงานกับพลงั งาน
จลน์ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งงานกบั พลังงานศกั ย์โน้มถว่ ง ความสมั พันธ์ระหว่างขนาดของแรงท่ใี ชด้ ึงสปริงกับ
ระยะท่ีสปริงยืดออกและความสมั พันธร์ ะหว่างงานกับพลงั งานศักย์ยืดหยุ่น รวมทั้งอธบิ ายความสัมพนั ธ์
ระหว่างงานของแรงลัพธแ์ ละพลงั งานจลน์ และคานวณงานทเี่ กิดข้นึ จากแรงลัพธ์
๕. อธิบายกฎการอนุรักษ์พลังงานกล รวมทั้งวิเคราะห์ และคานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้องกบั การเคล่อื นที่
ของวตั ถุในสถานการณต์ ่าง ๆ โดยใช้กฎการอนุรักษพ์ ลังงานกล
๖. อธิบายการทางาน ประสทิ ธภิ าพและการได้เปรียบเชิงกลของเครื่องกลอย่างง่ายบางชนดิ โดยใชค้ วามร้เู รื่อง
งานและสมดุลกล รวมทั้งคานวณประสทิ ธภิ าพและการไดเ้ ปรยี บเชงิ กล
๗. อธิบาย และคานวณโมเมนตมั ของวตั ถุ และการดลจากสมการและพืน้ ที่ใตก้ ราฟความสมั พันธ์ระหวา่ งแรง
ลัพธก์ บั เวลา รวมท้ังอธิบายความสมั พนั ธ์ระหว่างแรงดลกับโมเมนตมั
๘. ทดลอง อธบิ ายและคานวณปริมาณต่าง ๆ ทเี่ กย่ี วกับการชนของวัตถุในหน่ึงมติ ิทง้ั แบบยืดหยนุ่ ไม่ยดื หยุ่น
และการดดี ตัวแยกจากกันในหน่ึงมติ ิซึ่งเปน็ ไปตามกฎการอนรุ ักษ์โมเมนตัม
๙. อธบิ าย วิเคราะห์ และคานวณปริมาณต่าง ๆ ทเ่ี กยี่ วข้องกบั การเคลอ่ื นที่แบบโพรเจกไทล์ และทดลองการ
เคลอื่ นท่แี บบโพรเจกไทล์
๑๐.ทดลอง และอธิบายความสมั พันธ์ระหว่างแรงสู่ศูนย์กลาง รศั มีของการเคล่ือนท่ี อตั ราเร็วเชิงเส้น อตั ราเรว็
เชงิ มุม และมวลของวัตถุในการเคลื่อนที่แบบวงกลมในระนาบระดบั รวมท้ังคานวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่เี กีย่ วข้อง
และประยุกตใ์ ช้ความรู้การเคล่ือนท่ีแบบวงกลมในการอธิบายการโคจรของดาวเทียม
๑๑. สบื ค้น และอธบิ ายการค้นหาความรทู้ างฟิสกิ ส์ ประวัตคิ วามเป็นมา รวมท้งั พัฒนาการของหลักการและ
แนวคดิ ทางฟิสิกส์ที่มผี ลตอ่ การแสวงหาความร้ใู หม่และการพฒั นาเทคโนโลยี
๑๒. วดั และรายงานผลการวัดปรมิ าณทางฟิสิกสไ์ ด้ถูกต้องเหมาะสม โดยนาความคลาดเคล่ือนในการวดั มา
พิจารณาในการนาเสนอผล รวมท้งั แสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วิเคราะหแ์ ละแปลความหมายจาก
กราฟเสน้ ตรง
๑๓. ทดลอง และอธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหว่างตาแหน่ง การกระจดั ความเรว็ และความเร่งของการเคล่ือนที่
ของวัตถุในแนวตรงที่มคี วามเรง่ คงตวั จากกราฟและสมการ รวมท้งั ทดลองหาคา่ ความเร่งโน้มถว่ งของโลก และ
คานวณปรมิ าณต่าง ๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง
๑๔. อธิบายแรง รวมทงั้ ทดลองและอธบิ ายการหาแรงลัพธ์ของแรงสองแรงทที่ ามมุ ต่อกนั
๑๕. เขยี นแผนภาพวัตถุอิสระ ทดลองและอธบิ ายกฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตันและการใช้กฎการเคลอ่ื นที่ของ
นวิ ตันกับสภาพการเคลือ่ นท่ีของวตั ถุ รวมทงั้ คานวณปรมิ าณต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
๑๖. อธิบายกฎความโนม้ ถว่ งสากลและผลของสนามโนม้ ถ่วงทที่ าให้วตั ถุมีน้าหนกั รวมทัง้ คานวณปรมิ าณ
ตา่ ง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง

๒๙

หลักสตู รสถานศกึ ษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง ๒๕๖๒) กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

๑๗. วเิ คราะห์ อธิบาย และคานวณแรงเสยี ดทานระหวา่ งผวิ สมั ผัสของวัตถุคูห่ นึง่ ๆ ในกรณที ีว่ ตั ถหุ ยดุ นง่ิ และ
วัตถุเคลื่อนท่ี รวมทั้งทดลองหาสมั ประสทิ ธิ์ความเสยี ดทานระหว่างผิวสัมผสั ของวัตถุคู่หนึ่ง ๆ และนาความรู้
เรอื่ งแรงเสยี ดทานไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน
รวมผลการเรยี นรู้ ๑๗ ผลการเรียนรู้

๓๐

หลักสตู รสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ ๒๕๖๒) กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

โครงสรา้ งผลการเรยี นรู้รายวิชาวทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน
ช้ันมธั ยมศึกษาป่ีที่ ๔ ภาคเรียนท่ี ๑

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารงุ

๓๑

หลกั สตู รสถานศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๒) กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

หน่วย ผลการเรยี นรู้ เวลา คะแนน รวม กลาง ปลาย
การ ช่อื (ช่วั โมง) หนว่ ย ภาค ภาค
เรียนรู้ หนว่ ย ยอ่ ย
ที่

อธบิ ายสมดลุ กลของวัตถุ โมเมนตแ์ ละ

ผลรวมของโมเมนต์ที่มตี ่อการหมนุ แรงคู่

ควบและผลของแรงคู่ควบที่มีตอ่ สมดลุ ของ

1 วตั ถุ เขียนแผนภาพวตั ถุอิสระเมื่อวัตถุอยใู่ น ๑-๘ ๕ ๓ ๒ -

สมดุลกล และคานวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่ี

เก่ียวขอ้ ง รวมท้ังทดลองและอธบิ ายสมดลุ

ของแรงสามแรง

สังเกตและอธบิ ายสภาพการเคลื่อนท่ีของ

2 วัตถุ เมอื่ แรงท่ีกระทาต่อวตั ถุผา่ นศูนย์กลาง ๙-๑๒ ๔ ๒๒ -
มวลของวัตถุ และผลของศูนย์ถ่วงที่มีต่อ

เสถียรภาพของวตั ถุ

วเิ คราะห์ และคานวณงานของแรงคงตัว จาก

3 สมการและพ้นื ที่ใตก้ ราฟความสัมพันธ์ ๑๓-๑๖ ๔ ๒๒ -
ระหวา่ งแรงกับตาแหนง่ รวมทั้งอธิบายและ

สมดุล คานวณกาลังเฉลีย่

กล อธิบายและคานวณพลังงานจลน์ พลงั งาน

ศักย์ พลงั งานกล ทดลองหาความสัมพนั ธ์

ระหวา่ งงานกับพลังงานจลน์ ความสัมพนั ธ์

ระหว่างงานกับพลงั งานศักย์โน้มถว่ ง

4 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งขนาดของแรงทใ่ี ช้ดงึ ๑๗-๒๖ ๔ ๒๒ -
สปรงิ กบั ระยะท่สี ปริงยืดออกและ

ความสมั พนั ธ์ระหว่างงานกบั พลงั งานศักย์

ยดื หยนุ่ รวมท้งั อธบิ ายความสัมพันธร์ ะหว่าง

งานของแรงลัพธแ์ ละพลังงานจลน์ และ

คานวณงานที่เกิดขน้ึ จากแรงลัพธ์

อธบิ ายกฎการอนุรักษพ์ ลังงานกล รวมทั้ง

วเิ คราะห์ และคานวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี

๕ เกี่ยวขอ้ งกบั การเคลื่อนท่ขี องวัตถใุ น ๒๗-๓๐ ๓ ๒ ๑ -

สถานการณต์ ่าง ๆ โดยใชก้ ฎการอนุรักษ์

พลังงานกล

๓๒

หลกั สตู รสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๒) กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

หน่วย ผลการเรยี นรู้ เวลา คะแนน รวม กลาง ปลาย
การ ช่อื (ช่วั โมง) หนว่ ย ภาค ภาค
เรยี นรู้ หนว่ ย ย่อย
ที่

อธิบายการทางาน ประสทิ ธภิ าพและการ

๖ สมดลุ ไดเ้ ปรยี บเชิงกลของเครอื่ งกลอย่างงา่ ยบาง ๓๑-๓๔ ๓ ๒๑ -
กล ชนดิ โดยใช้ความรู้เรือ่ งงานและสมดลุ กล
รวมทงั้ คานวณประสิทธิภาพและการ

ไดเ้ ปรียบเชงิ กล

อธิบาย และคานวณโมเมนตัมของวัตถุ

๗ และการดลจากสมการและพ้ืนทีใ่ ตก้ ราฟ ๓๕-๓๘ ๘ ๕ - ๓
ความสัมพันธ์ระหวา่ งแรงลัพธ์กับเวลา

รวมทง้ั อธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหว่างแรงดล

โม กบั โมเมนตมั

เมนตมั ทดลอง อธิบายและคานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ

ที่เกี่ยวกับการชนของวัตถุในหนึ่งมิติทั้ง

๘ แบบยืดหยนุ่ ไมย่ ืดหยุ่น และการดดี ตวั ๓๙-๔๒ ๕ ๓ - ๒

แยกจากกนั ในหนง่ึ มิติซ่ึงเป็นไปตามกฎการ

อนรุ กั ษ์โมเมนตัม

อธบิ าย วเิ คราะห์และคานวณปรมิ าณต่าง

๙ โพรเจก ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกบั การเคล่ือนท่ีแบบโพรเจก ๔๓-๔๖ ๑๐ ๕ - ๕
ไทล์ ไทล์ และทดลองการเคลื่อนที่แบบโพรเจก

ไทล์

ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง

แรงสู่ศูนยก์ ลาง รศั มีของการเคล่อื นที่

อัตราเร็วเชงิ เสน้ อัตราเร็วเชิงมมุ และมวล

๑๐ แบบ ของวัตถุในการเคลอื่ นที่แบบวงกลมใน ๔๗-๕๒ ๑๐ ๕ - ๕
วงกลม ระนาบระดบั รวมท้ังคานวณปริมาณตา่ ง ๆ

ท่ีเก่ียวข้อง และประยุกต์ใช้ความรู้การ

เคล่ือนที่แบบวงกลมในการอธิบายการ

โคจรของดาวเทียม

สืบคน้ และอธบิ ายการค้นหาความรทู้ าง

ฟสิ กิ ส์ ประวัตคิ วามเป็นมา รวมทง้ั

๑๑ บทนา พฒั นาการของหลักการและแนวคดิ ทาง ๕๓-๕๔ ๔ ๒ - ๒

ฟสิ ิกสท์ ่ีมผี ลต่อการแสวงหาความรู้ใหม่

และการพฒั นาเทคโนโลยี

๓๓

หลักสตู รสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง ๒๕๖๒) กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

หนว่ ย ผลการเรยี นรู้ เวลา คะแนน รวม กลาง ปลาย
การ ช่ือ (ช่วั โมง) หน่วย ภาค ภาค
เรยี นรู้ หนว่ ย ยอ่ ย
ที่

วดั และรายงานผลการวดั ปริมาณทาง

ฟสิ ิกส์ได้ถูกต้องเหมาะสม โดยนาความ

๑๒ บทนา คลาดเคล่อื นในการวดั มาพิจารณาในการ ๕๕-๕๘ ๖ ๓ - ๓
นาเสนอผล รวมท้ังแสดงผลการทดลองใน

รปู ของกราฟ วเิ คราะหแ์ ละแปล

ความหมายจากกราฟเสน้ ตรง

ทดลอง และอธบิ ายความสมั พันธร์ ะหวา่ ง

ตาแหนง่ การกระจดั ความเรว็ และ

๑๓ การ ความเร่งของการเคลือ่ นท่ีของวัตถุในแนว ๕๙-๖๔ ๘ ๕ - ๓
เคลอ่ื นที่ ตรงที่มคี วามเร่งคงตวั จากกราฟและสมการ

รวมทง้ั ทดลองหาคา่ ความเรง่ โน้มถ่วงของ

โลก และคานวณปริมาณต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง

๑๔ แรง อธบิ ายแรง รวมท้งั ทดลองและอธบิ ายการ ๖๕-๖๘ ๕ ๓ - ๒
หาแรงลพั ธข์ องแรงสองแรงท่ีทามมุ ต่อกนั

เขียนแผนภาพวตั ถุอิสระ ทดลองและ

๑๕ อธิบายกฎการเคลื่อนที่ของนิวตนั และการ ๖๙-๗๒ ๗ ๕ - ๒

ใชก้ ฎการเคล่อื นท่ีของ

๑๖ นวิ ตนั กบั สภาพการเคลอื่ นที่ของวัตถุ ๗๓-๗๖ ๕ ๔ - ๑
รวมทัง้ คานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกีย่ วขอ้ ง

กฎ วเิ คราะห์ อธบิ าย และคานวณแรงเสียด

นวิ ตัน ทานระหว่างผวิ สัมผัสของวตั ถุคหู่ นง่ึ ๆ ใน

กรณีที่วตั ถหุ ยุดนิ่งและวัตถุเคลอ่ื นที่

๑๗ รวมทั้งทดลองหาสัมประสิทธิค์ วามเสยี ด ๗๗-๘๐ ๙ ๗ - ๒

ทานระหว่างผวิ สัมผสั ของวตั ถุค่หู น่งึ ๆ

และนาความรู้เร่ืองแรงเสยี ดทานไปใช้ใน

ชีวิตประจาวัน

รวม 80 100 60 10 30

๓๔

หลกั สตู รสถานศกึ ษา พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ ๒๕๖๒) กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

คาอธบิ ายรายวชิ าวิทยาศาสตร์เพม่ิ เติม

ว ๓๐๒๐๒ รายวชิ าฟสิ ิกสเ์ พิม่ เติม ๒ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๔
๘๐ ชวั่ โมง/ภาค จานวน ๒.๐ หนว่ ยกติ
๔ ช่ัวโมง/สัปดาห์ ภาคเรยี นท่ี ๒

ศึกษาหลักการเก่ียวกบั การเคล่อื นทแ่ี บบฮาร์มอนิกอย่างง่ายและของวัตถตุ ิดปลายสปรงิ และลกู ตมุ้
อย่างงา่ ย ความถ่ีธรรมชาติของวัตถุและการเกดิ การสั่นพอ้ ง ปรากฏการณ์คลืน่ ชนดิ ของคลื่น สว่ นประกอบ
ของคลื่น การแผ่ของหนา้ คล่นื ด้วยหลกั การของฮอยเกนส์ และการรวมกนั ของคล่นื ตามหลักการซ้อนทับ พร้อม
ทัง้ คานวณอตั ราเร็วความถแี่ ละความยาวคลน่ื การสะท้อนการหักเหการแทรกสอด และการเล้ียวเบนของคลน่ื
ผิวน้า การเกดิ เสียง การเคลือ่ นทีข่ องเสียง ความสมั พันธ์ระหว่างคล่นื การกระจดั ของอนภุ าคกบั ความดัน
ความสมั พันธ์ระหวา่ งอตั ราเร็วของเสยี งในอากาศที่ข้นึ กับอุณหภมู ิในหน่วยองศาเซลเซียส สมบตั ิของคลน่ื เสียง
ได้แก่ การสะทอ้ น การหกั เห การแทรกสอด การเลยี้ วเบน ความเข้มเสียงระดบั เสยี ง องคป์ ระกอบของการได้
ยนิ คุณภาพเสยี งและมลพิษทางเสยี งตา่ งๆ การส่นั พอ้ งของอากาศในท่อปลายเปดิ หนึ่งดา้ น รวมท้ังสงั เกตและ
อธิบายการเกิดบตี ส์ คล่ืนน่ิง ปรากฏการณด์ อปเพลอร์ คล่ืนกระแทกของเสียง ความร้เู รอ่ื งเสยี งไปใชใ้ น
ชีวิตประจาวนั การแทรกสอดของแสงผ่านสลิตคู่ เกรตติง การเลีย้ วเบนและการแทรกสอดของแสงผ่าน สลิต
เดยี่ ว การสะท้อนของแสงที่ผิววัตถุตามกฎการสะท้อน เขยี นรังสขี องแสงและคานวณตาแหน่งและขนาดภาพ
ของวัตถุ เมื่อแสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม รวมทง้ั อธิบายการนาความรเู้ รือ่ งการ
สะท้อนของแสงจากกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลมไปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั ความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งดรรชนหี ักเห มมุ ตกกระทบและมุมหกั เห รวมท้งั อธิบายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งความลกึ จรงิ และความ
ลึกปรากฏ มุมวกิ ฤตและการสะทอ้ นกลบั หมดของแสง เขียนรังสีของแสงเพ่ือแสดงภาพท่ีเกิดจากเลนสบ์ างหา
ตาแหนง่ ขนาดชนดิ ของภาพ และความสัมพนั ธ์ระหว่างระยะวัตถรุ ะยะภาพ และความยาวโฟกสั ทเ่ี กย่ี วข้อง
และอธบิ ายการนาความรเู้ รื่องการหกั เหของแสงผ่านเลนส์บางไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวัน ปรากฏการณ์
ธรรมชาตทิ ่ีเกี่ยวกบั แสง เชน่ รงุ้ การทรงกลด มริ าจ และการเห็นทอ้ งฟา้ เป็นสีตา่ งๆ ในช่วงเวลาตา่ งกนั
การมองเห็นแสงสี สีของวตั ถุ การผสมสารสีและการผสมแสงสี รวมท้งั อธิบายสาเหตขุ องการบอดสีและ
เชอื่ มโยงบูรณาการปรญั ชาเศรษฐกจิ พอเพียง

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสบื คน้ ข้อมลู การสังเกต วิเคราะห์
เปรยี บเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป

เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ มีทกั ษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์
รวมท้ังทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ในด้านการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ดา้ นการคดิ และการแก้ปัญหา
ดา้ นการสอ่ื สาร สามารถสื่อสารสิ่งทเี่ รียนรแู้ ละนาความรูไ้ ปใชใ้ นชวี ิตของตนเอง มจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คณุ ธรรม และคา่ นยิ มทเี่ หมาะสม

๓๕

หลักสตู รสถานศกึ ษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ ๒๕๖๒) กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ผลการเรยี นรู้
๑. ทดลอง และอธิบายการเคล่อื นท่ีแบบฮารม์ อนกิ อยา่ งง่ายและของวตั ถตุ ิดปลายสปรงิ และลกู ตมุ้ อยา่ งง่าย
รวมท้ังคานวณปรมิ าณตา่ งๆ ทีเ่ กยี่ วข้อง
๒. อธบิ ายความถ่ีธรรมชาตขิ องวตั ถแุ ละการเกดิ การส่นั พ้อง
๓. อธิบายปรากฏการณ์คลน่ื ชนิดของคลน่ื ส่วนประกอบของคล่ืน การแผ่ของหนา้ คลื่นดว้ ยหลกั การของ
ฮอยเกนส์ และการรวมกนั ของคลืน่ ตามหลักการซ้อนทบั พรอ้ มท้งั คานวณอตั ราเรว็ ความถแี่ ละความยาวคลืน่
๔. สังเกต และอธบิ ายการสะท้อนการหักเหการแทรกสอด และการเล้ียวเบนของคลนื่ ผวิ น้า รวมทั้งคานวณ
ปริมาณต่างๆ ท่ีเกยี่ วข้อง
๕. อธบิ ายการเกดิ เสยี ง การเคล่อื นท่ีของเสียง ความสมั พันธ์ระหวา่ งคลืน่ การกระจัดของอนภุ าคกับความดัน
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอตั ราเร็วของเสยี งในอากาศที่ข้ึนกบั อุณหภมู ใิ นหน่วยองศาเซลเซียส สมบตั ิของคลน่ื เสยี ง
ไดแ้ ก่ การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด การเล้ยี วเบนรวมทงั้ คานวณปริมาณตา่ งๆ ท่ีเกยี่ วข้อง
๖. อธบิ ายความเขม้ เสยี งระดับเสียง องค์ประกอบของการได้ยนิ คณุ ภาพเสยี งและมลพิษทางเสียงตา่ งๆ
รวมทงั้ คานวณปรมิ าณต่างๆ ท่เี กย่ี วข้อง
๗. ทดลอง และอธิบายการเกิดการสัน่ พ้องของอากาศในท่อปลายเปิดหน่งึ ดา้ น รวมทั้งสังเกตและอธิบายการ
เกดิ บตี ส์ คล่ืนนิง่ ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ คลน่ื กระแทกของเสียง คานวณปริมาณต่างๆ ที่เกีย่ วข้องและนา
ความรู้เรือ่ งเสียงไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน
๘. ทดลอง และอธบิ ายการแทรกสอดของแสงผา่ นสลติ คู่ เกรตต้งิ การเลย้ี วเบนและการแทรกสอดของแสงผา่ น
สลติ เดย่ี ว รวมท้งั คานวณปริมาณต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง
๙. ทดลองและอธิบายการสะทอ้ นของแสงที่ผวิ วตั ถตุ ามกฎการสะท้อน เขยี นรังสีของแสงและคานวณตาแหน่ง
และขนาดภาพของวตั ถุ เมื่อแสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม รวมท้ังอธบิ ายการนาความรู้
เร่อื งการสะท้อนของแสงจากกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลมไปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวัน
๑๐. ทดลองและอธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งดรรชนหี ักเห มุมตกกระทบและมมุ หกั เห รวมทั้งอธบิ าย
ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความลึกจริงและความลกึ ปรากฏ มุมวิกฤตและการสะทอ้ นกลับหมดของแสง และ
คานวณปรมิ าณต่างๆ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
๑๑. ทดลอง และเขียนรงั สีของแสงเพ่ือแสดงภาพท่ีเกิดจากเลนส์บางหาตาแหน่งขนาดชนดิ ของภาพ และ
ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งระยะวตั ถรุ ะยะภาพ และความยาวโฟกสั รวมทงั้ คานวณปริมาณต่างๆ ทเี่ ก่ียวข้องและ
อธิบายการนาความรู้เรอ่ื งการหักเหของแสงผ่านเลนสบ์ างไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจาวัน
๑๒. อธิบายปรากฏการณธ์ รรมชาติที่เก่ียวกับแสง เชน่ รงุ้ การทรงกลด มิราจ และการเห็นท้องฟ้าเปน็ สีตา่ งๆ
ในชว่ งเวลาต่างกัน
๑๓. สงั เกต และอธิบายการมองเห็นแสงสี สขี องวัตถุ การผสมสารสีและการผสมแสงสี รวมทง้ั อธิบายสาเหตุ
ของการบอดสี
รวมผลการเรยี นรู้ ๑๓ ตัวชว้ี ัด

๓๖

หลักสตู รสถานศกึ ษา พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ ๒๕๖๒) กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์

โครงสรา้ งผลการเรียนรรู้ ายวชิ าวิทยาศาสตร์เพ่ิมเตมิ
ชั้นมธั ยมศึกษาป่ที ี่ ๔ ภาคเรยี นท่ี ๒

กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นประสาธนร์ าษฎร์บารงุ

๓๗

หลกั สตู รสถานศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ ๒๕๖๒) กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์

หน่วย ผลการเรยี นรู้ เวลา คะแนน รวม กลาง ปลาย
การ ช่อื (ชัว่ โมง) หน่วย ภาค ภาค
เรยี นรู้ หน่วย ย่อย
ท่ี

การ ทดลอง และอธบิ ายการเคลอ่ื นทีแ่ บบฮาร์
เคลอ่ื นที่ มอนิกอย่างง่ายและของวตั ถตุ ิดปลายสปริง
1 แบบ 1-4 5 41 -
2 ฮารม์ อ และลกู ตุ้มอย่างง่ายรวมทั้งคานวณปรมิ าณ 5-6 5 41 -
ตา่ งๆ ทเี่ กยี่ วข้อง 41 -
นิก 42 -
อยา่ ง อธิบายความถธ่ี รรมชาติของวัตถุและ
62 -
งา่ ย การเกิดการส่นั พ้อง
41 -
อธิบายปรากฏการณค์ ลื่น ชนดิ ของคล่นื

3 ส่วนประกอบของคล่ืน การแผ่ของหน้าคลื่น 7-12 5
ดว้ ยหลกั การของฮอยเกนส์ และการรวมกนั

ของคลืน่ ตามหลักการซ้อนทับ พรอ้ มทง้ั
คล่นื คานวณอัตราเรว็ ความถี่และความยาวคลื่น

สังเกต และอธบิ ายการสะท้อนการหักเห

4 การแทรกสอด และการเลยี้ วเบนของคล่ืน 13-18 6
ผิวนา้ รวมทั้งคานวณปริมาณตา่ งๆ ท่ี

เก่ียวข้อง

อธิบายการเกดิ เสียง การเคลือ่ นท่ีของเสยี ง

ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งคล่ืน การกระจัดของ

อนภุ าคกบั ความดันความสัมพันธร์ ะหว่าง

5 อตั ราเร็วของเสียงในอากาศท่ีข้ึนกบั 19-26 8

อณุ หภมู ิในหน่วยองศาเซลเซียสสมบัติของ

เสยี ง คล่นื เสียงได้แก่ การสะท้อน การหักเห การ
แทรกสอด การเลย้ี วเบนรวมท้งั คานวณ

ปรมิ าณตา่ งๆ ท่ีเกย่ี วข้อง

อธิบายความเข้มเสียงระดบั เสียง

6 องคป์ ระกอบของการไดย้ ิน คุณภาพเสียง 27-32 5
และมลพิษทางเสยี งต่างๆ รวมท้ังคานวณ

ปริมาณต่างๆ ที่เกย่ี วข้อง

๓๘

หลกั สตู รสถานศกึ ษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ ๒๕๖๒) กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

รว

หน่วย ผลการเรยี นรู้ เวลา คะแ ม กล ปล
การ ชื่อ (ช่วั โ นน หน่ าง าย
เรียนรู้ หนว่ ย มง) วย ภา ภา
ที่ ย่อ ค ค



ทดลอง และอธบิ ายการเกิดการส่นั พ้องของอากาศในท่อ

7 ปลายเปิดหนึง่ ดา้ น รวมทง้ั สงั เกตและอธิบายการเกดิ บตี ส์ คลื่น 33- 8 6 2 -
เสียง นิ่ง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ คลน่ื กระแทกของเสยี ง คานวณ 40

ปริมาณตา่ งๆ ที่เก่ียวข้องและนาความร้เู ร่ืองเสยี งไปใชใ้ น

ชีวติ ประจาวัน

8 ทดลอง และอธิบายการแทรกสอดของแสงผา่ นสลติ คู่ เกรตติง้ 41- 7 4 - 3
การเลีย้ วเบนและการแทรกสอดของแสงผ่านสลิตเดย่ี ว รวมท้ัง 44

คานวณปริมาณตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

ทดลองและอธิบายการสะทอ้ นของแสงทผี่ วิ วตั ถตุ ามกฎการ

สะท้อน เขยี นรงั สีของแสงและคานวณตาแหนง่ และขนาดภาพ 45-
แสง ของวตั ถุ เมอื่ แสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรง 52
9 เชงิ กลม รวมทงั้ อธิบายการนาความรูเ้ รอื่ งการสะท้อนของแสงจาก 13 6 - 7

คลืน่ กระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลมไปใช้ประโยชนใ์ น

ชวี ติ ประจาวนั

ทดลองและอธิบายความสมั พันธ์ระหว่างดรรชนีหักเห มุมตก 53-
58
10 กระทบและมุมหกั เห รวมทัง้ อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหว่างความ 9 4 - 5
ลกึ จรงิ และความลึกปรากฏ มุมวกิ ฤตและการสะท้อนกลบั หมด

ของแสง และคานวณปริมาณต่างๆ ทเี่ กี่ยวข้อง

๓๙

หลกั สตู รสถานศกึ ษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง ๒๕๖๒) กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หน่ว รวม
หนว่ ย
ยการ ชื่อหนว่ ย ผลการเรยี นรู้ เวลา คะ ย่อย กลาง ปลาย
เรยี น (ชวั่ โมง) แนน ภาค ภาค

ร้ทู ี่

ทดลอง และเขยี นรังสขี องแสงเพื่อแสดงภาพท่ี

เกดิ จากเลนสบ์ างหาตาแหน่งขนาดชนิดของภาพ

11 และความสัมพันธ์ระหวา่ งระยะวัตถุระยะภาพ 59-68 13 6 - 7
และความยาวโฟกัสรวมท้ังคานวณปรมิ าณตา่ งๆ

ท่ีเก่ียวข้องและอธบิ ายการนาความรเู้ รอ่ื งการหกั

เหของแสงผ่านเลนสบ์ างไปใช้ประโยชน์ใน
แสงเชงิ รงั สี ชีวติ ประจาวัน

12 อธบิ ายปรากฏการณ์ธรรมชาติทเี่ กย่ี วกับแสง เช่น 69-76 9 4 - 5
ร้งุ การทรงกลด มริ าจ และการเหน็ ทอ้ งฟา้ เปน็ สี

ตา่ งๆ ในชว่ งเวลาต่างกนั

13 สงั เกต และอธบิ ายการมองเห็นแสงสี สีของวัตถุ 77-80 7 4 - 3
การผสมสารสีและการผสมแสงสี รวมทง้ั อธบิ าย

สาเหตุของการบอดสี

รวม 80 100 60 10 30

๔๐

หลกั สตู รสถานศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ ๒๕๖๒) กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

คาอธบิ ายรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์เพม่ิ เติม

ว ๓๐๒๐๓ รายวิชาฟิสิกสเ์ พม่ิ เตมิ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕
๔ ช่ัวโมง/สัปดาห์ ภาคเรียนท่ี ๑ ๘๐ ชัว่ โมง/ภาค ๒.๐ หน่วยกติ

ศึกษาหลักการเก่ียวกับการทาวัตถุท่เี ป็นกลางทางไฟฟ้าใหม้ ีประจุไฟฟ้าโดยการขัดสีกันและ
การเหน่ียวนาไฟฟ้าสถิตแรงไฟฟ้าตามกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟ้าและแรงไฟฟ้าที่กระทากับอนุภาคที่มีประจุ
ไฟฟ้าทอี่ ยู่ในสนามไฟฟ้ารวมทั้งหาสนามไฟฟ้าลัพธ์เนื่องจากระบบจุดประจุโดยรวมกันแบบเวกเตอร์ พลังงาน
ศกั ยไ์ ฟฟ้า ศกั ยไ์ ฟฟา้ และความตา่ งศกั ย์ระหวา่ งสองตาแหนง่ ใดๆ สว่ นประกอบของตัวเก็บประจุ ความสัมพันธ์
ระหว่างประจไุ ฟฟ้า ความตา่ งศักย์และความจขุ องตวั เกบ็ ประจุ และอธิบายพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ และ
ความจุสมมูล นาความรู้เร่ืองไฟฟา้ สถิตไปอธิบายหลักการทางานของเคร่ืองใช้ไฟฟ้าบางชนิดและปรากฏการณ์
ในชีวิตประจาวัน การเคล่ือนที่ของอิเล็กตรอนอิสระ และกระแสไฟฟ้าในตัวนา ความสัมพันธ์ระหว่าง
กระแสไฟฟ้าในลวดตัวนากับความเร็วลอยเล่ือนของอิเล็กตรอนอิสระ ความหนาแน่นของอิเล็กตรอนในลวด
ตัวนาและพ้ืนท่ีหน้าตัดของลวดตัวนา กฎของโอห์ม ความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานกับความยาว
พนื้ ที่หนา้ ตดั และสภาพต้านทานของตวั นาโลหะที่อณุ หภมู ิคงตัว ความต้านทานสมมูลเม่ือนาตัวต้านทานมาต่อ
แบบอนุกรมและแบบขนาน EMS ของแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงคานวณพลังงานไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า
คานวณ อีเอ็มเอฟสมมลู จากการตอ่ แบตเตอรี่แบบอนกุ รมและแบบขนาน และตัวต้านทาน การเปล่ียนพลังงาน
ทดแทนเปน็ พลังงานไฟฟ้า รวมท้งั สบื ค้นและอภปิ รายเก่ียวกับเทคโนโลยีท่ีนามาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความ
ต้องการทางด้านพลังงานไฟฟ้าโดยเน้นด้านประสิทธิภาพและความคุ้มค่าด้านค่าใช้จ่าย และเชื่อมโยงบูรณา
การปรญั ชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์
เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรปุ

เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ มคี วามสามารถในการตัดสินใจ มีทกั ษะปฏิบัติการทางวทิ ยาศาสตร์
รวมท้งั ทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑ ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคดิ และการแกป้ ญั หา
ด้านการสอ่ื สาร สามารถส่อื สารส่งิ ท่เี รียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชวี ิตของตนเอง มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม
คุณธรรม และคา่ นยิ มท่ีเหมาะสม

๔๑

หลกั สตู รสถานศกึ ษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ ๒๕๖๒) กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ผลการเรียนรู้
๑. ทดลอง และอธบิ ายการทาวตั ถทุ เ่ี ป็นกลางทางไฟฟา้ ใหม้ ีประจุไฟฟ้าโดยการขดั สีกันและการเหนี่ยวนาไฟฟา้
สถติ
๒. อธิบายและคานวณแรงไฟฟา้ ตามกฎของคลู อมบ์
๓. อธบิ ายและคานวณสนามไฟฟ้าและแรงไฟฟ้าที่กระทากับอนุภาคท่ีมปี ระจุไฟฟ้าที่อยูใ่ นสนามไฟฟ้ารวมทั้ง
หาสนามไฟฟ้าลัพธเ์ นอ่ื งจากระบบจุดประจุโดยรวมกนั แบบเวกเตอร์
๔. อธิบายและคานวณพลงั งานศักย์ไฟฟา้ ศักย์ไฟฟา้ และความตา่ งศักยร์ ะหว่างสองตาแหนง่ ใดๆ
๕. อธิบายส่วนประกอบของตัวเก็บประจุ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประจไุ ฟฟา้ ความต่างศักยแ์ ละความจุของตวั
เกบ็ ประจุ และอธิบายพลงั งานสะสมในตัวเกบ็ ประจุ และความจุสมมูล รวมทั้งคานวณปรมิ าณตา่ งๆ ที่
เกย่ี วขอ้ ง
๖. นาความรู้เรือ่ งไฟฟ้าสถติ ไปอธิบายหลกั การทางานของเครอื่ งใช้ไฟฟา้ บางชนิดและปรากฏการณ์ใน
ชวี ติ ประจาวนั
๗. อธิบายการเคลอื่ นที่ของอเิ ล็กตรอนอิสระ และกระแสไฟฟ้าในตวั นา ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟา้ ใน
ลวดตัวนากบั ความเร็วลอยเล่ือนของอิเล็กตรอนอสิ ระ ความหนาแนน่ ของอิเล็กตรอนในลวดตัวนาและ
พ้นื ที่หนา้ ตดั ของลวดตวั นา และคานวนปริมาณตา่ งๆ ท่เี ก่ียวข้อง
๘. ทดลอง และอธิบายกฎของโอห์ม อธิบายความสัมพนั ธ์ระหว่างความตา้ นทานกบั ความยาวพน้ื ทห่ี น้าตดั
และสภาพตา้ นทานของตัวนาโลหะท่ีอณุ หภมู ิคงตัว และคานวณปรมิ าณตา่ งๆ ทเ่ี ก่ียวข้องรวมทั้งอธบิ ายและ
คานวณความตา้ นทานสมมูลเมอ่ื นาตัวตา้ นทานมาต่อแบบอนกุ รมและแบบขนาน
๙. ทดลองอธบิ ายและคานวณ EMS ของแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงรวมทัง้ อธิบายและคานวณพลงั งาน
ไฟฟา้ และกาลังไฟฟ้า
๑๐. ทดลอง และคานวณ อเี อ็มเอฟสมมูลจากการต่อแบตเตอร่แี บบอนกุ รมและแบบขนาน รวมทง้ั คานวณ
ปริมาณต่างๆ ท่เี ก่ยี วข้องในวงจรไฟฟา้ กระแสตรงซึ่งประกอบดว้ ยแบตเตอร่แี ละตวั ตา้ นทาน
๑๑. อธบิ ายการเปลยี่ นพลังงานทดแทนเปน็ พลงั งานไฟฟา้ รวมท้ังสืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกบั เทคโนโลยที ี่
นามาแก้ปัญหาหรอื ตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงานไฟฟ้าโดยเนน้ ด้านประสิทธิภาพและความคุ้มค่า
ด้านค่าใช้จ่าย

รวมผลการเรยี นรู้ ๑๑ ผลการเรียนรู้

๔๒

หลกั สตู รสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๒) กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์

โครงสร้างผลการเรียนรู้รายวิชาวทิ ยาศาสตร์เพ่ิมเติม
ชน้ั มัธยมศึกษาป่ีท่ี ๕ ภาคเรยี นท่ี ๑

กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ

๔๓

หลักสตู รสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๒) กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

หนว่ ย ผลการเรยี นรู้ เวลา คะแนน รวม กลาง ปลาย
การ ชอ่ื (ชัว่ โมง) หน่วย ภาค ภาค
เรียนรู้ หน่วย ย่อย
ที่

ทดลอง และอธบิ ายการทาวตั ถทุ ีเ่ ป็นกลาง

1 ทางไฟฟ้าใหม้ ีประจไุ ฟฟ้าโดยการขดั สกี ัน ๑-๖ ๗ ๕ ๒ -

และการเหนย่ี วนาไฟฟา้ สถิต

2 อธิบายและคานวณแรงไฟฟ้าตามกฎของ ๗-๑๒ ๗ ๕๒ -
คลู อมบ์

อธบิ ายและคานวณสนามไฟฟ้าและแรง

ไฟฟ้าที่กระทากับอนภุ าคที่มีประจไุ ฟฟ้าท่ี

3 อยู่ในสนามไฟฟ้ารวมทั้งหาสนามไฟฟา้ ลัพธ์ ๑๓-๒๐ ๗ ๕ ๒ -

เนือ่ งจากระบบจุดประจโุ ดยรวมกันแบบ

เวกเตอร์

ไฟฟ้า อธบิ ายและคานวณพลังงานศักย์ไฟฟา้

4 สถติ ศกั ยไ์ ฟฟา้ และความต่างศักยร์ ะหวา่ งสอง ๒๑-๒๖ ๖ ๕ ๑ -

ตาแหนง่ ใดๆ

อธบิ ายสว่ นประกอบของตวั เก็บประจุ

ความสมั พันธร์ ะหวา่ งประจุไฟฟ้า ความตา่ ง

5 ศักยแ์ ละความจุของตัวเกบ็ ประจุ และ ๒๗-๓๒ ๖ ๔๒ -
อธบิ ายพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ และ

ความจุสมมลู รวมทัง้ คานวณปริมาณตา่ งๆ

ท่เี ก่ยี วข้อง

นาความรู้เรอื่ งไฟฟ้าสถิตไปอธบิ ายหลกั การ

๖ ทางานของเครื่องใชไ้ ฟฟ้าบางชนิดและ ๓๓-๓๘ ๔ ๓ ๑ -

ปรากฏการณใ์ นชวี ติ ประจาวนั

อธบิ ายการเคล่ือนที่ของอเิ ลก็ ตรอนอสิ ระ

และกระแสไฟฟ้าในตวั นา ความสมั พนั ธ์

๗ ไฟฟา้ ระหว่างกระแสไฟฟา้ ในลวดตวั นากบั ๓๙-๔๘ ๑๐ ๕ - ๕
กระแส ความเรว็ ลอยเลอ่ื นของอิเลก็ ตรอนอสิ ระ
ความหนาแนน่ ของอเิ ล็กตรอนในลวดตัวนา

และพน้ื ท่ีหน้าตัดของลวดตวั นา และคานวน

ปริมาณต่างๆ ท่ีเกีย่ วข้อง

๔๔

หลักสตู รสถานศกึ ษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ ๒๕๖๒) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หนว่ ย ผลการเรยี นรู้ เวลา คะแนน รวม กลาง ปลาย
การ ช่อื (ชั่วโมง) หน่วย ภาค ภาค
เรยี นรู้ หน่วย ยอ่ ย
ท่ี

ทดลอง และอธบิ ายกฎของโอหม์ อธบิ าย

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างความตา้ นทานกบั

ความยาวพื้นทห่ี น้าตดั และสภาพตา้ นทาน

๘ ของตัวนาโลหะที่อุณหภูมิคงตัว และ ๔๙-๕๘ ๑๒ ๗ - ๕
คานวณปริมาณต่างๆ ท่เี กีย่ วข้องรวมท้ัง

อธิบายและคานวณความต้านทานสมมลู

เม่ือนาตวั ต้านทานมาต่อแบบอนุกรมและ

ไฟฟา้ แบบขนาน
กระแส
ทดลองอธิบายและคานวณ EMS ของ
๙ แหล่งกาเนิดไฟฟา้ กระแสตรงรวมทงั้ ๕๙-๖๖ ๑๐ ๕ - ๕

อธบิ ายและคานวณพลงั งานไฟฟา้ และ

กาลังไฟฟา้

ทดลอง และคานวณ อเี อ็มเอฟสมมูลจาก

การตอ่ แบตเตอร่แี บบอนกุ รมและแบบ

๑๐ ขนาน รวมทั้งคานวณปรมิ าณตา่ งๆ ท่ี ๖๗-๗๔ ๑๐ ๕ - ๕

เก่ียวขอ้ งในวงจรไฟฟ้ากระแสตรงซึ่ง

ประกอบดว้ ยแบตเตอรี่และตัวต้านทาน

อธิบายการเปลีย่ นพลังงานทดแทนเป็น

พลังงานไฟฟ้า รวมท้งั สืบค้นและอภปิ ราย

๑๑ พลงั งาน เกี่ยวกับเทคโนโลยที ่นี ามาแก้ปัญหาหรอื ๗๕-๘๐ ๑๐ ๕ - ๕
ทดแทน ตอบสนองความต้องการทางด้านพลงั งาน

ไฟฟา้ โดยเนน้ ด้านประสทิ ธิภาพและ

ความคุ้มค่าด้านค่าใชจ้ า่ ย

รวม 80 100 60 10 30

๔๕

หลกั สตู รสถานศกึ ษา พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ ๒๕๖๒) กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

คาอธิบายรายวิชาวทิ ยาศาสตร์เพม่ิ เติม

ว ๓๐๒๐๔ รายวิชาฟสิ ิกสเ์ พ่มิ เติม ๔ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๕
๘๐ ชว่ั โมง/ภาค ๒.๐ หน่วยกติ
๔ ชั่วโมง/สปั ดาห์ ภาคเรยี นท่ี ๒

ศึกษาหลักการเก่ียวกับเส้นสนามแม่เหล็กอธิบาย และคานวณฟลักซ์แม่เหล็กในบริเวณที่กาหนด
รวมท้ังสังเกตและอธบิ ายสนามแม่เหลก็ ที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนาเส้นตรงและโซลินอยด์ แรงแม่เหล็ก
ท่ีกระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กแรงแม่เหล็กท่ีกระทาต่อเส้นลวดท่ีมีกระแสไฟฟ้า
ผ่าน และวางในสนามแม่เหล็กรัศมีความโค้งของการเคลื่อนที่เม่ือประจุเคล่ือนท่ีต้ังฉากกับสนามแม่เหล็ก
รวมทั้งอธิบายแรงระหว่างเส้นลวดตัวนาคู่ขนานท่ีมีกระแสไฟฟ้าผ่าน หลักการทางานของกัลวานอมิเตอร์และ
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง การเกิดอีเอ็มเอฟเหน่ียวนา กฎการเหน่ียวนาของฟาราเดย์ และคานวณปริมาณ
ต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง รวมท้ังนาความรู้เรื่องอีเอ็มเอฟเหน่ียวนาไปอธิบายการทางานของเครื่องใช้ไฟฟ้า คานวณ
ความต่างศกั ย์ rms และกระแสไฟฟ้า rms หลกั การทางานและประโยชน์ของเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ๓
เฟสและการแปลงอีเอ็มเอฟของหม้อแปลงแปลง การเกิด และลักษณะเฉพาะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสงไม่
โพลาไรซ์ แสงโพลาไรซ์เชิงเส้นและแผ่นโพลารอยด์ รวมทั้งอธิบายการนาคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความถี่
ต่างๆ ไปประยุกต์ใช้และหลกั การทางานของอุปกรณท์ ี่เก่ียวข้อง การสอ่ื สารโดยอาศยั คลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้าในการ
ส่งผ่านสารสนเทศ และเปรียบเทียบการสื่อสารด้วยสัญญาณอนาล็อกกับสัญญาณดิจิตอลและเชื่อมโยงบูรณา
การปรัญชาเศรษฐกจิ พอเพียง

โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสืบคน้ ข้อมลู การสงั เกต วเิ คราะห์
เปรยี บเทยี บ อธบิ าย อภิปราย และสรุป

เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ มที กั ษะปฏบิ ัติการทางวิทยาศาสตร์
รวมทัง้ ทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑ ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดา้ นการคิดและการแกป้ ญั หา
ด้านการสอ่ื สาร สามารถส่อื สารส่ิงท่เี รียนรู้และนาความรไู้ ปใชใ้ นชีวติ ของตนเอง มจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คุณธรรม และค่านยิ มทเี่ หมาะสม

๔๖

หลักสตู รสถานศกึ ษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ ๒๕๖๒) กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ผลการเรียนรู้
๑. สงั เกต และอธบิ ายเสน้ สนามแมเ่ หล็กอธิบาย และคานวณฟลักซ์แมเ่ หล็กในบริเวณที่กาหนด รวมทั้งสงั เกต
และอธิบายสนามแมเ่ หลก็ ท่เี กิดจากกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนาเสน้ ตรงและโซลินอยด์
๒. อธิบาย และคานวณแรงแม่เหล็กท่ีกระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคล่อื นท่ใี นสนามแมเ่ หลก็ แรงแม่เหลก็ ที่
กระทาต่อเสน้ ลวดที่มีกระแสไฟฟา้ ผ่าน และวางในสนามแม่เหลก็ รศั มคี วามโค้งของการเคล่อื นทเ่ี มื่อประจุ
เคลื่อนท่ตี ้ังฉากกับสนามแม่เหล็กรวมทงั้ อธบิ ายแรงระหวา่ งเสน้ ลวดตัวนาคขู่ นานทีม่ ีกระแสไฟฟ้าผา่ น
๓. อธิบายหลักการทางานของกัลวานอมิเตอร์และมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงรวมท้งั คานวณปรมิ าณต่างๆที่
เกี่ยวขอ้ ง
๔. สังเกต และ อธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟเหน่ยี วนา กฎการเหนย่ี วนาของฟาราเดย์ และคานวณปรมิ าณ ตา่ งๆ
ท่ีเก่ียวข้อง รวมทั้งนาความรู้เร่ืองอีเอม็ เอฟเหน่ียวนาไปอธิบายการทางานของเครื่องใช้ไฟฟ้า
๕. อธบิ ายและคานวณความต่างศกั ย์ rms และกระแสไฟฟ้า rms
๖. อธบิ ายหลกั การทางานและประโยชน์ของเครื่องกาเนดิ ไฟฟา้ กระแสสลบั ๓ เฟสและการแปลงอเี อม็ เอฟของ
หมอ้ แปลงและคานวณปริมาณตา่ งๆทเี่ ก่ียวข้อง
๗. อธิบายการเกิด และลักษณะเฉพาะของคลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ แสงไม่โพลาไรซ์ แสงโพลาไรซ์เชงิ เสน้ และแผน่
โพลารอยด์ รวมทั้งอธิบายการนาคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ ในช่วงความถ่ีต่างๆ ไปประยุกต์ใชแ้ ละหลกั การทางานของ
อุปกรณ์ทเ่ี ก่ยี วข้อง
๘. สบื ค้น และอธบิ ายการส่อื สารโดยอาศัยคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟา้ ในการสง่ ผา่ นสารสนเทศ และเปรยี บเทยี บการ
สื่อสารด้วยสัญญาณอนาลอ็ กกับสญั ญาณดจิ ิตอล

รวมผลการเรียนรู้ ๘ ตัวช้ีวดั

๔๗

หลักสตู รสถานศึกษา พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ ๒๕๖๒) กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

โครงสรา้ งผลการเรียนรู้รายวิชาวทิ ยาศาสตร์เพิ่มเตมิ
ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี ่ี ๕ ภาคเรยี นท่ี ๒

กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารุง

๔๘

หลกั สตู รสถานศกึ ษา พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๒) กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์

หนว่ ย ผลการเรยี นรู้ เวลา คะแนน รวม กลาง ปลาย
การ ชือ่ (ชวั่ โมง) หนว่ ย ภาค ภาค
เรียนรู้ หนว่ ย ย่อย
ที่

สงั เกต และอธบิ ายเส้นสนามแมเ่ หลก็

1 อธิบาย และคานวณฟลกั ซแ์ ม่เหล็กใน
บรเิ วณท่กี าหนด รวมทัง้ สงั เกตและอธิบาย ๑-๑๒ ๑๓ ๘ ๕ -

สนามแมเ่ หล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าใน

ลวดตัวนาเส้นตรงและโซลนิ อยด์

อธบิ าย และคานวณแรงแมเ่ หล็กทีก่ ระทา

ต่ออนุภาคทีม่ ีประจไุ ฟฟา้ เคล่ือนทใี่ น

แมเ่ หล็ก สนามแมเ่ หลก็ แรงแม่เหลก็ ที่กระทาต่อเส้น
ลวดท่มี ีกระแสไฟฟ้าผ่าน และวางใน
2 สนามแม่เหลก็ รัศมีความโค้งของการ ๑๓-๒๗ ๑๐ ๗ ๓ -

เคล่ือนทีเ่ มือ่ ประจุเคล่ือนที่ตง้ั ฉากกบั

สนามแมเ่ หล็กรวมท้ังอธบิ ายแรงระหวา่ ง

เสน้ ลวดตวั นาคู่ขนานทมี่ ีกระแสไฟฟ้าผ่าน

3 อธิบายหลักการทางานของกลั วานอมิเตอร์ ๖๒ -
และมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงรวมทัง้ ๒๘-๓๕ ๘

คานวณปรมิ าณต่างๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง

สังเกต และ อธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟ

4 เหนีย่ วนา กฎการเหนี่ยวนาของฟาราเดย์
และคานวณปริมาณต่างๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง ๓๖-๔๕ ๑๑ ๕ - ๖

รวมท้ังนาความรูเ้ รื่องอเี อ็มเอฟเหนี่ยวนา

ไฟฟา้ ไปอธิบายการทางานของเคร่ืองใช้ไฟฟ้า
5 กระแส อธิบายและคานวณความต่างศักย์ rms
และกระแสไฟฟ้า rms ๔๖-๕๓ ๙ ๔ - ๕

อธบิ ายหลกั การทางานและประโยชน์ของ

๖ เครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟา้ กระแสสลับ ๓ เฟสและ ๕๔-๖๑ ๑๒ ๗ - ๕
การแปลงอีเอ็มเอฟของหม้อแปลงและ

คานวณปรมิ าณตา่ งๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง

๔๙

หลักสตู รสถานศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๒) กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

หนว่ ย

การ ชอ่ื หน่วย ผลการเรยี นรู้ เวลา คะ รวม กลาง ปลาย
เรยี นรู้ (ช่ัวโมง) แนน หนว่ ภาค ภาค
ยย่อย
ที่

อธบิ ายการเกิด และลักษณะเฉพาะของคลน่ื

แม่เหล็กไฟฟ้า แสงไมโ่ พลาไรซ์ แสง

๗ โพลาไรซ์เชิงเสน้ และแผ่นโพลารอยด์ ๖๒-๖๙ ๑๙ ๑๓ - ๖

คล่ืน รวมทง้ั อธิบายการนาคลื่นแม่เหล็กไฟฟา้
แม่เหล็ก ในชว่ งความถ่ีต่างๆ ไปประยุกต์ใชแ้ ละ
ไฟฟา้ หลกั การทางานของอุปกรณ์ที่เก่ยี วขอ้ ง

สืบคน้ และอธิบายการสือ่ สารโดยอาศยั คลืน่

๘ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าในการสง่ ผา่ นสารสนเทศ และ ๗๐-๘๐ ๑๘ ๑๐ - ๘
เปรยี บเทียบการสื่อสารดว้ ยสัญญาณ

อนาลอ็ กกับสญั ญาณดจิ ิตอล

รวม ๘๐ ๑๐๐ ๖๐ ๑๐ ๓๐

๕๐

หลกั สตู รสถานศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง ๒๕๖๒) กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

คาอธบิ ายรายวิชาวทิ ยาศาสตร์เพ่ิมเตมิ

ว ๓๐๒๐๕ รายวิชาฟสิ กิ สเ์ พ่ิมเติม ๕ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๖
๔ ชวั่ โมง/สัปดาห์ ภาคเรียนท่ี ๑ ๘๐ ชวั่ โมง/ภาค จานวน ๒.๐ หนว่ ยกิต

ศึกษาหลักการเก่ียวกับความร้อนที่ทาให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิความร้อนท่ีทาให้สสารเปล่ียนสถานะ
ความรอ้ นท่ีเกิดจากการถ่ายโอนตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน สภาพยืดหยุ่น ลักษณะการยืด การหดของวัสดุท่ี
เป็นแทง่ เมือ่ ถกู กระทาดว้ ยแรงคา่ ต่างๆ รวมท้ังความเค้นตามยาว ความเครียดตามยาว มอดุลัสของยังและนา
ความรู้เร่ืองสภาพยืดหยุ่นไปใช้ในชีวิตประจาวัน ความดันเกจ ความดันสัมบูรณ์ และความดันบรรยากาศ
รวมทั้งอธิบายหลักการทางานของแมนอมิเตอร์ บารอมิเตอร์ เครื่องอัดไฮดรอลิก ขนาดแรงพยุงจากของไหล
ขณะ ความตงึ ผวิ ของของเหลว รวมทัง้ สังเกต อธิบายแรงหนืดของของเหลว สมบตั ิของของไหลอุดมคติ สมการ
ความต่อเน่ือง สมการแบร์นูลลี และนาความรู้เก่ียวกับสมการความต่อเนื่อง สมการแบร์นูลลี ไปอธิบาย
หลักการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ กฎของแก๊สอุดมคติ แบบจาลองของแก๊สอุดมคติ ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
อัตราเร็วของแก๊ส อัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุลของแก๊ส งานที่ทาโดยแก๊สในภาชนะปิดโดยความดันคงตัว
อธิบายความสมั พันธ์ระหว่างความร้อนพลังงานภายในระบบ และงาน นาความรู้เร่ืองพลังงานภายในระบบไป
อธบิ ายหลกั การทางานของเคร่อื งใชใ้ นชวี ิตประจาวัน สมมติฐานของพลังค์ทฤษฎี อะตอมของโบร์ การเกิดเส้น
สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกและคานวณพลังงานโฟตอนพลังงานจลน์ของโฟ
โต้อิเลก็ ตรอนและฟงั กช์ ันงานของโลหะ ทวิภาคของคลื่นและอนุภาค รวมท้ังอธิบายและคานวณความยาวคล่ืน
ของเดอบรอยล์ กัมมันตภาพรังสี และความแตกต่างของ รังสีแอลฟา บีตา และ แกมมา กัมมันตภาพของ
นิวเคลียสกัมมันตรังสี จานวนนิวเคลียสกัมมันตภาพรังสีที่เหลือจากการสลายและคลื่นชีวิต แรงนิวเคลียร์
เสถียรภาพของนิวเคลียส และพลังงานยึดเหน่ียว ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันและฟิวชัน ประโยชน์ของพลังงาน
นิวเคลียร์และรังสีรวมท้ังอันตรายและการป้องกันรังสีในด้านต่างๆ การค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาค
แบบจาลองมาตรฐาน และการใช้ประโยชน์จากการค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาคในด้านต่างๆและเช่ือมโยง
บูรณาการปรญั ชาเศรษฐกิจพอเพยี ง

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์
เปรยี บเทียบ อธบิ าย อภปิ ราย และสรุป

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์
รวมทั้งทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา
ด้านการสื่อสาร สามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คุณธรรม และค่านิยมท่เี หมาะสม

๕๑

หลักสตู รสถานศึกษา พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง ๒๕๖๒) กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ผลการเรยี นรู้
๑. อธิบาย และคานวณความรอ้ นทที่ าใหส้ สารเปล่ียนอณุ หภมู คิ วามร้อนที่ทาให้สสารเปล่ียนสถานะ และ
ความรอ้ นทีเ่ กิดจากการถ่ายโอนตามกฎการอนรุ ักษ์พลงั งาน
๒. อธิบายสภาพยืดหย่นุ และลักษณะการยดื และการหดของวสั ดุทีเ่ ป็นแท่ง เม่ือถูกกระทาด้วยแรงค่าต่างๆ
รวมทัง้ ทดลอง อธิบาย และคานวณความเค้นตามยาว ความเครยี ดตามยาว และมอดลุ สั ของยังและนาความรู้
เรือ่ งสภาพยืดหยุน่ ไปใช้ในชีวิตประจาวนั
๓. อธิบาย และคานวณความดันเกจ ความดนั สมั บูรณ์ และความดันบรรยากาศ รวมทงั้ อธบิ ายหลักการทางาน
ของแมนอมเิ ตอร์ บารอมิเตอร์ และเครอ่ื งอดั ไฮดรอลิก
๔. ทดลองอธิบายและคานวณ ทดลองอธิบายและคานวณขนาดแรงพยุงจากของไหลขณะ ทดลองอธบิ ายและ
คานวณขนาดแรงพยุงจากของไหล
๕. ทดลองอธิบาย และคานวณความตึงผิวของของเหลว รวมทั้งสังเกต และอธิบายแรงหนดื ของของเหลว
๖. อธบิ ายสมบตั ิของของไหลอดุ มคติ สมการความต่อเน่ือง และสมการแบรน์ ูลลี รวมทั้งคานวณปรมิ าณตา่ งๆ
ท่เี กี่ยวข้อง และนาความร้เู กยี่ วกบั สมการความต่อเนื่อง และสมการแบรน์ ลู ลี ไปอธิบายหลักการทางานของ
อปุ กรณ์ต่างๆ
๗. อธบิ ายกฎของแกส๊ อุดมคติ และคานวณปริมาณตา่ งๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง
๘. อธบิ ายแบบจาลองของแก๊สอุดมคติ ทฤษฎจี ลนข์ องแก๊ส และอตั ราเรว็ ของแก๊ส และอัตราเรว็ อารเ์ อ็มเอส
ของโมเลกลุ ของแก๊ส รวมท้งั คานวณปริมาณตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
๙. อธบิ าย และคานวณงานที่ทาโดยแกส๊ ในภาชนะปดิ โดยความดนั คงตวั และอธบิ ายความสมั พันธ์ระหว่าง
ความรอ้ นพลงั งานภายในระบบ และงาน รวมทั้งคานวณปริมาณต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องและนาความรเู้ ร่อื งพลงั งาน
ภายในระบบไปอธิบายหลักการทางานของเคร่ืองใช้ในชีวติ ประจาวนั
๑๐. อธบิ ายสมมตฐิ านของพลังคท์ ฤษฎี อะตอมของโบร์ และการเกิดเสน้ สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน
รวมทงั้ คานวณปริมาณต่างๆ ทเี่ กีย่ วข้อง
๑๑. อธบิ ายปรากฏการณโ์ ฟโตอเิ ลก็ ทริกและคานวณพลงั งานโฟตอนพลงั งานจลน์ของโฟโตอ้ ิเลก็ ตรอนและ
ฟงั ก์ชันงานของโลหะ
๑๒. อธิบายทวภิ าคของคลนื่ และอนุภาค รวมท้ังอธิบายและคานวณความยาวคลนื่ ของเดอบรอยล์
๑๓. อธิบายกัมมนั ตภาพรงั สี และความแตกตา่ งของ รังสีแอลฟา บตี า และ แกมมา
๑๔. อธบิ าย และคานวณกัมมันตภาพของนิวเคลยี สกัมมนั ตรงั สี รวมทัง้ ทดลองอธิบาย และคานวณจานวน
นวิ เคลียสกมั มนั ตภาพรังสที เี่ หลือจากการสลายและคลน่ื ชีวิต
๑๕. อธิบายแรงนิวเคลยี รเ์ สถียรภาพของนิวเคลยี ส และพลังงานยดึ เหนี่ยว รวมทง้ั คานวณปรมิ าณต่างๆ ท่ี
เกย่ี วข้อง
๑๖. อธบิ ายปฏกิ ิรยิ านวิ เคลยี ร์ฟิชชนั และฟิวชันรวมทงั้ คานวณพลังงานนวิ เคลยี ร์
๑๗. อธิบายประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียรแ์ ละรงั สีรวมทั้งอันตรายและการป้องกนั รังสใี นดา้ นตา่ งๆ
๑๘. อธิบาย การค้นคว้าวิจัยด้านฟิสกิ ส์อนุภาคแบบจาลองมาตรฐาน และการใชป้ ระโยชน์จากการค้นคว้าวจิ ยั
ดา้ นฟสิ ิกส์อนภุ าคในด้านต่างๆ

รวมผลการเรียนรู้ ๑๘ ผลการเรยี นรู้

๕๒

หลักสตู รสถานศึกษา พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๒) กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์

โครงสรา้ งผลการเรียนรู้รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์เพ่ิมเติม
ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี ่ี ๖ ภาคเรยี นท่ี ๑

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารงุ

๕๓

หลักสตู รสถานศกึ ษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๒) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

หน่วย ผลการเรยี นรู้ เวลา คะ รวม กลาง ปลาย
การ ชอ่ื (ชว่ั โมง) แนน หนว่ ย ภาค ภาค
เรียน หน่วย ยอ่ ย
รทู้ ่ี

อธบิ าย และคานวณความร้อนทท่ี าใหส้ สาร

1 ความ เปลี่ยนอณุ หภูมคิ วามร้อนท่ีทาใหส้ สาร 1-4 ๙ ๔ ๕-
รอ้ น เปล่ียนสถานะ และความรอ้ นทเี่ กิดจากการ

ถ่ายโอนตามกฎการอนุรกั ษ์พลังงาน

อธบิ ายสภาพยืดหยุ่น และลักษณะการยืด

และการหดของวัสดทุ ่ีเป็นแท่ง เมอื่ ถูก

2 สภาพ กระทาด้วยแรงค่าต่างๆ รวมทงั้ ทดลอง 5-6 ๗ 4 ๓-
ยืดหยุ่น อธบิ าย และคานวณความเคน้ ตามยาว
ความเครียดตามยาว และมอดุลัสของยังและ

นาความรเู้ รื่องสภาพยืดหย่นุ ไปใชใ้ น

ชวี ิตประจาวนั

อธบิ าย และคานวณความดันเกจ ความดนั

3 ความ สมั บรู ณ์ และความดันบรรยากาศ รวมทง้ั 7-12 ๖ 4 ๒-
ดนั อธบิ ายหลักการทางานของแมนอมเิ ตอร์

บารอมเิ ตอร์ และเครอ่ื งอดั ไฮดรอลกิ

ทดลองอธิบายและคานวณ ทดลองอธบิ าย

4 ของไหล และคานวณขนาดแรงพยุงจากของไหลขณะ 13-1๖ ๕ ๓ -๒
ทดลองอธบิ ายและคานวณขนาดแรงพยุง

จากของไหล

5 ความ ทดลองอธิบาย และคานวณความตงึ ผวิ ของ ๑๗-๑๘ ๔ ๒ -๒
ตึงผิว ของเหลว รวมทั้งสงั เกต และอธบิ ายแรง
หนดื ของของเหลว

อธบิ ายสมบตั ขิ องของไหลอดุ มคติ สมการ

ความตอ่ เน่ือง และสมการแบร์นลู ลี รวมท้งั

๖ ของไหล คานวณปริมาณต่างๆ ท่เี กยี่ วขอ้ ง และนา ๑๙-๒๔ ๕ ๓ -๒
ความร้เู กยี่ วกับสมการความต่อเน่อื ง และ

สมการแบร์นูลลี ไปอธบิ ายหลักการทางาน

ของอุปกรณต์ ่างๆ

๕๔

หลักสตู รสถานศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง ๒๕๖๒) กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

หน่วย ผลการเรียนรู้ เวลา คะ รวม กลาง ปลาย
การ ช่ือ (ชัว่ โมง) แนน หนว่ ย ภาค ภาค
เรียน หน่วย ย่อย
รู้ที่

๗ อธิบายกฎของแก๊สอุดมคติ และคานวณ ๒๕-๒๖ ๔ ๒ - ๒
ปริมาณตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง

แก๊ส อธิบายแบบจาลองของแกส๊ อุดมคติ ทฤษฎี
อุดมคติ จลนข์ องแก๊ส และอตั ราเร็วของแกส๊ และ
๘ อัตราเร็วอารเ์ อ็มเอสของโมเลกุลของแก๊ส ๒๗-๓๐ ๕ ๓ - ๒

รวมทั้งคานวณปรมิ าณต่างๆ ทีเ่ กยี่ วข้อง

อธบิ าย และคานวณงานท่ีทาโดยแกส๊ ใน

ภาชนะปิดโดยความดนั คงตัว และอธิบาย

๙ ความ ความสมั พันธ์ระหว่างความร้อนพลังงาน ๓๑-๓๖ ๗ ๕ - ๒
รอ้ น ภายในระบบ และงาน รวมท้งั คานวณ
ปรมิ าณตา่ งๆ ท่เี ก่ยี วข้องและนาความรูเ้ ร่อื ง

พลงั งานภายในระบบไปอธิบายหลักการ

ทางานของเคร่ืองใชใ้ นชีวติ ประจาวนั

อธิบายสมมติฐานของพลงั ค์ทฤษฎี อะตอม

๑๐ สเปก ของโบร์ และการเกิดเส้นสเปกตรมั ของ ๓๗-๔๐ ๕ ๓ - ๒
ตรมั อะตอมไฮโดรเจน รวมท้ังคานวณปริมาณ

ตา่ งๆ ท่เี กย่ี วข้อง

อธบิ ายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกและ

๑๑ คานวณพลงั งานโฟตอนพลงั งานจลน์ของโฟ ๔๑-๔๔ ๔ ๒ - ๒

โฟโตอิ โตอ้ ิเลก็ ตรอนและฟังก์ชนั งานของโลหะ

เล็กทรกิ อธิบายทวิภาคของคล่นื และอนุภาค รวมทัง้

๑๒ อธิบายและคานวณความยาวคลืน่ ของ ๔๕-๔๘ ๔ ๒ - ๒

เดอบรอยล์

๑๓ อธิบายกมั มนั ตภาพรังสี และความแตกต่าง ๔๙-๕๔ ๕ ๓ - ๒
ของ รงั สแี อลฟา บีตา และ แกมมา

กัมมนั ต อธิบาย และคานวณกมั มันตภาพของ

ภาพ นิวเคลียสกมั มนั ตรังสี รวมทัง้ ทดลองอธิบาย

๑๔ รงั สี และคานวณจานวนนวิ เคลยี ส ๕๕-๖๐ ๕ ๓ - ๒

กัมมนั ตภาพรงั สที ีเ่ หลอื จากการสลายและ

คลื่นชีวิต

๕๕

หลักสตู รสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๒) กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หนว่ ย รวม
หน่วย
การ ช่ือหนว่ ย ผลการเรียนรู้ เวลา คะแนน ยอ่ ย กลาง ปลาย
เรยี นรู้ (ช่วั โมง) ภาค ภาค

ที่

๑๕ แรง อธบิ ายแรงนวิ เคลียร์เสถียรภาพของ ๖๑-๖๖ ๔ ๒ - ๒
นวิ เคลยี ร์ นิวเคลียส และพลังงานยึดเหน่ยี ว รวมทง้ั
คานวณปริมาณต่างๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง

๑๖ อธิบายปฏกิ ิรยิ านวิ เคลยี รฟ์ ชิ ชันและ ๖๗-๗๒ ๘ ๕ - ๓
ฟิวชันรวมทง้ั คานวณพลังงานนิวเคลียร์

อธบิ ายประโยชน์ของพลงั งานนวิ เคลียร์

๑๗ ปฏิกิริยา และรังสีรวมท้งั อันตรายและการป้องกัน ๗๓-๗๖ ๗ ๕ - ๒
นิวเคลียร์ รงั สใี นด้านตา่ งๆ

อธบิ าย การคน้ ควา้ วจิ ยั ด้านฟิสิกสอ์ นุภาค

๑๘ แบบจาลองมาตรฐาน และการใช้ ๗๗-๘๐ ๘ ๕ - ๓
ประโยชน์จากการค้นควา้ วิจยั ดา้ นฟสิ กิ ส์

อนุภาคในด้านต่างๆ

รวม ๘๐ ๑๐๐ ๖๐ ๑๐ ๓๐

๕๖

หลักสตู รสถานศกึ ษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ๒๕๖๒) กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

๕๗


Click to View FlipBook Version