The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุนีรัตน์ ชูช่วย, 2019-12-26 04:38:10

5

5

ชุดการสอน1ที่ 5
เร่อื ง ระดบั สูงตา่ ของเสียงและคุณภาพของเสียง

1

ชดุ การสอน2ที่ 5
เรือ่ ง ระดับสูงต่าของเสยี งและคณุ ภาพของเสียง

ค่าน่า

ชุดการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาฟิสิกส์เพ่ิมเติม 3 เรื่องเสียงและ
การได้ยิน ชุดนี้เป็น “ชุดการสอนท่ี 5 เรื่องระดับสูงต่าของเสียงและคุณภาพเสียง” จัดท่าข้ึนเพื่อใช้
ประกอบการเรียนรู้ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ของโรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บ่ารุง เพ่ือให้
เป็นไปตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และเป็นไปตามพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 ท่ีมุ่งเน้นให้การจัดการจัดการเรียนรู้ โดยผู้เรียนทุกคนสามารถ
พัฒนาตนเอง สร้างความหมายของสิ่งท่ีตนเองเรียนรู้ได้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกสถานท่ีทุกเวลา
เน้นการพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพของแต่ละคน ซ่ึงผู้จัดท่าได้รวบรวมและเรียบเรียงจากหนังสือ คู่มือ
ต่ารา รวมทั้งสืบค้นความรู้จากอินเตอร์เน็ตต่าง ๆ รวมท้ังมีการน่าค่าศัพท์ภาษาอังกฤษเพ่ือเป็นการฝึก
ให้ผูเ้ รียนไดเ้ รยี นรู้คา่ ศัพทแ์ ละเป็นการเตรยี มความพรอ้ มของผูเ้ รียนเข้าสูอ่ าเซียน โดยแต่ละชุดการสอน
นั้นผูจ้ ัดทา่ ไดจ้ ัดทา่ ค่าแนะน่าการใช้ชุดการสอนไวอ้ ย่างละเอียด รวมทั้งหมด 9 ชุด ไดแ้ ก่

ชุดการสอนท่ี 1 ธรรมชาติและสมบัติของเสียง
ชุดการสอนที่ 2 อตั ราเร็วของเสยี งและการเคล่ือนที่ของเสียงผา่ นตวั กลาง
ชุดการสอนท่ี 3 ความเข้มเสียงและระดบั เสียง
ชดุ การสอนที่ 4 มลภาวะของเสยี งและหูกบั การได้ยิน
ชุดการสอนท่ี 5 ระดับสงู ตา่ ของเสยี งและคุณภาพเสียง
ชุดการสอนที่ 6 ความถ่ธี รรมชาติและการส่ันพ้องของเสียง
ชดุ การสอนที่ 7 การบตี และคลน่ื นิ่งของเสียง
ชุดการสอนท่ี 8 ปรากฏการณ์ดอปเพลอรแ์ ละคล่นื กระแทก
ชดุ การสอนท่ี 9 การประยุกต์ความรูเ้ รอ่ื งเสยี ง
ชดุ การสอนเล่มนี้ส่าเร็จลุล่วงไปด้วยดีก็เพราะได้รับการส่งเสริมสนับสนุน และข้อเสนอแนะ
เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จากผู้บริหาร ผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของเน้ือหาวิชาและ
ภาษาที่ใช้ ขอขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่งไว้ ณ โอกาสนี้ ผู้จัดท่าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดการสอนน้ี
จะเปน็ ประโยชน์ต่อนักเรียนและครูผู้สอน และได้แนวคิดในการน่าไปพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เพือ่ พฒั นาผเู้ รียนให้บรรลตุ ามเปา้ หมาย และวตั ถปุ ระสงค์ของหลักสตู รเป็นอยา่ งดี

สุนีรัตน์ ชูชว่ ย

2

ชุดการสอน3ที่ 5
เรอ่ื ง ระดบั สูงต่าของเสียงและคุณภาพของเสียง

สารบญั

เรอื่ ง หนา้
ค่านา่ ก
สารบัญ ข
สารบัญภาพ ค
สารบัญตาราง ง
คา่ ชแ้ี จงเกยี่ วกับชดุ การสอน 1
คา่ ชี้แจงส่าหรบั ครู 2
คา่ ชี้แจงส่าหรับนักเรียน 3
ผลการเรยี นรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ 5
แบบทดสอบก่อนเรียน 6
บตั รเนอื้ หา เรอ่ื งระดับสูงตา่ ของเสียงและคุณภาพเสียง 9
บัตรคา่ ถาม 13
บัตรฝึกทักษะ 15
แบบทดสอบหลังเรียน 16
บรรณานุกรม 19
ภาคผนวก 20
เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน 21
22
เฉลยบัตรค่าถาม 24
เฉลยบัตรฝึกทักษะ 25
แบบบันทึกแบบทดสอบก่อน - หลงั เรียน 26
แบบบันทึกการประเมนิ ดา้ นความรู้

3

ชดุ การสอน4ที่ 5
เรอื่ ง ระดบั สูงต่าของเสียงและคณุ ภาพของเสียง

สารบญั ภาพ

ภาพท่ี หนา้

1 แผนภาพแสดงช่วงความถี่ของแหล่งกา่ เนดิ เสียงและช่วงความถ่ีเสยี งท่ีมนษุ ย์ -

สัตวไ์ ด้ยิน 9

2 เครอ่ื งดนตรีสากล 11

3 เคร่ืองดนตรีไทย 11

4

ชุดการสอน5ที่ 5
เรอื่ ง ระดับสูงต่าของเสยี งและคณุ ภาพของเสียง

ตารางที่ สารบญั ตาราง หนา้
1 10
2 การแบ่งระดับสงู ต่าของเสียงดนตรีในวทิ ยาศาสตร์ 10
การแบ่งระดบั สูงต่าของเสียงดนตรีไทย

5

ชดุ การสอน6ที่ 5
เร่ือง ระดบั สูงต่าของเสยี งและคณุ ภาพของเสียง

ค่าชแี้ จงเก่ยี วกับชดุ การสอน

1. ชดุ การสอนน้เี ป็นชดุ การสอนที่ 5 เร่อื งระดับสูงต่าและคุณภาพของเสยี ง
วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 รหสั วิชา ว 30203 ใช้สอนนักเรยี นระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

2. ชุดการสอนชุดนป้ี ระกอบดว้ ย
2.1 ค่าชแ้ี จงเก่ียวกับชดุ การสอน
2.2 คา่ ช้แี จงส่าหรับครู
2.3 ค่าชแี้ จงส่าหรับนักเรียน
2.4 แบบทดสอบก่อนเรยี น
2.5 บัตรเน้อื หา
2.6 บัตรคา่ ถาม
2.7 บตั รฝึกทักษะ
2.8 แบบทดสอบหลังเรยี น
2.9 เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลังเรยี น
2.10 เฉลยบตั รคา่ ถาม
2.11 เฉลยบตั รฝกึ ทักษะ

3. ชุดการสอนที่ 5 เร่อื งระดับสงู ต่าและคุณภาพของเสยี ง ใชเ้ วลาในการศึกษา 2 ชัว่ โมง

6

ชดุ การสอน7ท่ี 5
เรอ่ื ง ระดับสูงต่าของเสียงและคุณภาพของเสียง

คา่ ชแี้ จงสา่ หรับครู

1. ครูเตรียมวสั ดุอุปกรณจ์ ดั ช้นั เรียนใหพ้ ร้อม
2. ครศู กึ ษาเน้ือหาทจ่ี ะสอนใหล้ ะเอียดและศึกษาชดุ การสอนใหร้ อบคอบ
3. กอ่ นสอนครูต้องเตรียมชุดการสอนไว้บนโต๊ะใหเ้ รยี บรอ้ ยและให้เพยี งพอกับนักเรยี นแต่ละ
กลุ่มให้ได้รบั อุปกรณ์คนละ 1 ชดุ ยกเวน้ สื่อการสอนทตี่ ้องใช้ร่วมกนั ทั้งกลมุ่
4. ครเู ปน็ ผู้จดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ ละวัดผลประเมนิ ผลให้เปน็ ไปตามลา่ ดับข้ันตอนทีก่ ่าหนด
ไว้
5. การสอนแบ่งออกเปน็ 5 ขน้ั คือ ข้ันสร้างความสนใจ ข้ันส่ารวจและคน้ หา
ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรุป ขั้นขยายความรู้ และข้นั ประเมนิ
6. ก่อนสอนครูต้องชี้แจงให้นักเรียนศึกษาการเรียนด้วยชุดการสอน ค่าชี้แจงชุดการสอน
คา่ ชแ้ี จงส่าหรบั ครู ค่าชีแ้ จงสา่ หรับนักเรยี น แบบทดสอบก่อนเรยี น บัตรเน้ือหา บัตรคา่ ถาม
บัตรฝึกทักษะ แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน เฉลยบัตรค่าถามและเฉลย
บตั รฝกึ ทกั ษะ
7. ขณะท่นี ักเรยี นทุกกลุม่ ปฏิบัตกิ ิจกรรม ครไู ม่ควรพูดเสียงดงั หากมีอะไรจะพูดต้องพูด
เปน็ รายกลุ่มหรอื รายบุคคลต้องไม่รบกวนกจิ กรรมของนักเรยี นกลุ่มอ่นื
8. ขณะท่นี ักเรียนปฏบิ ัตกิ ิจกรรมครตู ้องเดินดูการปฏิบัติกิจกรรมของนกั เรยี นแตล่ ะ
กลมุ่ อย่างใกลช้ ิด หากมนี ักเรียนคนใดหรือกล่มุ ใดมีปญั หา ครูควรจะเข้าไปให้ความช่วยเหลือจนปญั หา
น้ันคลค่ี ลาย
9. เมื่อปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเสร็จ ครตู ้องเน้นให้นกั เรยี นเก็บชุดการสอนของตนไว้ในสภาพ
เรียบร้อย หา้ มถือติดมือไปด้วย
10. การสรปุ บทเรียนควรจะเป็นกจิ กรรมรว่ มของกลมุ่ หรอื ตวั แทนกลุม่ ร่วมกนั

7

ชุดการสอน8ที่ 5
เรอื่ ง ระดับสูงตา่ ของเสียงและคุณภาพของเสียง

ค่าช้แี จงส่าหรับนักเรียน

บทเรียนที่นักเรียนใช้อยู่น้ีเรียกว่า ชุดการสอนเป็นบทเรียนที่สร้างข้ึนเพื่อให้นักเรียนสามารถ
ศึกษาได้ด้วยตนเอง โดยมีจุดประสงค์เพ่ือสร้างความเข้าใจและสามารถแก้ปัญหาจากสถานการณ์ที่
กา่ หนดให้อยา่ งมีข้นั ตอน โดยนักเรียนจะได้รับประโยชนจ์ ากชุดการสอนตามจุดประสงคท์ ่ีตัง้ ไวด้ ว้ ย
การปฏิบัติตามค่าแนะน่าต่อไปน้ีอย่างเคร่งครดั

1. นักเรียนอา่ นค่าชี้แจงสา่ หรับนักเรยี นให้เขา้ ใจก่อนลงมือศกึ ษาชุดการสอน
2. นกั เรยี นอ่านผลการเรยี นรู้และจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ก่อนลงมอื ศึกษาชุดการสอน
3. นกั เรยี นท่าแบบทดสอบก่อนเรียนจ่านวน 10 ข้อลงในแบบบนั ทึกแบบทดสอบกอ่ น –
หลงั เรยี นที่ครแู จกให้ และน่าสง่ ครูเมอ่ื ท่าเสร็จ
4. นักเรียนศกึ ษาบัตรเนื้อหา เรอ่ื งระดบั สูงต่าของเสยี งและคณุ ภาพเสยี งด้วยความตั้งใจทา่
บัตรคา่ ถาม บัตรฝึกทักษะลงในแบบบนั ทึกกิจกรรมท่คี รแู จกให้
5. ตรวจเฉลยบตั รค่าถาม บัตรฝกึ ทกั ษะ โดย

5.1 รบั บตั รเฉลยค่าถามและเฉลยบตั รฝึกทักษะจากครูตรวจสอบความถูกต้องใหค้ ะแนน
ตามเกณฑ์

5.2 ส่งบัตรคา่ ถามและบัตรฝึกทักษะหลงั จากท่าเสร็จและตรวจสอบความถูกต้องให้
เรียบร้อยแลว้ สง่ ให้ครู

6. นกั เรียนทา่ แบบทดสอบหลังเรียนลงในแบบบันทึกแบบทดสอบทีค่ รูแจกให้
7. ตรวจสอบแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและแบบทดสอบหลังเรยี น โดย

7.1 รับเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลงั เรียนตรวจสอบความถูกต้อง
ใหค้ ะแนนข้อละ 1 คะแนน

7.2 สง่ แบบบันทกึ แบบทดสอบหลังเรียน หลงั จากท่าแบบทดสอบหลังเรียนเสร็จและตรวจ
ใหค้ ะแนนเรียบรอ้ ยแลว้ ที่ครู

8. นักเรยี นแต่ละคนในกลุม่ แจง้ คะแนนของแบบทดสอบก่อนเรียน บัตรคา่ ถาม บัตรฝกึ
ทักษะ และแบบทดสอบหลังเรียนของตนเองให้เลขานุการกลุ่มบันทกึ ลงในแบบบันทึกผลการเรยี นกลุ่ม
เพ่อื สรุปส่งต่อไป

8

ชุดการสอน9ที่ 5
เรื่อง ระดับสูงต่าของเสยี งและคุณภาพของเสียง
9. นกั เรียนที่ดตี อ้ งซื่อสัตยต์ ่อตนเองไมค่ วรเปิดดูเฉลยก่อนที่จะใชค้ วามสามารถดว้ ยตนเอง
10. ถา้ นกั เรียนสงสยั หรอื ไมเ่ ข้าใจในเน้ือหาใหท้ บทวนใหม่ ถา้ ยงั ไมเ่ ข้าใจอกี ใหส้ อบถามจากครู

9

ชดุ การสอ1น0ท่ี 5
เรอื่ ง ระดบั สูงตา่ ของเสยี งและคณุ ภาพของเสียง

ผลการเรียนร้แู ละจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

ผลการเรยี นรู้

สืบค้น อธิบาย บอกความสัมพันธ์เกี่ยวกับความเข้มเสียง ระดับเสียง ระดับสูงต่าของเสียง
คุณภาพเสียง มลภาวะของเสียง หูกับการได้ยิน เวลาก้องเสียงและค่านวณหาปริมาณต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
พร้อมท้ังน่าความร้ไู ปใช้ในชวี ติ ประจ่าวันได้อย่างเหมาะสม

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เพ่ือให้นกั เรียนสามารถ

1. อธบิ ายความหมายของระดับสูงต่าของเสียง คุณภาพเสียง ความถี่มลู ฐานของ
แหล่งกา่ เนดิ เสยี งและฮาร์มอนิกของความถ่ีเสยี งได้

2. แบ่งระดับสงู ตา่ ของเสียงดนตรีตามเกณฑ์ต่าง ๆ และหาความถี่ของเสยี งคูแ่ ปดของระดับ
เสยี งสูงต่าที่กา่ หนดให้

3. แสดงความเป็นคนแสวงหาข้อมลู ของแหล่งเรียนรู้ จดบนั ทกึ และมจี ิตส่านกึ ในการอนุรักษ์
วัฒนธรรมเก่ียวกบั การเรยี นเรื่องระดับสงู ตา่ ของเสยี งและคุณภาพเสียงไดอ้ ย่างเหมาะสม

4. สืบคน้ ขอ้ มลู และน่าความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ระดับสูงต่าของเสยี งและคุณภาพเสยี งไป
ใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตประจ่าวันได้อยา่ งเหมาะสม

10

ชดุ การสอ1น1ที่ 5
เร่อื ง ระดับสูงต่าของเสยี งและคุณภาพของเสียง

เรื่อง ระดับสูงต่าของเสยี งและคุณภาพเสยี ง

คา่ ชแ้ี จง 1. แบบทดสอบชดุ นีเ้ ปน็ แบบทดสอบปรนยั 4 ตัวเลือก จา่ นวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน
2. ให้นกั เรยี นเลือกค่าตอบที่ถูกต้องแล้วทา่ เคร่ืองหมายกากบาท (X) ทบั หน้าข้อ ก, ข, ค

และ ง ลงในแบบบันทกึ แบบทดสอบก่อน – หลังเรียน
1. เสยี งสงู หรือเสียงต่าขนึ้ อยู่กบั ข้อใดต่อไปนี้

ก. ความถี่
ข. แอมพลิจดู
ค. ความยาวคลน่ื
ง. ความดนั อากาศ
2. ความถ่ที มี่ นุษย์ได้ยินคือข้อใด
ก. นอ้ ยกว่า 20 เฮิรตซ์
ข. 20 - 20,000 เฮิรตซ์
ค. มากกวา่ 20,000 เฮิรตซ์
ง. ถกู ทกุ ข้อ
3. เครอ่ื งดนตรตี า่ งชนิดกนั เมื่อเล่นโนต๊ ตัวเดียวกนั ข้อใดถูกต้อง
ก. เสยี งต่างกนั เพราะความถจี่ ะเปลี่ยน
ข. เสียงไมต่ า่ งกันเพราะความถข่ี องโน๊ตตวั เดยี วกนั ย่อมเทา่ กัน
ค. เสยี งไม่ตา่ งกนั เพราะอุณหภูมเิ ดยี วกันความถ่ีย่อมเทา่ กัน
ง. เสยี งต่างกันเพราะความเข้มเสยี งแต่ละฮาร์โมนกิ ต่างกันเมอ่ื รวมกนั จงึ ทา่ ใหเ้ สยี งต่างกัน

11

ชดุ การสอ1น2ท่ี 5
เร่ือง ระดับสูงต่าของเสยี งและคณุ ภาพของเสียง

4. เสยี งโน๊ต มี (E) ความถี่ 320 เฮริ ตซ์ ความถ่คี ูแ่ ปดสองข้ันของมี (E") มีค่ากีเ่ ฮิรตซ์
ก. 40 เฮิรตซ์
ข. 960 เฮิรตซ์
ค. 1,280 เฮิรตซ์
ง. 1,600 เฮิรตซ์

5. ความถี่ B"' มคี ่าเทา่ ไร กา่ หนดความถ่ี B=480 เฮิรตซ์
ก. 960 เฮิรตซ์
ข. 1,440 เฮิรตซ์
ค. 1,920 เฮิรตซ์
ง. 3,840 เฮริ ตซ์

6. ความถีเ่ หนือเสียงคอื ขอ้ ใด
ก. มากกวา่ 500 เฮริ ตซ์
ข. 100 - 10,000 เฮริ ตซ์
ค. มากกว่า 15,000 เฮริ ตซ์
ง. มากกว่า 20,000 เฮริ ตซ์

7. ขอ้ ใดถูกต้องที่สุด
ก. เครือ่ งดนตรีทกุ ชนดิ เล่นโน้ตตัวเดยี วกนั จะมีคณุ ภาพเสียงเหมือนกัน
ข. ขณะท่สี ายไวโอลีนสนั่ จะเกิดเสยี งท่ีมคี วามถ่มี ูลฐานเท่าน้ัน
ค. คณุ ภาพเสยี งจะช่วยให้เราแยกประเภทของแหล่งกา่ เนดิ เสียงได้
ง. ความถ่ขี องเสยี งท่ีมนุษย์สามารถได้ยนิ จะสงู กว่า 20,000 เฮริ ตซ์

8. ความถค่ี ู่แปดต่า 2 ขน้ั ของ G คอื ข้อใด (ก่าหนดความถขี่ อง G = 384 เฮิรตซ์)
ก. 96 เฮริ ตซ์
ข. 192 เฮิรตซ์
ค. 380 เฮิรตซ์
ง. 382 เฮิรตซ์

12

ชดุ การสอ1น3ท่ี 5
เรอ่ื ง ระดบั สูงต่าของเสยี งและคุณภาพของเสียง
. 9. ระดบั สงู ต่าของเสยี งและคุณภาพเสยี ง ข้ึนอยู่กบั สมบัติใดตามลา่ ดบั
ก. ความถ่ี รูปรา่ งคล่ืน
ข. รปู ร่างคล่ืน ความถ่ี
ค. แอมพลิจูด ความถี่
ง. ความถี่ แอมพลิจดู
10. ในการแบง่ เสียงดนตรที างวิทยาศาสตร์ ถ้าเสียง E// เปน็ 1,280 เฮริ ตซ์ เสยี ง E จะมคี วามถี่กเี่ ฮิรตซ์
ก. 160 เฮิรตซ์
ข. 320 เฮริ ตซ์
ค. 640 เฮริ ตซ์
ง. 960 เฮริ ตซ์

13

ชุดการสอ1น4ท่ี 5
เรอื่ ง ระดบั สูงตา่ ของเสียงและคุณภาพของเสียง

เรือ่ ง ระดับสงู ตา่ ของเสยี งและคณุ ภาพเสียง

ระดบั สูงต่าของเสยี ง (pitch)

การได้ยินเสียงของคนเรา นอกจากจะได้ยินเสียงดังหรือเสียงค่อย (ความเข้มเสียง
และระดับเสียง) แล้วยังข้ึนกับความถ่ีของเสียงด้วย (เสียงสูงหรือเสียงต่า) ความถ่ีของเสียงที่หู
คนปกติได้ยินมีค่าต้ังแต่ 20 – 20,000 เฮิรตซ์ ดังนั้นเสียงท่ีมีความถ่ีต่ากว่า 20 เฮิรตซ์ลงไป
เรียกว่า คลื่นใต้เสียง (infra sonic) ส่าหรับเสียงที่มีความถ่ีสูงกว่า 20,000 เฮิรตซ์ ขึ้นไป
เรียกว่า คล่ืนเหนอื เสียง (ultra sonic)

นอกจากนี้แหล่งก่าเนิดเสียงต่าง ๆ ก็มีเสียงได้ในช่วงความถ่ีแตกต่างกัน เช่น แมว
สามารถเปล่งเสียงในช่วงความถ่ี 760-1,500 เฮิรตซ์ แต่สามารถได้ยินเสียงในช่วงความถี่ที่กว้าง
กว่านี้มาก คือ 60-65,000 เฮิรตซ์ ส่าหรับคนเราสามารถเปล่งเสียงในช่วงความถ่ี 100-8,000
เฮิรตซ์ แตส่ ามารถรับฟังเสยี งทมี่ คี วามถไ่ี ด้ตั้งแต่ 20 – 20,000 เฮิรตซ์ ซ่ึงพิจารณาได้จาก
ดงั ภาพท่ี 1

ภาพท่ี 1 แผนภาพแสดงชว่ งความถข่ี องแหล่งกา่ เนิดเสยี งและชว่ งความถีเ่ สียงที่มนษุ ย์-สตั ว์ได้ยิน
ทม่ี า: สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (2550: 166)

14

ชดุ การสอ1น5ท่ี 5
เร่อื ง ระดบั สูงตา่ ของเสยี งและคณุ ภาพของเสียง

เม่ือได้ยินเสียงตามปกติ เราจะบอกได้ว่าเสียงน้ันเป็นเสียงสูงหรือเสียงต่า
ความแตกต่างของเสยี งท่ีกล่าวน้ี ขึ้นกับความถี่ของเสียง เรียกว่า ระดับสูงต่าของเสียง (pitch)
คนท่ัวไปมักเรียกเสียงที่มีความถ่ีต่าว่า เสียงทุ้ม (low pitch) ส่วนเสียงที่มีความถ่ีสูง เรียกว่า
เสียงแหลม (hight pitch) ในการจัดแบ่งระดับสูงต่าของเสียง อาจท่าได้หลายวิธี วิธีหน่ึงก็คือ
แบ่งเป็นระดบั สงู ตา่ ของเสียงดนตรี ซง่ึ แสดงระดับเสียงดงั ตารางที่ 1

ตารางที่ 1 การแบ่งระดับสูงตา่ ของเสยี งดนตรีในวทิ ยาศาสตร์

ระดบั เสียง C (โด) D (เร) E (ม)ี F (ฟา) G(ซอล) A (ลา) B (ท)ี C / (โด)
ดนตรี

ความถ่ี 256 288 320 341 384 427 480 512
(เฮิรตซ์)

ท่มี า : สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (2550: 167)

เสียง C มคี วามถ่ี 256 เฮิรตซ์เสียง C / มคี วามถี่เป็น 2 เทา่ ของเสยี ง C คือ 512
เฮริ ตซ์ เราเรยี ก เสยี ง C กับ C / เป็นคู่แปด (Octave) โดยจะตอ้ งเปน็ เสยี งมีความถ่เี ป็น 2 เทา่

ดังนนั้ C / กบั C // ก็เป็นคแู่ ปด เมื่อ เสียง C / มีความถ่ี 512 เฮริ ตซ์ ดงั น้ันเสียง
C // จะต้องเปน็ เสยี งมีความถีเ่ ท่ากับ 1,024 เฮิรตซ์

ในการเล่นดนตรี อาจท่าให้เกิดเสียงตามโน้ตทีละตัวตามท่านองเพลงหรือท่าให้เกิดโน้ต
หลายตัวพร้อม ๆ กันก็ได้ เช่น การเล่นคอร์ด ซ่ึงเป็นการท่าให้เกิดเสียงโน้ตหลาย ๆ ตัวพร้อมกัน
มีการแบ่งระดับสูงตา่ ของเสียงของเครื่องดนตรสี ากล แบบเสียงต่าง ๆ มคี วามถด่ี ังตารางที่ 2

ตารางท่ี 2 การแบง่ ระดับสงู ต่าของเสยี งดนตรีไทย

ระดบั เสียง C (โด) D (เร) E (ม)ี F (ฟา) G(ซอล) A (ลา) B (ที) C / (โด)
ดนตรี

ความถ่ี 262 289 319 353 389 430 475 524
(เฮริ ตซ์)

ทม่ี า : สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (2554: 83)

15

ชุดการสอ1น6ท่ี 5
เรือ่ ง ระดบั สูงตา่ ของเสยี งและคณุ ภาพของเสียง

ภาพท่ี 2 เครื่องดนตรสี ากล
ที่มา: จอฮ์น ดับเบลิ ยู. จเี วท (2547: 567)
เมื่อพิจารณาเสียงดนตรีพื้นเมืองของแต่ละชาติ พบว่ามีการแบ่งระดับเสียงแตกต่างกัน
จึงท่าให้เสียงดนตรีแต่ละชาติมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว การแบ่งระดับเสียงดนตรีของไทยในยุคใหม่
ใกล้เคียงกับการแบ่งระดับเสียดนตรีสากล ท่าให้เคร่ืองดนตรีไทยสามารถเล่นเพลงสากลบางเพลงได้
และเคร่ืองดนตรีสากลก็สามารถเล่นเพลงไทยบางเพลงได้เช่นกัน จึงมีการน่าเคร่ืองดนตรีสากลมา
บรรเลงร่วมกบั ดนตรไี ทย เชน่ เครือ่ งผสมออร์แกน หรือเครอ่ื งสายผสมเปียโน เป็นตน้

ภาพที่ 3 เคร่ืองดนตรไี ทย
ทมี่ า: มนตรี ปราโมท (2547)

16

ชดุ การสอ1น7ที่ 5
เร่ือง ระดบั สูงต่าของเสยี งและคุณภาพของเสียง

คณุ ภาพเสยี ง (quality of sound)
แหล่งก่าเนิดเสียงต่างกัน อาจให้เสียงท่ีมีระดับเสียงเดียวกัน เช่น ไวโอลีนและขลุ่ย

เล่นโน้ตเดียวกันจะให้เสียงท่ีมีความถี่เดียวกัน แต่เราสามารถแยกออกได้ว่าเสียงใดเป็นเสียง
ไวโอลีนและเสียงใดเป็นเสียงขลุ่ย แสดงว่านอกจากระดับเสียงแล้ว จะต้องมีปัจจัยอ่ืนอีกท่ีท่าให้
เสียงท่ีได้ยินแตกต่างกัน จนเราสามารถแยกประเภทของแหล่งก่าเนิดเสียงน้ัน ๆ ได้ ทั้งนี้เป็นผล
จากการซ้อนทับกันของคล่ืนเสียงจากแหล่งก่าเนิดเสียงหลาย ๆ แหล่งท่ีมีความถ่ี f , 2f , 3f , … ,
nf โดยแอมพลิจูดหรือความเข้มของเสียงแต่ละความถ่ีแตกต่างกันมาซ้อนทับกัน ท่าให้คล่ืนเสียงมี
ลกั ษณะเฉพาะตวั ท่ีแตกต่างกันไป

ความถี่ต่าสุดของเสียงท่ีออกจากแหล่งก่าเนิดเสียงใด ๆ เรียกว่า ความถี่มูลฐาน
(fundamental frequency) ของแหล่งก่าเนิดเสียงน้ันหรือฮาร์มอนิกท่ีหน่ึง (first harmonic)
ส่าหรับความถ่ีอ่ืน ๆ ที่เกิดข้ึนพร้อมกับความถี่มูลฐานแต่มีความถ่ีเป็นจ่านวนเต็มเท่าของความถ่ีมูลฐาน
เรียกว่า ฮาร์มอนกิ (harmonic) ของความถม่ี ลู ฐาน เช่น ความถี่ของเสียงสูงเป็น 2 เท่าของความถี่
มูลฐานเรียกว่า ฮาร์มอนิกท่ี 2 (second harmonic) ความถี่ของเสียงสูงเป็น 3 เท่าของความถ่ี
มลู ฐานเรยี กวา่ ฮารม์ อนกิ ที่ 3 (third harmonic) เปน็ ต้น

ดังนั้นต้นก่าเนิดเสียงต่าง ๆ ขณะส่ันจะให้เสียงซึ่งมีความถี่มูลฐาน และฮาร์มอนิกต่าง ๆ
ท่ีออกมาพร้อมกันเสมอ แต่จ่านวนฮาร์มอนิกและความเข้มเสียงของแต่ละฮาร์มอนิกจะแตกต่างกัน
ท่าให้ลักษณะของคลื่นเสียงท่ีออกมาแตกต่างกัน ส่าหรับแหล่งก่าเนิดเสียงท่ีต่างกัน จะให้เสียงท่ีมี
ลักษณะเฉพาะตัว เรียกว่า คณุ ภาพเสยี ง (quality of sound) ต่างกันนั่นเอง คุณภาพเสียงช่วยให้
เราสามารถแยกประเภทของแหล่งกา่ เนิดเสียงได้

17

ชุดการสอ1น8ที่ 5
เร่ือง ระดบั สูงต่าของเสียงและคุณภาพของเสียง

บัตรค่าถาม

เรือ่ ง ระดบั สูงต่าของเสยี งและคณุ ภาพเสียง

ค่าชี้แจง ให้นักเรียนเตมิ คา่ หรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกตอ้ งและสัมพนั ธก์ นั ข้อละ 1 คะแนน

1. ระดับสูงตา่ ของเสยี ง หมายถงึ อะไร
ตอบ............................................................................................................................................................
............................................................................................................ ........................................................

2. ความถ่ขี องเสยี งท่ีหูคนปกติได้ยนิ มคี ่าความถเ่ี ทา่ ใด
ตอบ.................................................................................................................................. ..........................
....................................................................................................................................................................
3. คลื่นเหนือเสียง หมายถึง อะไร
ตอบ................................................................................................... .........................................................
............................................................................................................................. .......................................

4. คลื่นใต้เสยี ง หมายถึง อะไร
ตอบ.................................................................................................................................. ..........................
.................................................................................................. ..................................................................
5. เสียงคู่แปด หมายถึงอะไร จงยกตวั อยา่ ง
ตอบ.................................................................................................................................. ..........................
............................................................................................................................. .......................................
6. ระดับสูงต่าของเสียงดนตรีแบง่ ได้กีร่ ะดับเสยี ง อะไรบ้าง
ตอบ................................................................................................................................................. ...........
....................................................................................................................... .............................................

18

ชุดการสอ1น9ท่ี 5
เรอื่ ง ระดับสูงตา่ ของเสียงและคณุ ภาพของเสียง

7. เล่นไวโอลีนและกีตาร์ด้วยเสียง A ความถ่ี 440 เฮิรตซ์ แต่เสียงท่ีออกจากเคร่ืองดนตรีทั้งสองมี
คุณภาพเสียงต่างกนั เป็นเพราะเหตใุ ด
ตอบ............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
8. ความถีต่ ่าสุดทเี่ กิดจากเครอื่ งดนตรีชนิดหนง่ึ เรียกว่าอย่างไร
ตอบ.................................................................................................................................. ..........................
................................................................................................................................................................... .
9. เพราะเหตุใดเครื่องดนตรีที่มีขนาดใหญ่ จึงให้ระดับเสียงสูงต่าของเสียงต่ากว่าเคร่ืองดนตรีประเภท
เดียวกันทม่ี ขี นาดเลก็ กวา่ เชน่ กลองใบใหญ่กับกลองใบเล็ก เป็นต้น
ตอบ.................................................................................................................................. ..........................
....................................................................................................................................................................
10. ขวด ก. และ ข. เปน็ ขวดชนิดเดยี วกันและมีขนาดเท่ากันแต่มีระดับน่้าในขวดต่างกัน เม่ือใช้ไม้เคาะ
ด้านข้างของขวดทา่ ให้เกดิ เสยี ง ขวดใดมีระดับเสียงสูงกว่า เพราะเหตุใด และถ้าเป่าที่ปากขวดท่าให้เกิด
เสยี ง เสยี งจากขวดใดจะมีระดบั สูงตา่ ของเสียงสงู กว่า เพราะเหตุใด
ตอบ.................................................................................................................................. ..........................
................................................................................................................................ ....................................

19

ชดุ การสอ2น0ท่ี 5
เรอื่ ง ระดบั สูงต่าของเสยี งและคณุ ภาพของเสียง

เรอื่ ง ระดบั สูงตา่ ของเสยี งและคุณภาพเสยี ง

ตอนที่ 1 ให้นักเรียนนา่ อักษร A, B, C,… ทางด้านขวามือเตมิ หนา้ ข้อความดา้ นซ้ายมอื ทม่ี ี
ความสมั พนั ธ์กนั ข้อละ 0.5 คะแนน

………1. คล่นื ใตเ้ สียง A. เสยี งท่มี ีความถตี่ ่า
………2. คล่นื เหนอื เสียง B. 20-20,000 เฮิรตซ์
………3. มนษุ ย์ได้ยนิ เสยี งมคี วามถ่ี C. เสยี งทมี่ คี วามถ่ีสงู
………4. เสียงทมุ้ D. ความถี่ต่าสุดของเสียง
………5. เสยี งแหลม E. จา่ นวนเต็มเท่าของความถี่มูลฐาน
………6. คู่แปด F. เสยี งทมี่ ีความถตี่ ่ากว่า 20 เฮริ ตซ์
………7. ความถมี่ ูลฐาน G. ความถ่ี
………8. ฮาร์มอนกิ H. เสยี ง F / มคี วามถ่ี 1,364 เฮิรตซ์
………9. คุณภาพเสยี งข้ึนอยู่กบั I. เสยี งท่ีมีความถ่เี ป็นสองเทา่ ของเสียงเดิม
………10 F มีความถี่ 341 เฮริ ตซ์ J. เสียงทม่ี คี วามถ่ตี ่ากว่า 20,000 เฮริ ตซ์

ตอนท่ี 2 ใหน้ ักเรียนแสดงวิธที ่า ข้อละ 2.5 คะแนน

1. C มีความถ่ี 256 เฮริ ตซ์เสียง C / มคี วามถี่เทา่ ใด

วิธที า่
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. A มคี วามถ่ี 430 เฮิรตซ์เสียง A // มีความถี่เทา่ ใด

วิธีท่า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

20

ชดุ การสอ2น1ท่ี 5
เร่ือง ระดับสูงต่าของเสียงและคุณภาพของเสียง

เร่อื ง ระดับสงู ต่าของเสยี งและคณุ ภาพเสียง

ค่าช้แี จง 1. แบบทดสอบชุดนเ้ี ป็นแบบทดสอบปรนยั 4 ตัวเลอื ก จ่านวน 10 ขอ้
ข้อละ 1 คะแนน

2. ให้นักเรียนเลือกค่าตอบทีถ่ กู ต้องแลว้ ทา่ เคร่อื งหมายกากบาท (X) ทับหน้าขอ้ ก, ข, ค
และ ง ลงในแบบบันทกึ แบบทดสอบก่อน – หลังเรียน
1. ระดับสูงต่าของเสยี งและคุณภาพเสยี ง ข้นึ อยกู่ บั สมบัติใดตามลา่ ดับ

ก. ความถี่ รูปรา่ งคลืน่
ข. รูปร่างคลน่ื ความถ่ี
ค. แอมพลจิ ูด ความถี่
ง. ความถ่ี แอมพลิจูด
2. ขอ้ ใดถูกต้องทีส่ ุด
ก. ขณะท่ีสายไวโอลีนสัน่ จะเกิดเสยี งทม่ี ีความถม่ี ลู ฐานเท่านั้น
ข. เครอ่ื งดนตรีทกุ ชนดิ เล่นโน้ตตวั เดยี วกันจะมีคณุ ภาพเสยี งเหมอื นกนั
ค. คณุ ภาพเสยี งจะชว่ ยใหเ้ ราแยกประเภทของแหลง่ กา่ เนิดเสยี งได้
ง. ความถี่ของเสยี งท่ีมนษุ ยส์ ามารถไดย้ นิ จะสูงกวา่ 20,000 เฮริ ตซ์
3. ความถี่ B"' มีค่าเท่าไร กา่ หนดความถี่ B = 480 เฮริ ตซ์
ก. 960 เฮริ ตซ์
ข. 1,440 เฮริ ตซ์
ค. 1,920 เฮิรตซ์
ง. 3,840 เฮิรตซ์

21

ชดุ การสอ2น2ท่ี 5
เรื่อง ระดับสูงตา่ ของเสียงและคุณภาพของเสียง

4. เครือ่ งดนตรตี า่ งชนิดกนั เมื่อเลน่ โน๊ตตวั เดยี วกนั ข้อใดถูกตอ้ ง
ก. เสยี งตา่ งกันเพราะความถีจ่ ะเปลย่ี น
ข. เสยี งไม่ตา่ งกนั เพราะความถข่ี องโนต๊ ตวั เดยี วกันยอ่ มเทา่ กนั
ค. เสยี งไม่ตา่ งกนั เพราะอณุ หภมู ิเดยี วกนั ความถ่ีย่อมเท่ากัน
ง. เสียงต่างกันเพราะความเข้มเสียงแตล่ ะฮารโ์ มนกิ ต่างกนั เมอ่ื รวมกันจงึ ท่าใหเ้ สียงต่างกัน

5. เสยี งสงู หรือเสยี งต่าขึ้นอยู่กบั ข้อใดต่อไปน้ี
ก. ความถ่ี
ข. แอมพลจิ ดู
ค. ความยาวคลื่น
ง. ความดนั อากาศ

6. ในการแบ่งเสยี งดนตรีทางวิทยาศาสตร์ ถ้าเสียง E// เปน็ 1,280 เฮิรตซ์เสียง E จะมีความถกี่ ี่เฮริ ตซ์
ก. 160 เฮิรตซ์
ข. 320 เฮริ ตซ์
ค. 640 เฮริ ตซ์
ง. 960 เฮริ ตซ์

7. ความถที่ ีม่ นุษย์ไดย้ นิ คอื ข้อใด
ก. น้อยกว่า 20 เฮิรตซ์
ข. 20 - 20,000 เฮิรตซ์
ค. มากกว่า 20,000 เฮิรตซ์
ง. ถกู ทุกข้อ

8. ความถ่คี ู่แปดต่า 2 ขน้ั ของ G คอื ขอ้ ใด (ก่าหนดความถ่ีของ เท่ากับ 384 เฮริ ตซ์)
ก. 96 เฮิรตซ์
ข. 192 เฮิรตซ์
ค. 380 เฮริ ตซ์
ง. 382 เฮิรตซ์

22

ชุดการสอ2น3ท่ี 5
เรือ่ ง ระดับสูงต่าของเสยี งและคณุ ภาพของเสียง
9. ความถีเ่ หนอื เสยี งคอื ขอ้ ใด
ก. มากกว่า 500 เฮริ ตซ์
ข. 100 - 10,000 เฮริ ตซ์
ค. มากกวา่ 15,000 เฮิรตซ์
ง. มากกว่า 20,000 เฮริ ตซ์
10. เสียงโน๊ต มี (E) ความถ่ี 320 เฮิรตซ์ ความถี่คู่แปดสองขั้นของมี (E") มคี า่ ก่เี ฮิรตซ์
ก. 40 เฮิรตซ์
ข. 960 เฮริ ตซ์
ค. 1,280 เฮิรตซ์
ง. 1,600 เฮิรตซ์

23

ชดุ การสอ2น4ท่ี 5
เรอ่ื ง ระดับสูงต่าของเสยี งและคุณภาพของเสียง

บรรณานุกรม

กฤตนยั จนั ทรจตรุ งค.์ (ม.ป.ป.). ฟิสิกส์:เรือ่ งที่ 11 เสยี งและการไดย้ ิน ฉบับช่วยสอบเขา้
มหาวิทยาลัยทร่ี ับตรง & โควตา & PAT 2 ส่าหรับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4-6. นนทบรุ ี
: ธรรมบัณฑติ .

จารกึ สวุ รรณรัตน์. (2555). คมู่ อื ฟสิ กิ ส์ ม.4-6 เล่ม 3 รายวิชาเพ่ิมเติม. กรุงเทพมหานคร :
เดอะบุคส์.

เฉลมิ ชยั มอญสขุ า่ . (2554). ฟิสิกส์เสริมการเรยี นฟิสิกส์เพ่ิมเตมิ ช้ัน ม.4-6 เล่ม 3.
กรุงเทพมหานคร : เดอะบคุ ส์.

ชว่ ง ทมทิตชงค์ และคณะ. (ม.ป.ป.). ตะลุยโจทย์ข้อสอบฟสิ กิ ส์ ม.5 เลม่ รวมเทอม 1-2.
กรุงเทพมหานคร : บริษัทไฮเอด็ พับลชิ ชิง่ .

ธีรศานต์ ปรุงจิตวทิ ยาภรณ์. (ม.ป.ป.). ฟิสิกส์ ม.5 เล่ม 2 ฉบบั ศกึ ษาด้วยตนเอง. นนทบุรี :
ธรรมบณั ฑติ .

มนตรี ปราโมท. (ม.ป.ป.). เครือ่ งดนตรีไทย. สบื คน้ เมื่อ 23 มิถนุ ายน, 2554, จาก
http://guru.sanook.com/encyclopedia/%E0...

ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2553). แนวปฏบิ ัตกิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู ร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานพุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ชมุ นุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จา่ กดั .
. (2553). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จา่ กดั .

สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2554). หนังสอื เรียน รายวิชาเพ่มิ เตมิ
ฟิสกิ ส์ เล่ม 3. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพร้าว
. (2554). ค่มู ือครู รายวชิ าเพมิ่ เติม ฟิสิกส์ เล่ม 3. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ครุ ุสภา
ลาดพรา้ ว

Jewett, Jr. J. W. and Serway, R. A. ( 2004). Physics for Scientists and Engineers
with PhysicsNOW and InfoTrac. Six edition. Thomson Brooks/Cole.

24

ชุดการสอ2น5ท่ี 5
เรอ่ื ง ระดบั สูงตา่ ของเสยี งและคุณภาพของเสียง

ภาคผนวก

25

ชดุ การสอ2น6ที่ 5
เรือ่ ง ระดบั สูงต่าของเสียงและคณุ ภาพของเสียง

เรอื่ ง ระดบั สูงต่าของเสียงและคุณภาพเสยี ง

ขอ้ เฉลยก่อนเรยี น เฉลยหลงั เรียน

1. ข. ก.

2. ข. ค.

3. ง. ง.

4. ค. ง.

5. ง. ข.

6. ง. ข.

7. ค. ข.

8. ก. ก.

9. ก. ง.

10. ข. ค.

26

ชุดการสอ2น7ท่ี 5
เรื่อง ระดับสูงต่าของเสียงและคุณภาพของเสียง

เรื่อง ระดับสูงต่าของเสียงและคณุ ภาพเสยี ง

ค่าชแี้ จง ข้อละ 1 คะแนน
1. ระดับสูงตา่ ของเสยี ง หมายถึง อะไร
แนวการตอบ ความถ่ีของเสียงท่มี ีความแตกต่างกัน
2. ความถี่ของเสยี งทห่ี ูคนปกติได้ยนิ มคี ่าความถเ่ี ทา่ ใด
แนวการตอบ 20 -20,000 เฮริ ตซ์
3. คลื่นเหนอื เสยี ง หมายถึง อะไร
แนวการตอบ เสียงที่มีความถ่ีสูงกว่า 20,000 เฮริ ตซ์ ขน้ึ ไป
4. คลน่ื ใต้เสียง หมายถึง อะไร
แนวการตอบ เสียงท่ีมคี วามถี่ตา่ กว่า 20 เฮริ ตซ์ ขน้ึ ไป
5. คู่แปด หมายถึงอะไร จงยกตวั อย่าง
แนวการตอบ ระดับสูงต่าของเสียงดนตรีเหมือนกันแต่มีความถี่มากกว่ากัน 2 เท่า เช่น เสียง C
มีความถี่ 256 เฮิรตซ์เสียง C / มีความถ่ี 512 เฮิรตซ์ เราเรียก เสียง C กับ C / เป็นเสียงคู่แปด
โดยจะต้องเป็นเสียงมีความถ่เี ปน็ 2 เท่า
6. ระดับสูงต่าของเสยี งดนตรีแบ่งได้กรี่ ะดับเสยี ง อะไรบ้าง
แนวการตอบ 7 ระดับเสยี ง คอื โด ( C ), เร ( D ) , มี ( E ) , ฟา ( F ), ซอล ( G ), ลา ( A ), ท(ี B )
7. เล่นไวโอลีนและกีตาร์ด้วยเสียง A ความถี่ 440 เฮิรตซ์ แต่เสียงที่ออกจากเครื่องดนตรีทั้งสองมี
คุณภาพเสียงตา่ งกนั เปน็ เพราะเหตใุ ด
แนวการตอบ เพราะจ่านวนฮาร์มอนิกและความเข้มเสียงในแต่ละฮาร์มอนิกของเสียงจากไวโอลีนและ
กีตาร์แตกต่างกัน เป็นผลท่าให้เกิดคลื่นรวมท่ีมีลักษณะแตกต่างกัน จึงกล่าวได้ว่าเคร่ืองดนตรีท้ังสอง
มคี ุณภาพเสียงตา่ งกนั น่นั เอง

27

ชุดการสอ2น8ท่ี 5
เรือ่ ง ระดับสูงตา่ ของเสยี งและคณุ ภาพของเสียง

8. ความถ่ีตา่ สุดทีเ่ กดิ จากเคร่อื งดนตรชี นิดหนง่ึ เรยี กว่าอยา่ งไร
แนวการตอบ ความถีต่ า่ สดุ ทีเ่ กดิ จากเครอื่ งดนตรชี นดิ หนงึ่ เรียกวา่ ความถีม่ ูลฐานหรือฮารม์ อนิกที่ 1
9. เพราะเหตุใดเคร่ืองดนตรีที่มีขนาดใหญ่ จึงให้ระดับเสียงสูงต่าของเสียงต่ากว่าเครื่องดนตรีประเภท
เดยี วกนั ทีม่ ขี นาดเล็กกวา่ เช่น กลองใบใหญ่กับกลองใบเลก็ เปน็ ตน้
แนวการตอบ เพราะวตั ถุขนาดใหญม่ วลมาก การท่าให้วัตถุที่มีมวลมากส่ันจะสั่นได้ยากกว่าวัตถุที่มีมวล
น้อย จึงท่าให้ความถ่ีธรรมชาติของวัตถุขนาดใหญ่ มีค่าน้อยกว่าความถ่ีธรรมชาติของวัตถุประเภท
เดยี วกนั ท่มี ขี นาดเล็กกว่า ดังนนั้ กลองใบใหญจ่ ึงให้ระดับสูงตา่ ของเสียงต่ากว่ากลองใบเล็ก
10. ขวด ก. และ ข. เปน็ ขวดชนิดเดยี วกันและมีขนาดเท่ากันแต่มีระดับน่้าในขวดต่างกัน เมื่อใช้ไม้เคาะ
ด้านข้างของขวดท่าให้เกิดเสียง ขวดใดมีระดับเสียงสูงกว่า เพราะเหตุใด และถ้าเป่าท่ีปากขวดท่าให้
เกิดเสียง เสยี งจากขวดใดจะมีระดับสูงต่าของเสยี งสงู กว่า เพราะเหตุใด
แนวการตอบ เม่อื ใชไ้ มเ้ คาะข้างขวด ท่าให้เกิดการสั่นของระบบจึงท่าให้เกิดเสียง ขวดท่ีมีน้่าน้อยจะส่ัน
ไดง้ ่ายหรือสั่นโดยมีความถ่ีธรรมชาติมากกว่าขวดท่ีบรรจุน่้ามาก ดังน้ันขวด ข จึงมีระดับสูงต่าของเสียง
สูงกว่าขวด ก แต่เมื่อเป่าท่ีปากขวดจะท่าให้เกิดการสั่นพ้องกับล่าอากาศในขวดทั้งสองเช่นเดียวกับ
การสั้นพ้องของอากาศในหลอดเรโซแนนซ์ จึงท่าให้เกิดเสียงดัง เนื่องจาก ขวด ก มีล่าอากาศมากกว่า
ขวด ข

28

ชุดการสอ2น9ที่ 5
เรื่อง ระดบั สูงตา่ ของเสียงและคุณภาพของเสียง

เรื่อง ระดับสูงต่าของเสยี งและคุณภาพเสียง

ตอนที่ 1 ขอ้ ละ 0.5 คะแนน

ข้อ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
คา่ ตอบ F J B A C I D E G H

ตอนท่ี 2 ขอ้ ละ 2.5 คะแนน
1. C มคี วามถ่ี 256 เฮริ ตซเ์ สียง C / มีความถี่เทา่ ใด

แนวการตอบ C= 256
256X2
C/ = 512 เฮริ ตซ์

C/ =

ดังนน้ั C / มคี วามถ่ี 512 เฮิรตซ์

2. A มีความถ่ี 430 เฮริ ตซ์เสยี ง A // มคี วามถ่ีเท่าใด

แนวการตอบ A= 430
430X2
A/ = 860 เฮิรตซ์
860X2
A/ = 1,720 เฮริ ตซ์

A // =

A // =

ดังนนั้ A // มคี วามถี่ 1,720 เฮริ ตซ์

29

ชุดการสอ3น0ท่ี 5
เรื่อง ระดบั สูงตา่ ของเสียงและคณุ ภาพของเสียง

แบบบนั ทึกแบบทดสอบกอ่ น - หลังเรยี น

ชอ่ื ...........................สกลุ .........................ช้ัน............เลขที่.......

กระดาษทดสอบก่อนเรียน ง. กระดาษทดสอบหลังเรยี น
ข้อ ก. ข. ค. ขอ้ ก. ข. ค. ง.

1. 1.
2. 2.
3. 3.
4. 4.
5. 5.
6. 6.
7. 7.
8. 8.
9. 9.
10. 10.

8 - 10 คะแนน เกณฑ์การประเมนิ ดี
5 - 7 คะแนน ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง พอใช้
น้อยกวา่ 5 คะแนน ระดบั คุณภาพ 2 หมายถงึ ควรปรบั ปรุง
ระดับคุณภาพ 1 หมายถึง

ประเมินผล สรุปผลการประเมนิ หลังเรียน
คะแนนเต็ม ก่อนเรียน 10
คะแนนท่ไี ด้ 10
ระดับคุณภาพ

30

ชดุ การสอ3น1ท่ี 5
เรอ่ื ง ระดบั สูงต่าของเสียงและคณุ ภาพของเสียง

แบบบันทกึ ผลการประเมินดา้ นความรู้

ผบู้ นั ทกึ ( ) ครู ( ) นักเรียน ( ) อื่นๆ.......................................

ค่าช้ีแจง ให้สมาชกิ ในกลุม่ แจง้ คะแนนของแบบทดสอบหลงั เรยี น บัตรกจิ กรรม บัตรค่าถาม บัตรฝกึ
ทกั ษะของตนเอง ใหเ้ ลขากลุ่มบนั ทกึ ผลลงในแบบบันทึกน้ี

การประเมินดา้ นความรู้

ชอื่ – สกุล บตั รค่าถาม บัตรฝึกทกั ษะ แบบทดสอบ รวม
(10คะแนน) (10 คะแนน) หลงั เรียน (30คะแนน)
(10 คะแนน)

ลงชอื่ ............................................ผบู้ ันทึก
.................../................./...................

เกณฑ์การตัดสินการผ่านดา้ นความรู้

เกณฑ์การตัดสนิ / บัตรค่าถาม บัตรฝกึ ทกั ษะ แบบทดสอบ
รายการ หลังเรยี น
รอ้ ยละ 70 ร้อยละ 70 ร้อยละ 70
ผา่ น ข้ึนไป ข้ึนไป ข้นึ ไป

31

ชดุ การสอ3น2ท่ี 5
เร่อื ง ระดบั สูงต่าของเสยี งและคณุ ภาพของเสียง

32


Click to View FlipBook Version