The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สุนีรัตน์ ชูช่วย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุนีรัตน์ ชูช่วย, 2019-12-11 02:15:49

สุนีรัตน์ ชูช่วย

สุนีรัตน์ ชูช่วย

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคดั เลอื ก Best Practice ของนางสุนีรตั น์ ชชู ่วย หนา้ 1

คานา

ตามที่สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 12 ได้จัดประกวดคัดเลือกผลงานวิจัย/นวัตกรรม
การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เพ่ือเป็นกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุน การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพ่ือ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน มุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพการศึกษาโดยให้ครู ผู้บริหารได้คิดค้นส่ิง
ใหมๆ่ วธิ กี ารใหม่ๆ ในการจัดการเรยี นร้นู นั้

ข้าพเจ้า นางสุนีรัตน์ ชูช่วย ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์
บารุง อาเภอถ้าพรรณรา จังหวัดนครศรีธรรมราช จึงขอเสนอการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ใน
ประเภทครูที่ทาหน้าท่ี รองผู้อานวยการฝ่ายบริหารงานวิชาการ เรื่อง การบริหารการจัดการเรียนรู้ เพ่ือ
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้กระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ของ
โรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารุง

เอกสารเล่มนจ้ี ัดทาขนึ้ เพือ่ ประกอบการพิจารณาคัดเลอื กผลงานวจิ ัย/นวัตกรรมการปฏิบัตทิ ่ีเปน็ เลิศ
(Best Practice) ซึง่ ประกอบด้วย ความสาคญั ของผลงาน แนวทางการแก้ปัญหาและพัฒนา จดุ ประสงคแ์ ละ
เปา้ หมาย กระบวนการผลิตหรือขั้นดาตอนการดาเนินงาน การดาเนินงานตามกจิ กรรม ประสทิ ธภิ าพของ
การดาเนนิ งาน การใช้ทรัพยากร ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธ์ิ/ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับ ปจั จยั ความสาเรจ็ บทเรียน
ที่ไดร้ ับและเอกสารอ้างองิ ต่างๆ ในภาคผนวกที่จะช่วยการพิจารณาของกรรมการต่อไปหากมขี ้อผดิ พลาด
ประการใด ผจู้ ดั ทาขออภัยมา ณ โอกาสน้ี

( นางสุนีรัตน์ ชูช่วย )
ตาแหน่งครู วทิ ยฐานะครชู านาญการพิเศษ

โรงเรียนประสาธนร์ าษฎรบ์ ารุง

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคัดเลือก Best Practice ของนางสุนรี ัตน์ ชูช่วย หนา้ 2

สารบญั หน้า

เร่อื ง 1
2
คานา 2
สารบัญ 3
ความสาคัญของผลงาน 3
แนวทางการแก้ปัญหาและพัฒนา 4
จุดประสงค์และเปา้ หมาย 4
กระบวนการผลติ หรือขน้ั ดาตอนการดาเนนิ งาน 5
การดาเนนิ งานตามกิจกรรม 5
ประสิทธิภาพของการดาเนนิ งาน 6
การใชท้ รพั ยากร 6
ผลการดาเนินการ/ผลสมั ฤทธิ์/ประโยชน์ที่ไดร้ ับ 8
ปจั จยั ความสาเรจ็
บทเรยี นที่ไดร้ ับ
การเผยแพร่/การไดร้ ับการยอมรบั /รางวลั ที่ไดร้ บั
ภาคผนวก

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคัดเลือก Best Practice ของนางสุนีรัตน์ ชูช่วย หนา้ 3

ผลงาน/วธิ ีการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลศิ (Best Practice)

ช่อื ผลงาน การบริหารการจัดการเรียนรู้ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยใช้กระบวนการ
PLC (Professional Learning Community) ของโรงเรียนประสาธนร์ าษฎรบ์ ารุง

ชื่อผู้เสนอผลงาน นางสนุ ีรตั น์ ชูชว่ ย
หนว่ ยงาน โรงเรยี นประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ อาเภอถา้ พรรณรา จังหวดั นครศรีธรรมราช
สงั กัด สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 12
ประเภท ครทู ป่ี ฏบิ ตั ิหนา้ ที่รองผอู้ านวยการ กลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ

1. ความสาคัญของผลงาน
1.1 ความสาคัญสภาพปัญหา
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community) เป็นกระบวนการสร้างการ

เปล่ียนแปลงโดยเรียนรู้จากการปฏิบตั ิงานของกลมุ่ บคุ คลที่มารวมตัวกันเพ่ือทางานร่วมกันและสนับสนุนซึ่งกัน
และกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ร่วมกันวางเป้าหมายการเรียนรู้ของผู้เรียน และ
ตรวจสอบ สะท้อนผลการปฏิบัติงานท้ังในส่วนบุคคลและผลที่เกิดขึ้นโดยรวมผ่านกระบวนการแลกเปล่ียน
เรยี นรู้ การวิพากษ์วจิ ารณ์ การทางานร่วมกัน การร่วมมือรวมพลัง โดยมุ่งเน้นและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
อยา่ งเปน็ องคร์ วม โดยมีการดาเนินการอย่างน้อย 5 ประการ ดังนี้ 1) มีเป้าหมายร่วมกันในการจัดการเรียนรู้/
การพัฒนาผูเ้ รียนใหพ้ ัฒนาอย่างเตม็ ศกั ยภาพ 2) มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากหน้างาน/สถานการณ์จริงของช้ัน
เรยี น 3) ทุกฝ่ายเกี่ยวข้องร่วมเรียนรู้และรวมพลัง/หนุนเสริมให้เกิดการสร้างความเปล่ียนแปลงตามเป้าหมาย
4) มีการวิพากย์ สะท้อนผลการทางานพฒั นาผู้เรยี น และ 5) มีการสร้าง HOPE ให้ทีมงานอันประกอบด้วย (1)
honesty & humanity เป็นการยึดข้อมูลจริงท่ีเกิดข้ึนและให้การเคารพกันอย่างจริงใจ (2) option &
openness เป็นการเลือกสรรส่ิงท่ีดีที่สุดให้ผู้เรียนและพร้อมเปิดเผย/เปิดใจเรียนรู้จากผู้อ่ืน (3) patience &
persistence เป็นการพัฒนาความอดทนและความมุ่งม่ันทุ่มเทพยายยามจนเกิดผลชัดเจน (4) efficacy &
enthusiasm เป็นการสร้างความเช่ือมั่นในผลของวิธีการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนว่าจะทาให้ผู้เรียน
เรียนรู้ และกระตือรือร้นท่ีจะพัฒนาตนเองอย่างเต็มท่ี (เรวดี ชยั เชาวรัตน์,2558)

โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุงเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก เม่ือศึกษาการจัดลาดับผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 12 พบว่าในปีการศึกษา 2558 ผลการทดสอบอยู่ในลาดับท่ี 68 จากท้ังหมด 97 โรงเรียน
และในปีการศึกษา 2559 ผลการทดสอบอยู่ในลาดับท่ี 92 จากท้ังหมด 95 ซึ่งเป็นเรื่องท่ีกลุ่มบริหารวิชาการ
ต้องดาเนินการพัฒนาอย่างเร่งด่วน ถ้าหากยังปล่อยให้ผลการทดสอบต่าเช่นนี้ต่อไปจะส่งผลต่อคุณภาพ
การศกึ ษาได้

1.2 แนวทางการแก้ปญั หาและพัฒนา
จากการวเิ คราะห์สภาพความเป็นจรงิ ของโรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารงุ พบวา่ ครูจดั การเรียน

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคดั เลอื ก Best Practice ของนางสุนีรตั น์ ชูชว่ ย หนา้ 4

การสอนไมจ่ บตรงตามสาขาวชิ าที่จบ มภี าระงานสอนหลากหลายวิชาและงานนอกเหนือจากงานการจัด
การเรียนการสอนมากจนทาให้การจัดการเรียนการสอนไม่มีประสิทธิภาพ ขาดกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย ทาให้นักเรียนขาดความสนใจการเรียนรู้ ดังนั้นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC (Professional
Learning Community) จึงเป็นกระบวนการสร้างการเปลี่ยนแปลงโดยเรียนรู้จากการปฏิบัติงานของครู เพื่อ
ทางานร่วมกันและสนบั สนุนซง่ึ กนั และกัน เพ่อื เปน็ เคร่ืองมือทช่ี ่วยใหก้ ารแลกเปล่ียนเรียนรู้มีประสิทธิภาพและ
ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื รวมพลังของทกุ ฝ่ายในการพฒั นาการเรยี นการสอนส่คู ณุ ภาพของผ้เู รียน และสามารถส่งผล
ให้ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผู้เรยี นและผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET) ใหส้ งู ขนึ้
2. จดุ ประสงค์และเป้าหมาย

2.1 จุดประสงค์
2.1.1 เพอื่ เปน็ เคร่อื งมือทีช่ ว่ ยใหก้ ารแลกเปลยี่ นเรยี นรู้มีประสทิ ธิภาพ
2.1.2 เพือ่ ใหเ้ กิดความร่วมมือรวมพลังของทุกฝา่ ยในการพัฒนาการเรยี นการสอนสคู่ ุณภาพ

ของผ้เู รียน
2.1.3 เพื่อพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรยี นและผลการทดสอบทางการศึกษา

ระดับชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ให้สูงขน้ึ
2.2 เป้าหมาย
2.2.1 เชิงปรมิ าณ
2.2.1.1 ครโู รงเรียนประสาธนร์ าษฎรบ์ ารุง จานวน 14 คน
2.2.1.2 นกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2560 จานวน 25 คน

2.2.2 เชงิ คุณภาพ
2.2.2.1 เพื่อเปน็ เครือ่ งมอื ท่ชี ว่ ยใหก้ ารแลกเปลย่ี นเรียนรู้มีประสทิ ธภิ าพ
2.2.2.2 เพอ่ื ให้เกิดความร่วมมอื รวมพลงั ของทุกฝ่ายในการพัฒนาการเรยี นการสอน

สคู่ ณุ ภาพของผ้เู รียน
2.2.2.3 เพ่อื พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผู้เรียนและผลการทดสอบทาง

การศึกษา ระดบั ชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ใหส้ ูงขึ้น

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคัดเลือก Best Practice ของนางสุนีรตั น์ ชชู ่วย หน้า 5

3. กระบวนการผลิตงานหรือขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน วิธีการ/นวัตกรรม
3.1 การออกแบบผลงาน/นวัตกรรม
รวมกลุ่ม PLC

คน้ หาปญั หา/ความต้องการรวมกลุ่ม
PLC

ออกแบบกจิ กรรมการแก้ปญั หา

แลกเปลยี่ น/เสนอแนะ

นาไปสกู่ ารปฏิบัต/ิ สงั เกตสอน

สะทอ้ นผล

นวัตกรรม/Best Practices

3.2 การดาเนนิ งานตามกิจกรรม (ตามวงจร PDCA )
3.2.1 ขนั้ เตรยี มการ ( Plan )
3.2.1.1 ประชมุ ชี้แจง ให้ความรู้ คณะครู และร่วมอภิปรายถึงวัตถุประสงค์และคุณค่าของ

แนวคิดของการสร้างโรงเรียนให้เป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู (Professional learning community)
หรือ PLC ทเ่ี นน้ การเรียนรู้เพื่อพัฒนาวิชาชพี ครูโดยเนน้ การเรียนร้ขู องนักเรยี นเป็นหวั ใจสาคัญ

3.2.1.2 จัดทาโครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยใช้กระบวนการ PLC
(Professional learning community)

3.2.1.3 แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน วิเคราะห์ข้อมูลกาหนดแนวทางการดาเนินงาน
วางแผนดาเนนิ งาน

3.2.2 ข้นั ดาเนินการ ( Do )
3.2.2.1 จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้แก่ครูเก่ียวกับชุมชนการเรียนรู้ทาง

วชิ าชพี ครู (Professional learning community) หรอื PLC แกค่ รทู ุกคนทง้ั ภายในและนอกโรงเรยี น
3.2.2.2 จดั ตง้ั ศนู ยก์ ารเรยี นรคู้ รู จานวน 3 กลมุ่ ๆ ละ 4-5 คน ซ่งึ อยู่บนพ้ืนฐานวัฒนธรรม

ความสมั พันธ์แบบกัลยาณมิตรในการทางานจริงร่วมกันอย่างมีวิสัยทัศน์ คุณค่า เป้าหมาย และภารกิจร่วมกัน
แบบทมี เรยี นรู้ คน้ หาปญั หา ความต้องการของกลุ่มและออกแบบกจิ กรรมการแกป้ ัญหา

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคัดเลอื ก Best Practice ของนางสุนีรตั น์ ชูช่วย หนา้ 6

3.2.2.3 ดาเนินการประชุมคณะกรรมการนิเทศ ได้แก่ ฝ่ายบริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการ
เรียนรู้ เพอ่ื จัดทาปฏทิ ินกาหนดการเยีย่ มช้ันเรยี น และวางแผนการดาเนินงานการเยย่ี มชัน้ เรยี น

3.2.2.4 ในแต่ละกลุ่มดาเนินการจับคู่เพื่อเข้านิเทศการจัดการเรียนการสอนของเพื่อนครู
และแจ้งการเข้านิเทศการจัดการเรียนการสอนของครูแต่ละคู่ให้ฝ่ายบริหารต่อไปโดยครูที่จับคู่นิเทศกันนั้น
จะตอ้ งผลัดกนั เปน็ ท้งั ผ้นู ิเทศและผรู้ ับการนเิ ทศ และรายงานตอ่ ฝา่ ยบรหิ าร

3.2.3 ขนั้ ตรวจสอบและประเมินผล ( Check )
3.2.3.1 การนิเทศครูผ่านกระบวนการนิเทศประเมินผลจากการพัฒนาโดยใช้กระบวนการ

PLC โดยคณะกรรมการนิเทศติดตามและประเมินผล มกี ารแลกเปลย่ี น ขอ้ เสนอแนะนาไปสู่การสอนปฏิบัติและ
ทาการสงั เกตการสอน

3.2.3.2 ฝา่ ยบริหารแจ้งผลในภาพรวมของโรงเรยี นใหค้ รูไดท้ ราบเพ่ือการพัฒนา
3.2.3.3 ประชุมเพื่อสรุปผลการดาเนินงาน ข้อดี ข้อด้อยในการดาเนินงาน และ หา
แนวทางการพัฒนาหรอื แนวทางปฏบิ ัติเพ่ือการพัฒนาต่อไป
3.2.3.4 สรุปผลการดาเนินงานและจดั ทารายงานผลการดาเนนิ งาน
3.2.4 ขน้ั ปรบั ปรงุ และพัฒนา ( Action )
โดยนาผลการประเมินมาวิเคราะห์ และพัฒนาการดาเนินงานครั้งต่อไปสรุปผลการประเมิน
และขอ้ เสนอแนะสรุปผลการดาเนนิ งานคือ ครูได้รบั การพฒั นาวิชาชีพครู 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการปฏิบัติตนด้าน
ความรู้และทักษะและด้านการปฏิบัติงานและนักเรียนได้รับการส่งเสริมพัฒนาทุกด้านโดยใช้ความสามารถ
อย่างเต็มศกั ยภาพ
3.3 ประสทิ ธภิ าพของการดาเนนิ งาน
ในการบริหารการจัดการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการ PLC สามารถปฏบิ ัติเป็นขนั้ ตอน จนครู
สามารถสรา้ งนวัตกรรมในการเรียนรขู้ องตวั เองในรายวชิ าทสี่ อน ซ่งึ สง่ ผลใหผ้ ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสงู ข้นึ และ
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พ้นื ฐาน (O-NET) ของระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 สูงขึน้ ด้วย
3.4 การใชท้ รพั ยากร
ในการดาเนินการได้ใชท้ รพั ยากรบุคคล เชน่ นกั เรียน ครูในโรงเรียนและนอกโรงเรยี น
ตลอดจนครผู ูเ้ ช่ียวชาญ ศึกษานเิ ทศก์ในการให้คาปรกึ ษา แนะนา ในการดาเนินการกิจกรรมในคร้งั นี้ได้อยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ

4. ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั
4.1 ผลการดาเนนิ การ
4.1.1 เป็นการเสริมสร้างสมั พันธภาพทด่ี ีระหวา่ งครูมีโอกาสเป็นผใู้ หค้ วามชว่ ยเหลอื เพื่อน

ดว้ ยกันลดความโดดเดย่ี วระหวา่ งการปฏบิ ัติงานสอนของครู
4.1.2 เป็นเคร่ืองมอื ที่ชว่ ยใหก้ ารแลกเปล่ียนเรียนรมู้ ีประสิทธภิ าพ

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคดั เลอื ก Best Practice ของนางสุนีรัตน์ ชูชว่ ย หนา้ 7

4.1.3 เป็นการเสริมสรา้ งความร่วมมอื รวมพลงั ของทุกฝ่ายในการพัฒนาการเรียนการสอนสู่
คุณภาพของผูเ้ รยี น

4.1.4 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของผเู้ รยี นสงู ขนึ้ จากร้อยละ 56.67 เปน็ รอ้ ยละ 62.45 และผล
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ให้สูงขึน้

4.2 ผลสัมฤทธิ์
4.2.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 วิชา

วิทยาศาสตร์ ภาษาไทยสงู ขึน้ อยา่ งต่อเนอื่ ง
4.2.2 การจัดเรยี งผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ชนั้

มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 มีลาดบั ท่ดี ีขนึ้ จากลาดบั ท่ี 92 ในปีการศึกษา 2559 เป็นลาดับท่ี 45 ในปีการศกึ ษา 2560
4.3 ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั
4.3.1 เป็นกระบวนการสร้างการเปลยี่ นแปลงกระบวนการเรียนรู้
4.3.2 เปน็ การเสริมสรา้ งสัมพันธภาพทดี่ ีระหวา่ งครูมีโอกาสเป็นผใู้ หค้ วามช่วยเหลอื เพ่ือน

ด้วยกนั ลดความโดดเดี่ยวระหวา่ งการปฏบิ ัติงานสอนของครู
4.3.3 เป็นเครอ่ื งมอื ท่ีช่วยใหก้ ารแลกเปลย่ี นเรียนร้มู ีประสิทธิภาพ
4.3.4 เป็นการเสรมิ สร้างความรว่ มมือรวมพลงั ของทุกฝ่ายในการพัฒนาการเรยี นการสอนสู่

คณุ ภาพของผ้เู รียน
4.3.5 ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของผู้เรยี นและผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้

พน้ื ฐาน (O-NET) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ให้สูงขนึ้
5.ปจั จัยความสาเร็จ

5.1 ครูเป็นผู้มคี วามรู้ความสามารถ มคี วามต้งั ใจ มีการเสียสละ และเป็นบคุ คลแห่งการเรียนรู้
5.2 โรงเรยี นให้การสนบั สนุน ในดา้ นการพฒั นาความสามารถของผู้เรยี นใหเ้ ตม็ ศักยภาพ
5.3.ผูบ้ ริหารเปน็ ผู้มวี สิ ยั ทศั น์ใหก้ ารสนับสนนุ ในการทางาน
5.4 นักเรียนมพี น้ื ฐานมคี วามร้คู วามสามารถ และมคี วามมุ่งมนั่ ตง้ั ใจในการเรียน

6.บทเรยี นท่ไี ด้รับปรับคณุ ภาพมุ่งพัฒนาตอ่ ไป
6.1 บทเรียนที่ได้รบั
6.1.1 ครูผู้สอนลดความร้สู ึกโดดเดีย่ วงานสอนของครเู พิม่ ความรูส้ ึกผกู พันต่อพันธกจิ และ

เป้าหมายของโรงเรียนมากขึน้
6.1.2 การทางานร่วมกนั แบบทีมเรียนรทู้ คี่ รูเปน็ ผู้นาร่วมกัน และผบู้ รหิ ารช่วยดูแลสนบั สนุน

การเรยี นรู้จะนาไปสู่คณุ ภาพการจัดการเรียนรทู้ ่ีเนน้ ความสาเรจ็ หรือประสิทธผิ ลของผเู้ รยี นเปน็ สาคญั
6.1.3 โรงเรียนมีการปรับปรุงแก้ไขปัญหานามาสู่การสนับสนุนการปฏิบัติ งานวิชาชีพของ

ครผู สู้ อน และผบู้ ริหารให้มคี ุณภาพและประสิทธผิ ลสงู ยิง่ ข้ึน มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมของการทางานท่ี
ดีตอ่ กนั ของทุกฝ่าย

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคดั เลอื ก Best Practice ของนางสุนรี ตั น์ ชูช่วย หนา้ 8

6.2 ปรับคุณภาพมงุ่ พัฒนาต่อไป
6.2.1 นากระบวนการ PLC ไปประยุกต์ใช้กับการกจิ กรรมอ่นื ๆ ในโรงเรยี นภายใตก้ ารทางาน

รว่ มกันเป็นทีม
6.2.2 ขยายเครือขา่ ยโดยเพิ่มการแนะนา แนะแนว การเรยี นรู้เกีย่ วกบั การจดั การบริหารโดย

ใชก้ ระบวนการ PLC ในแต่ละฝา่ ยเพื่อประโยชน์ของผู้เรียนและโรงเรยี นเป็นสาคญั
6.3 ข้อควรพึงระวัง
6.3.1 กระบวนการ PLC มุง่ เนน้ ใหม้ กี ารปรบั ตัว อย่างรวดเรว็ การรวมตัว รว่ มใจ ร่วมพลัง

ร่วมทาและเรยี นรู้รว่ มกนั จะต้องอยบู่ นพ้ืนฐานความสมั พันธ์แบบกลั ยาณมติ ร
7.การเผยแพร/่ การไดร้ ับการยอมรบั /รางวลั ทีไ่ ด้รบั

7.1 การเผยแพร่
7.1.1 การเป็นวทิ ยากรกระบวนการ PLC ของสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต

12
7.1.2 การนาเสนอผลงานการปฏบิ ัตทิ ีด่ ี (Best Practice) ในการแสดงผลงานทางวชิ าการ

“Lab School Festival: Towards World-Class Education”
7.2 การไดร้ ับการยอมรับ/รางวัลทีไ่ ดร้ ับ
7.2.1 การเป็นวิทยากรกระบวนการ PLC ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต

12
7.2.2 การนาเสนอผลงานการปฏบิ ัตทิ ่ดี ี (Best Practice) ในการแสดงผลงานทางวิชาการ

“Lab School Festival: Towards World-Class Education”
7.2.3 รางวลั Smart Teacher ของสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 12
7.2.4 รางวัลชนะเลิศครผู ู้สอนดเี ด่น วชิ าฟสิ กิ ส์ งานมหกรรมวิชาการมธั ยมศึกษา คร้งั ท่ี 26
7.2.5 นักเรียนเขา้ ศึกษาต่อในระดบั อุดมศึกษาได้มากข้นึ
7.2.6 รางวลั เหรียญทอง กิจกรรมการประกวดการขับร้องเพลงไทยลูกทงุ่ งานศลิ ปหตั ถกรรม

นกั เรยี น ระดบั ภาคใต้ ครงั้ ที่ 67 ปกี ารศึกษา 2560 จังหวดั สุราษฎรธ์ านี
7.2.7 รางวลั เหรียญเงิน การแข่งขนั อา่ นเอาเรอื่ งตามแนว PISA งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน

ระดับภาคใต้ ครั้งท่ี 67 ปีการศึกษา 2560 จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี
7.2.8 ไดร้ ับการยอมรับจากครแู ละผู้บรหิ ารในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต

12 และจากสถานศึกษาอ่ืนๆ

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคดั เลอื ก Best Practice ของนางสุนีรัตน์ ชูชว่ ย หน้า 9

ลงชื่อ ผเู้ สนอ
(นางสนุ รี ัตน์ ชูชว่ ย)

ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครชู านาญการพิเศษ
โรงเรียนประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ

ลงชือ่ ผรู้ บั รอง
(นางอนุ แสงแกว้ )

ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะครชู านาญการพิเศษ
รกั ษาราชการ ตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรยี นประสาธน์ราษฎรบ์ ารุง

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคัดเลือก Best Practice ของนางสุนรี ัตน์ ชูชว่ ย หนา้ 10

ภาคผนวก

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคัดเลอื ก Best Practice ของนางสุนรี ตั น์ ชูชว่ ย หน้า 11

การเปน็ วิทยากรกระบวนการ PLC ของ สพม. 12

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคดั เลือก Best Practice ของนางสุนีรัตน์ ชูชว่ ย หนา้ 12

การได้รับรางวัล

รางวลั Smart Teacher จากสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12

นาเสนอผลงานการปฏิบตั ิท่ีดี (Best Practice) ในการแสดงผลงานทางวิชาการ
“Lab School Festival: Towards World-Class Education”

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคดั เลอื ก Best Practice ของนางสุนีรตั น์ ชชู ว่ ย หนา้ 13

ผลงานทีเ่ กดิ ผู้เรยี น

รางวลั เหรยี ญทอง กิจกรรมการประกวดการขับร้องเพลงไทยลูกทุง่
งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดบั ภาคใต้ ครงั้ ที่ 67 ปีการศกึ ษา 2560 จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี

รางวลั เหรยี ญเงนิ กจิ กรรมการแข่งขันอ่านเอาเรอื่ งตามแนว PISA
งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี น ระดับภาคใต้ คร้งั ท่ี 67 ปกี ารศึกษา 2560 จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคดั เลอื ก Best Practice ของนางสุนรี ตั น์ ชชู ว่ ย หน้า 14

การเป็นวิทยากรกระบวนการ PLC

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคดั เลอื ก Best Practice ของนางสุนรี ตั น์ ชชู ว่ ย หนา้ 15

งานการบริหารวชิ าการ

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคัดเลอื ก Best Practice ของนางสุนีรตั น์ ชูช่วย หน้า 16

แผนการขบั เคล่ือนกระบวนการ PLC

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคัดเลอื ก Best Practice ของนางสุนรี ตั น์ ชชู ว่ ย หนา้ 17

แผนการขบั เคล่ือนกระบวนการ PLC

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคัดเลอื ก Best Practice ของนางสุนรี ตั น์ ชชู ว่ ย หนา้ 18

นเิ ทศตดิ ตามการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคดั เลือก Best Practice ของนางสุนีรัตน์ ชชู ว่ ย หนา้ 19

นิเทศติดตามการยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคัดเลอื ก Best Practice ของนางสุนรี ตั น์ ชชู ่วย หนา้ 20

เอกสารประกอบการพจิ ารณาคดั เลอื ก Best Practice ของนางสุนีรตั น์ ชชู ่วย หนา้ 21


Click to View FlipBook Version