The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุนีรัตน์ ชูช่วย, 2019-12-18 07:24:01

11

11

ชุดการสอนท1่ี 1
เรื่อง ธรรมชาติและสมบตั ิของเสยี ง

1

ชุดการสอนท2่ี 1
เรอ่ื ง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสยี ง

คานา

ชดุ การสอนกลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ วชิ าฟสิ กิ สเ์ พม่ิ เตมิ 3 เร่ืองเสียงและ การ
ได้ยิน ชุดนี้เปน็ “ชดุ การสอนท่ี 1 เร่ืองธรรมชาติและสมบัติของเสียง” จัดทาข้ึนเพ่ือใช้ประกอบการ
เรียนรู้ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ของโรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง เพ่ือให้เป็นไปตาม
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พุทธศักราช 2542 ท่ีมุ่งเน้นให้การจัดการจัดการเรียนรู้ โดยผู้เรียนทุกคนสามารถพัฒนาตนเอง สร้าง
ความหมายของส่งิ ที่ตนเองเรยี นร้ไู ด้ ผเู้ รียนสามารถเรียนร้ไู ด้ทกุ สถานท่ีทุกเวลา เน้นการพัฒนาผู้เรียน
ตามศักยภาพของแตล่ ะคน ซง่ึ ผู้จดั ทาไดร้ วบรวมและเรียบเรียงจากหนังสือ คู่มือ ตารา รวมท้ังสืบค้น
ความรู้จากอินเตอร์เน็ตต่าง ๆ รวมทั้งมีการนาคาศัพท์ภาษาอังกฤษ เพื่อเป็นการฝึกให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้คาศัพท์และเป็นการเตรียมความพร้อมของผู้เรียนเข้าสู่อาเซียน โดยแต่ละชุดการสอนนั้น
ผ้จู ัดทาไดจ้ ดั ทาคาแนะนาการใช้ชดุ การสอนไวอ้ ย่างละเอียด รวมทัง้ หมด 9 ชดุ ไดแ้ ก่

ชุดการสอนท่ี 1 ธรรมชาติและสมบตั ขิ องเสยี ง
ชดุ การสอนที่ 2 อัตราเรว็ ของเสียงและการเคลอ่ื นที่ของเสยี งผ่านตวั กลาง
ชุดการสอนท่ี 3 ความเขม้ เสียงและระดบั เสยี ง
ชุดการสอนท่ี 4 มลภาวะของเสยี งและหูกับการได้ยิน
ชดุ การสอนที่ 5 ระดับสงู ตา่ ของเสียงและคุณภาพเสียง
ชุดการสอนที่ 6 ความถธ่ี รรมชาติและการสัน่ พ้องของเสียง
ชุดการสอนท่ี 7 การบตี และคล่นื น่ิงของเสียง
ชดุ การสอนที่ 8 ปรากฎการณ์ดอปเพลอรแ์ ละคล่ืนกระแทก
ชุดการสอนที่ 9 การประยกุ ตค์ วามรูเ้ รอื่ งเสียงและการได้ยนิ

ชุดการสอนเล่มน้ีสาเร็จลุล่วงไปด้วยดีก็เพราะได้รับการส่งเสริมสนับสนุน และข้อเสนอแนะ
เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จากผู้บริหาร ผู้เชี่ยวชาญเพ่ือตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาวิชาและ
ภาษาท่ีใช้ ขอขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่งไว้ ณ โอกาสนี้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดการสอนน้ีจะ
เปน็ ประโยชน์ตอ่ นักเรยี นและครผู ู้สอน และได้แนวคิดในการนาไปพฒั นาการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ
พัฒนาผเู้ รยี นให้บรรลุตามเป้าหมาย และวัตถปุ ระสงคข์ องหลักสูตรเปน็ อย่างดี

สนุ ีรัตน์ ชูชว่ ย

2

ชุดการสอนท3่ี 1
เรอื่ ง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสยี ง

สารบญั

เรอ่ื ง หนา้
คานา ก
สารบัญ ข
สารบญั รปู ภาพ ค
คาชแ้ี จงเก่ียวกับชุดการสอน 1
คาช้แี จงสาหรบั ครู 2
คาชีแ้ จงสาหรบั นกั เรียน 3
ผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ 5
แบบทดสอบก่อนเรียน 6
บัตรเนอ้ื หา เรอื่ งธรรมชาติและสมบตั ขิ องเสียง 9
บัตรกิจกรรม เร่ืองการแทรกสอดและการเล้ียวเบน 16
บัตรคาถาม 26
บตั รฝกึ ทกั ษะ 28
แบบทดสอบหลังเรียน 30
บรรณานุกรม 33
ภาคผนวก 34
แบบเฉลยแบบทดสอบก่อน - หลงั เรยี น 35
36
เฉลยบตั รกิจกรรม 38
เฉลยบัตรคาถาม 41
เฉลยบตั รฝึกทักษะ 43
แบบบนั ทกึ แบบทดสอบก่อน - หลงั เรยี น 44
แบบบนั ทกึ ผลการประเมนิ ดา้ นความรู้

3

ชดุ การสอนท4่ี 1
เร่อื ง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสียง

สารบญั รูปภาพ หน้า
10
ภาพท่ี 10
1 การสะท้อนของเสียง 11
2 การเขยี นรังสีการสะท้อนของเสยี ง 12
3 การหาความลึกของนา้ ทะเลด้วยเคร่ืองโซนาร์ 14
4 การอัลตราซาวนโ์ ดยใชห้ ลกั การสะท้อนของเสียง 14
5 การหักเหของเสยี ง 15
6 การหกั เหของเสยี งในเวลากลางวนั 17
7 การหักเหของเสียงในเวลากลางคนื 20
8 การติดตัง้ อปุ กรณพ์ ร้อมลาโพง 2 ตวั 22
9 การติดตง้ั อุปกรณ์และตาแหน่งการฟังเสียงด้านหลังสงิ่ กีดขวาง 24
10 การแทรกสอดของคลื่นเสียงจากแหล่งกาเนิดอาพนั ธ์ 2 แหลง่
11 การเลย้ี วเบนของเสียง

4

ชุดการสอนท5่ี 1
เรื่อง ธรรมชาติและสมบตั ิของเสยี ง

5

ชุดการสอนท6่ี 1
เรื่อง ธรรมชาตแิ ละสมบตั ิของเสียง

คาชแ้ี จงเก่ยี วกับชุดการสอน

1. ชุดการสอนน้ีเป็นชุดการสอนที่ 1 เร่ืองธรรมชาติและสมบัติของเสียง วิชาฟิสิกส์
เพ่มิ เตมิ 3 รหัสวิชา ว 30203 ใชส้ อนนักเรยี นระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5

2. ชุดการสอนชดุ น้ปี ระกอบด้วย
2.1 คาชี้แจงเกี่ยวกบั ชุดการสอน
2.2 คาชี้แจงสาหรับครู
2.3 คาชี้แจงสาหรบั นกั เรยี น
2.4 แบบทดสอบกอ่ นเรียน
2.5 บัตรเน้อื หา
2.6 บตั รกิจกรรม
6

ชดุ การสอนท7ี่ 1
เร่อื ง ธรรมชาติและสมบตั ิของเสยี ง

2.7 บัตรคาถาม
2.8 บตั รฝึกทกั ษะ
2.9 แบบทดสอบหลงั เรียน
2.10 เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน
2.11 เฉลยบัตรกิจกรรม
2.12 เฉลยบตั รคาถาม
2.13 เฉลยบตั รฝกึ ทักษะ
3. ชดุ การสอนท่ี 1 เรือ่ งธรรมชาติและสมบัตขิ องเสยี ง ใช้เวลาในการศึกษา 4 ช่ัวโมง

คาชีแ้ จงสาหรับครู

1. ครเู ตรยี มวสั ดุอปุ กรณ์จัดชั้นเรียนให้พร้อม
2. ครูศึกษาเนื้อหาทีจ่ ะสอนใหล้ ะเอยี ดและศึกษาชุดการสอนให้รอบคอบ
3. ก่อนสอนครตู อ้ งเตรียมชุดการสอนไวบ้ นโต๊ะให้เรยี บรอ้ ยและเพยี งพอกบั จานวนนักเรียน
ในแตล่ ะกลุ่ม โดยให้นกั เรยี นไดร้ บั คนละ 1 ชดุ ยกเว้นสื่อการสอนที่ต้องใชร้ ว่ มกันท้ังกลุม่
4. ครูเป็นผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้และวัดผลประเมินผลให้เป็นไปตามลาดับข้ันตอน
ท่ีกาหนดไว้
5. การสอนแบง่ ออกเปน็ 5 ข้นั คือ ขั้นสรา้ งความสนใจ ขน้ั สารวจและค้นหา ข้ันอธบิ าย
และลงข้อสรุป ขัน้ ขยายความรู้ และขัน้ ประเมนิ ผล
6. ก่อนสอนครูต้องช้ีแจงให้นักเรียนศึกษาการเรียนด้วยชุดการสอนตั้งแต่ คาชี้แจงสาหรับ
ครู คาชี้แจงสาหรับนักเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน บัตรเน้ือหา บัตรกิจกรรม บัตรคาถาม บัตรฝึก

7

ชุดการสอนท8ี่ 1
เรอื่ ง ธรรมชาติและสมบตั ิของเสยี ง

ทักษะ แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน เฉลยบัตรกิจกรรม เฉลยบัตร
คาถาม เฉลยบตั รฝกึ ทักษะ

7. ขณะทน่ี ักเรียนทุกกลุ่มปฏิบตั กิ ิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพดู ต้องพูด
เป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคลต้องไมร่ บกวนกจิ กรรมของนักเรยี นกลุ่มอน่ื

8. ขณะที่นักเรียนปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ครูตอ้ งเดนิ ดกู ารปฏิบัติกิจกรรมของนกั เรียนแต่ละกลุ่ม
อย่างใกลช้ ดิ หากมีนกั เรียนคนใดหรอื กลุ่มใดมีปัญหา ครูควรจะเขา้ ไปให้ความช่วยเหลือจนปัญหาน้ัน
คล่ีคลาย

9. เมื่อปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเสร็จ ครตู ้องเนน้ ให้นักเรียนเก็บชุดการสอนของตนไวใ้ นสภาพ
เรียบร้อยหา้ มถือติดมอื ไปด้วย

10. การสรุปบทเรยี นควรจะเป็นกิจกรรมร่วมของกลุ่มหรือตวั แทนกลมุ่ ร่วมกัน

คาชีแ้ จงสาหรับนกั เรยี น

บทเรียนท่ีนักเรียนใช้อยู่น้ีเรียกว่า ชุดการสอน เป็นบทเรียนที่สร้างข้ึนเพ่ือให้นักเรียน
สามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง โดยมีจุดประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจ และสามารถแก้ปัญหาจาก
สถานการณ์ทกี่ าหนดใหอ้ ย่างมขี ้นั ตอน โดยนักเรียนจะไดร้ บั ประโยชนจ์ ากชุดการสอนตามผล
การเรยี นรู้ท่ีตั้งไวด้ ้วยการปฏบิ ัตติ ามคาแนะนาต่อไปนี้อย่างเคร่งครัด

1. นักเรียนอา่ นคาช้ีแจงสาหรบั นกั เรยี นให้เข้าใจก่อนลงมือศึกษาชุดการสอน
2. นักเรียนอ่านผลการเรยี นรู้และจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้กอ่ นลงมือศึกษาชุดการสอน
3. นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี นจานวน 10 ขอ้ ลงในแบบบนั ทกึ แบบทดสอบ
ก่อน-หลังเรยี นทีค่ รแู จกให้และนาส่งครเู ม่ือทาเสรจ็
4. นกั เรยี นศึกษาบัตรเนือ้ หา เร่อื งธรรมชาติและสมบตั ิของเสียงด้วยความตัง้ ใจ
5.นกั เรยี นทากิจกรรมจากบตั รกจิ กรรม เรือ่ งการแทรกสอดและการเล้ยี วเบน โดย
การแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ ับสมาชกิ ในกลุม่ ( กลุ่มละ 4-5 คน )

8

ชุดการสอนท9ี่ 1
เร่ือง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสียง

6. ตรวจเฉลยบตั รกิจกรรม โดย
6.1 รบั บัตรเฉลยกิจกรรมจากครู ตรวจสอบความถูกต้องให้คะแนนตามเกณฑ์
6.2 ส่งบัตรกิจกรรม หลงั จากทากิจกรรมเสร็จและตรวจสอบความถูกต้องใหเ้ รียบร้อย

แล้วนาสง่ ครู
7. นักเรียนศึกษาบตั รเนื้อหา เรือ่ งการแทรกสอดและการเล้ียวเบน ด้วยความต้ังใจและทา

บตั รคาถาม บตั รฝกึ ทกั ษะ ลงในบัตรคาถามและบัตรฝกึ ทกั ษะท่ีครแู จกให้
8. ตรวจเฉลยบตั รคาถาม บัตรฝกึ ทักษะ โดย
8.1 รับเฉลยบัตรคาถามและเฉลยบัตรฝึกทักษะจากครู ตรวจสอบความถูกต้อง

ให้คะแนนตามเกณฑ์
8.2 ส่งบัตรคาถามและบัตรฝึกทักษะ หลังจากทาเสร็จและตรวจสอบความถูกต้อง

ใหเ้ รยี บร้อยแล้วสง่ ใหค้ รู

9. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนลงในแบบบันทึกแบบทดสอบก่อน - หลังเรียนท่ีครู
แจกให้

10. ตรวจสอบแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลงั เรยี น โดย
10.1รับเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน ตรวจสอบ

ความถกู ตอ้ งใหค้ ะแนนขอ้ ละ 1 คะแนน
10.2 ส่งแบบบนั ทึกแบบทดสอบหลงั เรียน หลงั จากทาแบบทดสอบหลังเรยี นเสรจ็ และ

ตรวจใหค้ ะแนนเรยี บร้อยแลว้ ทีค่ รู
11. นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มแจ้งคะแนนของแบบทดสอบก่อนเรียน บัตรกิจกรรม

บัตรคาถาม บัตรฝึกทักษะและแบบทดสอบหลังเรียนของตนเองให้เลขานุการกลุ่มบันทึกลงในแบบ
บนั ทึกผลการเรยี นด้านความรู้ เพ่ือสรุปส่งต่อไป

12. นกั เรียนทดี่ ตี ้องซื่อสัตย์ต่อตนเองไม่ควรเปิดดเู ฉลยกอ่ นที่จะใชค้ วามสามารถด้วยตนเอง
13. ถ้านักเรียนสงสัยหรือไม่เข้าใจในเน้ือหาให้ทบทวนใหม่ ถ้ายังไม่เข้าใจอีกให้สอบถาม
จากครู

9

ชดุ การสอนท10ี่ 1
เร่ือง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสยี ง

ผลการเรียนรแู้ ละจดุ ประสงค์การเรียนรู้

ผลการเรียนรู้
อธิบาย ยกตัวอย่าง ทากิจกรรม เก่ียวกับการเกิดเสียง ธรรมชาติของเสียง สมบัติของเสียง

อัตราเร็วเสียง การเคล่ือนที่ของเสียงผ่านตัวกลางและคานวณหาปริมาณต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องได้
อยา่ งถูกตอ้ ง
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เพ่ือให้นักเรียนสามารถ

1. อธบิ ายเพ่อื แสดงว่าเสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ และจะถ่ายโอนพลงั งานการสน่ั ของ
แหล่งกาเนดิ ผ่านตัวกลางไป สมบัติการสะทอ้ น การหกั เห สมบัตกิ ารแทรกสอดและการเลีย้ วเบนได้

2. ยกตวั อยา่ ง ทากิจกรรมและสรุปเพื่อแสดงว่าเสียงมีสมบัติการสะท้อน การหักเห
การแทรกสอด และการเล้ยี วเบนและคานวณหาปริมาณต่าง ๆ ที่เกยี่ วข้องได้

10

ชดุ การสอนท11่ี 1
เร่อื ง ธรรมชาตแิ ละสมบตั ิของเสียง

3. แสดงความเป็นคนรัก ภูมิใจในชาติ ตั้งใจ อดทนในการทางานในการเรียนเร่ืองธรรมชาติ
ของเสียงและสมบตั ิของเสียงไดอ้ ย่างเหมาะสม

4. สื่อสารและนาความรู้เรื่องธรรมชาตแิ ละสมบัตกิ ารสะท้อน การหักเห การแทรกสอดและ
การเลยี้ วเบนไปใช้ในชีวิตประจาวนั ได้

เร่ือง ธรรมชาติและสมบตั ขิ องเสียง เวลา 10 นาที

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบชดุ นเ้ี ป็นแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลอื ก จานวน 10 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน

2. ให้นกั เรยี นเลอื กคาตอบทถ่ี กู ต้องแลว้ ทาเครอ่ื งหมายกากบาท (X) ทับหน้าขอ้ ก, ข, ค
และ ง ลงในแบบบนั ทึกแบบทดสอบก่อน – หลังเรียน

1. จงพิจารณาข้อความต่อไปน้ี 11
1. เสียงเป็นคล่นื ตามขวางเดนิ ทางโดยอาศยั ตัวกลาง
2. ทกุ ครง้ั ที่เกิดเสยี งจากวตั ถุ วัตถุจะเกดิ การสัน่ สะเทือน
3. เมื่อคลื่นเสียงเดินทางผา่ นอากาศ จะทาใหค้ วามดันอากาศ ณ บรเิ วณนัน้ เกิดคลน่ื อัด

ความดนั อากาศจะสูงกวา่ ปกติ
คาตอบท่ีถูกต้องคือ

ก. ข้อ 1 และ 2
ข. ข้อ 1 และ 3
ค. ขอ้ 2 และ 3
ง. ข้อ 1 , 2 และ 3

ชดุ การสอนท12ี่ 1
เรอ่ื ง ธรรมชาติและสมบัติของเสยี ง

4. ขอ้ ใดถูกต้องเก่ียวกบั คล่ืนเสยี ง
ก. เป็นคลืน่ ตามยาว เดินทางโดยอาศัยตวั กลาง
ข. เป็นคลน่ื ตามขวาง เดนิ ทางโดยอาศยั ตวั กลาง
ค. เปน็ คลน่ื ตามยาว เดินทางโดยไม่อาศัยตัวกลาง
ง. เปน็ คล่นื ตามขวาง เดินทางโดยไม่อาศัยตวั กลาง

5. เม่อื เสียงเปลย่ี นตัวกลางปริมาณใดมีคา่ คงตวั
ก. ความถี่
ข. ความเรว็
ค. แอมพลิจูด
ง. ความยาวคลืน่

6. การท่ีเรามองเหน็ ฟ้าแลบแต่ไม่ไดย้ ินเสียงฟ้ารอ้ งเกดิ จากสมบัติใดของคล่นื เสียง
ก. การสะท้อน
ข. การหักเห

12

ชุดการสอนท13ี่ 1
เรอื่ ง ธรรมชาติและสมบตั ิของเสยี ง

ค. การเล้ียวเบน
ง. การแทรกสอด

7. เม่อื คลน่ื เสยี งเคลื่อนทีผ่ า่ นช่องเปิด เสยี งจะเล้ยี วเบนได้ดเี ม่อื ใด
ก. ความกว้างของช่องเปิดเล็กกวา่ ความยาวคลน่ื เสียง
ข. ความกวา้ งของช่องเปดิ เทา่ กบั ความยาวคลนื่ เสียง
ค. ความกวา้ งของชอ่ งเปิดมากกว่าความยาวคล่นื เสยี ง
ง. ขอ้ ก และ ค ถกู

8. ในตัวกลางต่อไปน้ี ตวั กลางใดท่เี สยี งเคลือ่ นท่ผี า่ นโดยมีอตั ราเร็วมากทีส่ ดุ
ก. น้า
ข. เหล็ก
ค. อากาศ
ง. สุญญากาศ

9. ถ้าเครือ่ งโซนาร์สง่ คลื่นเสียงที่มีความถ่ี 5 เฮริ ตซ์ออกไป จงหาขนาดของวตั ถุใต้ทะเลทีไ่ ม่สามารถ
สะทอ้ นคลน่ื เสยี งน้ไี ด้ ถ้าอตั ราเรว็ เสยี งในนา้ ทะเลเป็น 1,530 เมตรต่อวินาที

ก. 0.306 เมตร
ข. 0.360 เมตร
ค. 3.060 เมตร
ง. 6.030 เมตร

10. ขอ้ ใดผดิ
ก. วัตถสุ น่ั สะเทือนเปน็ แหล่งกาเนิดเสยี ง
ข. เสยี งเดินทางผ่านตัวกลางต่างชนดิ ได้ดีไมเ่ ท่ากนั
ค. เม่ือเสียงเดินทางผ่านตวั กลางจะทาให้ตัวกลางเกิดการสั่นสะเทือน
ง. อัตราเรว็ ของเสียงในอากาศลดลงเมื่ออุณหภมู ิของอากาศเพ่มิ ขนึ้

13

ชุดการสอนท14่ี 1
เรื่อง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสียง

เรือ่ ง ธรรมชาติและสมบัตขิ องเสยี ง

ธรรมชาตขิ องเสยี ง

ในชีวิตประจาวนั การพูดคุยสามารถสื่อความหมายโดยการใช้เสียง ถ้าคู่สนทนาอยู่ห่างจากตัว
เราออกไปมาก ๆ ก็ต้องใช้เสียงดัง หรืออาจต้องใช้เสียงตะโกน เรามักจะได้ยินเสียงระฆังจากวัด
เพื่อบอกเวลาในตอนเช้า เมื่อเราดีดสายกีตาร์จะเกิดเสียง นักเรียนเคยตั้งข้อสังเกตหรือไม่ว่าเสียงคน
เสียงระฆัง หรือเสียงจากสายกีตาร์เกิดข้ึนได้อย่างไรและเราสามารถรับฟังเสียงเหล่านี้ได้อย่างไร
ซึ่งนกั เรียนสามารถหาคาตอบไดโ้ ดยการศกึ ษาต่อไปน้ี

ขณะที่เราพูด ถ้าใชม้ อื จบั ท่คี อหอยจะรสู้ กึ วา่ คอหอยสนั่ การดีดสายกีตาร์และการตีระฆังจะ
ทาใหส้ ายกีตาร์ส่นั และระฆงั สน่ั การทีค่ อหอยสั่นระฆังสน่ั และสายกีตาร์ส่ันทาให้เกิดเสียงหรือกล่าวได้ว่า

14

ชุดการสอนท15ี่ 1
เร่ือง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสยี ง

“เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ เสียงจากแหล่งกาเนิดเสียง ต้องอาศัยตัวกลางในการถ่ายโอน
พลงั งานการสั่นของแหลง่ กาเนดิ เสียงน้ันไปยงั ที่ต่าง ๆ

นกั เรยี นเคยทราบมาแลว้ วา่ รอบ ๆ ตวั เราประกอบดว้ ยโมเลกุลของอากาศจานวนมากมายนับ
ไม่ถ้วนเหมือนวัตถุส่ันจะมีผลทาให้โมเลกุลของอากาศท่ีอยู่รอบ ๆ ตัวเราสั่นและจะทาให้โมเลกุลของ
อากาศบริเวณใกล้เคียงส่ันต่อ ๆ กันไปด้วย เพราะโมเลกุลของอากาศรับการถ่ายโอนพลังงานจากการ
สัน่ สะเทือนของวตั ถุนั่นเอง เม่อื โมเลกลุ อากาศสน่ั มาถึงหเู รา เราจะได้ยนิ เสียงจากแหล่งกาเนิดนน้ั ได้

จากท่ีกลา่ วมาข้างต้นเสยี งสามารถเดนิ ทางผ่านอากาศจากแหล่งกาเนิดมายงั ผู้ฟงั อากาศจึง
เป็นตัวกลางในการเคล่อื นที่ของเสยี ง ถา้ ไม่มตี ัวกลาง เสียงไม่สามารถเคล่ือนท่ีไปได้ ดังน้นั “เสยี งเปน็
คล่นื กล เพราะเสียงต้องอาศัยตัวกลางในการเคลอ่ื นท่ี นัน่ คอื เสียงเคลือ่ นทผี่ ่านสญุ ญากาศไม่ได้
และตวั กลางที่สง่ ผ่านเสียงได้ดที ่ีสุด ไดแ้ ก่ ของแข็ง ของเหลว และอากาศตามลาดับ”

จากข้อสงสัยท่ีวา่ พลงั งานมีการถา่ ยโอนผา่ นตวั กลางในรปู แบบใดซึ่งจากการศึกษาพบวา่ มี
การถ่ายโอนแบบอนุภาคและแบบคลน่ื

คุณสมบัตขิ องเสยี ง

เสยี งเป็นคลนื่ ชนดิ หนง่ึ ทเี่ คล่ือนทโ่ี ดยอาศัยตัวกลาง ดังน้นั จึงมีคุณสมบัตเิ หมือนคลน่ื คือ
1. การสะท้อน
2. การหักเห
3. การแทรกสอด
4. การเลีย้ วเบน

การสะทอ้ นของเสียง (reflection )

เนอื่ งจากเสยี งเป็นพลงั งานชนดิ หน่งึ เมอ่ื คลนื่ เสยี งเคลือ่ นที่ไปกระทบสิง่ กดี ขวาง จะทาให้
เสยี งจะเกิดการสะท้อนและเป็นไปตามกฎการสะทอ้ นของเสยี ง ดงั ภาพที่ 1

15

ชุดการสอนท16ี่ 1
เรื่อง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสียง

ภาพที่ 1 การสะท้อนของเสียง
ท่ีมา: สุนรี ตั น์ ชูชว่ ย (2555)

ภาพท่ี 2 การเขียนรังสีการสะท้อนของเสียง
ท่ีมา: สุนีรัตน์ ชูชว่ ย (2555)
จากสะท้อนของเสียงจะเปน็ ไปตามกฎการสะท้อน ดงั นี้
1. มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน
2. รงั สีตกกระทบ รังสีสะท้อนและเสน้ แนวฉากจะต้องอยูใ่ นระนาบเดียวกนั
เสียงสะท้อนกลับหรือเสียงก้อง (echo) เป็นเสียงท่ีเกิดข้ึนจากการสะท้อนของคล่ืนเสียงที่
สะท้อนมาจากพื้นวัตถุมาเข้าหูผู้ฟัง เป็นเสียงหน่ึงต่างจากเสียงที่มาจากแหล่งกาเนิดเสียง เมื่อเสียงทั้ง
สองเข้าหูผู้ฟังในเวลาที่ต่างกันน้อยกว่า 0.1 วินาที หรือ 1/10 วินาที ในโรงละครหรือโรงภาพยนตร์
หรือห้องอดั เสียงท่ีมีขนาดใหญ่ มโี อกาสเกิดเสียงสะท้อนได้ถ้าเสียงสะท้อนอาจทาให้เกิดการรบกวนฟัง
ไม่ชัด ดังนั้นอาจลดเสียงสะท้อนโดยทาให้ผนังมีความยืดหยุ่นมากจึงจะลดการสะท้อนได้ดี เช่น
การบุผนงั ดว้ ยกระดาษชานอ้อยหรือการตดิ ผา้ มา่ นตามผนัง
หมายเหตุ

16

ชุดการสอนท17ี่ 1
เรื่อง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสียง

1. การสะท้อนของคล่ืนเสยี งจะเกิดขน้ึ เม่ือวตั ถหุ รือสง่ิ กีดขวางมขี นาดเท่ากบั หรือโตกว่า
ความยาวคลื่นที่ตกกระทบ

2. โดยปกตหิ ูของคนเราสามารถแยกเสยี ง 2 เสียงได้ เมือ่ เสยี งที่สะท้อนกลบั มาถงึ หูเราช้า
กวา่ เสียงจากแหล่งกาเนดิ เสยี ง 0.1 วินาที

3. เสยี งสะท้อนกลับจะมอี ตั ราเรว็ เท่ากับอัตราเร็วของเสียงเดิม
เราสามารถใช้ประโยชน์จากเสียงสะท้อน เช่น การหาความลึกของทะเลโดยปล่อยคลื่นโซนาร์
( sonar–sound navigation and ranging ) ลงไปในน้าเม่ือคล่ืนกระทบกับพื้นทะเลจะสะท้อน
กลับมายังเคร่ืองรับเม่ือทราบเวลาในการเคลื่อนท่ีของคลื่นและอัตราเร็วของเสียงในน้าทะเลก็สามารถ
หาคา่ ความลึกของทะเลได้

ภาพที่ 3 การหาความลึกของนา้ ทะเลดว้ ยเคร่ืองโซนาร์
ทม่ี า : สิรินทร์ ช่วงโชตแิ ละวิชยั ศังขจนั ทรานนท์ (ม.ป.ป.)
ด้วยหลักการเดียวกัน ค้างคาว ซ่ึงเป็นสัตว์สายตาไม่ดีใช้หลักการสะท้อนเสียง โดยส่งและรับ
ความถี่สูง เม่ือกระทบสิ่งกีดขวางคลื่นจะสะท้อนกลับทาให้ทราบตาแหน่งสิ่งกีดขวาง มนุษย์เราได้นา
หลักการเดียวกนั มาทาเรดาร์ นอกจากนีใ้ นทางอุตสาหกรรมใช้ในการตรวจสอบรอยร้าว ทางการแพทย์
ใชต้ รวจสอบเนือ้ เยือ่ ของอวัยวะตา่ ง ๆ ใชใ้ นการสลายน่ิวในไต ใช้ทาลายเช้ือโรคบางชนิดในอาหาร และ
นา้ หรอื ใช้ตรวจครรภ์ เปน็ ต้น

17

ชดุ การสอนท18ี่ 1
เรือ่ ง ธรรมชาติและสมบตั ิของเสยี ง

ภาพท่ี 4 การอัลตราซาวน์โดยใชห้ ลักการสะทอ้ นของเสยี ง
ทีม่ า: โรงพยาบาลพญาไท (ม.ป.ป)

เพอ่ื น ๆ รู้ไหมครับวา่
การอลั ตราซาวน์ในปจั จุบัน
สามารถทาได้ 4 มิติ เกง่ จรงิ ๆ นะ

ครบั

ตัวอย่างที่ 1 เรือลาหนึ่งส่งคล่ืนความถ่ี 1,200 เฮิรตช์ ลงไปในทะเลปรากฏว่า เคร่ืองบันทึกเสียง

สะท้อนกลับไดใ้ นเวลา 3 วินาที ถ้าอัตราเรว็ เสียงในน้าทะเลมีค่า 1,500 เมตรต่อวินาทีความลึกของ

ทะเลคา่ เทา่ ไร

วิธที า ระยะทาง = อัตราเร็ว x เวลา

= ( 1,500 ) ( 3 )

= 4,500 เมตร

เสียงเดินทางไป กลับระยะ 4,500 เมตร

ดงั น้นั ทะเลมีความลึก = m
2
= 2,250 เมตร

18

ชุดการสอนท19่ี 1
เรอื่ ง ธรรมชาติและสมบตั ิของเสยี ง

เราทราบว่าเสียงเป็นคลื่นชนิดหนึ่ง ดังนั้น ถ้าเราทราบความถี่ f ของเสียง และความยาว
คล่ืนเสียง  ท่ีผ่านตัวกลาง เราจะสามารถหาอัตราเร็วของคล่ืนเสียงในตัวกลางน้ันได้จาก
ความสมั พันธ์ต่อไปน้ี

v = f

ตัวอยา่ งที่ 2 กาหนดให้เสยี งมอี ตั ราเร็ว 1,500 เมตรต่อวินาทีในน้าทะเล เรือลาหนึ่งปล่อยคลืน่ โซนาร์

ขนาดความถี่ 4.5 กโิ ลเฮิรตซ์ ลงไปจากผิวนา้ จะตรวจสอบพบปลาขนาดเลก็ ท่ีสดุ ไดเ้ ท่าไร

วธิ ที า จาก v = f

 = v
f
1,500
= 4,500

= 0.33 เมตร

ตอบ ปลาตัวเล็กทีส่ ดุ ทจี่ ะตรวจสอบไดต้ อ้ งยาว 0.33 เมตร

การหกั เหของเสยี ง (refraction)

ต่อไปน้ีนักเรียนจะได้ศึกษาสมบัติของเสียงอีกอย่างหนึ่งคือ การหักเหของเสียงในตัวกลาง
สมา่ เสมอเสียงจะเดนิ ทางด้วยอัตราเร็วคงที่ ถ้าตัวกลางไม่สม่าเสมอจะทาให้อัตราเร็วเสียงเปลี่ยนไปจึง
ทาให้ทิศทางการเคลื่อนท่ีเปลี่ยนไปด้วย ดังน้ันการหักเหของเสียง คือ ปรากฏการณ์ท่ีเสียงเปลี่ยน
อัตราเร็วเมอ่ื เปล่ียนตัวกลาง โดยความถ่ขี องเสียงมีคา่ คงตัว

เสน้ ต้ังฉาก

ตัวกลาง A รอยตอ่ ระหวา่ ง
ตวั กลาง

ตวั กลาง B

19

ชดุ การสอนท20ี่ 1
เร่ือง ธรรมชาติและสมบัติของเสียง

ภาพที่ 5 การหกั เหของเสยี ง
ทมี่ า : สนุ รี ตั น์ ชชู ว่ ย (2555)
โดยปกติอุณหภูมิอากาศบริเวณต่างๆ ไม่คงที่ เช่นในเวลากลางวันอากาศท่ีอยู่ใกล้ผิวดิน
จะรอ้ นกวา่ อากาศทีบ่ ริเวณสงู ข้ึนไป อัตราเร็วเสียงบรเิ วณใกล้ผวิ ดนิ จะมากกว่าอัตราเร็วเสียงของอากาศ
ที่บรเิ วณสงู ขน้ึ ไป ถ้าเสยี งเดินทางขนานกบั ผิวดินจะทาให้ทางเดนิ โค้งข้นึ ดงั ภาพที่ 6

พืน้ ดิน

ภาพที่ 6 การหกั เหของเสียงในเวลากลางวัน
ทีม่ า: สุนีรัตน์ ชูช่วย (2555)

ในเวลากลางคืนพื้นดินคายความร้อนได้ดีกว่าจะทาให้อากาศบริเวณใกล้ผิวดินเย็นกว่า
อากาศที่อยู่สูงข้ึนไป อัตราเร็วเสียงบริเวณสูงจากผิวดินจะมีค่ามากกว่าอัตราเร็วเสียงบริเวณผิวดิน ทา
ให้อตั ราเร็วเสียงโคง้ ลง ดงั ภาพท่ี 7

20

ชดุ การสอนท21ี่ 1
เรอื่ ง ธรรมชาติและสมบตั ิของเสียง

ภาพท่ี 7 การหักเหของเสียงในเวลากลางคืน
ท่ีมา: สุนรี ัตน์ ชูชว่ ย (2555)
คล่ืนเสียงเมื่อเดินทางผ่านตัวกลางท่ีมีความหนาแน่นแตกต่างกันจะเกิดการเปลี่ยนแปลง
ทิศทางความเร็วและความยาวคลื่น แต่ความถี่คล่ืนยังคงท่ีกล่าวคือเม่ือเสียงเคล่ือนท่ีจากตัวกลางที่มี
ความหนาแน่นน้อย (อากาศ) เข้าสู่ตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากกว่า (น้า) เสียงจะหักเหออกจาก
เสน้ ตง้ั ฉาก หลกั การนี้ใช้อธิบายการเห็นฟ้าแลบแต่ไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง เพราะเม่ือเกิดฟ้าแลบ แม้จะ
มเี สยี งเกดิ ขึ้นแต่เราไมไ่ ด้ยนิ เสียง ทั้งน้ีเพราะอากาศใกล้พื้นดินมีอุณหภูมิสูงกว่าอากาศเบ้ืองบน ทาให้
การเคลื่อนท่ีของเสียงเคลื่อนที่ได้ในอัตราท่ีต่างกัน คือ เคลื่อนที่ในอากาศท่ีมีอุณหภูมิสูงได้เร็วกว่าใน
อากาศที่มีอุณหภูมิต่า ดังน้ันเสียงจึงเคล่ือนที่เบนข้ึนทีละน้อย ๆ จนข้ามหัวเราไป จึงทาให้ไม่ได้ยิน
เสียงฟา้ รอ้ ง

เรอ่ื ง การแทรกสอดและการเลย้ี วเบน

คาช้แี จง ให้นกั เรยี นศกึ ษากจิ กรรมที่กาหนดให้และปฏิบัติตามกิจกรรมพร้อมบันทึกผลการทากจิ กรรม

ตอนที่ 1 กิจกรรม เรื่อง เสยี งกับการแทรกสอด

จดุ ประสงค์กิจกรรม เพ่ือให้นักเรียนสามารถ
1. บอกความดงั และค่อยของเสยี งที่ได้ยิน ณ ตาแหน่งตา่ ง ๆ ได้

21

ชดุ การสอนท22ี่ 1
เรื่อง ธรรมชาติและสมบัติของเสยี ง

2. อภปิ รายและสรุปไดว้ า่ เสยี งแสดงสมบัตกิ ารแทรกสอด

วัสดุอุปกรณ์

รายการ จานวนตอ่ กลุ่ม
1. เคร่อื งกาเนิดสัญญาณเสยี ง 1 เครือ่ ง
2. ลาโพง 2 ตวั
3. สายไฟ 4 เสน้

คาแนะนากอ่ นการทากจิ กรรม
1. ในการทากิจกรรมของแตล่ ะกลุ่มควรห่างกันพอสมควร เพ่ือไม่ให้เสียงที่เกดิ ขณะทดลอง

รบกวนกนั
2. ในการรับฟังเสียงตามตาแหน่งต่าง ๆ นกั เรยี นต้องใช้มือปดิ หูขา้ งหน่งึ แล้วใช้หอู ีกข้างหนึ่งรบั

ฟงั เสยี งท่ตี าแหน่งตา่ ง ๆ โดยเข้าฟงั ทีละคน ( คนอ่ืน ๆ ควรอยู่ห่างจากลาโพงพอสมควร เพอื่ ไม่ให้เกิด
เสียงสะท้อนไปรบกวนเสียงจากลาโพง )

3. ระยะห่างระหวา่ งลาโพง 2 ตัว ควรอยู่ในช่วง 50 – 80 เซนตเิ มตร
4. ควรปรับความดังของเสียงให้พอเหมาะพอได้ยินในกล่มุ เทา่ นัน้

ข้ันตอนการทากจิ กรรม
1. ต่อเครื่องกาเนดิ สญั ญาณเสยี งกับลาโพง 2 ตัว หมนุ ปมุ่ เลือกความถ่ที ่ี 3 กิโลเฮิรตซ์และหมุน

ปุ่มปรับความดังให้ไดย้ นิ พอสมควร
2. วางลาโพงที่ขอบโต๊ะ จัดหน้าลาโพงให้หันออกนอกโต๊ะ ดังภาพท่ี 8 แล้วฟังเสียง

จากด้านหน้าลาโพง ณ ตาแหน่งต่าง ๆ ได้ยินในแนวขนานกับขอบโต๊ะ เปรียบเทียบความดังของเสียง
ณ ตาแหนง่ ต่าง ๆ ตามแนวทไ่ี ด้ยนิ เสยี ง

22

ชดุ การสอนท23ี่ 1
เรื่อง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสียง

ภาพท่ี 8 การติดตั้งอปุ กรณ์พรอ้ มลาโพง 2 ตวั
ที่มา: สนุ ีรตั น์ ชูช่วย (2555)
ตารางบนั ทกึ ผลกิจกรรม (1 คะแนน)

กจิ กรรม ผลการทดลอง
เสยี งทีไ่ ดย้ ินจากลาโพงตวั เดยี ว ณ ตาแหนง่ ตา่ ง ๆ
จะเปน็ เสยี ง
เสียงท่ไี ดย้ ินจากลาโพง 2 ตัว ที่ตอ่ พ่วงกันกับเคร่ือง
กาเนิดสญั ญาณเสียงเครื่องเดียวกนั พบวา่

คาถามท้ายกจิ กรรม (2 คะแนน)
1. ความถข่ี องเสยี งจากลาโพงท้ังสองตวั แตกต่างกันหรอื ไม่ อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ความดังของเสยี งที่ไดย้ ิน ณ ตาแหน่งตา่ ง ๆ เมื่อใชล้ าโพง 2 ตัว จะเป็นอย่างไรและจะอธิบายได้
อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

23

ชุดการสอนท24่ี 1
เรอื่ ง ธรรมชาติและสมบัติของเสียง

สรุปผลการทากิจกรรม ( 1 คะแนน)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตอนท่ี 2 กจิ กรรม เรอ่ื ง เสียงกบั การเล้ยี วเบน
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เพื่อให้นกั เรียนสามารถ

1. บอกได้วา่ ที่ตาแหนง่ ต่าง ๆ ทอี่ ย่ดู า้ นหลังของส่ิงกดี ขวางและที่ไม่อยู่ดา้ นหลงั ส่ิงกีดขวางจะ
ได้ยนิ เสียงดงั แตกตา่ งกัน

2. บอกได้วา่ เสียงเคลอ่ื นทอ่ี ้อมขอบสง่ิ กีดขวางได้ ดังนน้ั เสียงแสดงสมบตั ิการเลี้ยวเบนได้ซงึ่
สรปุ ไดว้ ่าเสียงเปน็ คล่ืน
วัสดอุ ุปกรณ์

24

ชุดการสอนท25่ี 1
เร่ือง ธรรมชาตแิ ละสมบตั ิของเสยี ง

รายการ จานวนตอ่ กลมุ่
1. เครอื่ งกาเนิดสญั ญาณเสยี ง 1 เครื่อง
2. ลาโพง 1 ตวั
3. สายไฟ 2 เส้น

คาแนะนากอ่ นการทากิจกรรม
1. ลาโพงเสียงควรอยหู่ ่างจากประตปู ระมาณ 30 เซนติเมตรและผรู้ ับฟงั เสยี งควรอยู่ห่างจาก

บานประตูประมาณ 70 เซนตเิ มตร
2. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ผลดั เปล่ียนกันทากิจกรรม เนือ่ งจากหอ้ งเรียนมีประตู 2 ประตู แต่

ถ้าจะทากจิ กรรมพร้อมกันอาจเปลี่ยนตวั กัน้ จากประตูเปน็ อย่างอื่น เชน่ โตะ๊ เรียน โตะ๊ ครู โดยแตล่ ะกลมุ่
ต้องห่างกนั พอสมควร เพื่อเสียงท่เี กิดในขณะทดลองของแต่ละกลมุ่ จะได้ไม่รบกวนกัน

3. ปรับความดังของเสียงให้พอเหมาะ โดยไดย้ นิ เฉพาะในกลมุ่ และในการทากิจกรรม
นกั เรียนต้องเงียบ เพื่อให้เปรียบเทยี บเสยี งทไี่ ด้ยนิ จากลาโพงท่ตี าแหน่งตา่ ง ๆ ไดช้ ดั เจน

ข้นั ตอนทากจิ กรรม
1. ตอ่ เครอื่ งกาเนดิ สญั ญาณเสยี งกบั ลาโพง 1 ตวั หมนุ ปุ่มเลือกความถ่ที ่ี 1 กิโลเฮิรตซ์และ

หมนุ ปมุ่ ปรับความดังให้พอได้ยนิ
2. นาลาโพงไปวางที่ด้านหลังประตูห้องเรียนซึ่งเปิดอยู่ โดยให้ห่างจากประตูประมาณ

1 เมตร แล้วฟังเสียงท่ีอยู่อีกด้านของประตูนอกห้องเรียนท่ีบังลาโพงไว้ ณ ตาแหน่งต่าง ๆ ดังภาพ
ท่ี 9

25

ชุดการสอนท26ี่ 1
เร่ือง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสยี ง

ภาพที่ 9 การตดิ ต้ังอปุ กรณ์และตาแหนง่ การฟงั เสยี งดา้ นหลังสง่ิ กีดขวาง
ทมี่ า: สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2555:62)

ตารางบันทึกผลกิจกรรม (3 คะแนน)

ตาแหน่งทรี่ ับฟงั เสยี ง ลักษณะความดังค่อยของเสียง
ตาแหนง่ A
ตาแหน่ง B
ตาแหนง่ C

คาถามท้ายกจิ กรรม ( 2 คะแนน)
1. ณ ตาแหน่ง A , B และ C จะไดย้ ินเสยี งดังแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ถา้ เสียงเคล่ือนทใี่ นแนวตรงจากแหลง่ กาเนิดโดยไม่เปล่ียนทศิ ทางจะได้ยนิ เสียง ณ ตาแหนง่ A และ B
หรือไม่
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

26

ชดุ การสอนท27ี่ 1
เรอ่ื ง ธรรมชาติและสมบัติของเสียง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สรุปผลการทากิจกรรม ( 1 คะแนน)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เรือ่ ง การแทรกสอดและการเลยี้ วเบน

การแทรกสอดของเสียง
การแทรกสอดของเสยี งเปน็ ปรากฏการณท์ ่ีคล่ืนเสียงจากแหล่งกาเนดิ สองแหลง่ ที่มีความถ่ี

เท่ากันและมีเฟสตรงกนั (แหล่งกาเนดิ อาพนั ธ์ coherent sources) เคลอื่ นทีม่ าซ้อนทับกนั ทาให้
เกดิ เสียงดงั และเสยี งค่อยตามตาแหนง่ ต่าง ๆ กนั

27

ชุดการสอนท28ี่ 1
เร่ือง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสียง

ตาแหนง่ ท่ีไดย้ นิ เสยี งดงั เปน็ ตาแหนง่ ที่คลน่ื เสยี งซ้อนทับแบบเสรมิ กนั เรียกว่า ปฏบิ ัพ

(Antinode) ได้แก่ A0, A1, A2, …ดงั ภาพที่ 10

ตาแหน่งท่ีไดย้ นิ เสียงค่อยเป็นตาแหนง่ ทค่ี ลนื่ เสียงซ้อนทับแบบหักล้างกนั เรยี กวา่ บัพ

(Node) ได้แก่ N0, N1, N2, …ดงั ภาพที่ 10

A1 N1 A0 N1 A1
P

S1 S2

ภาพที่ .10 การแทรกส1อดของคลน่ื เสียงจากแหล่งกาเนดิ อาพนั ธ์ 2 แหลง่
ท่มี า: สถาบันส่งเสรมิ การ1สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2554:63)
ในการคานวณเกีย่ วกบั การแทรกสอด1ของคลน่ื เสียง ยังคงใช้สูตรดงั นี้

1

แนวปฏิบัพ1 S1P - S2P = n

11 dsin = n
S1Q - S2Q
แนวบัพ dsin = ( n - 1 )
2
1
= ( n - 2 ) 

หมายเหตุ
1. S1P - S2P เปน็ ผลตา่ งของระยะจากจดุ P (P อยบู่ นแนวปฏิบัพ) มายังแหล่งกาเนดิ

เสยี งทงั้ สอง (S1 และ S2)
2. S1Q - S2Q เป็นผลตา่ งของระยะจากจุด Q (Q อยู่บนแนวบพั ) มายังแหล่งกาเนิด

เสยี งทั้งสอง (S1 และ S2)
3. d เปน็ ระยะหา่ งระหว่างแหล่งกาเนดิ เสียง S1 และ S2
4.  เป็นมมุ ทีจ่ ดุ P หรือ Q กระทากบั แนวกลางระหวา่ ง S1 และ S2
5. n เป็นลาดับท่ีของปฏบิ ัพและบพั โดย n = 0, 1 , 2 , 3 , … สาหรับปฏบิ ัพและ

28

ชุดการสอนท29ี่ 1
เรอื่ ง ธรรมชาติและสมบัติของเสียง

n = 1 , 2 , 3 , …สาหรับบพั

ตัวอยา่ งท่ี 3 S1 และ S2 เป็นลาโพงเสียงสองตัววางหา่ งกนั 4 เมตร ในที่โล่ง P เป็นตาแหน่งที่ผู้ฟังหา่ ง

จาก S1 5.5 เมตร และหา่ งจาก S2 7 เมตร ถ้าผฟู้ งั อยู่ตรงตาแหนง่ ท่เี สยี งหกั ล้างกนั คร้ังแรก เขาจะได้

ยินเสยี งที่มีความถี่เทา่ ใด เมอ่ื อัตราเรว็ ของเสยี งในอากาศขณะนั้นเป็น 330 เมตรต่อวินาที

วิธที า จาก S2P - S1P = ( n- 1 )  P
2 7 m 5.5 m
1
7 - 5.5 = (1 - 2 )  S2 4 m S1

1.5 = ( 1 ) 
2
2
 = 1.5 x 1

 = 3 เมตร

จากสตู ร v = f 

f =v

330
f = 3

f = 110 เฮริ ตซ์

f = 110 เฮิรตซ์

ตอบ เขาจะได้ยนิ เสียงที่มคี วามถเี่ ท่ากบั 110 เฮริ ตซ์

ตัวอย่างท่ี 4 S1 และ S2 เป็นแหล่งกาเนิดเสียงอาพันธ์ ให้เสียงที่มีความถ่ี 140 เฮิรตซ์ และอยู่ห่างกัน

7 เมตร จงหาว่าบนเส้นตรงเช่ือมระหว่างแหล่งกาเนิดเสียงทั้งสองมีตาแหน่งบัพเกิดขึ้นกี่ตาแหน่ง

ถ้ากาหนดให้อัตราเร็วเสียงในอากาศขณะน้ันเป็น 350 เมตรต่อวินาที

วิธีทา จาก dsin = (n- 1 ) 
2
1 v
( 7 )sin90 = ( n- 2 ) f

( 7 )( 1 ) = ( n- 1 ) ( 350 )
2 140
140 1
n = (7 ) ( 350 ) + 2

= 3.3

=3

29

ชุดการสอนท30่ี 1
เรื่อง ธรรมชาติและสมบตั ิของเสียง

ดงั นั้น บนเส้นตรงเชอื่ มระหวา่ งแหลง่ กาเนิดเสียงทั้งสองมีตาแหนง่ บัพเกดิ ขึ้น = 3 + 3 ตาแหน่ง
ตอบ บนเส้นตรงเชื่อมระหวา่ งแหล่งกาเนดิ เสียงท้ังสองมีตาแหนง่ บัพเกดิ ขึ้นเทา่ กบั 6 ตาแหน่ง

การเลย้ี วเบนของเสียง (diffraction)

นอกจากการหักเหของเสียงที่เกดิ ขนึ้ เม่ือผ่านตวั กลางตา่ งชนิดกันแล้วยงั มกี ารเลีย้ วเบนได้
การเลีย้ วเบนของเสยี งมกั จะเกดิ พร้อมกบั การสะท้อนของเสยี ง เสียงที่เลยี้ วเบนจะได้ยินค่อยกวา่ เดิม
เพราะพลังงานของเสยี งลดลง

การเลย้ี วเบนของเสยี งเป็นปรากฏการณ์ท่คี ลนื่ เสยี งสามารถเคลือ่ นทอ่ี ้อมสง่ิ กีดขวางไปยัง
ดา้ นหลงั ของสิ่งกีดขวางได้ ดงั ภาพท่ี 11

ลาโพง

ผนงั หอ้ ง ประตู ผนงั ห้อง

ก. ข. ค. ง.


ภาพที่ 11 การเลย้ี วเบนของเสียง
ท่ีมา: สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2554:63)

เราสามารถทดลอง การเลี้ยวเบนของเสียงได้โดย ให้ผู้ฟัง ฟังเสียงลาโพงจากนอกห้องดังภาพ
ที่ตาแหน่ง ก. ข. ค. และ ง. ผู้ฟังย่อมได้ยินเสียงลาโพงที่อยู่ในห้องได้ทุกคน แสดงว่าเสียงสามารถ
เลีย้ วเบนได้ตามแบบของคล่นื

หมายเหตุ
การเลี้ยวเบนของเสียงจะเกิดได้ดีเม่ือช่องกว้างที่ให้เสียงผ่านมีขนาดเท่ากับความยาวคลื่นของ

เสียงนนั้ เนอื่ งจากชอ่ งกวา้ งน้ันจะทาหนา้ ทเ่ี หมือนเป็นแหลง่ กาเนิดเสียงขนาดนนั้ ได้พอดีนั่นเอง

30

ชดุ การสอนท31่ี 1
เรอ่ื ง ธรรมชาติและสมบตั ิของเสยี ง

เร่ือง ธรรมชาตแิ ละสมบตั ิของเสยี ง

คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนอธิบายข้อความและแสดงวธิ ที าใหถ้ ูกตอ้ งและสัมพันธ์กัน ขอ้ ละ 1 คะแนน
1. เสียงเกดิ ขึ้นจากอะไร
ตอบ.......................................................................................................................... ................................
2. คลนื่ เสยี งเปน็ คล่ืนชนดิ ใด มีส่วนประกอบอะไรบา้ ง
ตอบ.............................................................................................................................. ............................

31

ชุดการสอนท32ี่ 1
เรือ่ ง ธรรมชาตแิ ละสมบตั ิของเสยี ง

...................................................................................................... .............................................................
............................................................................................................................. ....................................

3. จงอธบิ ายหลักการการเดินทางของเสยี ง
ตอบ.......................................................................................................................... .............................
................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. .....................................
4. เหตุใดเสยี งจงึ ไมส่ ามารถเดนิ ทางผ่านสุญญากาศได้
ตอบ.......................................................................................................................... .............................
.................................................................................. .............................................................................
............................................................................................................................. ..................................

5. ในบางคร้ังเกดิ ฟ้าแลบโดยไม่ไดย้ นิ เสยี งฟา้ ร้อง เปน็ เพราะเหตุใด
ตอบ.......................................................................................................................... .............................
...................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................

6. เหตุใดเสียงจึงมสี มบัติเป็นคล่ืน
ตอบ.......................................................................................................................... .............................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
7. เรือประมงใชเ้ คร่ืองโซนาร์เพ่ือสารวจฝูงปลา โดยส่งคลื่นความถ่ีสูง 20-100 กิโลเฮิรตซ์ วัตถุใต้ท้อง
ทะเลขนาดก่เี ซนตเิ มตรท่โี ซนาร์จะตรวจไม่พบ กาหนดให้อัตราเร็วเสียงฝนน้าเป็น 1,500 เมตรตอ่ วินาที
ตอบ........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
........................................................................................ ........................................................................
............................................................................................................................. ...................................

32

ชุดการสอนท33่ี 1
เรอื่ ง ธรรมชาติและสมบตั ิของเสียง

................................................................................................................................................... .............
8. ในเวลากลางคืน อากาศพ้ืนดนิ เยน็ กวา่ อากาศบริเวณที่อยสู่ ูงข้ึนไป ถา้ นักเรยี นเป่าขลุ่ย เสยี งขลุย่ จะมี
การหักเหอยา่ งไร จงอธิบาย
ตอบ………………...……………………………………………………...…………….……………………………...…………………
…………………………………...………………………………...............................……………………...…….………………..
........................................................................................................ ........................................................
............................................................................................................................. ...................................
9. จงอธิบายหลกั การแทรกสอดของคล่ืน
ตอบ………………...………………………………..……………………...…………………………………………...……….....……
………………………………………...………………............................……………………………………...……………..……...
................................................................................................................. ..................................................
10. S1 และ S2 เปน็ ลาโพงเสียงต่อเข้ากบั แหล่งกาเนดิ คลืน่ เสยี งเดยี วกนั ทม่ี ีความถี่ 100 เฮิรตซ์ โดย
ลาโพงทั้งสองมเี ฟสตรงกัน ถา้ ลาโพงท้งั สองวางห่างกนั 10 เมตร จงหาว่าจะเกดิ แนวทไ่ี ดย้ ินเสยี งค่อย
ทง้ั หมดกี่แนว กาหนดอัตราเร็วเสยี งในอากาศขณะนัน้ เท่ากับ340เมตรต่อวนิ าที
ตอบ………………...……………………………………………………...…………………....………………………...………………
……………………………………...……………………………………………………...…………………....................................
...................................................................................................................................................................
........................................................................................... …………………….……………………………...…………

เรื่อง ธรรมชาติและสมบตั ขิ องเสียง

ตอนที่ 1 ใหน้ กั เรยี นนาอักษร A, B, C, … ทางด้านขวามือเติมหนา้ ข้อความด้านซ้ายมือทม่ี ี

ความสัมพันธ์กัน ขอ้ ละ 0.5 คะแนน

………1. คลื่นเสียงเป็น A. ไดด้ ไี มเ่ ท่ากนั

………2. เสยี งดงั มากแสดงวา่ B. วตั ถุทมี่ กี ารสัน่ สะเทือน

………3. การหกั เหของเสยี ง C. คล่นื ตามยาวเท่านัน้

33

ชุดการสอนท34ี่ 1
เรอ่ื ง ธรรมชาตแิ ละสมบตั ิของเสยี ง

………4. การสะท้อนของเสยี ง D. เสียงท่สี ะท้อนกลบั มาถงึ หชู า้ กว่าเสียงจาก
แหลง่ กาเนดิ 0.1 วินาที
………5. เสียงกอ้ ง
………6. การแทรกสอดแบบหักล้าง E. ปฏิบัพ
………7. เสียงเดินทางผ่านตวั กลาง F. มแี อมพลจิ ูดมาก
………8. แหลง่ กาเนดิ เสียง G. เครื่องโซนาร์
………9. การแทรกสอดแบบเสรมิ กนั H. เม่อื ชว่ งกว้างเท่ากบั ความยาวคลืน่ ของเสียง
………10. การเลย้ี วเบนของเสยี งจะเกดิ ไดด้ ีท่ีสุด I. การเกิดฟา้ แลบแลว้ ไม่ได้ยนิ เสยี งฟา้ รอ้ ง
J. บัพ

ตอนที่ 2 จงแสดงวิธที า ขอ้ ละ 2.5 คะแนน
1. กาหนดให้เสียงมีอัตราเร็ว 1,500 เมตรต่อวินาทีในน้าทะเล เรือลาหน่ึงปล่อยคล่ืนโซนาร์ ขนาด
ความถ่ี 5 กิโลเฮิรตซ์ ลงไปจากผิวน้าปรากฏว่ารับคล่ืนสะท้อนผิวขนาดใหญ่ได้ในเวลา 1.6 วินาที
นา้ ทะเลตรงน้ันลกึ เท่าไรและจะตรวจสอบพบปลาขนาดเล็กที่สดุ ได้เทา่ ไร
ตอบ………………...……………………………………………………...…………………………………………...…………………
…………………………………...……………………………………………………...………………….......................................
............................................................................................................................. ......................................
........................................................................................…………………………………………………...……………
…………………………...……………………………………………………...…………………................................................
...................................................................................... .............................................................................
...............................................................................………………………….........................……………………...…

2. A และ B เป็นลาโพงเสียงสองตัววางห่างกัน 2 เมตร ในที่โล่ง P เป็นตาแหน่งท่ีผู้ฟังห่างจาก
A 4 เมตร และห่างจาก B 3 เมตร ถ้าผู้ฟังอยู่ตรงตาแหน่งท่ีเสียงหักล้างกันคร้ังแรก เขาจะได้ยินเสียง
ท่มี ีความถ่ีเท่าใด เมื่ออัตราเรว็ ของเสียงในอากาศขณะนั้นเปน็ 340 เมตรตอ่ วนิ าที
ตอบ………………...……………………………………………………...……………………………………….………………….…...
……………………………………………………...……………………………………………………...…………………..................
............................................................................................................................. ......................................
............................................................................................................. …………………………………….…………
……...………………………………………...……………………………………………………...…………………........................

34

ชดุ การสอนท35่ี 1
เรอื่ ง ธรรมชาติและสมบตั ิของเสยี ง
.................................................................................................................................................................. .
....................................................................................................... ………………………………..…………………..

เรอ่ื ง ธรรมชาติและสมบตั ขิ องเสียง

คาชแ้ี จง 1. แบบทดสอบชดุ นี้เปน็ แบบทดสอบปรนยั 4 ตัวเลือก จานวน 10 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน

2. ใหน้ ักเรยี นเลอื กคาตอบที่ถกู ต้องแลว้ ทาเคร่ืองหมายกากบาท ( X) ทบั หนา้ ข้อ ก, ข, ค
และ ง ลงในแบบบนั ทกึ แบบทดสอบก่อน-หลงั เรยี น

35

ชุดการสอนท36่ี 1
เรือ่ ง ธรรมชาติและสมบัติของเสียง

1. ข้อใดถูกต้องเกีย่ วกับคลื่นเสยี ง
ก. เปน็ คลืน่ ตามยาว เดนิ ทางโดยอาศยั ตวั กลาง
ข. เปน็ คลน่ื ตามขวาง เดินทางโดยอาศยั ตัวกลาง
ค. เปน็ คลื่นตามยาว เดินทางโดยไม่อาศยั ตวั กลาง
ง. เป็นคลืน่ ตามขวาง เดินทางโดยไมอ่ าศัยตัวกลาง

2. ข้อใดผดิ
ก. วัตถสุ ั่นสะเทอื นเป็นแหลง่ กาเนดิ เสยี ง
ข. เสียงเดนิ ทางผ่านตัวกลางต่างชนิดไดด้ ีไม่เทา่ กัน
ค. เมอื่ เสียงเดินทางผา่ นตวั กลางจะทาใหต้ ัวกลางเกดิ การส่ันสะเทอื น
ง. อตั ราเรว็ ของเสยี งในอากาศลดลงเมื่ออณุ หภูมิของอากาศเพิม่ ขึ้น

3. คล่ืนเสียงไมส่ ามารถสะท้อนได้ดีเม่ือใด
ก. ส่งิ กีดขวางมีขนาดเทา่ กบั ความยาวคลน่ื เสียง
ข. ส่ิงกีดขวางมีขนาดเล็กกว่าความยาวคลน่ื เสยี ง
ค. เดินทางจากตังกลางหนาแนน่ มากไปสู่ตัวกลางหนาแน่นน้อย
ง. เดินทางจากตังกลางหนาแน่นนอ้ ยไปสู่ตัวกลางหนาแน่นมาก

4. ถ้าเครื่องโซนาร์ส่งคลืน่ เสียงที่มคี วามถี่ 5 เฮิรตซอ์ อกไป จงหาขนาดของวัตถุใต้ทะเลท่ีไมส่ ามารถ
สะท้อนคลื่นเสียงนี้ได้ ถา้ อัตราเรว็ เสยี งในน้าทะเลเปน็ 1,530 เมตรต่อวินาที

ก. 0.306 เมตร
ข. 0.360 เมตร
ค. 3.060 เมตร
ง. 6.030 เมตร

5. เม่อื คล่ืนเสยี งเคล่ือนท่ีผา่ นช่องเปิด เสียงจะเลี้ยวเบนไดด้ ีเมอ่ื ใด
ก. ความกวา้ งของชอ่ งเปิดเลก็ กว่าความยาวคล่ืนเสียง
ข. ความกวา้ งของชอ่ งเปดิ เท่ากบั ความยาวคลืน่ เสยี ง
ค. ความกว้างของชอ่ งเปดิ มากกวา่ ความยาวคล่นื เสียง
ง. ข้อ ก และ ค ถูก

6. จงพจิ ารณาข้อความตอ่ ไปนี้
1. เสียงเป็นคลน่ื ตามขวาง เดินทางโดยอาศยั ตวั กลาง

36

ชดุ การสอนท37่ี 1
เรอื่ ง ธรรมชาตแิ ละสมบตั ิของเสียง

2. ทกุ ครงั้ ทเ่ี กิดเสียงจากวัตถุ วัตถุจะเกิดการส่นั สะเทอื น
3. เมื่อคลน่ื เสียงเดินทางผา่ นอากาศ จะทาใหค้ วามดันอากาศ ณ บรเิ วณนั้นเกดิ คลืน่ อัด
ความดันอากาศจะสงู กว่าปกติ
คาตอบทถี่ ูกต้องคือ

ก. ข้อ 1 และ 2
ข. ข้อ 1 และ 3
ค. ข้อ 2 และ 3
ง. ขอ้ 1 , 2 และ 3

7. เม่ือเสียงเปลย่ี นตวั กลาง ปริมาณใดมคี า่ คงตัว
ก. ความถี่
ข. ความเร็ว
ค. แอมพลิจดู
ง. ความยาวคลื่น

8. S1 และ S2 เป็นแหล่งกาเนิดเสียงอาพันธ์ ให้เสียงที่มีความถี่ 140 เฮิรตซ์ และอยู่ห่างกัน 7 เมตร
จงหาว่าบนเส้นตรงเช่ือมระหว่างแหล่งกาเนิดเสียงท้ังสองมีตาแหน่งบัพเกิดขึ้นกี่ตาแหน่ง ถ้ากาหนดให้
อตั ราเร็วเสียงในอากาศขณะนน้ั เปน็ 350 เมตรต่อวนิ าที

ก. 3 แนว
ข. 6 แนว
ค. 9 แนว
ง. 12 แนว

9. ในตัวกลางตอ่ ไปน้ี ตัวกลางใดทเี่ สียงเคล่ือนที่ผา่ นโดยมีอตั ราเร็วมากทส่ี ดุ
ก. น้า
ข. เหล็ก
ค. อากาศ
ง. สญุ ญากาศ

10. คลนื่ เสียงไม่สามารถสะท้อนได้ดเี ม่ือใด

37

ชดุ การสอนท38ี่ 1
เรือ่ ง ธรรมชาติและสมบตั ิของเสยี ง
ก. ส่งิ กีดขวางมีขนาดเทา่ กับความยาวคลน่ื เสียง
ข. ส่งิ กดี ขวางมีขนาดเล็กกวา่ ความยาวคลน่ื เสยี ง
ค.เดนิ ทางจากตังกลางหนาแน่นมากไปสตู่ ัวกลางหนาแนน่ น้อย
ง. เดนิ ทางจากตังกลางหนาแน่นน้อยไปสู่ตัวกลางหนาแน่นมาก

เก่งมากครับ ก้องให้รางวลั
เป็นไอศกรีมนะครบั

บรรณานกุ รม

กฤตนัย จันทรจตรุ งค.์ (ม.ป.ป.). ฟิสกิ ส์:เรอื่ งที่ 11 เสยี งและการไดย้ นิ ฉบบั ชว่ ยสอบเขา้
มหาวิทยาลัยท่ีรับตรง & โควตา & PAT 2 สาหรบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4-6. นนทบรุ ี
: ธรรมบณั ฑิต.

จารึก สุวรรณรัตน์. (2555). คมู่ ือฟิสกิ ส์ ม.4-6 เล่ม 3 รายวิชาเพิ่มเติม. กรงุ เทพมหานคร :
เดอะบุคส.์

38

ชุดการสอนท39ี่ 1
เร่อื ง ธรรมชาติและสมบตั ิของเสียง

เฉลมิ ชยั มอญสขุ า. (2554). ฟิสกิ สเ์ สริมการเรียนฟิสิกส์เพิม่ เตมิ ช้ัน ม.4-6 เลม่ 3.
กรุงเทพมหานคร : เดอะบคุ ส์.

ชว่ ง ทมทิตชงค์ และคณะ. (ม.ป.ป.). ตะลุยโจทย์ข้อสอบฟสิ ิกส์ ม.5 เล่มรวมเทอม 1-2.
กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัทไฮเอ็ดพับลชิ ชิ่ง.

ธีรศานต์ ปรุงจิตวิทยาภรณ์. (ม.ป.ป.). ฟสิ ิกส์ ม.5 เลม่ 2 ฉบับศกึ ษาดว้ ยตนเอง. นนทบุรี :
ธรรมบณั ฑติ .

พญาไท, โรงพยาบาล. (ม.ป.ป.). อลั ตราซาวน์โดยใช้หลักการสะท้อนของเสียง. สบื คน้ เมอื่ วนั ที่ 15
กรกฎาคม, 2555, จาก http://www.phyathai.com/home/th

ศกึ ษาธิการ, กระทรวง. (2553). แนวปฏบิ ัติการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานพทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ชุมนุม
สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
. (2553). หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพส์ หกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด.

ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2554). คู่มอื ครู รายวชิ าเพิม่ เติม ฟิสิกส์
เลม่ 3. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ครุ สุ ภา.
. (2554). หนงั สอื เรียน รายวิชาเพ่ิมเติม ฟสิ ิกส์ เล่ม 3. กรงุ เทพมหานคร :
โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว

สริ ินทร์ ชว่ งโชติและวชิ ัย ศังขจันทรานนท์. (ม.ป.ป.). การหาความลึกของนา้ ทะเลด้วย
เครื่องโซนาร์. สบื คน้ เมื่อวันท่ี 25 มิถุนายน, 2555, จาก
http://guru.sanook.com/encyclopedia/อุปกรณข์ ยายขอบเขตของสัมผัส/

Jewett, Jr. J. W. and Serway, R. A. ( 2004). Physics for Scientists and Engineers
with PhysicsNOW and InfoTrac. Six edition. Thomson Brooks/Cole.

39

ชดุ การสอนท40่ี 1
เรือ่ ง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสียง

ภาคผนวก

เร่อื ง ธรรมชาติและสมบตั ขิ องเสียง

ขอ้ เฉลยก่อนเรียน เฉลยหลงั เรียน

1. ค. ก.

40

ชุดการสอนท41่ี 1
เร่อื ง ธรรมชาตแิ ละสมบตั ิของเสยี ง

2. ข. ง.
3. ข. ข.
4. ค. ก.
5. ก. ง.
6. ข. ค.
7. ง. ก.
8. ค. ข.
9. ก. ข.
10. ข. ข.

เรื่อง การแทรกสอดและการเล้ยี วเบน

ตอนที่ 1 กิจกรรม เรอื่ ง เสียงกบั การแทรกสอด

41

ชดุ การสอนท42่ี 1
เร่ือง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสียง

แนวการบนั ทึกผลการทากิจกรรม ผลการทดลอง
เสยี งดังสม่าเสมอ
กิจกรรม
เสยี งที่ไดย้ ินจากลาโพงตวั เดียว ณ ตาแหน่งตา่ งๆ บางตาแหนง่ จะไดย้ ินเสียงดัง บางตาแหนง่ จะได้
จะเปน็ เสียง ยินเสยี งค่อย
เสียงทไี่ ด้ยนิ จากลาโพง 2 ตัว ท่ีตอ่ พว่ งกนั กับ
เครอ่ื งกาเนดิ สญั ญาณเสียงเครอ่ื งเดยี วกัน พบวา่

คาถามท้ายกจิ กรรม

1. ความถขี่ องเสียงจากลาโพงท้ังสองตวั แตกต่างกันหรือไม่ อยา่ งไร
แนวการตอบ ไมแ่ ตกตา่ ง เพราะลาโพงมีความถี่เทา่ กัน เน่ืองจากใหเ้ สียงจากเครื่องกาเนิดสญั ญาณ
เดียวกนั
2. ความดังของเสียงท่ีได้ยนิ ณ ตาแหน่งต่าง ๆ เม่ือใช้ลาโพง 2 ตัว เปน็ อย่างไรและจะอธิบายได้อยา่ งไร
แนวการตอบ จากการทดลองพบว่าบางตาแหน่งจะได้ยินเสียงดังเพราะเกิดจากการเสริมกันของคล่ืน
เสยี งและตาแหน่งท่ีได้ยินเสยี งคอ่ ย ๆ เกิดจากการหกั ล้างกนั ของคลน่ื เสียง

แนวการสรุปผลการทากิจกรรม จากผลการทากิจกรรมพบว่า

1. ลาโพง 2 ตวั เป็นแหล่งกาเนดิ อาพนั ธ์ ( มีความถเ่ี ทา่ กนั เพราะเป็นเสียงจากเครือ่ งกาเนิด
สญั ญาณเสยี งเดียวกัน )

2. เมื่อรับฟังเสียงจากลาโพง 2 ตัวที่ส่งเสียงพร้อมกันที่ตาแหน่งต่าง ๆ ในแนวขนานกับขอบ
โต๊ะ บางตาแหน่งจะได้ยินเสียงดัง บางตาแหน่งจะได้ยินเสียงค่อย ถ้าเลื่อนตาแหน่งที่รับฟังไปเรื่อย ๆ
ตามแนวเส้นตรงทีข่ นานกับขอบโตะ๊ จะไดย้ ินเสยี งดังค่อย สลบั กนั ไป

3. การไดย้ ินเสยี งดังบางตาแหน่งและเสียงค่อยบางตาแหน่งตามข้อ 2 น้นั เกดิ จากการแทรกสอดของ
เสยี งจากแหล่งกาเนดิ เสยี งอาพันธ์ 2 แหล่งตาแหน่งที่เสริมกันของเสียงจะได้ยินเสียงดงั และตาแหน่งท่ี
หักล้างกนั ของเสยี งจะได้ยินเสยี งค่อย

4. สรุปไดว้ ่า เสยี งแสดงสมบตั ิการแทรกสอดได้

ตอนที่ 2 กิจกรรมเรอ่ื งเสยี งกบั การเลีย้ วเบน
แนวการบันทกึ ผลการทากิจกรรม

42

ชดุ การสอนท43่ี 1
เรื่อง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสียง

ตาแหนง่ ท่ีรบั ฟงั เสยี ง ลักษณะความดังค่อยของเสียง
ตาแหนง่ A เสียงคอ่ ยท่ีสดุ
ตาแหนง่ B เสยี งดังกว่าทีต่ าแหน่ง A
ตาแหนง่ C เสียงดงั ที่สดุ

คาถามทา้ ยกิจกรรม

1. ณ ตาแหน่ง A, B และ C จะไดย้ ินเสียงดังแตกตา่ งกันหรือไม่ อย่างไร
แนวการตอบ แตกต่างกัน เสียงทไ่ี ด้ยิน ณ ตาแหน่ง A จะดงั น้อยกว่าเสียงทไี่ ดย้ นิ ณ ตาแหนง่ B และ C
2. ถ้าเสยี งเคลือ่ นท่ใี นแนวตรงจากแหล่งกาเนิดโดยไมเ่ ปลย่ี นทศิ ทางจะไดย้ นิ เสยี ง ณ ตาแหน่ง A และ B
หรือไม่
แนวการตอบ ไดย้ นิ

แนวการสรุปผลการทากิจกรรม จากผลการทากิจกรรมพบวา่

1. เมอื่ รบั ฟงั เสียงท่ตี าแหน่ง A, B และ C จะพบวา่ ทต่ี าแหนง่ A เสยี งคอ่ ยทส่ี ุด ที่ตาแหนง่ B
เสียงดงั ขึน้ และทีต่ าแหน่ง C เสียงดงั ท่ีสุด

2. การไดย้ ินเสยี งทีต่ าแหนง่ A และ B ซง่ึ อยูด่ า้ นหลังสิง่ กีดขวางได้ แสดงวา่ เสียงสามารถ
เคลือ่ นท่ีอ้อมส่ิงกีดขวางได้

3. การได้ยินเสยี งท่ีตาแหนง่ A ค่อยทสี่ ุดเพราะพลังงานเสียงที่สง่ ไปถึงท่ตี าแหน่ง A ลดลง
4. เสียงแสดงสมบัติการเล้ยี วเบนได้ ดังนนั้ เสียงมีสมบตั ิเปน็ คลน่ื

เรื่อง ธรรมชาติและสมบัตขิ องเสียง

คาชี้แจง ข้อละ 1 คะแนน
1. เสียงเกิดข้นึ จากอะไร
แนวการตอบ เสยี งเกดิ จากการส่นั ของวัตถุ ( แหล่งกาเนดิ เสยี ง )

2. คลน่ื เสียงเป็นคลืน่ ชนดิ ใด มสี ว่ นประกอบอะไรบ้าง

43

ชุดการสอนท44่ี 1
เร่อื ง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสียง

แนวการตอบ คลื่นเสียงเป็นคล่ืนตามยาว โดยอนุภาคของตัวกลางเคล่ือนท่ีในแนวเดียวกับทิศ
การเคลื่อนที่ของคลื่น ประกอบด้วย 2 ส่วน คือส่วนอัดและส่วนขยาย โดยการเคลื่อนที่ของคล่ืนเสียง
จาเปน็ ตอ้ งอาศัยตวั กลางในการเคลอ่ื นที่

3. จงอธบิ ายหลักการการเดินทางของเสียง มาพอสงั เขป
แนวการตอบ เสียงท่ีเราได้ยินเป็นการถ่ายทอดพลังงานจากแหล่งกาเนิดเสียงมายังหูเรา โดยเสียงเป็น
คลน่ื ตามยาว จาเป็นตอ้ งอาศัยตวั กลางในการเคลื่อนที่ ซึ่งเสียงจะเคลื่อนท่ีได้ดีในตัวกลางที่เป็นของแข็ง
ของเหลวและแก๊ส ตามลาดับ

4. เหตุใดเสียงจึงไม่สามารถเดินทางผ่านสุญญากาศได้
แนวการตอบ เสียงจาเป็นต้องอาศยั ตัวกลางในการเคลื่อนท่ี แตส่ ุญญากาศคือบริเวณท่ีไมม่ โี มเลกุลของ
อากาศหรือแก๊สใด ๆ อยเู่ ลย

5. ในบางครั้งเกิดฟา้ แลบโดยไมไ่ ดย้ ินเสยี งฟา้ ร้อง เปน็ เพราะเหตุใด
แนวการตอบ การเกิดฟ้าแลบแต่ไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้องเกิดข้ึนเนื่องจากการหักเหของเสียงหลาย ๆ
ครง้ั จนกระท่งั เกิดการสะทอ้ นกลับหมด แล้วจึงหักเหขึ้นไปในอากาศอกี จงึ ทาให้เราไมไ่ ด้ยินเสยี งฟ้าร้อง

6. เหตใุ ดเสียงจงึ มสี มบตั เิ ป็นคลื่น
แนวการตอบ เน่ืองจากเสียงสามารถแสดงสมบัติทสี่ าคัญของคล่ืนได้ ดงั น้ี การสะท้อน การหกั เห
การแทรกสอด และการเล้ยี วเบน

7.เรือประมงใช้เคร่ืองโซนาร์เพื่อสารวจฝูงปลา โดยส่งคลื่นความถ่ีสูง 20-100 กิโลเฮิรตซ์ วัตถุใต้ท้อง

ทะเลขนาดก่ีเซนติเมตรท่ีโซนาร์จะตรวจไม่พบ กาหนดให้ อัตราเร็วเสียงฝนน้าเป็น 1,500 เมตร

ต่อวินาที

แนวการตอบ จากสูตร v = f 

 = v
f
1,500
 = 100x103

 = 15x10-3 เมตร

44

ชุดการสอนท45่ี 1
เรือ่ ง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสียง

 = 1.5 เซนตเิ มตร
คาตอบ วัตถใุ ตท้ อ้ งทะเลขนาดเล็กกวา่ 1.5 เซนตเิ มตร

8. ในเวลากลางคืน อากาศพ้ืนดนิ เย็นกว่าอากาศบริเวณที่อย่สู ูงขนึ้ ไป ถ้านักเรียนเปา่ ขลุ่ย เสียงขลุ่ยจะมี
การหกั เหอย่างไร จงอธบิ าย
แนวการตอบ คลื่นเสียงท่ีผ่านอากาศที่มีอุณหภูมิต่าไปยังบริเวณอากาศท่ีมีอุณหภูมิสูงข้ึนไป นั่นคือ
อตั ราเร็วของเสยี งจะมีค่าเพม่ิ ขน้ึ เม่ืออุณหภมู มิ คี า่ เพิ่มข้นึ คล่นื เสยี งจึงหกั เหออกจากเส้นแนวฉาก

9. จงอธบิ ายหลักการแทรกสอดของคล่นื มาพอสงั เขป
แนวการตอบ การแทรกสอดของเสียง คือ ปรากฏการณ์ที่คลื่นเสยี งจากแหลง่ กาเนิดเสยี งสองแหล่งซึ่งมี
ความถเ่ี ทา่ กันและเฟสตรงกันเคลือ่ นที่มาซอ้ นทับกัน ทาให้เกดิ ตาแหนง่ ปฏิบัพ ( เสียงดัง ) และตาแหน่ง
บัพ ( เสยี งค่อย ) สลับกันไป

10. S1 และ S2 เป็นลาโพงเสียงต่อเข้ากับแหล่งกาเนิดคลื่นเสียงเดียวกันที่มีความถ่ี 100 เฮิรตซ์

โดยลาโพงท้งั สองมีเฟสตรงกัน ถา้ ลาโพงทงั้ สองวางห่างกนั 10 เมตร จงหาวา่ จะเกิดแนวท่ีได้ยินเสียง

คอ่ ยทง้ั หมดกีแ่ นว ( กาหนดอตั ราเร็วเสียงในอากาศขณะนัน้ เท่ากบั 340 เมตรตอ่ วนิ าที )

แนวการตอบ

d sin  = ( n + 1 ) 
2
1 v
(10m) sin 90 = (n+ 2 ) f

(10m) 1 = (n+ 1 ) 340
2 100
n = 2.4

n = 2 ( คิดจานวนเตม็ )

45

ชุดการสอนท46่ี 1
เร่อื ง ธรรมชาตแิ ละสมบตั ิของเสียง

จานวนบัพจากแนวกลาง = n+1

= 2+1

=3

ตอบ เกิดแนวที่ได้ยนิ เสยี งคอ่ ยทง้ั หมด 6 แนว

เรอ่ื ง ธรรมชาตแิ ละสมบตั ขิ องเสียง

ตอนที่ 1. ขอ้ ละ 0.5 คะแนน
ขอ้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

คาตอบ C. F. I. G D. J. A. B. E. H.

ตอนท่ี 2 ข้อละ 2.5 คะแนน

46

ชดุ การสอนท47่ี 1
เรือ่ ง ธรรมชาติและสมบตั ิของเสียง

1. กาหนดให้เสียงมีอัตราเร็ว 1,500 เมตรต่อวินาทีในน้าทะเล เรือลาหน่ึงปล่อยคลื่นโซนาร์ ขนาด

ความถี่ 5 กิโลเฮิรตซ์ ลงไปจากผิวน้า ปรากฏว่ารับคล่ืนสะท้อนผิวขนาดใหญ่ได้ในเวลา 1.6 วินาที

นา้ ทะเลตรงนั้นลึกเท่าไร และจะตรวจสอบพบปลาขนาดเลก็ ท่สี ดุ ไดเ้ ท่าไร

แนวการตอบ จาก S = vt

S = 1,500x1.6

= 2,400 เมตร

ความลึกประมาณ = S
2
2,400
= 2

= 1,200 เมตร

จาก v = f

= v
f
1,500
= 5,000

= 0.3 เมตร

คาตอบ ปลาตวั เลก็ ที่สุดทจี่ ะตรวจสอบได้ต้องยาว 0.3 เมตร

2. A และ B เป็นลาโพงเสียงสองตัววางห่างกัน 2 เมตร ในที่โล่ง P เป็นตาแหน่งที่ผู้ฟังห่างจาก

A เป็น 4 เมตร และห่างจาก B เป็น 3 เมตร ถ้าผู้ฟังอยู่ตรงตาแหน่งที่เสียงหักล้างกันคร้ังแรก

เขาจะได้ยินเสยี งท่ีมคี วามถเ่ี ท่าใด เมอื่ อัตราเรว็ ของเสียงในอากาศขณะนั้นเป็น 340 เมตรต่อวนิ าที

แนวการตอบ จาก S2P - S1P = ( n - 1 ) 
2
1
4 -3 = (1 - 2 ) 

1 = ( 1 ) 
2
2
 = 1x 1

 = 2 เมตร

จาก v = f

47

ชุดการสอนท48ี่ 1
เรอ่ื ง ธรรมชาตแิ ละสมบตั ิของเสยี ง

f = v

340
= 2

= 170 เฮริ ตซ์

ตอบ เขาจะไดย้ นิ เสียงที่มีความถ่เี ท่ากับ 170 เฮิรตซ์

แบบบนั ทกึ แบบทดสอบกอ่ น - หลังเรยี น

ช่ือ...........................สกลุ .........................ชั้น............เลขท่.ี ......

กระดาษทดสอบก่อนเรยี น ง. กระดาษทดสอบหลังเรยี น
ข้อ ก. ข. ค. ข้อ ก. ข. ค. ง.
1. 1.
2. 2.
3. 3.

48

ชดุ การสอนท49่ี 1
เร่อื ง ธรรมชาตแิ ละสมบัติของเสียง

4. 4.
5. 5.
6. 6.
7. 7.
8. 8.
9. 9.
10. 10.

8 - 10 คะแนน เกณฑก์ ารประเมนิ ดี
5 - 7 คะแนน ระดับคุณภาพ 3 หมายถงึ พอใช้
น้อยกวา่ 5 คะแนน ระดบั คุณภาพ 2 หมายถงึ ควรปรับปรุง
ระดับคุณภาพ 1 หมายถึง

ประเมินผล สรุปผลการประเมนิ หลังเรียน
คะแนนเต็ม ก่อนเรยี น 10
คะแนนที่ได้ 10
ระดับคุณภาพ

แบบบนั ทึกผลการเรียนดา้ นความรู้

ผ้บู นั ทกึ ( ) ครู ( ) นกั เรียน ( ) อื่นๆ.......................................

คาชี้แจง ใหส้ มาชกิ ในกลมุ่ แจ้งคะแนนของแบบทดสอบหลังเรยี น บัตรกิจกรรม บตั รคาถาม บตั รฝึก
ทักษะของตนเอง ให้เลขากลุ่มบนั ทึกผลลงในแบบบนั ทึกน้ี

ชือ่ – สกุล บัตร การประเมินดา้ นความรู้ รวม
กจิ กรรม บัตร บัตร แบบทดสอบ ( 40
คาถาม ฝึกทักษะ หลังเรียน คะแนน)

49

ชุดการสอนท50่ี 1
เรื่อง ธรรมชาติและสมบตั ิของเสียง

(10 คะแนน) (10 คะแนน) (10 คะแนน) (10 คะแนน)

ลงชือ่ ............................................ผบู้ ันทกึ
.................../................./...................

เกณฑ์การตดั สินการผ่านดา้ นความรู้

เกณฑ์การตัดสนิ / บตั รกิจกรรม บตั รคาถาม บัตรฝึกทักษะ แบบทดสอบ
รายการ หลังเรียน
รอ้ ยละ 70 รอ้ ยละ 70 ร้อยละ 70 รอ้ ยละ 70
ผา่ น ข้ึนไป ขนึ้ ไป ขนึ้ ไป ข้นึ ไป

50


Click to View FlipBook Version