The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารการจัดการความรู้ความสำเร็จของผู้นำต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ รูปแบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล
นางสาวประทุมพร อันสนั่น ศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พระราชา บ้านสุขสบาย ตำบลโพนสูง อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cdlc Udon, 2021-08-01 23:23:42

KM เล่มที่ 1 ความสำเร็จของผู้นำต้นแบบ โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน นางสาวประทุมพร อันสนั่น อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี

เอกสารการจัดการความรู้ความสำเร็จของผู้นำต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ รูปแบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล
นางสาวประทุมพร อันสนั่น ศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พระราชา บ้านสุขสบาย ตำบลโพนสูง อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี

ความสาเ2ร0็จของผู้นาตน้ แบบ

โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน

นางสาวประทมุ พร อนั สนน่ั

ศนู ยเ์ รยี นรศู้ าสตรพ์ ระราชา บา้ นสขุ สบาย ตาบลโพนสูง อาเภอบา้ นดงุ จงั หวดั อดุ รธานี

การจดั การความรโู้ ครงการพฒั นาพนื้ ทต่ี ้นแบบการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ตามหลกั ทฤษฎใี หม่
ประยกุ ตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” (KM สญั จร)

กรมการพฒั นาชมุ ชน สถาบนั การพฒั นาชมุ ชน :
ความสศาเูนร็จขยอศ์งผูน้กึ าษต้นาแบแบลกาะรพพัฒฒั นาคนุณาภาชพมุชวี ิตชตนามอหลดุักทรฤธษฎาใี หนม่ี รปู แบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล

เอกสารการจดั การความรู้
ความสาเรจ็ ของผู้นาต้นแบบ

การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ตามหลกั ทฤษฎีใหม่ รปู แบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล
นางสาวประทมุ พร อนั สนน่ั

ศนู ยเ์ รยี นรศู้ าสตรพ์ ระราชา บา้ นสขุ สบาย ตาบลโพนสูง อาเภอบา้ นดงุ จังหวดั อดุ รธานี

ความสาเรจ็ ของผนู้ าต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎีใหม่ รูปแบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล

คำนำ

กรมการพัฒนาชุมชน โดยสถาบันการพัฒนาชุมชน ดาเนินการโครงการตลาดนัด
ความรงู้ านพฒั นาชุมชน (KM Market) ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 โดยมีกจิ กรรมการจัดการความรู้
โครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎใี หม่ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา
โมเดล กรมการพฒั นาชุมชน ทดี่ าเนนิ การลงพื้นทถี่ อดองค์ความรู้ 2 ครวั เรือนตน้ แบบ ในเขตพื้นที่
บรกิ ารของศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชมุ ชนท้งั 11 แหง่ ของกรมการพฒั นาชุมชน

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุดรธานี เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจเกี่ยวกับ
การให้บริการความรู้และงานวิชาการด้านการพัฒนาชุมชน จึงดาเนินการจัดการความรู้โดย
การถอดองค์ความรู้การพฒั นาพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยกุ ตส์ ู่
โคก หนอง นา โมเดล ของนางสาวประทุมพร อันสน่ัน ศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พระราชา บ้านสุขสบาย
หม่ทู ่ี 12 ตาบลโพนสูง อาเภอบา้ นดุง จังหวดั อุดรธานี เป็นพน้ื ที่ตน้ แบบของการเรียนรู้การน้อมนา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม และสามารถ
เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ีของการประยุกตห์ ลักทฤษฎใี หมไ่ ปสู่การปฏบิ ตั ิในพ้ืนท่ตี ามภูมิสงั คม

โดยหนังสือเล่มน้ี เป็นการรวบรวมข้อมูล ถอดองค์ความรู้ท่ีเกิดจากการปฏิบัติจริง
ในพื้นที่ของผู้นาต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา
โมเดล เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาและสร้างแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ผ่านเนือ้ หาทมี่ ีความเขา้ ใจงา่ ยและนาเสนอในรูปแบบของการเล่าเรอื่ งพร้อมภาพประกอบ
ทาให้ผู้อ่านเข้าใจวิธีการ กระบวนการขับเคลื่อนพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบได้ง่ายขึ้น บุคลากรของ
กรมการพัฒนาชุมชน ครัวเรือนเกษตรกร และประชาชนท่ัวไปท่ีสนใจสามารถศึกษาเรียนรู้ได้ด้วย
ตนเอง ซึ่งเชื่อว่าการจัดการความรู้เล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ และเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนา
ทรัพยากรมนษุ ยใ์ ห้สามารถพึ่งตนเองไดอ้ ยา่ งยั่งยืนต่อไป

ศนู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนอุดรธานี
30 มิถุนายน 2564

ความสาเร็จของผนู้ าตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ รปู แบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล ก

สำรบญั หนา้
1
ภมู ิหลังของชีวติ 4
หลักคดิ พัฒนาตน 9
หลดุ พน้ ความทุกข์ยาก 13
เรม่ิ ตน้ จากพฒั นาพื้นที่ 20
ตอ้ งมีภาคเี ครอื ข่าย 23
เร่อื งเลา่ สคู่ วามสาเรจ็ 31
เรียนรู้จากปัญหา 34
พัฒนากรช่วยหนนุ เสริม 37
กา้ วไดไ้ กล กา้ วด้วยใจ ก้าวไม่ใหญ่ กา้ วไปดว้ ยกนั 40
ตวั อย่างกจิ กรรมของผู้นาต้นแบบ

ความสาเร็จของผ้นู าตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล ข

“ภมู ิหลัง
ของชีวิต”

ความสาเรจ็ ของผ้นู าต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎีใหม่ รปู แบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล

เรื่องรำวชีวิตของนำงสำวประทุมพร อนั สนนั่

ผ้นู ำต้นแบบกำรพฒั นำคณุ ภำพชีวติ ตำมหลกั ทฤษฎใี หม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นำ โมเดล

ย้อนหลังกลับไปเม่ือ 20 ปีที่แล้ว นางสาวประทุมพร อันสนั่น เร่ิมลงทุนในธุรกิจประมูล
ยางพารา รับซื้อยางพาราจากเกษตรกรเพ่ือส่งขายไปยังประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์ ช่วงท่ีทา
ธรุ กจิ ยางพาราเป็นช่วงที่ธรุ กิจกาลงั เติบโตไปไดด้ ี ราคายางพาราสูง ทาใหไ้ ดก้ าไรดี มเี งินหมุนเวียน
ในธุรกิจตลอดระยะเวลา 5 ปี นับเฉพาะช่วงก่อนที่จะเลิกทาธุรกิจนี้ มีเงินมากกว่า 20 ล้านบาท
ธุรกิจเติบโตดี จนถึงข้ันสามารถขอย่ืนกู้เงินโดยที่ไม่ตอ้ งใช้หลกั ทรัพย์ค้าประกัน จึงยื่นขอกู้เงินจาก
สถาบันการเงินจนเป็นหนี้ จานวน 3 ล้านบาท มีการเช่าลานยางพาราเป็นของตนเอง มีรถบรรทุก
รถพ่วงเทรลเลอร์ 2 คัน บริหารลูกน้องที่เป็นผู้ชายประมาณ 30 คน จ้างเสมียนเป็นคนทาบัญชี
จ้างคนดูแลในระหว่างช่วงการขนส่งสินค้าไปขายท่ีประเทศมาเลเซีย แต่ชีวิตจะต้องเดินทางทุกวัน
ต้องดูแลบริหารธุรกิจ ต้องเข้าไปประมูลแข่งกับโรงงานใหญ่ ๆ ทั้งในจังหวัดอุดรธานีและบึงกาฬ
ด้วยตัวเอง และแก้ไขปัญหาส่ิงที่เกิดขึ้นจากความเส่ียงของธุรกิจตลอดเวลา ผ่านไประยะหนึ่ง
เริ่มมองเห็นส่ิงท่ีทาอยู่นั้น ชีวิตตัวเองไม่มีความสุข ประกอบกับเป็นเวลาที่ราคายางพาราเรมิ่ ตกตา่
ทาให้หวนคิดทบทวนตัวเองว่างานท่ีทาอยู่น้ัน ทาให้เรามีเงินทองมากข้ึนก็จริง แต่ทาให้ชีวิต
ไม่มีความสุขเลย เพราะไม่มเี วลาให้กับครอบครัว บางครั้งแทบไม่เจอหน้าลูก ไม่มีเวลาไดพ้ ูดคุยกัน
ทาไดแ้ ต่ซอื้ กบั ขา้ วทง้ิ ไวใ้ หล้ กู ทกุ วัน

กระทั่งปลายปี 2556 จึงตัดสินใจเลิกกิจการประมูลยางพารา เพราะเร่ิมคิดว่าจะทาต่อ
ไม่ไหว มีค่าใช้จ่ายในการจ้างคนงานดูแลรถบรรทุก จึงตัดสินใจขายรถบรรทุก เนื่องจากตัวเองเป็น
ผู้หญิงที่ต้องทางานหนักคนเดียว พร้อมท้ังมีลูกชายลูกสาว 2 คน และมีพ่อแม่ท่ีจะต้องดูแล
หลังจากเลิกกิจการระยะแรกวางแผนจะไปทาร้านอาหารในตัวเมืองอุดรธานีหรือท่ีภูเก็ต แต่คิดว่า
ทาเองท้ังหมดไม่ได้แน่นอน จึงตัดสินใจกลับมาอยู่ที่จังหวัดอุดรธานี ขณะน้ันมีเงินที่เหลือจาก
กิจการยางพารา และคิดว่าถ้าลงทนุ น้อยเราจะได้ผลตอบแทนน้อย แตถ่ ้าลงทนุ ครง้ั เดียวจะคุ้มค่ามาก
จึงตัดสินใจลงทุนทาร้านอินเตอร์เน็ตอยู่ในตลาดอาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ลงทุนคร้ังเดียว
เป็นเงิน 1 ล้านกว่าบาท ซ้ือคอมพิวเตอร์จานวนท้ังหมด 40 เคร่ือง ตลอดเวลาท่ีเปิดร้านมีรายได้
เฉลี่ยเดือนละ 80,000 – 90,000 บาท แต่เมื่อคานวณค่าใช้จ่ายต้องแบ่งมาจ่ายหนี้ให้ธนาคารและ
รายจ่ายที่จาเป็นภายในร้าน ตกเดือนละ 70,000 บาท ผ่านไป 5 ปี สภาพเครื่องคอมพิวเตอร์เริ่ม
เส่ือมคุณภาพใช้งานไม่ได้ จึงเลิกกิจการน้ี ตัดสินใจขายอุปกรณ์และปล่อยให้คนอื่นมาเช่าทาแทน

ความสาเรจ็ ของผนู้ าต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ รูปแบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล 2

พอกลับมาบ้านทาให้ได้เห็นพ่อแม่แก่ชราลงไปมาก จึงมีความคิดท่ีจะย้ายกลับมาอยู่ที่บ้านเกิด
แบบถาวร เพื่อได้ดูแลพอ่ แม่และลูกของตนเอง

พอกลับมำอยู่บ้ำน ช่วงปี 2561 คือ เป็นช่วงเร่ิมแรกของการหันเข้าสู่การเป็นเกษตรกร
ชีวิตที่ผ่านมาไม่เคยคดิ จะทาเกษตรอย่างจริงจงั สิ่งแรกที่ทา คือ เอาเงินท่ีเหลืออยู่ 1 แสนกว่าบาท
มาปลูกพืชเชิงเด่ียว ลงทุนทาทีเดียว โดยท่ีไม่ได้ศึกษาสภาพพ้ืนที่ ทาแบบที่ไม่มีองค์ความรู้
จ้างแรงงานทาให้ทุกอย่าง อย่างเช่น ปลูกกล้วย 5 ไร่ ขมิ้นชัน 2 ไร่ ข่าเหลือง 3 ไร่ วาดภาพไว้ว่า
จะได้ผลผลิตที่ดี ขายได้ราคา มีผลกาไรดี แต่สิ่งท่ีเกิดขึ้นจริงกลับได้ผลผลิตเพียงแค่ไม่ถึง 30% ถือ
ว่าทาคร้ังแรกก็ขาดทุนเลย จนแทบไม่เหลือเงินท่ีจะลงทุนทาอะไรต่อได้ รวมท้ังได้เอาเงินมาลงทุน
ทาโรงเพาะเห็ดขอนขาว เหด็ ขอนดา เปน็ เงนิ 1 แสนกวา่ บาท ต้องดแู ลคนเดียวทั้งหมด ตัดเกบ็ เห็ด
ที่ได้ด้วยตัวเอง เห็ดบานออกช่วงใดก็ต้องรีบไปตัดออกมาเพื่อส่งขาย บางครั้ง 3 ทุ่ม ก็ยังต้องเข้า
โรงเพาะเห็ด ตอนเช้าก็ต้องไปส่งขายท่ีตลาดด้วยตนเอง จนกระทั่งหลานชายป่วยเป็นโรคเนื้องอก
ในสมองและฝีในสมอง ซ่ึงเป็นผลกระทบมาจากเชื้อราต่าง ๆ ท่ีอยู่ในโรงเพาะเห็ด เช่น ราไข่ปลา
ราสีส้ม ราปะการัง และตัวเองกเ็ จอปญั หาดังกล่าวเชน่ กนั คือ มีแผลจากรอยข่วน แผลหายช้ามาก
ทาให้กลับมาคิดอีกครั้งว่า ส่ิงท่ีกาลังทาส่งผลกระทบต่อสุขภาพเกินไป จึงตัดสินใจปิดโรงเพาะเหด็
ไม่ทาอกี ต่อไป และต้องคิดหาอาชพี ใหม่ทด่ี กี วา่

ชีวิตในขณะน้ันเริ่มเจอปัญหาหลายอย่าง เงินลงทุนแทบจะไม่เหลือแล้ว ทาให้คิดหนัก
และเครียดว่าจะดาเนินชีวิตต่อไปทางไหน จึงเริ่มหันมาทาเกษตรแบบผสมผสาน ปลูกมะละกอ
ปลูกพริก ปลูกมะเขือ ปลูกกล้วย ปลูกของกินทุกอย่าง ในหนองก็มีปลา ทาแล้วเราจะมีอาหาร
ปลอดภัย เพราะไม่ได้ใช้สารเคมี จนเวลาผ่านไปพี่ชายชักชวนให้ลองเข้าไปฝึกอบรมหลักสูตร
ผู้ตรวจแปลงมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS เหตุการณ์น้ีถือว่าเป็นจุดเปลี่ยน
ของชีวิตท่ีทาให้ นางสาวประทุมพร อันสน่ัน ได้ปรับวิธีคิดและเริ่มต้นชีวิตใหม่ ในการทาเกษตร
ตามแนวพระราชดาริ และดาเนนิ ชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ความสาเรจ็ ของผู้นาต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 3

“หลกั คิด
พัฒนำตน”

ความสาเรจ็ ของผ้นู าต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎใี หม่ รูปแบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล

ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียง คือ แสงสว่ำงในควำมมดื

หลักคดิ ทน่ี างสาวประทุมพร อันสนน่ั ใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ หลงั จากทห่ี นั กลบั มาอยู่
ที่บ้านเพ่ือดูแลพ่อแม่และครอบครัว น่ันก็คือ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เมื่อปลายปี 2561
เธอได้เข้าไปฝึกอบรมเป็นผู้ตรวจแปลงเกษตรอินทรีย์ ซ่ึงเป็นโครงการของ ดร.อนุรักษ์ เรืองรอบ
ผู้ก่อตั้งเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ภายใต้มาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม ทาให้ได้รู้จักกับ
เพื่อนที่เข้าร่วมโครงการอีกหลายคน หน่ึงในนั้น คือ อาจารย์กุ้ง กอแก้ว วชิรมน ประธานสถาบัน
เศรษฐกิจพอเพียงเกษตรอนิ ทรีย์วถิ ไี ทย โรงเรยี นศาสตร์พระราชา เพชรบรู ณ์ จึงเป็นจดุ เปลย่ี นของ
ชีวิตท่ีทาให้เข้าถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพราะหลังจากที่เธอกลับมาท่ีบ้านได้มีการ
ชักชวนและรวมกลุ่มคนท่ี “หัวไวใจสู้” เพ่ือเชิญให้อาจารย์กุ้งเข้ามาเปลี่ยนทัศนคติ ปรับความคิด

ถ่ายทอดหลักทฤษฎีใหม่ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมทั้งได้ทดลองปฏิบัติตน
ตามวถิ ีพอเพยี ง ทดลองการทาเกษตรตามหลกั ความพอเพยี ง ภายใต้การดูแลจากอาจารยก์ ุง้ อยา่ ง
ใกลช้ ดิ ผา่ นไประยะหน่ึงก็เร่มิ มีความเช่อื และศรัทธาในหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง สามารถ

เข้าถึงแก่นหัวใจสาคัญ คือ “แค่คำว่ำพอก็พอแล้ว” การทาแบบเป็นขั้นเป็นตอน ให้

เหมาะสมกับฐานะและกาลังของเราเอง โดยใช้คุณธรรมนาความรู้ รู้จักช่วยเหลือแบ่งปันผู้อื่น
และการพ่ึงตนเองให้ได้มากที่สุด รวมท้ังอาจารย์กุ้งสอนการทาเกษตรแบบพอเพียง การออกแบบ
พ้ืนที่แปลงเกษตรตามภูมสิ งั คม และการแปรรปู ผลผลิตเกษตรอนิ ทรีย์

จนกระท่ังในปี 2562 ทางอาเภอบ้านดุงได้คัดเลือกเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ
ฝึกอบรมของศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในพระดาริ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา
นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา ซึ่งถือว่าเป็นจุดเปลี่ยนอีกคร้ังท่ี
ทาให้เธอได้เติมเต็มองค์ความรู้และแนวคิดใหม่ ๆ จนเห็นแสงสว่างและทางรอดในยามวิกฤต
จากการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเธอไดเ้ ขา้ รับการฝึกอบรมหลักสูตร
การพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย
คริสตจักรนาเรียง อาเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี เหตุการณ์นี้ทาให้เธอได้รับการปลูกฝังแนวคิดท่ี

เรียกว่า “ทำแบบคนจน” รวมทั้งเกิดการสร้างภาคีเครือข่ายท่ีเป็นสมาชิกกสิกรรมธรรมชาติ

ของจังหวัดอุดรธานีเพ่ิมมากข้ึน มีการติดตามและให้คาแนะนาเกี่ยวกับการออกแบบแผนท่ีชีวิต

ความสาเรจ็ ของผู้นาตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ รปู แบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล 5

การออกแบบพื้นท่ีแปลงตามหลักกสิกรรมธรรรมชาติ หลักการพึ่งตนเองภายใต้ภาวะวิกฤต
จากอาจารย์ของศูนย์ฯนาเรียง เช่น พ่อแสวง ศรีธรรมบุตร อาจารย์ไชยยา โนนอาสา และสมาชิก
เครือข่ายที่ผ่านการฝึกอบรม ได้มีการจัดกิจกรรมเอาม้ือสามัคคี ไปช่วยเหลือกันทางานในพื้นที่
แปลงของสมาชิกหมุนเวียนกัน เกิดการสร้างกระบวนการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้
และแลกเปลี่ยนเมล็ดพันธ์ุพืชพันธุ์ไม้ร่วมกัน จนในท่ีสุดพ้ืนที่ของเธอสามารถยกระดับขึ้นเป็น
ศูนยเ์ รยี นร้ศู าสตร์พระราชา เป็นแหล่งเรียนรกู้ ารทาเกษตรตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

และในปี 2563 สานกั งานพัฒนาชมุ ชนอาเภอบา้ นดุงได้คดั เลอื กใหป้ ระทมุ พรเขา้ ไป
ฝึกอบรมหลักสูตรการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล
ทีศ่ นู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนอดุ รธานี ทาใหไ้ ด้พบกบั อาจารย์ใหญ่ของเครอื ข่ายกสิกรรมธรรมชาติ
เช่น อาจารย์ไตรภพ โคตรวงษา ประธานมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ อาจารย์ปริญญา นาเมืองรักษ์
ประธานเครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติภาคอีสาน และอาจารย์เฉลิมศักดิ์ ถนอมสิทธิ์ ผู้อานวยการ
ศูนย์กสิกรรรมธรรมชาติกาสินธ์ุ ได้เรียนรู้ศาสตร์พระราชาด้านบริหารจัดการดิน น้า ป่า มาฟ้ืนฟู
ระบบนิเวศจนสามารถพลิกฟื้นดินให้มีความอดุ มสมบูรณ์อีกครั้ง สร้างระบบนิเวศท่ีสมดุลต่อระบบ
การผลิตท่ีดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ถือว่าเป็นการปรับทัศนคติและ
ความคิดอีกครั้ง โดยได้สัมผัสเรียนรู้วิธีคิดของอาจารย์แต่ละคน พร้อมทั้งสามารถนาไปปรับใช้กับ
การพัฒนาตนเองและครอบครัวได้ รวมทั้งการได้มาฝึกอบรม ทาให้ได้เครือข่ายการทางานร่วมกัน
ในเขตพื้นท่ีภาคอีสานตอนบน 8 จังหวัด และได้รู้จักเพ่ือนท่ีอยู่ในพื้นท่ีใกล้เคียงกัน เพ่ือไปเยี่ยม
แลกเปลี่ยนองคค์ วามรกู้ ารทา โคก หนอง นา โมเดล และทาให้เธอสามารถนาองคค์ วามรูท้ ี่ได้รับมา
ไปปรบั ใชใ้ นพ้นื ท่ีแปลงของตนเอง โดยมกี ารเริ่มทดลองทารูปแบบ โคก หนอง นา ในพ้ืนทข่ี นาดเล็ก

จานวน 2 งาน ตามหลักการท่ีว่า “เล็ก แคบ ชัด” หมายถึง คนที่มีกาลังน้อยก็ทาน้อย

ไม่มีสตางค์ก็ทาอย่างคนไม่มีสตางค์ ทาแบบพึ่งตัวเองอย่างเป็นขั้นเป็นตอน เพื่อสร้างให้เกิด
ตัวอย่างแก่ผู้ที่สนใจสามารถมาเรียนรู้ได้ง่าย พร้อมทั้งเป็นการลงมือปฏิบัติจากจุดเล็ก ๆ ก่อนท่ีจะ
ขยายผลใหม้ พี ้นื ทใ่ี หญข่ ้ึน สิ่งน้ีคอื การทาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงนัน่ เอง

ดังน้ันจะเห็นได้ว่า ส่ิงที่เธอได้ดาเนินการทาอยู่น้ัน มาจากการพัฒนาตนเอง ฝึกฝน
ทดลองลงมือทาด้วยตนเอง ลองผิดลองถูก และหาแนวทางแก้ไขในพ้ืนที่แปลงของตนเอง โดยใช้
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแสงสว่างนาทางไปสู่การพลิกฟื้นชีวิตของตนเอง นอกจากนี้
หลังจากที่เธอได้พัฒนาพื้นที่แปลงเกษตรของตนเอง ยังได้นาหลักการของทฤษฎีบันได 9 ข้ัน
สูค่ วามพอเพยี งมาปรบั ใชแ้ ละวางแผนชีวิตของตนเองอีกดว้ ย

ความสาเรจ็ ของผนู้ าตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ รปู แบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล 6

ทฤษฎีบนั ได 9 ขนั้ สคู่ วำมพอเพียง

หลักคิดท่ีมองเห็นเป็นรูปธรรมของนางสาวประทุมพร อันสนั่น คือ ทฤษฎีบันได
9 ขน้ั สู่ความพอเพียง โดยมีหลกั การที่ม่งุ เน้นให้เกิดการสรา้ งฐานการพงึ่ ตนเองตามหลกั 4 พอ คอื

“สร้ำงพออยู่ พอกิน พอใช้ พอร่มเย็น
ใหเ้ ป็นพน้ื ฐำนก่อน”

เปรียบเสมือนบ้านท่ีต้องมีเสาอย่างน้อย 4 เสา เพื่อเป็นรากฐานของชีวิตให้มั่นคง
ซง่ึ รากฐานของมนษุ ยไ์ มต่ อ้ งการอะไรมาก นนั่ กค็ อื

หนง่ึ “พอกิน” ต้องการของกิน มีข้าวปลาอาหารเพียงพอ หมู เหด็ เปด็ ไก่
ประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณ์ บรรพบุรุษเราเพาะปลูกมาต้ังแต่อดีต มีหน้าที่ทาการกสิกรรม
เพราะตอ้ งสร้างอาหารใหก้ ับมนษุ ยท์ ัง้ โลก ดงั นน้ั เสาหลกั แรกคือการทาเพ่ือใหเ้ ราอยู่รอด

สอง “พอใช้” ต้องมีการอุปโภค มีของใช้ท่ีจาเป็น เป็นปัจจัยเสริมสาหรับ
มนุษย์ เช่น สบู่ ยาสีฟัน ยาสระผม น้ายาล้านจาน แต่ถ้ามองในบริบทของเกษตรกร ก็คือ ปัจจัย
การผลิต เช่น ปยุ๋ ฮอรโ์ มน สารสกดั จากสมนุ ไพร

สาม “พออยู่” ต้องมีท่ีอยู่อาศัย มีผืนแผ่นดินเพื่อใช้ทามาหากิน มีที่ดิน
เป็นของตนเอง ดินมีความอุดมสมบูณ์ ปลูกพืชก็เจริญงอกงาม กินผลไม้แล้วหว่านเมล็ดลงไปในดิน
แล้วมันสามารถงอกขนึ้ เปน็ ต้นกล้าและเติบโตเป็นต้นไมใ้ หญ่ท่ใี หผ้ ลผลิตได้

ส่ี “พอร่มเย็น" ต้องมีสภาพแวดล้อมท่ีดี มีอากาศที่บริสุทธ์ิ มีต้นไม้ใหญ่
ให้รม่ เงาและพกั ผ่อนอยา่ งมคี วามสุข

เม่ือสร้างรากฐานท่ีมั่นคงแล้ว เศรษฐกิจพอเพียงสามารถก้าวหน้าได้ แต่ไม่ใช่
การก้าวหน้าตามทุนนิยมของชาติตะวันตก แต่การที่จะก้าวหน้าได้ สิ่งแรก คือ ด้านจิตวิญญาณ
ทาให้เราตอ้ งเนน้ ไปท่ีบนั ไดข้ันตอ่ ไป น่นั กค็ อื

ห้า “บุญ” ต้องมีความกตัญญูต่อพอ่ แม่ ต้องกลับมาเล้ียงดูท่านยามแกเ่ ฒา่
และต้องตอบแทนคณุ แผน่ ดิน โดยการฟ้นื ฟูแผน่ ดินใหก้ ลับมามีความอุดมสมบรู ณ์อีกคร้ัง

ความสาเร็จของผนู้ าต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎีใหม่ รปู แบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล 7

หก “ทำน” ต้องรู้จักการให้ รู้จักการแบ่งปันช่วยเหลือผู้อื่น มีผลผลิตท่ีได้

จากในแปลงของตนเอง อันดับแรกต้องแบ่งปันให้เพ่ือนบ้านและสมาชิกก่อนที่จะขาย ใช้วิธีคิดท่ี
เรียกว่า “ย่งิ ทำย่ิงได้ ยง่ิ ให้ยงิ่ มี ย่ิงให้ไปยง่ิ ได้มำ” เปน็ หัวใจสาคัญของปรัชญาความพอเพียง

เจ็ด “เก็บรักษำ” หลังจากทาบุญทาทานแล้ว ต้องรู้จักเก็บไว้ใช้ภายใน

ครอบครัวตนเองด้วย รู้จักการพึ่งพาตนเองให้ได้มากท่ีสุด ต้องสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเอง ใช้ชีวิต
ที่ไม่ประมาท ในข้ันนี้คือ การคัดเลือกเก็บเมล็ดพันธ์ุ การเก็บผลผลิตไว้ในยุ้งฉาง การแปรรูปเพื่อ
ถนอมอาหาร เพือ่ ไวใ้ ช้ในยามวกิ ฤตหรอื ภยั พิบตั ิ เช่น ข้าวกลอ้ ง ปลาร้า ปลาแหง้ พรกิ แห้ง นา้ ปลา

แปด “ขำย” หรือที่เรียกว่าการสร้างธุรกิจยั่งยืน ทาภายใต้การรู้จักตนเอง

ไม่ลงทุนมากหลายอย่างพร้อมกัน รู้จักพอประมาณและทาไปตามลาดับข้ันตอนที่วางแผนไว้
ทาธุรกิจท่ีไม่มุ่งหวังไปที่ตัวเงินเพียงอย่างเดียว แต่มุ่งไปท่ีการเกื้อกูลกัน เอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่
ใหแ้ ละแบง่ ปันกนั ตามแกน่ ของความพอเพียงท่เี รยี กว่า “ขำดทุนของเรำ คือกำไรของเรำ”

เก้า “เครือข่ำย” สร้างให้เกิดการเช่ือมโยงภาคีเครือข่ายให้กว้างข้ึน

ซึ่งการท่ีได้เข้าฝึกอบรมจากศูนย์ฝึกกสิกรรมธรรมชาติ ทาให้มีเพ่ือนเพิ่มมากข้ึน สามารถขยาย
ความร่วมมือ ความช่วยเหลือ และการแบ่งปันกัน จากหลายกลุ่มหลายฝ่ายที่ทางาน เพ่ือสร้างให้
เกิดสังคมแห่งการแบ่งปันและเกื้อกูลกันท่ีย่ังยืน ปัจจุบันมีการรวมกลุ่มสมาชิกที่ทางานกัน ก่อตั้ง
ขึน้ เปน็ “วิสำหกจิ ชมุ ชนเกษตรกรรมย่งั ยนื สุขสบำย”

ความสาเร็จของผู้นาต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ รปู แบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 8

“หลุดพน้
ควำม

ทกุ ขย์ ำก”

ความสาเรจ็ ของผู้นาตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล

น้อมนำหลักคดิ สกู่ ำรปฏิบัตจิ ริง

การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วยสร้างให้คุณประทุมพรสามารถ
พ่ึงพาตนเองได้ สามารถอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ครอบครัวมีความสุข ซึ่งเป็นผลจากการเข้าใจ
หวั ใจของความพอเพียง โดยพนื้ ฐานก็คือ การพึง่ พาตนเองใหไ้ ด้กอ่ น ทาอะไรอย่างเปน็ ขั้นเป็นตอน
ภายใต้ 2 เง่ือนไข ได้แก่ (1) ความรู้ที่ใช้ปัญญาไตร่ตรอง รู้ผิดรู้ชอบ มีความรอบรู้ รอบคอบ
และรู้จักระมัดระวัง (2) คุณธรรมที่ใช้ความเพียรพยายาม มีความเพียรอันบริสุทธิ์ที่ไม่มีข้อสงสัย
ในความเพยี รของตนเอง ไม่เบยี ดเบยี นคนอ่นื อดทนตอ่ ความยากลาบาก เพือ่ ทาให้ชีวติ ตนเองดขี น้ึ

ส่งิ ทน่ี าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นชีวิตประจาวนั ของเรา จึงจาเป็นตอ้ งแปลง
ปรชั ญาลงสกู่ ารปฏิบัตอิ ย่างเปน็ ข้ันเป็นตอน คือ

“รู้ว่ำอะไรตอ้ งทำก่อนและอะไรตอ้ งทำทีหลงั ”

เริม่ จากสร้างปรัชญาของตนเอง คือ ความพอเพียง แต่เปน็ นามธรรมยังจับต้องไม่ได้
จึงต้องแปลงลงสู่ขั้นที่สอง คือ ทฤษฎีท่ีเป็นแนวคิดในการพัฒนาที่เน้นทาน้อยแต่ได้มาก ได้แก่
หลกั ทฤษฎีใหมท่ ่ีเก่ียวกับการบริหารจัดการดนิ น้า ปา่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล เพื่อสร้าง
สู่ขั้นท่ีสามท่ีจับต้องได้ คือ วิธีปฏิบัติ ลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง และนาไปสู่ในข้ันที่สี่ คือ เทคนิค
นวัตกรรม เคล็ดลับ บทเรียนต่าง ๆ ที่เกิดจากการลงมือปฏิบัติอย่างสม่าเสมอจนพบปัญหา
และหาทางออกแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง สุดท้ายในขั้นท่ีห้า คือ ทาแบบคนจน หรือการบริหาร
จัดการภายใต้ภาวะวิกฤต โดยสิ่งที่เราน้อมนาปรัชญาความพอเพียงมาใช้ เราจะไม่มีข้ออ้างว่า
ทาไม่ได้ เพราะเราจะรู้วิธีการที่จัดบริหารชีวิตของตนเองให้อยู่รอดได้ภายใต้ภาวะวิกฤต ดังคาที่
อาจารย์ของเครอื ข่ายกสกิ รรมธรรมชาติได้เน้นย้าไว้ นัน่ ก็คอื

“ควำมขำดแคลนไมเ่ ปน็ ปัญหำ ถำ้ มีปญั ญำและควำมอดทน”

ดังน้ันการที่จะน้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติ ไม่ใช่เพียงแค่
เราต้องปลูกผักสวนครัว ปลูกพริก ปลูกมะเขือ เพียงสองสามต้น แล้วถ่ายรูปลงส่ือโซเชียล ว่านี่คือ
ใช้ชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง แต่ถ้าจะทาให้ถูกต้อง คือ การเข้าถึงหลักคิด และแปลงสู่
การปฏิบัตใิ หไ้ ด้ตามความพอดี พอเหมาะ ตามฐานะและกาลังของตัวเราใหไ้ ด้กอ่ นเป็นอันดบั แรก

ความสาเร็จของผ้นู าต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ รูปแบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล 10

ปฏบิ ัตบิ ชู ำดว้ ยควำมเพียร

คุณประทุมพรนาหลักทฤษฎีใหม่มาปรับใช้กับการพัฒนาพ้ืนที่ของตนเองให้เป็น
แหล่งอาหาร สร้างความมั่นคงทางอาหาร ทาเกษตรแบบผสมผสาน ปลูกผักสวนครัว พริก มะเขือ
มะละกอ ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น ผลไม้ ปลูกไผ่ และเลี้ยงกบ เล้ียงปลา เพื่อทาให้มีความหลากหลาย
ในพ้ืนที่ของตนเอง รวมท้ังยังใช้หลักการฟื้นฟูดินที่ได้มาจากการเรียนรู้หลักกสิกรรมธรรมชาติ
หากผลผลิตเหลือจากการทาบุญ ทาทาน แบ่งปันให้คนอ่ืน ก็ทาการแปรรูปและถนอมอาหารไว้
เพื่อไว้เป็นอาหารหากเกิดวิกฤตภัยต่าง ๆ ในอนาคต ส่ิงหน่ึงที่ทาให้เธอสามารถประกอบอาชีพ
ดว้ ยหลกั ทฤษฎใี หมแ่ ละปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงทจ่ี ะทาให้เกิดผลสาเร็จกบั ตนเองได้ก็คือ

“ต้องมคี วำมเพยี รและควำมอดทน ต้องไมใ่ จรอ้ น”

ความขยัน ความพยายาม และความตั้งใจที่ได้สร้างกิจกรรมให้เกิดข้ึนในพื้นท่ี
ของตนเอง เขามีความสุขท่ีได้ทาสิ่งเหล่านี้ เม่ือปลูกพืชแล้วได้ผลผลิตเจริญงอกงาม จะสร้าง
ให้เกิดความภูมิใจที่สามารถทาได้จริงตามที่ครูอาจารย์ได้สั่งสอนและให้คาแนะนามา นั่นคือ
การที่เขาได้ลงมือปฏิบัติจริงด้วยตัวเอง ลองผิดลองถูก และหาวิธีแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึน
ตอ้ งตนื่ เช้าและใชเ้ วลากับการดูแลพื้นทแี่ ปลงของตนเอง โดยมีพ่อแม่ช่วยกนั รดน้าต้นไม้ ดแู ลตน้ ไม้
ดูแลเร่ืองความสะอาด และความเรียบรอ้ ยในพื้นทแ่ี ปลง ทาใหค้ รอบครัวเกดิ ความผกู พนั กันมากขน้ึ

นอกจากน้ีหากใช้การวิเคราะห์ตามหลัก 4 ท. ซ่ึงเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ไข
ปัญหาความยากจน น่ันก็คือ ต้องมีทัศนะ มีทักษะ มีทรัพยากร และมีการหาทางออกของปัญหา
โดยนามาประยกุ ตใ์ ช้กับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สามารถอธบิ ายตามประเดน็ ได้ดงั น้ี

หนึ่ง มีทัศนะ วิธีคิดที่มีผลต่อการดาเนินชีวิตของเธอ คือ ยึดพระราชดารัส
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั รัชกาลท่ี 9 ความตอนหน่งึ ที่วา่

“...ถงึ บอกวำ่ เศรษฐกจิ พอเพยี ง และทฤษฎใี หม่ สองอย่ำงน้ีจะทำควำมเจริญแก่
ประเทศได้ แต่ตอ้ งมีควำมเพียร แลว้ ตอ้ งอดทน ตอ้ งไมใ่ จร้อน ตอ้ งไม่พดู มำก

ตอ้ งไมท่ ะเลำะกัน ถำ้ ทำโดยเขำ้ ใจกัน เชอ่ื ว่ำทกุ คนจะมีควำมพอใจได้...”

ความสาเร็จของผนู้ าต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ รปู แบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล 11

สอง มีทักษะ ใช้การฝึกฝน ทาซ้าอย่างสม่าเสมอ มีการบ่มเพาะ
จากการฝึกอบรม ถ่ายทอดจากครูอาจารย์ และเรียนรู้ตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ จนเกิด
ความชานาญที่สามารถถา่ ยทอดองค์ความรูข้ องตนเอง ขยายผลไปสูค่ รวั เรือนอ่ืน ๆ ได้

สาม มีทรัพยำกร ในพื้นที่แปลงมีจานวนท้ังหมด 70 ไร่ สามารถ
วางแผนการจัดการพื้นทใ่ี ห้เหมาะสม ปลกู พืช ไม้ผล ไม้ยนื ตน้ ตามหลกั การของการปลูกปา่ 5 ระดับ
คือ ไม้สูง ไม้กลาง ไม้เต้ีย ไม้เรี่ยดิน ไม้กินหัว และบริหารจัดการน้าให้สามารถดูแลต้นไม้
ได้อย่างทั่วถึง โดยมีการวางแผนปัจจัยการผลิต ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการแปรรูป ล้วนแล้วเป็น
ผลผลิตที่ได้จากแปลงของตนเองและของสมาชิกที่อยู่ในชุมชน มีเครือข่ายที่เป็นสมาชิกท่ีเป็นคน
คุ้นเคยกัน และเครือข่ายที่เกิดจากการทาเป็นแหล่งเรียนรู้ เข้ามาช่วยกันพัฒนาพ้ืนที่ให้คงสภาพ
ของการเปน็ จุดเรียนรตู้ น้ แบบได้ โดยใช้หลักการพ่งึ พาอาศยั กนั เกอื้ กูลกนั อยู่รว่ มกนั แบบพ่นี อ้ ง

ส่ี มีทำงออก หากเกิดปัญหาและมีข้อจากัดท่ีเกิดจากการทางานในพื้นที่
แปลงของตนเองและของสมาชิก จะใช้การคิดวิเคราะห์ ไตร่ตรอง หาทางออกร่วมกัน เพื่อกาหนด
แนวทางแก้ไขปัญหาให้สร้างผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่นให้น้อยที่สุด การจะลงมือทาอะไรแล้ว
ตอ้ งมีการวางแผนท่ดี ี ทาอย่างเป็นขนั้ เปน็ ตอน ไม่ลดั ขัน้ ตอน ลงมือปฏบิ ตั ิจริง ไม่รรี อการชว่ ยเหลือ
จากคนอ่ืน เราตอ้ งสร้างความมน่ั คงใหก้ บั ชีวติ ของตนเองเท่าน้นั

ดังน้ันจากการปฏิบัติบูชาของคุณประทุมพร ส่ิงท่ีเห็นได้ชัดเจน น่ันก็คือ ก่อนที่จะ
ลงมือทาอะไร จะตอ้ งคดิ อย่างรอบคอบ มคี วามรทู้ ่ีแจ่มชดั มกี ารวางแผนการทางาน และตอ้ งลงมือ
ปฏิบัตจิ รงิ ทาทนั ที ทาให้ได้ตามทว่ี างแผนไว้ และตอ้ งทาให้ไดด้ ีทีส่ ดุ ดว้ ย เหมอื นคาพูดทบี่ อกวา่ ..

“ต้นไมท้ ี่ปลกู แลว้ โตไวท้ ี่สดุ คือ ต้นไมท้ เ่ี รำลงมือปลูกเดี๋ยวน้ี”

ความสาเร็จของผู้นาตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 12

“เร่มิ ต้นจำก
พฒั นำ
พน้ื ท”่ี

ความสาเรจ็ ของผู้นาตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ รูปแบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล

ออกแบบพ้ืนทตี่ ำมภูมสิ ังคม 14

อาจารย์กอแก้ว วชิรมน ประธานสถาบันเศรษฐกิจพอเพียงเกษตรอินทรีย์วิถีไทย
โรงเรยี นศาสตร์พระราชา เพชรบรู ณ์ ได้เข้ามาช่วยแบบไม่คิดคา่ ใชจ้ า่ ย โดยใหร้ วมกลมุ่ สมาชิกคนท่ี

“หวั ไวใจส”ู้ พร้อมทร่ี ับการเรียนรแู้ ละมคี วามต้ังใจจริง ในระยะแรกคดั เลือกสมาชกิ มาได้ 20 คน

และเชิญอาจารย์มาท่ีแปลงของคุณประทุมพร เพื่อช่วยฝึกอบรมปรับกระบวนทัศน์และวิธีคิด
การทาเกษตรแนวใหม่ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใช้หลักคุณธรรมนาความรู้ และให้
คาแนะนาในการออกแบบพื้นที่แปลง สารวจแปลงวิเคราะห์สภาพดินและน้า แนะนาการปลูกพืช
พันธุ์ไม้ต่าง ๆ เพื่อสร้างความหลากหลายทางชีวภาพ ให้มีความอุดมสมบูรณ์ ปรับสภาพดินทราย
ท่ไี ม่สามารถปลกู พชื ได้ ให้กลบั มามีแรธ่ าตอุ าหาร จุลินทรยี ์ทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ พืช รู้วิธีการบารุงดิน
ทาปุ๋ยหมักอินทรีย์ไว้ใช้เอง ทดลองปลูกพืชผัก พันธุ์ไม้ และเลี้ยงสัตว์ เช่น เล้ียงปลา เลี้ยงกบ และ
เล้ียงควาย จุดสาคัญในพื้นท่ีแปลงของคุณประทุมพร คือ บริเวณบนเนินโคกถือว่าเป็นป่าต้นน้า
และมีนา้ ซับตลอดทั้งปี จึงเหมาะแก่การวางผงั เพื่อออกแบบพน้ื ทส่ี าหรบั การเพาะปลกู ได้

“กำรออกแบบตำมภมู สิ ังคม คอื ออกแบบตำมควำมต้องกำรของเรำ
ใหเ้ หมำะสมกับกำรดำรงชีวติ ของเรำเอง แลว้ ดสู ภำพดนิ ปรมิ ำณนำ้ ฝน
ทศิ ทำงลม ทิศทำงแดด กำรวำงตำแหน่งปลูกไม้ขนำดใหญไ่ ม่ใหบ้ งั ทศิ ทำง
แสงแดดของไมข้ นำดเล็กทรี่ องลงมำ เพือ่ ทำให้ตน้ ไม้สำมำรถหำธำตอุ ำหำรได้”

หลังจากนั้นคุณประทุมพรก็ได้เรียนรู้หลักการออกแบบพื้นท่ีจากการเข้าฝึกอบรม
หลักสูตรการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียงที่ศูนย์กสิกรรมธรรมชาตินาเรียง และ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุดรธานี ทาให้รู้วิธีการออกแบบวาดผังลายเส้นพื้นท่ีแปลงของตนเอง
เพอื่ ใหเ้ ป็นตามหลักการออกแบบเชงิ ภูมสิ งั คม บนพื้นฐานของหลักเกษตรทฤษฎใี หม่ 30 30 30 10
คือ มีที่สาหรับปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น 30 % ท่ีสาหรับเป็นแหล่งน้า หนองน้า 30% ที่สาหรับ
การเพาะปลูกข้าว พืขผักสวนครัว 30 % และที่อยู่อาศัย คอกสัตว์ 10% โดยได้ลงมือ
สร้างหุ่นจาลองในกระบะดิน ปั้นโมเดลพื้นท่ีแปลงของตนเอง เพื่อดูทิศทางลม น้า และแสงแดด
ทีถ่ อื วา่ เป็นไปตามหลกั การทางานแบบคนจน

ความสาเร็จของผู้นาตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ รูปแบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล

“หลักออกแบบพื้นท่ี
ของตนเอง ทำแบบคนจน

เลก็ แคบ ชดั ใชว้ ัสดุ
เหลอื ใช้ในบ้ำน ใบไม้
ป้ันดินข้ึนรูปแปลง
เพื่อทำให้มองเห็น
ทิศทำงของแสงแดด
และทิศทำงของลม”

“กำรเขยี นแบบด้วย
กำรลงลำยเสน้ จำลอง
จำกขนำดพืน้ ทจ่ี ริง
หลกั เกษตรทฤษฎใี หม่
มีโคกสร้ำงป่ำ 3 อย่ำง

ประโยชน์ 4 อย่ำง
หนองนำ้ คลองไส้ไก่
สร้ำงควำมชุ่มชน้ื ให้พืช
มีแปลงนำข้ำวอนิ ทรีย์
แปลงผกั แปลงดอกไม้
คอกเล้ยี งสตั ว์ ลกั ษณะ
ตำมภมู ิสังคม ดนิ นำ้

ลม ไฟ ปำ่ คน”

ความสาเร็จของผู้นาต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ รปู แบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 15

โคก หนอง นำ ทำงรอดสูค่ วำมย่ังยนื

โคก หนอง นำ โมเดล เป็นแนวทางการประยุกต์ใช้จากหลักเกษตรทฤษฎีใหม่

มกี ารออกแบบพ้ืนทต่ี ามแนวพระราชดาริ ทฤษฎใี หม่ท้ัง 40 ทฤษฎมี ารวมกัน ทาแบบ “เล็ก แคบ ชดั ”

ภูมิ ภูมิ องค์
สังคม ปญั ญำ ควำมรู้

จลุ ินทรยี ์ ตรึงไนโตรเจน 78% สร้ำงฮอร์โมนพืช ยอ่ มเศษซำกพืช ย่อยแรธ่ ำตุ สำรปอ้ งกันโรค

ดนิ หม่ ดนิ ใช้วัสดุธรรมชำติ ดนิ ร้อนชื้นมจี ุลนิ ทรยี ์ เกบ็ น้ำ/ควำมช้ืน สะสมฮิวมัส มสี ัตว์หน้ำดิน

เก็บ วิธกี ำร ขดุ บอ่ แบบธรรมชำติ ไมต่ รง ชำนบอ่ 2 ช้ัน สโลบกนั ดนิ พงั มคี ลองไส้ไก่ ปลูกแฝกรมิ นำ้
หลักกำร บอ่ เหมำะอย่ทู ิศใต้ คำนวนน้ำ ใสข่ ีว้ วั ก้นบ่อกนั นำ้ ซมึ เกดิ แพลงก์ตอน ตล่งิ ชนั มีสตั วน์ ้ำ
น้ำฝน น้ำ
ลมหนำว ตะวันออกเฉียงเหนือ หนั หลงั บำ้ นรบั ลมหนำว ปลกู ดอกไมก้ ล่ิมหอม อย่ำทำคอกสตั ว์
ทกุ หยด ลมรอ้ นฝน ตะวันตกเฉยี งใต้ ปลูกปำ่ ไม้รสขม หน้ำบ้ำนรบั ลมรอ้ น มตี ้นไมใ้ หญบ่ งั แดดและลมมรสมุ

ลม

แสงอำทติ ย์ ลำนตำกข้ำงบำ้ น ปลกู ไมแ้ นวทศิ เหนอื /ใต้ ไมป่ ลกู ต้นไม้ใหญข่ วำงทิศตะวนั ออกและตก

ไฟ

ตะวันอ้อมใต้ กำรวำงตำแหน่งแปลงนำให้อยู่แนวทิศตะวนั ออกและตก หนำ้ ตำ่ งบำ้ นรับแสงตอนเช้ำ

ปลกู ปำ่ ป่ำ ป่ำ 5 ระดับ ปลกู ไม้ 5 ระดับ คือ ไมส้ งู ไมก้ ลำง ไม้เตี้ย ไม้เลอื้ ยเรยี่ ดิน และไม้หวั ใตด้ นิ รำกไม้ซบั น้ำ
โดยไม่ ปำ่ 3 อยำ่ ง ปลกู ปำ่ 3 อยำ่ ง ประโยชน์ 4 อย่ำง (พอกนิ พอใช้ พออยู่ พอรม่ เยน็ ) ไม้ใหญไ่ ม่ใกลน้ ้ำ
ตอ้ ง
ปลูก

ควำมรู้ เปดิ ใจ ร้จู รงิ ในสงิ่ ท่ที ำ ร้จู กั ตนเอง รรู้ อบ รอบคอบ และระมดั ระวงั

คน

คุณธรรม มีควำมเพียรและควำมอดทน ปฏิบตั ติ ำมหลกั ศำสนำ ศลี 5 ทศพธิ รำชธรรม

“กำรออกแบบควรเรมิ่ จำกทรัพยำกรสง่ิ ท่ีมอี ยู่ ไม่ลงทนุ มำกครัง้ เดยี วใหเ้ หมำะสมกับฐำนะและกำลงั ของเจ้ำของแปลง”

ความสาเร็จของผนู้ าต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎใี หม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 16

หลักกำรเกษตรทฤษฎีใหม่แบบฉบบั ไทบำ้ น

โคก หนอง นำ

- มนุษย์ - สตั ว์ - บ้าน - กักเก็บน้า - มนี า้ ใช้ท้งั ปี - นาขา้ วอนิ ทรีย์ - พชื ผัก
- สิง่ ของ - ฟารม์ คอกสตั ว์ - พชื น้า พชื ริมน้า - พชื ผลไม้บนหัวคนั นาทองคา
- ต้นไม้ ไมผ้ ล ไมเ้ ศรษฐกิจ - สตั วน์ า้ กุง้ หอย ปปู ลา - เลี้ยงปลาในนาข้าว

1. ป่า 5 ระดบั / ป่า 3 อย่าง 1. ขุดหนองไม่ตรง โคง้ เวา้ 1. นาลกึ 2 เมตร

ประโยชน์ 4 อย่าง ไม่เป็นรปู ทรงเลขาคณิต 2. ปลกู ข้าวพ้ืนถน่ิ

2. รากไมค้ อื เข่ือนกกั เกบ็ น้า 2. มีตลิง่ หลายระดับ 3. ร่องข้าวนาลกึ 1 เมตร

3. ตน้ ไม้คืออากาศ 3. มีตะพักหนอง และชานตลงิ่ 4. คนั นาทองคากวา้ ง 4 เมตร

4. ป่าตน้ น้า ประมาณ 2 เมตร 5. ปลูกพชื หลากหลายชนิด

5. ฝายก้นั น้า ฝายชะลอน้า 4. มแี นวแฝกอยู่ริมขอบหนอง บนคันนา เช่น ฝรั่ง ผักหวาน

6. ป่าเปียกป้องกนั ไฟ 5. ขอบหนองทองคา ปลูกพชื กลว้ ย พรกิ มะเขือ มะละกอ

7. พืชปญั ญาดี พนั ธไ์ุ มห้ ายาก ท่ที นน้า ปลกู ตะไคร้ 6. ทานาข้าวอินทรีย์

พนั ธไุ์ มท้ อ้ งถน่ิ 6. แซนวชิ ปลา แพลงกต์ อน 7. ปลกู พืชหลังฤดูกาลทานา

8. แฝก ตะไคร้ 7. ระบบคลองไส้ไกเ่ พ่อื รบั น้า เชน่ ปลูกผกั สวนครวั ถ่ัวลิสง

9. ลายแทงขมุ ทรัพย์ และส่งน้า มีสนั แข็งชะลอนา้ ขา้ วโพด หรอื พืชอายสุ ้นั

10. มีไม้ใช้สอย ทาบ้านเรือน 8. ย่าขี้ ใช้ขี้ววั ป้องกันบ่อซึม 8. นา้ หมกั ชีวภาพกาจัดวัชพชื

11. ป่าไมใ้ หญ่ช่วยใหร้ ม่ เงา 9. ขีป้ ลาเป็นปุ๋ยธรรมชาติ 9. ทาคลองไส้ไก่ในนาขา้ ว

รม่ เย็น มีความสขุ 10. มสี ะดอื ก้นบ่อ ไดน้ ้าใตด้ ิน 10. เลยี้ งปลาในนาข้าว

ทาตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ ห่มดนิ แหง้ ชามนา้ ชาม เลยี้ งดนิ ใหด้ ินเล้ียงพชื

ให้ทำเฉพำะสำหรบั พอกิน พอแบง่ ปนั มีเหลอื มำกจึงแปรรปู สร้ำงมูลคำ่ เพิ่ม
ตอ่ ยอดผลติ ภณั ฑ์สกู่ ิจกรรมสร้ำงรำยไดอ้ ่ืน รวมกลมุ่ สมำชิกต้งั เปน็ วสิ ำหกจิ ชุมชน

หลกั จากทปี่ ระทุมพรได้นาหลกั เกษตรทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล
มาปรับใช้ในการพัฒนาพ้ืนที่แปลงของตนเอง ภายในระยะเวลา 3 ปี ทาให้เกิดผลผลิตและมีแหลง่
อาหารที่สมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพ และสามารถยกระดับไปสู่การเป็นแหล่งเรียนรู้
ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎใี หม่ ของอาเภอบ้านดุง มชี ือ่ อย่างเป็นทางการว่า

“ศูนยเ์ รียนรู้ศำสตร์พระรำชำ บำ้ นสุขสบำย”

ความสาเรจ็ ของผูน้ าต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎใี หม่ รปู แบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 17

ในปี 2563 ได้มีการจัดต้ังพื้นท่ีของคุณประทุมพรเป็นศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พระราชา
บา้ นสุขสบาย ซ่งึ ถือวา่ เปน็ อกี หนึ่งจุดเรยี นรูข้ องการทาเกษตรตามแนวพระราชดาริ และทฤษฎีใหม่
ท่ีเปิดให้คณะศึกษาดูงานและประชาชนท่ัวไป สามารถเข้ามาฝึกอบรมและศึกษาเรียนรู้
การทากสิกรรมธรรมชาติแบบการพึ่งตนเอง และที่สร้างความภูมิใจ คือ ได้ใช้พื้นที่ศูนย์เรียนรู้
จัดการฝึกอบรมหลักสูตรฝึกอบรมกสิกรรมธรรมชาติ ระยะเวลา 3 วัน 2 คืน มีผู้เข้ารับการอบรม
จานวน 15 คน ตามโครงการเสริมสร้างและพัฒนาผู้นาการเปลี่ยนแปลง ดาเนินการโดยสานักงาน
พัฒนาชุมชนอาเภอบ้านดุง กรมการพัฒนาชุมชน

ปัจจุบันมีโครงสร้างของศนู ยเ์ รียนรู้ทไี่ ม่เปน็ ทางการ โดยแบง่ เป็น

ทีป่ รกึ ษำ

อาจารยก์ อแก้ว วชิรมน

หัวหนำ้ ศนู ย์

นางสาวประทมุ พร อนั สนน่ั

ครกู ระบวนกำร ครูประจำฐำน ครพู ำทำ

สมาชกิ กล่มุ สมาชิกกล่มุ สมาชิกกลุม่

สาหรับกจิ กรรมภายในศูนย์เรยี นรูม้ กี ารแบง่ ออกเป็นฐานเรียนรู้ ตามหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง และฐาน 4 พอ ได้แก่

ความสาเรจ็ ของผู้นาตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎใี หม่ รปู แบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 18

ฐานท่ี 1 ฐานคนรกั แมธ่ รณี เรยี นรกู้ ารทาปุ๋ยหมักชวี ภาพ ปรงุ ดนิ พรอ้ มปลูก
ฐานท่ี 2 ฐานคนรักแมโ่ พสพ เรยี นรู้การทานาข้าวอนิ ทรีย์ การหมกั ดองดนิ
ฐานที่ 3 ฐานคนรักป่ารักน้า เรียนรู้หลักการของ ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง
การปลูกป่า 5 ระดับ และการปลกู พืชบาบดั น้าเสยี
ฐานท่ี 4 ฐานคนอินทรยี ์ เรียนรกู้ ารเพาะพนั ธุก์ ล้าไม้ ขยายพนั ธ์ุพืช การปลูกพืชผกั
การทาเกษตรอนิ ทรีย์วิถีไทย
ฐานท่ี 5 ฐานคนรักสุขภาพและคนมีน้ายา เรียนรู้เก่ียวกับการใช้ยาสมุนไพร
พืน้ บ้าน พชื สมนุ ไพร และการทาผลิตภณั ฑภ์ ายในครวั เรือน เชน่ สบู่ ยาสระผม น้ายาลา้ งจาน
ฐานท่ี 6 ฐานคนติดดิน เรียนรู้การทาบ้านดิน การปั้นดิน การทาก้อนดินสร้างบา้ น
และใช้ดินบาบดั
ฐานที่ 7 ฐานคนแปรรปู เรยี นรกู้ ารแปรรปู ผลผลิตทางการเกษตร เช่น กลว้ ยผงบด
ขงิ ผงชงละลาย ฟา้ ทะลายโจร ข้าวกล้องงอก น้าดืม่ สมนุ ไพรเพ่อื สุขภาพ
ฐานท่ี 8 ฐานคนเอาถ่าน เรียนรู้การทาเตาเผาถ่านแบบประหยัด ผลิตถ่านใช้เอง
และพลังงานทางเลือกทดแทน
ฐานท่ี 9 ฐานโรงสีพอเพียง เรียนรู้การสขี ้าวดว้ ยภมู ิปญั ญาชาวบ้าน โรงสีมือถือ

ความสาเรจ็ ของผนู้ าต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎใี หม่ รปู แบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 19

“ต้องมี
ภำคี
เครอื ขำ่ ย”

ความสาเรจ็ ของผู้นาตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล

ผกู มิตรทุกฝำ่ ย สรำ้ งเครอื ข่ำยกำรทำงำน 21

คุณประทมุ พรมีการสร้างภาคีเครือข่ายการทางานร่วมกนั หลายภาคส่วน ท้งั ภาครัฐ
ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน มีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี
และมีความต่อเนื่องมาตลอด โดยเร่ิมจากท่ีได้เข้าไปเป็นผู้ตรวจแปลงเกษตรอินทรีย์ ทาให้
มีเครือข่ายของกลุ่มเกษตรอินทรีย์ภายใต้มาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม และมีโอกาส
ได้รู้จักกับอาจารย์กอแก้ว วชิรมน ประธานสถาบันเศรษฐกิจพอเพียงเกษตรอินทรีย์วิถีไทย
โรงเรยี นศาสตรพ์ ระราชาเพชรบรู ณ์ จนสามารถเข้าร่วมเปน็ เครือข่ายของโรงเรยี นศาสตร์พระราชา
นับว่าเป็นจุดเร่ิมต้นที่ทาให้เธอเข้าถึงหลักคิด วิธีคิดใหม่ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ซึ่งมีอาจารย์และทีมงานเข้ามาช่วยเป็นพี่เลี้ยงในการพัฒนาพ้ืนที่ เติมเต็มทฤษฎีบันได 9 ข้ัน
สู่ความพอเพียง ทาให้เข้าใจการสร้างฐาน 4 พอ คือ พอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็น และทาให้
เกิดการรวมกลุ่มของคนท่ีหัวไวใจสู้ มุ่งม่ัน ต้ังใจ เป็นสมาชิกท่ีอยู่ในชุมชนและพ้ืนที่ใกล้เคียง
เข้ามาช่วยกันพัฒนาดูแลพ้ืนที่และทางานร่วมกัน ซ่ึงใช้วิธีการรวมพลังสร้างความสามัคคี
จนยกระดบั ขน้ึ เปน็ ศูนย์เรยี นรูไ้ ด้

หลงั จากนัน้ เธอไดเ้ ข้ารับการฝกึ อบรมหลกั สตู รการพฒั นากสกิ รรมสู่ระบบเศรษฐกิจ
พอเพียง ที่ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง ทาให้ได้รู้จักอาจารย์
ครูพาทาหลายท่าน โดยเฉพาะลงุ แสวง ศรีธรรมบตุ ร และอาจารยไ์ ชยยา โนนอาสา ทีช่ ่วยสอนการ
ออกแบบพื้นที่แปลงตามภูมิสังคม เป็นครูพี่เลี้ยงช่วยให้คาแนะนาการพัฒนาพ้ืนที่ พร้อมทั้ง
ได้มาเยย่ี มแปลงและพาสมาชิกเครือข่าย โคก หนอง นา โมเดล มาชว่ ยกนั เอามื้อสามัคคหี ลายคร้ัง
และในปี 2563 ได้เขา้ สู่การเป็นเครือขา่ ยกสกิ รรมธรรมชาติ โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน เนือ่ งจาก
ไปเข้าร่วมหลักสูตรการฝึกอบรมที่ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุดรธานี ทาให้มีเพื่อนสมาชิกท่ีร่วม
โครงการมาจากพื้นที่ 8 จังหวัดของภาคอีสานตอนบน เป็นสถานที่ศึกษาดูงานด้านเศรษฐกิจ
พอเพียงของบุคลากร จากสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดอุดรธานี โดยมีท่านผู้ตรวจราชการ
กรมการพัฒนาชุมชน (นายอาจณรงค์ สัตยพานิช) ได้เข้ามาเยี่ยมชมฐานการเรียนรู้และกิจกรรม
ต่าง ๆ ภายในศูนย์เรียนรู้ และได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้นาต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ตามหลักทฤษฎีใหม่ รูปแบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล พร้อมทั้งใช้สถานที่ของศูนย์เรียนรู้
จัดกจิ กรรมเอามื้อสามัคคีตามโครงการเสรมิ สร้างและพฒั นาผู้นาการเปลีย่ นแปลง ขยายผลสมาชิก
เครือข่ายที่เข้าร่วมกิจกรรม จานวน 15 คน ทาให้มีเครือข่ายการทางานเพ่ิมมากขึ้น และหลังจาก

ความสาเร็จของผ้นู าต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ รปู แบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล

โครงการน้ียังได้มีการนัดหมายและหมุนเวียนไปช่วยกันจัดกิจกรรมเอามื้อสามัคคีในพื้นที่แปลง
ของสมาชิก เพ่ือแลกเปล่ียนองค์ความรู้ซ่ึงกันและกัน ท้ังการปรับสภาพดิน การห่มดิน ทาปุ๋ยหมัก
ตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีภาคีเครือข่ายอื่นท่ีช่วยในการสนับสนุน ส่งเสริม
และประสานความร่วมมือการบูรณาการทางานร่วมกัน ซ่ึงแต่ละภาคส่วนจะมีหลักการและวิธีการ
ท่เี ข้ามาสง่ เสรมิ แตกต่างกนั เชน่ ภาคประชาสังคมจะโดดเดน่ ด้านความรู้ ประสบการณ์จรงิ ในพื้นท่ี
ฝังตัวอยู่กับชุมชน ทางานร่วมกับชุมชนอย่างใกล้ชิด ส่วนภาครัฐจะมีแนวคิด องค์ความรู้
การประสานงาน และมโี ครงการงบประมาณเข้ามาสนับสนุน สามารถอธิบายเพิ่มเตมิ ไดด้ ังน้ี

ภำครัฐ หน่วยงานราชการได้เข้ามาช่วยส่งเสริม สนับสนุน และต่อยอด
กิจกรรมในพื้นท่ี หลังจากท่ีได้มีการพัฒนาพ้ืนที่จนเกิดเป็นรูปธรรม ได้แก่ กรมการพัฒนาชุมชน
ที่ให้โอกาสในการเป็นผู้นาต้นแบบ โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน และได้รับงบประมาณสาหรับ
จัดซ้ือวัสดุอุปกรณ์สาหรับพัฒนาพ้ืนที่ กรมพัฒนาที่ดินให้ปัจจัยการผลิต เช่น แฝก ปุ๋ยหมัก พด.
และถังพลาสติก รวมทั้งยังมีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินช่วยเข้ามา
สนับสนุนการรวมกลุ่มอาชีพแปรรูปผลิตภัณฑ์ เพ่ือจัดตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชน นอกจากนี้ยังได้รับ
การประสานความร่วมมอื ด้านสมนุ ไพร การแปรรปู ยาสมนุ ไพร การออกใบอนญุ าตด้านหมอยาและ
พืชสมนุ ไพรจากสาธารณสุขอาเภอบา้ นดงุ และโรงพยาบาลสมเด็จพระยพุ ราชบา้ นดงุ

ภำคประชำชน/ชุมชน ได้รับความร่วมมือจากผู้นาชุมชนและประชาชน
ในหมู่บ้านสุขสบาย รวมทั้งจากชุมชนและตาบลใกล้เคียง ที่เข้ามาศึกษาเรียนรู้ศาสตร์พระราชา
และหลกั กสิกรรมธรรมชาติ เพอ่ื นาไปปรบั ใช้ในพื้นท่ีของตนเอง

ภำควิชำกำร สถาบนั การศึกษา ไดแ้ ก่ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎอุดรธานี เข้ามา
ช่วยสารวจ ออกแบบพ้นื ทแ่ี ปลง โดยเขยี นแบบแปลนกราฟิกตามโมเดล โคก หนอง นา และเข้ามา
ช่วยให้ความรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ในปัจจุบันกาลังดาเนินงานโครงการ
ปลูกกัญชาเพ่ือใช้ในการแพทย์ และได้เข้าร่วมกับเครือข่ายของจังหวัดอุดรธานี เพื่อรวมกลุ่มกัน
เปน็ วสิ าหกิจชมุ ชนผ้ปู ลกู กัญชา และผลิตภัณฑท์ ี่มสี ่วนผสมจากกญั ชาขึ้นดว้ ย

การที่ภาคีเครือข่ายได้เข้ามาให้การช่วยเหลือ สนับสนุน ส่งเสริมในด้านต่าง ๆ
ปัจจัยสาคัญมาจากความต้ังใจทาจริง ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองจนประสบความสาเร็จ ทาให้เกิด
ความเชอื่ ม่ันว่า “เปน็ คนทสี่ ู้ชวี ิตตวั จรงิ มุ่งมน่ั ตง้ั ใจ ทาจริง” หากหนว่ ยงานราชการเข้ามาส่งเสริม
และต่อยอด จะสามารถขับเคล่ือนงานได้อย่างต่อเน่ือง และสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับ
ครัวเรือนอืน่ ที่อยากหนั มาปรับวิถชี ีวิตตามหลักความพอเพียงได้

ความสาเรจ็ ของผูน้ าตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎใี หม่ รปู แบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 22

“เรือ่ งเล่ำ
สู่

ควำมสำเร็จ”

ความสาเรจ็ ของผู้นาตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล

ควำมท้ำทำย คอื กำรฟนื้ ฟู บำรุงดนิ

เปลี่ยนดินทรำยใหป้ ลูกพชื ผลงำม เดิมสภาพดินในพื้นที่แปลง

ของคุณประทุมพร ประสบกับปัญหาดินทราย ปลูกพืชได้ยาก แต่หลังจากที่ได้นาหลักทฤษฎีใหม่

การปรับปรุงบารุงดิน และหลักกสิกรรมธรรมชาติ “เลี้ยงดินให้ดินเล้ียงพืช” เข้ามาทดลอง

ใช้ในพื้นที่ของตนเอง โดยน้อมนาแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9
เกยี่ วกับการอนรุ ักษ์ดิน ความตอนหนง่ึ ว่า

“...กำรปรับปรงุ ทดี่ นิ นน้ั ตอ้ งอนรุ กั ษผ์ วิ ดิน ซงึ่ มีควำมอุดมสมบูรณน์ นั้
ไมใ่ ห้ไถหรือลอกหนำ้ ดนิ ทงิ้ ไป สงวนไมย้ นื ต้นท่ยี งั เหลอื อยู่
เพื่อทจ่ี ะรักษำควำมชุ่มชื้นของผืนดิน...”

การอนุรกั ษผ์ วิ ดิน กค็ อื การทาตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ หรอื ที่เรารู้จักกันดีว่าคือ

กำรห่มดิน น่ันเอง ซึ่งก่อนท่ีจะทาการปลูกพืช จาเป็นต้องวิเคราะห์สภาพดินว่ามีลักษณะ

เป็นอย่างไร จะทาให้เราได้เข้าใจวิธีการแก้ไขปัญหาให้ตรงจุด สาหรับพ้ืนที่ของคุณประทุมพรน้ัน

สภาพดินเป็น ดินทรำยมีแร่ธำตุน้อย อันดับแรกท่ีต้องทาคือ พรวนหน้าดินให้ร่วยซุยไว้ก่อน

จากนั้นทากำรห่มดิน อาจจะใช้ฟางข้าว เศษวัชพืช ใบไม้แห้ง คลุมบริเวณผืนดินให้กระจาย
โดยรอบแปลงของเราก่อน ควรห่มให้หนาประมาณ 1 ข้อศอก และเม่ือเราห่มดินแล้ว จะทาให้ดิน
บริเวณน้ันเกิดความชื้น อบอุ่นข้ึน จะเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ มีสัตว์หน้าดินเข้ามาอาศัย
เช่น ไสเ้ ดอื น ก้งิ กอื แมลงตา่ ง ๆ สัตว์จาพวกนจ้ี ะทาให้ดินร่วนซุยข้นึ หลงั จากหม่ ดินแล้ว เราจะนา
ปุ๋ยคอก เช่น มูลวัว มูลควาย มาโรยไว้บนฟางให้ท่ัวทั้งแปลง แต่ยังมีส่ิงท่ีช่วยทาให้สามารถเร่ง
การย่อยสลายมูลสัตว์ เศษวัชพืช ฟางข้าวหรือใบไม้ได้ พร้อมท้ังเป็นสารอาหารให้กับแร่ธาตุในดิน
ซ่ึงเราจะใช้น้ำหมักจุลินทรีย์รสจืด อัตราส่วนผสม น้าหมัก 1 ลิตร ต่อ น้าเปล่า 50 ลิตร
ตามความเหมาะสม โดยผสมให้เข้ากันแล้วนาไปฉีดหรือราดรดบนปุ๋ยคอกที่อยู่บนฟางข้าว
อีกชั้นหนึ่งได้ หลังจากปล่อยท้ิงไว้ประมาณ 30 วัน สภาพดินบริเวณนั้นจะมีการเปล่ียนแปลงอย่าง
เห็นได้ชดั คือ เรมิ่ มคี วามอดุ มสมบณู ์ มคี วามชมุ่ ชน้ื ทาให้ความสมดลุ ในระบบนิเวศกลับมาอีกครัง้

ความสาเรจ็ ของผ้นู าตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎีใหม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 24

นอกจากนี้ประโยชน์ท่ีได้จากฟางข้าวที่ห่มคลุมดิน ช่วยลดการระเหยของน้าในดิน
ปุ๋ยคอกท่ีใส่ก็เพ่ือเพิ่มอนิ ทรียวัตถุ ส่วนน้าหมักจุลนิ ทรีย์ทาหน้าท่ีย่อยสลายทั้งปุ๋ยคอกและฟางข้าว
ให้กลายเป็นอินทรียวัตถุได้เร็วขึ้น ข้อพึงระวังก็คือ เราจะต้องดูสภาพพ้ืนที่และผิวดนิ รวมท้ังพืชที่
จะนามาปลูกที่ในแปลงของเราด้วย ซึ่งบางคร้ังอาจต้องใช้เวลาถึง 3 เดือน โดยยังไม่ควรปลูกพืช
หรือกล้าไม้ขนาดเล็ก เพราะน้าหมักท่ีเข้มข้นอาจทาให้ต้นไม้ตายได้ จึงควรใช้เวลานานขึ้น เพื่อให้
ดนิ ปรบั สภาพและเกิดการชะลา้ งของน้าหมักท่อี ยู่ในดนิ ใหม้ ีความเจือจางลงกอ่ น

จากน้ันปลูกหญ้าแฝกบริเวณรอบ ๆ ท่ีเราได้ห่มดินไว้ดว้ ย ซึ่งเมื่อแฝกโตขนึ้ มาเราก็
คอยตัดใบหญ้าแฝกมาห่มคลุมดินอีกคร้ัง เป็นวิธีการใช้ส่ิงที่มีอยู่บริเวณน้ันให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ซ่งึ จะงา่ ยกวา่ การไปหาฟางขา้ วจากที่อ่ืนมา หรอื ไปกวาดเศษใบไม้ ส่งิ น้จี ะช่วยให้เกิดการลดต้นทุน
และไม่เสียเวลา อีกคุณสมบัตหิ นึ่งของหญ้าแฝก อยู่ที่รากของแฝก เพราะรากของแฝกจะเจาะทะลุ
ลงสู่ช้ันดินลงไปได้ถึง 3 เมตร ทาให้น้าและความช้ืนจากการห่มดินด้านบนแทรกซึมลงไปได้
จากดินท่ีแข็งมากหรือดินที่เป็นดินทราย จะกลับมาร่วนซุยได้ภายใน 3 - 6 เดือน และหากดิน
บริเวณนั้นเป็นดินท่ีเส่ือมคุณภาพจากการใช้สารเคมี ดินจะเริ่มกลับมามีคุณภาพดีภายใน 1 - 2 ปี
ดังนั้น หลักการห่มดินจะเป็นการช่วยฟื้นฟูสภาพผิวดินด้านบน และกระจายลงไปสู่ชั้นดินด้านล่าง

ด้วยรากของหญา้ แฝกนน่ั เอง ท้งั หมดนี้เรยี กว่าเปน็ การ “คืนชีวิตให้แผ่นดนิ ”

ความสาเร็จของผู้นาตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎใี หม่ รปู แบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล 25

หำอยู่หำกิน พึ่งตนเอง ครอบครัวมีควำมสขุ

แรงบันดำลใจ ของคุณประทุมพร ท่ีมาทาเกษตรทฤษฎีใหม่ตามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง เกิดจากความคิดท่ีอยากจะกลับมาอยู่ที่บ้านเกิดของตนเอง เน่ืองจากต้อง
กลบั มาดูแลพ่อแม่ของตนเอง ดังนนั้ การทีก่ ลบั มาอยู่ทบี่ ้านแลว้ ต้องมีอาชพี เพ่อื เลย้ี งดพู ่อแม่และลูก
ของตนเอง โดยมีที่ดินของพ่อแม่อยู่จานวนหนึ่ง จึงทาการเกษตร ปลูกพืชผัก ไม้ผล เลี้ยงปลา
เพื่อสร้างแหล่งอาหารให้กับครอบครัวของตนเอง จนได้นาหลักทฤษฎีใหม่ รูปแบบ โคก หนอง นา
มาปรับใช้ในพื้นที่ของตนเอง ซ่ึงช่วยให้สภาพดินกลับมามีแร่ธาตุอาหารและมีความอุดมสมบูรณ์
ได้อีกคร้ัง สามารถทาการปลูกพืชผัก ผลไม้ได้หลากหลายชนิด และสิ่งสาคัญเขาได้ค้นพบความสุข
ที่ย่ังยืนท่ีสุด นั่นก็คือ การพึ่งตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วยให้ครอบครัวได้
ทากิจกรรมภายในพื้นที่ โคก หนอง นา ร่วมกัน มีอากาศท่ีบริสุทธ์ิ รวมทั้งช่วยทาให้มีแหล่งอาหาร
ที่ปลอดภัย มีอาหารตามฤดกู าล มพี ืชผัก ผลไม้ตามฤดูกาล มกี ้งุ หอย ปู ปลา ตามแหล่งนา้ ภายใน
พื้นท่ีของตนเอง มีสมุนไพรหลากหลายชนิดท่ีอยู่ภายในป่า เม่ือมีผลผลิตมากข้ึน หากเหลือจากกิน
ก็แบ่งปันเพื่อนบ้าน และทาการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสวนของตนเองเพ่ือขายให้มีรายได้ เช่น
น้าเสาวรส กลว้ ยผงบดเพือ่ สขุ ภาพ ทาใหม้ ีอยู่มกี ิน ไมอ่ ดอยาก มรี ายรบั เพียงพอกับรายจ่าย

ความสาเรจ็ ของผู้นาต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 26

ควำมเพยี รและควำมอดทน หนทำงสู่ควำมสำเร็จ

คุณประทมุ พรได้ใช้หลกั การบริหารจัดการภายใตค้ วามขาดแคลน สามารถอยู่รอดได้

ภายใต้ภาวะวิกฤตและความขาดแคลน เรียกว่า “กำรทำแบบคนจน” ลงมือทาภายใต้ฐานะ

และกาลัง เริ่มจากทุนทรัพยากรท่ีมีอยู่รอบตัว ทั้งท่ีดินของครอบครัว ผืนดินที่สามารถปลูกพืชได้
และแหล่งน้าสาหรับทาการเกษตร สามารถเลี้ยงดูแลคนในครอบครัว พ่อแม่และลูกได้
ซึ่งหากลงมือทาแล้ว จะไม่เป็นภาระให้ตนเองและครอบครัว แต่การที่จะก้าวมาสู่การเป็น
ผู้นาต้นแบบ โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน ได้นั้น เขาจะต้องอาศัยความเพียรและความอดทน ที่ได้
บทเรียนจากบทพระราชนิพนธ์ เรื่อง พระมหาชนก ที่ได้ว่ายน้าข้ามมหาสมุทร แม้ไม่เห็นฝ่ัง จนได้

แง่คิดสาคัญ คือ การทาจนสุดความสามารถของตนเอง เรียกว่า “ควำมเพยี รอันบรสิ ุทธิ์”

ซึ่งความเพียรจะสามารถเอาชนะทุกปญั หาที่เกิดขึ้นได้

จากคาพูดท่ีว่า ความเจริญของประเทศนั้นต้องอาศัยความเจริญทางการเกษตร
เป็นสาคัญ การเกษตรไม่ใช่เฉพาะการผลิตอาหารเล้ียงให้กับคนท้ังโลกการเกษตรยังสามารถ
ผลิตพลังงานให้กับมนุษย์ได้ การเกษตรจึงมีความสาคัญ จึงทาให้เธอหันมาสู่การเป็นเกษตรกร
อยา่ งเตม็ ตวั แต่ไม่ใชเ่ รือ่ งงา่ ยทีค่ นไม่เคยจับจอบปลูกพชื ขุดดิน ปลูกตน้ ไม้ เธอจงึ ต้องศึกษาเรียนรู้
สู้ด้วยความเพียรและความอดทน ลองผิดลองถูก เรียนรู้จากความผิดพลาด หม่ันฝึกฝน ต้ังใจจริง
ลงมือปฏิบัติจริงอย่างต่อเน่ือง มีสติและสมาธิในการพัฒนาพื้นท่ีของตนเอง มีภาคีเครือข่าย
ในการทางานร่วมกัน แตท่ ง้ั หมดเนน้ ทาตามฐานะและกาลงั ของตัวเราเอง ไม่ให้เป็นภาระแก่ตนเอง
เกินไป รวมทั้งคนในครอบครัวมีความพร้อมท่ีจะคอยสนับสนุนการพัฒนาพื้นท่ีร่วมกันจึงทาให้ทุก
วันนี้พ้ืนท่ีแปลงของเธอสามารถเป็นจุดเรียนรู้ ศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พระราชา และได้รับคัดเลือกเป็น
ผู้นาต้นแบบ โคก หนอง นา พฒั นาชมุ ชน พรอ้ มทั้งได้นาเสนอผลงานความสาเร็จของการขบั เคล่ือน
พ้ืนท่ีต้นแบบ โคก หนอง นา โมเดล แก่อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ในกิจกรรม Kick off
โคก หนอง นา โมเดล กรมการพัฒนาชุมชน ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุดรธานี ภายในงานนี้
มีผู้เข้าร่วมกจิ กรรมมากกวา่ 500 คน ท้ังภาคเี ครอื ขา่ ยพัฒนาชมุ ชนและเครือขา่ ยกสิกรรมธรรมชาติ

“ยึดมั่นในปรชั ญำ พฒั นำตำมขั้นตอน สอนใหพ้ งึ่ ตนเอง”

ความสาเร็จของผ้นู าต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ รูปแบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล 27

“เศรษฐกิจพอเพียง หรือ ทฤษฎใี หม่ จะประสบควำมสำเร็จได้
ต้องมคี วำมเพียรและควำมอดทน”

ควำมภำคภมู ิใจในชวี ติ ของคุณประทมุ พร คือ ได้รับกำรยกย่องใหเ้ ป็นผู้นำตน้ แบบ
กำรพัฒนำคณุ ภำพชีวติ ตำมหลักทฤษฎีใหม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นำ โมเดล
และนำเสนอผลงำนควำมสำเรจ็ แก่ นำยสทุ ธพิ งษ์ จุลเจริญ อธบิ ดีกรมกำรพฒั นำชมุ ชน

ความสาเร็จของผ้นู าตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎใี หม่ รปู แบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล 28

ส่งิ ทว่ี ำงแผนกำรพฒั นำตอ่ ยอดในอนำคต

สาหรับการวางแผนพัฒนาต่อยอดพ้ืนที่ โคก หนอง นา ของคุณประทุมพร ได้มี
แนวคิดจะสร้างฐานการเรียนรู้การทาบ้านดิน ออกแบบแปลงของตนเองให้สามารถปลูกพืชผัก
ผลไม้ สามารถเก็บรับประทานได้ตลอดท้ังปี รวมท้ังการปลูกพืชไล่ระดับ เพ่ือให้เกิดความสมดุล
อยา่ งลงตัว ให้พชื แต่ละชนดิ สามารถเกอื้ กลู พ่ึงพาอาศัยกันได้ เชน่ ปลูกกล้วยจะช่วยบังแสงแดดให้
ผักชี ต้นหอม ในช่วงบ่าย ทาให้ผักงอกงาม โดยไม่ต้องใชส้ ารเคมีเข้ามาชว่ ย และรากของต้นกลว้ ย
จ ะ มี ค ว า ม เ ย็ น จ ะ ท า ใ ห้ พื ช ช นิ ด อื่ น ส า ม า ร ถ พึ่ ง พ า ก ล้ ว ย ที่ เ ป็ น พื ช ท่ี ป ลู ก น า ร่ อ ง ไ ว้ ก่ อ น แ ล้ ว

หรือที่เรียกว่า “ปลูกพืชแบบพึ่งพำกัน” คือ การปลูกพืชที่เป็นลาดับชั้นในพ้ืนที่เดียวกัน

โดยนาหลักความรู้จากภูมิปัญญาการทาเกษตรของคนสมัยก่อนมาปรับใช้ให้เหมาะกับพื้นที่น้ัน
อาศัยการสังเกตเรียนรู้จากชั้นเรือนยอด หรือที่เรียกว่า การปลูกป่า 5 ระดับ ซ่ึงเป็นลักษณะ
และธรรมชาติของต้นไม้ เช่น ระบบการหยั่งรากของพืชที่แตกต่างกันทาให้ไม่แย่งอาหารกัน
ความต้องการแสงที่ไมเ่ หมือนกันทาให้สามารถปลูกพืชอ่ืนๆบริเวณใกล้เคียงได้ ไม่ว่าจะเป็นต้นเลก็
หรือใหญ่จะมีการอาศัยเกื้อกูลกันตามธรรมชาติ พูดง่ายๆ ก็คือ เป็นการจัดสวนแบบจาลอง
สภาพแวดลอ้ มที่ใกล้เคยี งกบั ระบบนิเวศของป่าน่ันเอง หากพูดถึงการปลูกปา่ 5 ระดับ เราจะนกึ ถึง
พชื ชนิดตา่ ง ๆ โดยแบ่งระดบั ดงั น้ี

ระดับท่ี 1 ปลูกพืชประเภทไม้หัวเพ่ือเป็นอาหาร เช่น ขิง ข่า หัวหอมใหญ่
หอมแดง กระเทียม เผอื ก กระชาย มันสาประหลงั มนั เทศ

ระดับที่ 2 ปลูกไม้เล้ือย เช่น บวบ น้าเต้า ถั่วฝักยาว แตงกวา มะระข้ีนก
ถัว่ พู ตาลึง

ระดับท่ี 3 ปลูกไม้พุ่มเตี้ยเพ่ือใช้ประโยชน์เป็นอาหารและยารักษาโรค เช่น
พริก กะเพรา มะเขือ ตะไคร้ ข้าว พืชสมุนไพรต่างๆ เช่น ฟ้าทะลายโจร ว่านหางจระเข้ ชะพลู
กระเจยี๊ บ ดีปลี

ระดับที่ 4 ปลูกไม้ระดับกลาง ซึ่งเป็นชั้นท่ีมีความสูงเป็นรองกลุ่มไม้ยืนต้น
เช่น มะกรดู มะนาว ขีเ้ หลก็ สม้ โอ ขนนุ ทเุ รยี น มะม่วง ดอกแค กลว้ ย ชะอม

ระดับที่ 5 ประเภทต้นไม้ใหญ่ทรงสูงให้ร่มเงา และช่วยรักษาระบบนิเวศ
เชน่ ตะเคยี น ยางนา มะค่า ประดู่ สัก พะยูง มะฮอกกานี จาปาทอง

ความสาเร็จของผ้นู าต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ รปู แบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล 29

นอกจากนี้ยังมีเทคนิคการปลูกพืชผักตามอายุของพืชแต่ละชนิด เพ่ือให้สามารถ
เป็นแหล่งอาหารทป่ี ลอดภยั และมใี หก้ นิ ได้ทั้งปี แบ่งออกเป็น

พืชอายุ 1-2 เดือน ได้แก่ ผักอายุส้ัน เช่น ผักบุ้ง คะน้า ต้นหอม กวางตุ้ง
ผกั ชี แตงกวา ผักกาดหอม ขน้ึ ฉา่ ย มะระ

พืชอายุ 3 เดือน ได้แก่ พืชผักสวนครัว เช่น กระเทียม หอมแดง กระเจ๊ียบ
เขยี ว พรกิ มะเขือพวง มะเขอื เทศ มะเขอื เปราะ ถว่ั ฝักยาว นา้ เต้า แตงโม

พืชอายุ 4-6 เดือน ได้แก่ พืชที่ปลูกบนหัวคันนาทองคา เช่น มะละกอ
หอมหวั ใหญ่ หนอ่ ไมฝ้ ร่งั

พชื อายุ 7-9 เดือน ได้แก่ พชื ทอี่ ยบู่ นคันนาทองคา เชน่ นอ้ ยหน่า กล้วย ขงิ
ข่า ตะไคร้ และพชื กนิ หวั เช่น มันเทศ เผือก มนั หา้ นาที

พชื อายุ 1 ปี ได้แก่ ผกั หวานปา่ ข้เี หลก็ สะเดา กระถนิ
พืชอายุ 3 ปี ได้แก่ ไม้ผลไม้ยืนต้น เช่น ลาไย มะพร้าว มะม่วง ฝรั่ง ละมุด
ไผห่ วาน ไผ่กิมซงุ ไผก่ มิ จู
พืชอายุ 5 ปี ได้แก่ ผลไม้ฤดูร้อน เช่น เงาะ ทุเรียน ขนุน ลองกอง มะปราง
มะยงชิด
รวมทง้ั ยงั ออกแบบพื้นท่ีในการปลูกป่า 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อย่าง เพอื่ สร้างให้เกิด
ความร่มเย็น ปลูกไม้ป่า เช่น ประดู่ ยางนา ตะเคียน พะยูง ทาแปลงปลูกพืชสมุนไพรไว้สาหรับ
ทาเป็นยารักษาโรค เช่น ฟ้าทะลายโจร บอระเพ็ด กระชาย กัญชา กัญชง ทาปศุสัตว์ เช่น เลี้ยงวัว
เลี้ยงควาย เลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ไข่ เล้ียงกบ และปลูกไม้ดอกไม้ประดับ เช่น ดาวเรือง ดาวกระจาย
ทานตะวนั เพอื่ สร้างความสวยงามเปน็ สถานทที่ ่องเทีย่ ว เป็นจดุ เช็คอนิ ใหส้ าหรบั นกั ทอ่ งเท่ยี วได้

“มำบ้ำนดงุ นอนบำ้ นดนิ กนิ อนิ ทรยี ์ วิถีพอเพียง”

ความสาเรจ็ ของผู้นาต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎใี หม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 30

“เรียนรู้
จำก
ปัญหำ”

ความสาเรจ็ ของผ้นู าต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ รปู แบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล

ควำมขำดแคลนไม่เปน็ ปัญหำ ถ้ำมปี ญั ญำและควำมอดทน

จากการที่คุณประทุมพรได้ทาการเกษตรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และพัฒนาพ้ืนที่ตามรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล ยังคงมีข้อจากัดของครัวเรือนอยู่บ้าง
ซ่ึงในระยะแรกคนในครอบครัวไม่เข้าใจ ในส่ิงท่ีเธอได้ลงมือทาในการปรับพ้ืนท่ีแปลงในที่ดิน
ของพ่อแม่ โดยพ่อแม่มักจะพูดว่าสิ่งที่ทาไม่ก่อให้เกิดรายได้ พ่อแม่ไม่เห็นด้วยที่เธอจะหันมา
ทาการเกษตร เพราะชีวิตของเธอไม่เคยเป็นเกษตรกร ไม่เคยจับจอบจับเสียมขุดดินปลูกพืชผัก
ทั้งยังบอกว่าทาเกษตรจะให้ผลผลิตช้า จึงไม่ก่อให้เกิดรายได้มาเล้ียงครอบครัว แต่เขาก็ไม่ย่อท้อ
และลุกขึ้นมาลุยต่อ ทดลองทาด้วยตนเอง ถึงแม้บางครั้งจะผิดพลาด แต่ก็ได้รับคาปรึกษาจาก
เครือข่ายและอาจารย์หลายท่านท่ีให้ความรู้และเคล็ดลับการปลูกพืช รวมทั้งบางครั้งเม่ือปลูกพืช
สมุนไพร ไม้เล้ือยต่าง ๆ อยู่บริเวณบ้านก็มักจะถูกคนในครอบครัว ตั้งคาถามว่า “ปลูกแล้วไดอ้ ะไร
มีรำยได้มำจำกไหน บำงอย่ำงปลูกแล้วกินไม่ได้ จะปลูกไปทำไม” ซ่ึงพ่อเขาจะไปถอนทาลายทิ้ง
เน่ืองจากเห็นว่าส่ิงที่ปลูกมันเป็นเหมือนหญา้ ท่ีรกในบริเวณบ้านของตนเอง จึงต้องปรับความเขา้ ใจ
กับคนในครอบครัวเสียใหม่ จนผ่านไปหลายเดือนถึงได้รับการยอมรับจากคนในครอบครัว พ่อแม่
ได้ช่วยกันดูแลแปลง ปลูกผัก รดน้าต้นไม้ด้วยกัน ได้พูดคุยกัน อยู่ร่วมกันท่ีแปลง และปัจจุบันก็
ไดช้ ว่ ยกนั ดูแลแปลง ปลูกผัก เกบ็ ผลผลิตที่ไดจ้ ากในแปลงทุกวนั ทกุ คนต่างมคี วามสุขทีไ่ ดล้ งมือทา
ทุกวันนี้พ่อและแม่ต่างช่ืนชมส่ิงที่เธอได้ทา เพราะมีผักปลอดภัยไว้กินในครอบครัว เหลือก็แบ่งปัน
เพื่อนบ้าน หรือขายเพ่ือเป็นรายได้ ยกตัวอย่างช่วงท่ีเป็นฤดูกาลของมะยงชิด ท่ีแปลงของเธอ
ขายผลผลิตได้จานวนหลายหม่ืนบาทเลยทีเดียว หรือเมื่อมีผลผลิตจากกลว้ ยที่ปลูกเป็นจานวนมาก
ก็สามารถนามาแปรรูปเป็นกล้วยผงบดสมุนไพรสาหรับชงดื่มเพื่อ สุขภาพ สร้างรายได้
มากพอสมควร

ความสาเร็จของผูน้ าต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎใี หม่ รปู แบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล 32

หลังจากมีการยกระดับสู่การเป็นศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พระราชา บ้านสุขสบาย
จาเป็นต้องมีการรวมกลุ่มสมาชิกเครือข่ายของโรงเรียนศาสตร์พระราชา แต่การรวมกลุ่มจะเป็น
แบบไม่เป็นทางการ จะใช้เวลาว่างที่ตรงกันมาดาเนินกิจกรรมภายในพื้นท่ี สมาชิกบางคนไม่ได้อยู่
ในชุมชน อยู่ต่างอาเภอ การรวมตัวกันจะทาได้ยาก จึงต้องใช้กระบวนการของกิจกรรมลงแขก
เอาม้ือสามัคคีภายในแปลงของสมาชิกท่ีต้องหมุนเวียนกันไป เพื่อสร้างความสามัคคี
และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ให้สมาชิกมีความรู้สึกว่าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน รวมท้ัง
ได้มีการรวมกลุ่มจัดตั้งข้ึนเป็นวิสาหกิจชุมชน เพ่ือทาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสินค้าทางการเกษตร
และสมนุ ไพร แต่ปญั หาทพี่ บ คอื วตั ถุดิบมีไม่เพยี งพอต่อกาลงั การผลิต จึงแก้ไขด้วยการส่งเสริมให้
สมาชิกในกลุ่มปลูกพืชสมุนไพรไว้ในครัวเรือนของตนเอง และนามาเข้าสู่กระบวนการแปรรูป
ท่ีศูนย์เรียนรู้ เม่ือเกิดรายได้จึงจัดสรรแบ่งให้สมาชิกในกลุ่ม เพื่อเป็นการสร้างรายได้ อาชีพเสริม
นอกจากงานประจาได้อีกด้วย

การทาเกษตรแบบพอเพียง ต้องใช้เวลาและความอดทน เพราะกว่าจะได้ผลผลิต
ต้องฝ่าฝันปัญหาท่ีต้องเจอในพ้ืนท่ี ท้ังปัญหาสภาพดินที่ไม่อุดมสมบูรณ์ ปัญหาแหล่งน้า และ
สภาพแวดล้อมจากชุมชน และความมุ่งม่ังต้ังใจที่จะลงมือปฏิบัตจิ ริงตามคาสอนของครูบาอาจารย์
ที่ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้และดูแลอย่างใกล้ชิด ซ่ึงส่ิงที่สามารถช่วยให้เธอใช้ชีวิตได้ตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงน้ัน อันดับแรกเธอได้ศึกษาแก่นแท้ของความพอเพียง
อย่างแท้จริง และเช่ืออย่างบริสุทธ์ิใจ กล้าท่ีจะลงมือทาจริงจัง กล้าที่จะเปลี่ยนความคิดแบบเก่า
และกล้าท่ีจะพิสูจน์ตนเองให้คนในครอบครัวได้เห็นว่าส่ิงท่ีเธอทาอยู่มันคือทางออกและทางรอด
ของชีวิตภายใตส้ ถานการณว์ ิกฤตทีก่ าลังรุมเรา้ โลกของเราอยนู่ ัน่ เอง

“ควำมพอเพียง คือ ทำงออกและทำงรอดของชวี ติ ”

ความสาเรจ็ ของผ้นู าต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ รูปแบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล 33

“พฒั นำกร
ช่วย

หนุนเสรมิ ”

ความสาเรจ็ ของผู้นาตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ รปู แบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล

สง่ เสริม สนับสนุน ให้คำปรึกษำ

สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอบ้านดุง ให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพ
ของผู้นา จึงมุ่งเน้นส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาผู้นาต้นแบบ โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน
ให้สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถ
พัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบที่เปิดให้ผู้สนใจเข้ามาเรียนรู้ได้ ซ่ึงทางพัฒนากรได้มีการทางาน
แบบบูรณาการร่วมกับชุมชน ปราชญ์ชุมชน ผู้นาต้นแบบ เพื่อขับเคล่ือนงานศาสตร์พระราชา
โคก หนอง นา โมเดล และเมื่อปี 2562 ได้มีการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของเจ้าหน้าท่ี
พัฒนาชุมชนจังหวัดอุดรธานี ข้ึนที่ศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พระราชา โดยมีท่านอาจณรงค์ สัตยพานิช
ผู้ตรวจราชการกรม เข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ด้วย ซ่ึงได้มีการฝึกอบรม ภายในฐานเรียนรู้
ตามหลกั กสิกรรมธรรมชาติ โดยมคี ุณประทุมพรและสมาชิกกลมุ่ เปน็ วทิ ยากรในครงั้ น้ี

และในปี 2563 ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอดุ รธานีไดค้ ดั เลอื กกลุ่มเป้าหมายที่อยู่
ในเขตพ้ืนที่บริการ 8 จังหวัด เพื่อฝึกอบรมหลักสูตรการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง
รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล ซ่ึงสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดอุดรธานีได้พิจารณาคัดเลือก
นางสาวประทุมพร อันสนั่น เป็นตัวแทนของอาเภอบ้านดุงเข้ารับการฝึกอบรม ซึ่งหลังจาก
การฝึกอบรมได้มีการจัดทาปฏิทินการเอามื้อสามัคคีขึ้น กาหนดจุดนาร่องจอบแรกของจังหวัด
อุดรธานีขึ้นที่ศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พระราชา บ้านสุขสบาย หลังจากนั้นกรมการพัฒนาชุมชนได้มี
โครงการเสริมสร้างและพัฒนาผู้นาการเปลี่ยนแปลง ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จึงคัดเลือกให้เธอ
เป็นผู้นาตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชีวิตตามหลกั ทฤษฎีใหม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล

ความสาเร็จของผนู้ าต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 35

และได้มีการดาเนินกิจกรรมตามโครงการดังกล่าว จัดกิจกรรมสร้างเครือข่าย
การเอาม้ือสามัคคีของผู้นาต้นแบบข้ึน โดยได้จัดกิจกรรมเอาม้ือสามัคคีในรูปแบบฝึกอบรม
กลุ่มย่อย ขยายผลประชาชนท่ัวไปที่สนใจทาโคก หนอง นา จานวน 15 คน จัดข้ึนท่ีศูนย์เรียนรู้
ศาสตร์พระราชา จานวน 3 วัน และทางสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอบ้านดุงได้มีการสนับสนุน
วัสดุอุปกรณ์ สาหรับการพัฒนาพ้ืนท่ี โคก หนอง นา ตามความต้องการของเจ้าของแปลง เช่น
ท่อพีวีซี ปุ๋ยคอก ฟางก้อน ซ่ึงผลสาเร็จจากการจัดกิจกรรมทาให้มีโมเดลขนาดเล็ก จานวน 2 งาน
เป็นการจาลองพ้ืนที่ต้นแบบ โคก หนอง นา โมเดล สามารถเปิดเป็นแหล่งเรียนรู้ให้ผู้สนใจเข้ามา
ศกึ ษาดงู าน และแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ไดท้ ศี่ นู ย์เรียนรูศ้ าสตรพ์ ระราชา บา้ นสุขสบาย

ความสาเรจ็ ของผูน้ าตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎใี หม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 36

“กำ้ วไดไ้ กล
ก้ำวด้วยใจ
กำ้ วไมใ่ หญ่

กำ้ วไป
ด้วยกนั ”

ความสาเรจ็ ของผ้นู าตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ รปู แบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล

ร่วมคิด รว่ มแรง ร่วมใจ รว่ มรบั ผลสำเรจ็

บ้านสุขสบาย ตาบลโพนสูง อาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี มีลักษณะภูมิประเทศ
เป็นดินบริเวณลูกคลื่นลานลาด เป็นดินลึกมีการระบายน้าปานกลาง ความสามารถให้น้าซึมผ่าน
ปานกลาง เน้ือดินชั้นล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนดินทราย มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ามาก
ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินต่า ควรจัดเป็นพื้นที่เพาะปลูกอย่างถาวร โดยทั่วไปเหมาะสม
ในการปลูกป่า หรือปลูกพืชไร่ หรือผลไม้ต่าง ๆ แต่ควรเลือกชนิดของพืชท่ีปลูกให้เหมาะสม เช่น
ผัก ถ่ัวต่าง ๆ อ้อย มันสาปะหลัง นอกจากจะมีการใส่ปุ๋ยในอัตราที่เหมาะสมและมีการจัดการท่ีดี
ต้องมีมาตรการในการอนุรักษ์ดินที่ดีอีกด้วย เช่น การปลูกพืชตามแนวระดับและการทาขั้นบันได
หรือคันดินในบริเวณที่อาศัยน้าฝนสาหรับการเพาะปลูกเพราะมักประสบภาวะแห้งแลง้ นอกจากนี้
บางพื้นท่ียังเป็นดินบริเวณท่ีราบลุ่ม เป็นดินลึกมีการระบายน้าเร็ว ความสามารถให้น้าซึมผ่านช้า
เนื้อดินช้ันบนเป็นดินร่วนปนทราย ดินช้ันล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายถึงดินเหนียวปนทราย
มีปริมาณอินทรยี วตั ถุ ค่อนขา้ งตา่ มาก ระดบั ความสมบรู ณต์ ่า เหมาะสาหรบั ปลกู ขา้ วในฤดูฝน

สาหรับวิสัยทัศน์การพัฒนาหมู่บ้าน เน้นการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
แก่ครัวเรือนยากจน โดยยืดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักการพ่ึงตนเอง ลดการพึ่งพิง
ภายนอก ด้วยการคานึงถึงศักยะภาพ ทรัพยากร ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรมและส่ิงแวดล้อม
ในท้องถ่ินเป็นหลักเพื่อยกระดับรายได้ และส่งเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในหมู่บ้าน
ให้มีจิตสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริตและให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วย
ความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุลและพร้อมต่อการรับมือ
การเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็วและกว้างขวางทง้ั ด้านวัตถุ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ มและวัฒนธรรมจากโลก
ภายนอกไดเ้ ป็นอยา่ งดี ซ่งึ สอดคล้องกบั สงิ่ ท่ีคุณประทุมพรได้ดาเนินการอยใู่ นพื้นทแ่ี ปลงของตนเอง
น่ันก็คือ การท่ีเธอพร้อมจะเป็นแหล่งเรียนรู้ ศูนย์ฝึกอบรม และศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พระราชา
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ความสาเร็จของผู้นาต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ รปู แบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล 38

ดังนั้น ชุมชนถือว่าเป็นส่วนสาคัญของการขับเคลื่อนศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พระราชา
บ้านสุขสบาย โดยได้เข้ามามีส่วนช่วยเหลือในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การจัดสถานที่ต้อนรับ
คณะศึกษาดูงาน การประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนเข้ามาร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ และจาหน่าย
ผลิตภัณฑ์ชุมชน และทางองค์การบริหารส่วนตาบลโพนสงู ไดเ้ ข้ามาช่วยสนับสนุนอุปกรณ์ท่ีจาเป็น
สาหรับการพัฒนาพ้ืนที่ รวมท้ังส่งเจ้าหน้าท่ีเข้ามาช่วยจัดสถานท่ีฝึกอบรม ในกรณีที่มีการร้องขอ
ไปยงั หนว่ ยงานท้องถิน่ ซง่ึ ทุกภาคส่วนที่อยูใ่ นท้องถ่นิ ต่างให้ความร่วมมือเปน็ อยา่ งดี

นอกจากนี้ทางสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอบ้านดุง ยังได้เข้ามาช่วยส่งเสริม
และสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับคนในชุมชนบ้านสุขสบาย และชุมชนในพ้ืนที่อาเภอบ้านดุง
ได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้การพัฒนาพื้นที่ตามรูปแบบ โคก หนอง นา และหลักกสิกรรมธรรมชาติ
เพื่อนากลับไปพัฒนาพ้ืนที่และสภาพดินของตนเอง เนื่องจากแปลงของเธอ ถือว่าเป็นต้นแบบ
ความสาเร็จของการฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมคุณภาพ ให้สามารถกลับมาปลูกพืช และสร้างผลผลิต
ที่เจริญงอกงามได้ ซึ่งในอนาคตหากมีการเผยแพร่องค์ความรู้ให้แก่ชุมชนได้อย่างกว้างขวางขึ้น
ประชาชนท่ีอยู่ในชุมชนบ้านสุขสบายจะสามารถปรับสภาพดินให้ดี สร้างแร่ธาตุอาหารให้แก่ดิน
และมีการทาเกษตรผสมผสานมากข้ึน เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารให้กับตนเองและชุมชน
เป็นการปฏิบัติบูชาและขยายผลองค์ความรู้ของผู้นาต้นแบบท่ีเกิดขึ้นจาก การลงมือ ปฏิ บัติ
อย่างจริงจัง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เรยี กไดว้ ่าเปน็

“ผลสำเร็จทเี่ กิดขนึ้ จำกผูน้ ำต้นแบบ โคก หนอง นำ พัฒนำชมุ ชน”

ความสาเร็จของผนู้ าตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 39

“ผลิตภัณฑ์
ของ
ผนู้ ำ

ต้นแบบ”

ความสาเรจ็ ของผู้นาตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ รปู แบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล

ผลติ ภณั ฑแ์ ปรรูปจำกศนู ย์เรียนรศู้ ำสตร์พระรำชำ บำ้ นสุขสบำย

ความสาเรจ็ ของผูน้ าต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ รปู แบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 41

กจิ กรรมฐำนเรยี นรขู้ องศูนยเ์ รยี นรศู้ ำสตร์พระรำชำ บ้ำนสุขสบำย

ปัจจุบนั ไดม้ ีกำรรวมกล่มุ สมำชกิ จดั ตั้งขน้ึ เป็น

“วิสำหกจิ ชุมชนเกษตรกรรมย่ังยนื สุขสบำย”

ความสาเรจ็ ของผู้นาตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 42

ผลติ ภณั ฑ์ของวิสำหกจิ ชุมชนเกษตรกรรมยง่ั ยนื สุขสบำย

กลว้ ยผงบดเพ่อื สขุ ภำพ

น้ำปลำรำ้ ต้มสกุ ปรงุ รสผสมกญั ชำ

ผลติ ภัณฑ์กำแฟผสมกัญชำ “เป็นหนึง่ กัญ”

ความสาเรจ็ ของผู้นาต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎใี หม่ รูปแบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล 43

ความสาเรจ็ ของผู้นาตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล

สแกน QR Code รับชมคลิปแรงบันดำลใจ
“บทเรียนควำมสำเร็จ โคก หนอง นำ พช.”

นำงสำวประทุมพร อนั สนั่น

สแกน QR Code รับชมคลิปองค์ควำมรู้
“วิธที ำกล้วยผงบดไวเ้ ปน็ สมุนไพรประจำบ้ำน”

นำงสำวประทุมพร อนั สนั่น

ความสาเรจ็ ของผ้นู าตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ รูปแบบประยกุ ต์ โคก หนอง นา โมเดล 45

“ยึดม่นั ในปรชั ญำ
พัฒนำตำมขัน้ ตอน
สอนให้พงึ่ ตนเอง”

ความสาเรจ็ ของผนู้ าต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ รปู แบบประยุกต์ โคก หนอง นา โมเดล


Click to View FlipBook Version