The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติ กติกา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เบญญาภา สถาน, 2024-03-07 08:52:04

กีฬาฟุตซอล

ประวัติ กติกา

FUTSAL กีฬาฟุตซอล จัดทำ โดย นางสาวเบญญาภา สถาน 66121890202 สาขาพลศึกษา คณะครุสาตร์


จัดทำ โดย นางสาวเบญญาภา สถาน 66121890111 สาขาพลศึกษา คณะครุสาตร์ คำ นำ หนังสือ E-book เล่มนี้จัดทำ ขึ้นเพื่อเป็น ป็ ส่วนหนึ่งของ รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร การศึกษาและการเรียนรู้เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องกีฬา ฟุตซอล และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็น ป็ ประโยชน์ต่อการเรียน ผู้จัดทำ หวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็น ป็ ประโยชน์กับผู็อ่านหรือ นักเรียน นักศึกษาที่กำ ลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนำ หรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำ ขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย


สารบัญ คำ นำ สารบัญ ฟุตซอลคืออะไร ประวัติฟุตซอลไทย ประวัติฟุตซอลต่างประเทศ กติกาฟุตซอล ความแตกต่างระหว่างฟุตซอลกับฟุตบอล รู้จักกับ5ทักษะการเล่นฟุตซอล ประโยชน์ของการเล่นกีฬาฟุตซอล ก ข 1 2 3 4 14 15 17 18


ฟุตซอล (อังกฤษ: futsal) ลักษณะ การเล่นเหมือ มื นฟุตบอล แต่เป็น ป็ การเล่น ในร่ม ร่ โดยสหพัน พั ธ์ฟุธ์ ฟุ ตบอลระหว่า ว่ ง ประเทศ (ฟีฟ่ฟี า ฟ่ ) เป็น ป็ องค์กรที่ควบคุม คุ การเล่นฟุตซอลทั่ว ทั่ โลก ชื่อ ชื่ ฟุตซอล มา จากวลีในภาษาโปรตุเ ตุ กสว่า ว่ ฟูตึบอลดึซ ดึ า เลา (futebol de salão) และใน ภาษาสเปนว่า ว่ ฟุตโบลซาลา (fútbol sala) ซึ่ง ซึ่ วลีทั้ง ทั้ สองหมายถึง "ฟุตบอล ที่เล่นในห้อ ห้ ง" การเล่นฟุตซอลจะแบ่ง บ่ ออกเป็น ป็ สอง ทีม โดยแต่ละทีมมีทั้ มี ทั้ ง ทั้ หมด 5 คน รวมผู้ รัก รั ษาประตูข้ ตู า ข้ งละ 1 คน ลูก ลู บอลที่ใช้เ ช้ ล่น จะมีข มี นาดเล็กกว่า ว่ ลูก ลู ฟุตบอลทั่ว ทั่ ไป และ จะหนัก นั กว่า ว่ ฟุตซอลคืออะไร


ประวัติฟุตซอลในประเทศไทย การเล่นกีฬาฟุตซอลในประเทศไทยไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่า เริ่มเล่นในปีใด แต่มีกีฬาที่เรียกว่า “ฟุตบอลโกลหนู” ซึ่งมีลักษณะการเล่นคล้ายฟุต ซอล โดยมีจุดแตกต่างกันที่มีขนาดของสถานที่เล่นเล็กกว่าและจำ นวน ผู้เล่นน้อยกว่า ส่วนลูกบอลที่ใช้จะตามแต่ที่หา ได้ ทั้งนี้ มีจุดประสงค์ ในการเล่นเพื่อออกกำ ลังกาย มากกว่าการซ้อมเพื่อการแข่งขัน สำ หรับประวัติฟุตซอลไทย ที่มีการแข่งขันอย่างเป็นทางการนั้น มีดังนี้ พ.ศ.2540 (ค.ศ.1997) มีการจัดการแข่งขันฟุตซอลที่ประเทศไทยเป็น ครั้งแรก ซึ่งสโมสรการท่า เรือแห่งประเทศไทยสามารถคว้าแชมป์ไป ครองได้สำ เร็จ พ.ศ. 2541 (ค.ศ.1998) มีการจัดการแข่งขันขึ้นเป็นครั้งที่ 2 โดย สโมสรการทหารท่า เรือแห่งประเทศไทยสามารถรักษาแชมป์ได้อีกสมัย หนึ่ง พ.ศ. 2543 (ค.ศ.2000) มีการจัดการแข่งขันฟุตซอลเป็นครั้งที่ 3 ใน ครั้งนี้ทีมสโมสรฟุตบอลทหารอากาศคว้าแชมป์ไปครอง โดยล้มแชมป์ เก่าสองสมัยอย่างสโมสรการทหารท่า เรือแห่งประเทศไทยได้สำ เร็จ นอกจากนี้ ในปีเดียวกันประเทศไทยมีโอกาสเป็นเจ้าภาพจัดการ แข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย ซึ่งไทยได้อันดับที่ 3 จึงมีสิทธิ์เดินทาง ไปแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลกรอบสุดท้าย ณ ประเทศกัวเตมาลา ด้วย รวมไปถึง ในปีเดียวกันนี้ มีการจัดการแข่งขันในระดับเยาวชน 18 ปี เป็นครั้งแรกอีกด้วย พ.ศ. 2544 (ค.ศ.2001) มีการจัดการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาคและ ระดับประเทศ ทั้งระดับเยาวชนและประชาชนทั่วไป ซึ่งทีมชาติไทย สร้างผลงานด้วยการคว้ารางวัลชนะเลิศระดับอา เซียน ที่ประเทศ มา เลเซีย และรางวัลชนะเลิศระดับดิวิชั่น 2 ไทเกอร์คัพ ที่ประเทศ สิงคโปร์มา ได้ พ.ศ. 2547 (ค.ศ.2004) ทีมชาติไทยคว้ารางวัลอันดับที่ 3 ในการ แข่งขันชิงแชมป์เอเชียมา ได้ จึงได้สิทธิ์เดินทางไปแข่งต่อในรอบ สุดท้ายที่ประเทศไต้หวัน


คำ ว่า ฟุตซอล มีรากศัพท์มาจากภาษาสเปนหรือโปรตุเกส ที่ว่า FUTbol หรือ FUTebol และภาษาสเปนหรือฝรั่งเศสเรียกคำ ว่า Indoor เป็น ป็ คำ ว่า SALa เมื่อนำ มารวมกันจึงกลายเป็น ป็ คำ ว่า ฟุตซอล กีฬาฟุตซอลถือกำ เนิดขึ้นในประเทศแคนาดาเมื่อ ค.ศ. 1854 เนื่องจากเมื่อ ย่างเข้าหน้าหนาว หิมะตกคลุมทั่วบริเวณ ทำ ให้นักกีฬาไม่สามารถเล่นกีฬา ฟุตบอลกลางแจ้งได้ จึงหันมาเล่นฟุตบอลในร่ม โดยใช้โรงยิมบาสเกตบอลเป็น ป็ สนามแข่ง ทำ ให้ช่วงนั้นเรียกกีฬาฟุตซอลว่า Indoor soccer (อินดอร์ซอค เกอร์) หรือ five a side soccer ค.ศ. 1930 ฮวน คาร์ลอส เซอเรียนี จากเมืองมอนเตวิเดโอ ประเทศอุรุก วัย ได้นำ กีฬาฟุตซอลไปใช้ในสมาคม YMCA (Young Man ' s Christian Association) โดยใช้สนามบาสเกตบอลในการเล่นทั้งภายในและภายนอก อาคาร ทำ ให้กีฬา Indoor soccer ได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ ค.ศ. 1932 โรเจอร์ เกรน ได้บัญญัติกฎเพื่อใช้เป็น ป็ มาตรฐานควบคุมกีฬา ชนิดนี้ และใช้มาจนถึงทุกวันนี้ หลังจากนั้นไม่นาน กีฬาชนิดนี้ก็แพร่หลายไปทั่ว โลก เป็น ป็ ที่นิยมทั่วทั้งทวีปอเมริกาใต้ ทวีปยุโรป และแพร่กระจายไปทั่วโลก ค.ศ. 1965 มีการจัดการแข่งขันฟุตซอลนานาชาติเป็น ป็ ครั้งแรก และ ประเทศปารากวัยก็เป็น ป็ ทีมชนะเลิศ ต่อจากนั้นก็มีการจัดแข่งขันในระดับ นานาชาติมาเรื่อย ๆ จนกระทั่งปี ค.ศ. 1982 มีการจัดฟุตซอลชิงแชมป์โป์ ลกขึ้นที่ ประเทศบราซิล และเจ้าภาพเองก็เป็น ป็ ฝ่ายได้รับชัยชนะไป จึงมีการจัดการ แข่งขันอย่างไม่เป็น ป็ ทางการอีก 2 ครั้ง ในปี ค.ศ. 1985 และ ค.ศ. 1988 ที่มี ประเทศสเปนและออสเตรเลียเป็น ป็ เจ้าภาพ จนกระทั่งปี ค.ศ. 1989 สหพันธ์ ฟุตบอลนานาชาติ ได้เข้ามาดูแลจัดการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โป์ ลกอย่างเป็น ป็ ทางการ ประวัติฟุตซอลต่างประเทศ


กติกาฟุตซอล สำ หรับเพื่อนๆที่มีความสนใจในการเล่นกีฬาฟุตซอล แต่อาจยังไม่ค่อยเข้าใจ หรืออาจยังไม่ทราบถึงกฏกติกาในการเล่นของกีฬาฟุตซอลว่าเป็น ป็ อย่างไร และมีความแตกต่างกับฟุตบอล 11 คนที่เราคุ้นเคยกันอย่างไร ดังนั้นในวันนั้ เราจึงได้นำ เอากฏและกติการต่างๆของการเล่นฟุตซอลตามกฏของฟี ฟ่า ฟ่ ได้ กำ หนดไว้ทั้งหมด 18 ข้อ มาให้ศึกษากันเป็นตัวอย่างคร่าวๆเพื่อทำ ความ เข้าใจก่อนข้างต้นบ้างโดยสังเขป ดังต่อไปนี้ 1. สนาม (The pitch)) กลาง สนามมีวงกลมแสดงเขต ห้ามเข้าตอนเขี่ยลูกเริ่มเล่นขนาดรัศมี 3 เมตร แบ่ง เป็น ป็ 2 ฝั่งแต่ละฝั่งจะมีกรอบ เขตโทษรัศมี 6 เมตรจากเส้นกรอบ ประตู จุดโทษ จะอยู่บนเส้น ระยะ 6 เมตร จากกรอบประตู จุดโทษที่ 2 ระยะ 10 เมตรจากกรอบประตู เขตเปลี่ยนตัวห่างจากเส้น กึ่งกลางสนาม 5 เมตร ยาว 5 เมตร (ผู้เล่นต้องเปลี่ยนตัวเข้าออกบริเวณนี้ เท่านั้น) ประตูยาว 3 เมตร สูง 2 เมตร


2. ลูกบอล (The ball) การแข่งขันรุ่นอายุมากกว่า 13 ปี ใช้ลูกบอล ไซต์ 4 มีขนาดก่อนเริ่มเกมคือ เส้นรอบวงยาว 62–64 ซม. น้ำ หนักระหว่าง 400–440 กรัม การแข่งขันรุ่นอายุ 9-13 ปี ใช้ลูกบอลไซต์3 มี ขนาดก่อนเริ่มเกมคือ เส้นรอบวงยาว 56–59 ซม. น้ำ หนักระหว่าง 350–380 กรัม มาตราฐานลูกบอลคือ เมือปล่อยลูกบอลลงมา จากความสูง 2 เมตร การกระเด้งครั้งแรกต้อง สูงไม่ต่ำ กว่า 50 ซม. หรือมากกว่า 65 ซม. น้ำ หนักที่เหมาะสมควรอยู่ระหว่าง 390-490 กรัมไม่ควรเบากว่า 380 กรัม และ ไม่ควรหนักกว่า 500 กรัม 3. จำ นวนผู้เล่น (The number of players) สามารถเปลี่ยนตัวผู้เล่นได้ไม่จำ กัดจำ นวนผู้ เล่นที่ เปลี่ยนออกไปแล้ว เปลี่ยนกลับเข้ามาเล่นได้ การเปลี่ยนตัวสามารถทำ ได้ ตลอดเวลา (ไม่ว่าบอลจะตายหรือไม่ก็ตาม) โดยขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้ ตัดสิน (ผู้ติดสินอนุญาตก็เปลี่ยนเข้าได้) และต้องเปลี่ยนตัวเข้าออกตรง บริเวณเขต เปลี่ยนตัว 5 เมตรเท่านั้น (หากทำ ผิดโดนใบเหลืองเลยนะครับ) และ ต้องให้ผู้เล่นที่จะเปลี่ยนออกออกนอกสนามก่อน ผู้เล่นที่จะเปลี่ยนเข้าจึงจะเข้าไปได้ การเริ่มเล่นต้องมีผู้เล่นฝ่ายละ 5 คน ถ้าเล่นๆ ไปแล้วมีผู้เล่นโดยไล่ออกจนฝ่ายนึง เหลือผู้เล่นแค่ 2 คน (ประตู 1 ผู้เล่น 1) ให้ยกเลิก การแข่งขัน


4. อุปกรณ์ผู้เล่น (The players ' equipment) เสื้อยืด หรือเสื้อเชิ้ต กางเกงขาสั้น (ยกเว้นผู้รักษา ประตูใส่ขายาวได้) ถุงเท้ายาว สนับแข้ง รองเท้า ผู้รักษา ประตูต้องใส่ชุดที่มีสีต่างจากผู้เล่นคน อื่น และผู้ตัดสิน ถ้าผู้เล่น เปลี่ยนเป็น ป็ ผู้รักษาประตู ให้เปลี่ยนใส่ เสื้อผู้รักษาประตูที่ติดเบอร์ตนเอง 5. ระยะเวลาการแข่งขัน (The duration of the match) แบ่งเป็น ป็ 2 ครึ่ง ครึ่งละ 20 นาที พักครึ่งเวลาไม่เกิน 15 นาที สามารถขอเวลานอกได้ครึ่งละ 1 ครั้ง ครั้งละ 1 นาที การขอเวลานอกกระทำ ได้ ตลอดเวลา แต่จะให้ได้เมื่อทีมตนได้ส่ง ลูกเข้าเล่น เมื่อได้เวลานอกผู้เล่นจะ ต้อง อยู่ในสนาม ส่วนเจ้าหน้าที่ทีมก็ต้องไม่ เข้ามาในสนาม (สอนกันตรงขอบสนาม) ผู้เล่นที่จะเปลี่ยนตัวต้องรอให้ จบการขอเวลานอกก่อน จึงจะเปลี่ยน ตัวได้ เวลานอกที่ไม่ใช้ในครึ่งแรก ไม่ สามารถนำ ไปใช้ในครึ่งหลังได้ ถ้ามีต่อเวลาพิเศษจะไม่มีการขอ เวลานอก


6. ผู้ตัดสิน (The referee) 7. ผู้ตัดสินที่สอง (The second referee) 1.ปฏิบัติตามกติกาการแข่งขัน 2.อนุญาตให้การเล่นดำ เนินต่อไปเมื่อทีมที่ถูกกระทำ ผิดจะเกิดการได้ เปรียบจากการให้ประโยชน์ (Advantage) ถ้าการคาดคะเน ในการได้ เปรียบนั้นไม่เป็น ป็ ไปตามที่คาดคะเนไว้ ในขณะนั้นก็จะลงโทษตามความ ผิดกติกาที่เกิดขึ้นตั้งแต่ครั้งแรกนั้นได้ 3.ทำ บันทึกรายงานการแข่งขัน และเสนอต่อผู้มีอำ นาจหน้าที่ด้วย รายงานการแข่งขัน ซึ่งรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับระเบียบวินัยต่าง ๆ ที่ กระทำ ผู้เล่นหรือเจ้าหน้าที่ทีม และเหตุการณ์อื่น ๆ ทุกกรณีที่เกิดขึ้นก่อน การแข่งขัน ระหว่างการแข่งขัน หรือภายหลังการแข่งขัน 4.ทำ หน้าที่เป็น ป็ ผู้รักษาเวลาในกรณีที่ไม่มีผู้รักษาเวลา 5.หยุดการเล่น หยุดการเล่นชั่วคราว หรือยุติการแข่งขันในทุกกรณีที่มี การกระทำ ผิด กติกาการแข่งขัน หรือเมื่อเห็นว่ามีเหตุจำ เป็น ป็ ต่าง ๆ เช่น การรบกวนการแข่งขันจากภายนอกสนาม 6.สามารถคาดโทษและไล่ออกผู้เล่นที่กระทำ ผิด 7.แน่ใจว่าไม่มีบุคคลอื่นที่ไม่ได้รับอนุญาตเข้าไปในสนามแข่งขัน 8.หยุดการเล่นเมื่อเห็นว่าผู้เล่นได้รับบาดเจ็บอย่างร้ายแรง และเคลื่อน ย้ายผู้เล่นออกจากสนามแข่งขัน 9.อนุญาตให้การเล่นดำ เนินต่อไป จนกว่าลูกบอลอยู่นอกการเล่น ถ้า หากว่าผู้เล่นบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย 10.พิจารณาลูกบอลที่ใช้ในการแข่งขันให้เป็น ป็ ไปตามกติกาข้อ 2 ผู้ตัดสินที่ 2 ได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่อยู่ด้านตรง ข้ามของสนามแข่งขันกับผู้ตัดสิน เขาได้รับอนุญาตให้ใช้ นกหวีดได้ ผู้ตัดสินที่ 2 จะช่วยเหลือผู้ตัดสินในการ ควบคุมการแข่งขันให้เป็นไปตามกติกาการแข่งขัน ผู้ ตัดสินที่ 2 (The Second Referee) มีอำ นาจในการสั่ง หยุดการเล่น เมื่อมีการกระทำ ผิดกติกา เขาจะต้องแน่ใจ ว่าการเปลี่ยนตัวของผู้เล่นปฏิบัติอย่างถูกต้อง ในกรณีที่ ผู้ตัดสินที่ 2 ปฏิบัติตนหรือประพฤติตนไม่เหมาะสม ผู้ ตัดสินสามารถเปลี่ยนผู้ตัดสินที่ 2 ออกจากการปฏิบัติ หน้าที่ และมอบหมายให้ผู้อื่นมาปฏิบัติหน้าที่แทน และต้อง เขียนรายงานเสนอต่อผู้มีอำ นาจที่รับผิดชอบพิจารณาต่อ ไป


ผู้รักษาเวลา (The Timekeeper) ต้องแน่ใจว่าระยะเวลา ของการแข่งขันเป็นไปตามข้อกำ หนดของกติกาข้อ 8 โดย ปฏิบัติดังนี้ เริ่มต้นเวลาของตนเองหลังจากการเตะเริ่มเล่น หยุดเวลาเมื่อลูกบอลอยู่นอกการเล่น เริ่มจับเวลาภายหลัง การเตะเข้าเล่น การเล่นลูกจากประตู การเตะจากมุม การเตะ โทษ การเตะโทษ ณ จุดโทษ หรือการเตะจุดโทษที่ 2 การขอ เวลานอก หรือการปล่อยลูกบอล ควบคุมการขอเวลานอก 1 นาที ควบคุมระยะเวลา 2 นาที ของการลงโทษ เมื่อผู้เล่น ถูกไล่ออก เป็นผู้แจ้งเมื่อหมดเวลาการแข่งขันในครึ่งเวลา แรก ครึ่งเวลาหลัง หรือเมื่อหมดเวลาในช่วงการต่อเวลา พิเศษ และหมดเวลาของการขอเวลานอก โดยการใช้เสียง สัญญาณนกหวีด หรือเสียงสัญญาณอื่น ๆ ที่ชัดเจนและ แตกต่างจากเสียงสัญญาณของผู้ตัดสิน เป็น ป็ ผู้บันทึกการ ขอเวลานอก และการรักษาเวลาของแต่ละคืน ต้องแจ้งให้ผู้ ตัดสิน และทีมที่เข้าแข่งขันทราบข้อเท็จจริงการอนุญาตการ ขอเวลานอกเมื่อผู้ฝึกสอนทีมใดทีมหนึ่ง ต้องการร้องขอ (ตามกติกาข้อ 8 ) เป็น ป็ ผู้บันทึกการกระทำ ผิดกติการวม 5 ครั้งแรกของแต่ละทีม ในแต่ละครึ่งเวลา ซึ่งมีการจดบันทึก โดยผู้ตัดสินแสดงสัญญาณเมื่อมีการกระทำ ผิดกติกาครั้งที่ 5 ให้แต่ละทีมได้ทราบ ผู้ตัดสินที่ 3 (The Third Referee) ผู้ตัดสินที่ 3 จะเป็น ป็ ผู้ช่วยเหลือผู้รักษาเวลา เป็นผู้บันทึก การกระทำ ผิดกติการวม 5 ครั้งแรกของแต่ละทีม ในแต่ละ ครึ่งเวลาของการแข่งขัน ซึ่งมีการจดบันทึก โดยผู้ตัดสิน และแสดงสัญญาณเมื่อมีการกระทำ ผิดกติการวมครั้งที่ 5 ให้แต่ละทีมทราบ เป็นผู้บันทึกเกี่ยวกับการหยุดการแข่งขัน และเหตุผลของการหยุดการแข่งขัน เป็นผู้บันทึกหมายเลขผู้ เล่นที่ทำ ประตูได้ เป็นผู้บันทึกชื่อและหมายเลขผู้เล่นที่ถูก คาดโทษหรือถูกไล่ออก บันทึกข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการ แข่งขัน ในกรณีที่ผู้รักษาเวลาและผู้ตัดสินที่ 3 ปฏิบัติตน หรือประพฤติตนไม่เหมาะสม ผู้ตัดสินสามารถเปลี่ยนออก จากการปฏิบัติหน้าที่ และให้ผู้อื่นมาปฏิบัติหน้าที่แทน และ เขียนรายงานเสนอต่อผู้มีอำ นาจหน้าที่รับผิดชอบพิจารณา ต่อไป 8. ผู้รักษาเวลา และผู้ตัดสินที่สาม (The timekeeper and the third referee)


9. การเริ่มเล่น และการเริ่มเล่นใหม่ (The start and restart of play) 1.ผู้ เล่นทุกคนต้องอยู่ในแดนตนเอง 2.ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามต้องอยู่ห่างจากลูกบอล ไม่น้อยกว่า 3 เมตร (อยู่นอก วงกลมกลางสนาม) 3.ลูกบอลต้องเคลื่อนที่ไปข้าง หน้า 10. บอลอยู่ในการเล่น และอยู่นอกการเล่น (บอลตาย) (The ball in and out of play) ลูกบอลอยู่ในการเล่น (Ball in Play) ลูกบอลอยู่ในการเล่นตลอดเวลานับจาก การเริ่มเล่น จนกระทั่งการแข่งขันสิ้นสุดลง รวมทั้งเมื่อ 1.ลูกบอลกระดอนจากเสาหรือคานประตูเข้ามาอยู่ในสนามแข่งขัน 2.ลูกบอลกระดอนจากผู้ตัดสินหรือผู้ตัดสินที่ 2 เมื่ออยู่ในสนามแข่งขัน ลูกบอลอยู่นอกการเล่น (Ball Out of Play) 1.ลูกบอลอยู่นอกการเล่นเมื่อลูกบอลทั้งลูกได้ผ่านเส้นประตูหรือเส้นข้าง ไม่ว่า บนพื้นหรือในอากาศ 2.ผู้ตัดสินสั่งหยุดการเล่น 3.กระทบกับเพดานหลังคา 11. การขว้างลูกจากประตู (The goal clearance) 1.ผู้ รักษาประตูต้องขว้างลูก (ด้วยมือ) จากเขตโทษของตน (ตรงจุดใด ก็ได้) ออกไปนอกเขตโทษโดยตรง (จะไหลโดยให้บอลตกในเขตโทษก่อนไม่ได้) ภายใน 4 วินาที 2.ผู้ รักษาประตูไม่สามารถเล่นลูกได้เป็น ป็ ครั้งที่ 2 นอกจากผู้เล่นคนอื่นจะ สัมผัสบอลแล้ว (ห้ามโยนลงพื้นแล้วเตะ) 3.ผู้เล่นฝ่าย ตรงข้ามต้องอยู่นอกเขตโทษ


12. การกระทำ ผิดผิกฎกติกา และมารยาท (Fouls and misconduct) การทำ ฟาวล์มี 2 มีลักษณะ คือการฟาวล์ที่โดนโทษโดยตรง (Direct Free KickCyber Monday FRYE Women's Harness 12R Boot) กับโดนโทษโดยอ้อม (Indirect Free Kick) โทษโดยตรง การฟาวล์ที่โดนโทษโดยตรงจะนับรวมใน ฟาวล์รวมด้วย 1.ห้า ห้ มเตะ (Kick) ขัดขัขา (Trips) กระโดดเข้า ข้ใส่ (Jump) ส่ ชน (Charges) (รวมถึงชนด้วยใหล่ด้วย หลายๆ คนเข้า ข้ใจผิดผิว่า ว่ การชน ด้วยใหล่คือการเบียบีด) ทำ ร้า ร้ ย (Strikes) หรือรืผลัก (Pushes) คู่ ต่อสู้ หากการกระทำ ดังกล่าวผู้ตัผู้ ตัดสินสิพิจพิารณาว่า ว่ กระทำ โดยขาด ความระมัดมัระวังวั ไม่ไม่ ตร่ต ร่ รองยั้งยั้คิด หรือรืใช้กำ ช้ กำ ลังเกินกว่า ว่ เหตุ จะโดน โทษโดยตรง 2.ห้า ห้ ม ดึง (Holds) ถ่มน้ำ ลาย (Spits) หรือรืสไลด์ (Slides) ใส่คู่ ส่ คู่ ต่ คู่ ต่ อสู้ หรือรืเล่นลูก ลู ด้วยมือมื โดยเจตนา การกระทำ ดังกล่าวจะโดน ลูก ลู โทษโดยตรงทันที (ยกเว้น ว้ ผู้รัผู้ กรัษาประตูส ตู ามารถสไลด์ และใช้มื ช้ อมื ใน เขตโทษของตนเองได้) โทษโดย อ้อม ผู้รัผู้ กรัษาประตูไ ตู ม่ส ม่ ามารถรับรัลูก ลู ที่ผู้เผู้ล่นฝ่ายเดียวกันเจตนาเตะ ส่ง ส่ มา ให้ไห้ ด้ 1.ผู้รัผู้ กรัษาประตูค ตู รองบอล (ไม่ว่ ม่ า ว่ ด้วยมือมืหรือรืเท้า) ในเขตโทษ ตนเองเกินกว่า ว่ 4 วินวิาที 2.หลังจากขว้า ว้ งลูก ลู จากประตูแ ตู ล้ว ผู้รัผู้ กรัษาประตูไ ตู ม่ส ม่ ามารถรับรั ลูก ลู (ด้วยมือมื ) ที่ส่ง ส่ คืนจากผู้เผู้ล่น (ด้วยหัวหัอก ต้นขา ฯลฯ) หากลูก ลู ยังยั ไม่ผ่ ม่ า ผ่ นเส้น ส้ แบ่ง บ่ ครึ่ง รึ่ สนาม หรือรืถูก ถู สัมสัผัสผั โดยผู้เผู้ล่นฝ่ายตรงข้า ข้ ม 3.เล่นในลักษณะที่เป็นอันตราย 4.เจตนา กีดขวางการเล่นของฝ่ายตรงข้า ข้ ม (Obstruction) 5.ปัองกันผู้รัผู้ กรัษาประตูไ ตู ม่ใม่ ห้ ขว้า ว้ งลูก ลู 6.ใบเหลือง ใบแดง คล้ายฟุตบอล (ไปดูเ ดู อง) 7.ผู้เผู้ล่นที่โดนใบแดงจะ ไม่ส ม่ ามารถกลับลงมาเล่นได้อีก และไม่ อนุญาตให้อ ห้ ยู่บ ยู่ นม้า ม้ นั่ง นั่ สำ รอง หรือรืบริเริวณสนาม (ต้องออกนอก สถานที่แข่ง ข่ ไปเลย) โดยอนุญาตให้ผู้ ห้ เผู้ล่นลงมาแทนได้ เมื่อมื่ครบเวลา 2 นาทีหลังให้อ ห้ อก ยกเว้น ว้ เมื่อมื่มีกมีารทำ ประตูก่ ตู ก่ อนถึงเวลา 2 นาที โดย จะปฏิบัติบั ติดังนี้ หากเล่น โดยทั้ง ทั้ 2 ทีมมีจำมีจำนวนผู้เผู้ล่นไม่เ ม่ ท่ากัน (5-4, 5-3, 4- 3) และทีมที่มีผู้มีเผู้ล่นมากกว่า ว่ ทำ ประตูไ ตู ด้ ทีมที่มีผู้มีเผู้ล่นน้อยกว่า ว่ จะได้รับรั อนุญาตให้ผู้ ห้ เผู้ล่น 1 คนกลับลงไปเล่น (แทนผู้ที่ผู้ ที่ ถูก ถู ไล่ออก) ได้ แต่หากทีมที่มีผู้มีเผู้ล่นน้อยกว่า ว่ ทำ ประตูไ ตู ด้ ให้ค ห้ งจำ นวนผู้เผู้ล่นไว้ เท่าเดิม การเล่นโดยทั้ง ทั้ 2 ทีมมีจำมีจำนวนผู้เผู้ล่นเท่ากัน (4-4, 3-3) และมี การทำ ประตูไ ตู ด้ก็ให้ค ห้ งจำ นวนผู้เผู้ล่นไว้เ ว้ ท่าเดิมเช่น ช่ กัน


14. การฟาวล์รวม (Accumulated fouls) 1.ฟุตซอลจะมีกฎการฟาวล์พิเศษคือการฟาวล์ รวม โดยจะอนุญาตให้ฟาวล์ได้ 5 ครั้ง (ที่เป็นลูกโทษโดยตรง) ใน 5 ครั้งแรก ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามสามารถตั้งกำ แพงได้โดยจะ อยู่ห่างจากลูกบอล 5 เมตร และผู้เตะสามารถทำ ประตูได้ โดยตรง 2.ส่วนการทำ ฟาวล์รวมครั้งที่ 6 เป็นต้นไป ผู้เล่น ฝ่ายตรงข้ามห้ามตั้ง กำ แพง ผู้เตะต้องแสดงตัว (ว่าจะเป็นผู้ เตะ ไม่ให้หลอก) 3.ผู้รักษาประตู ต้องอยู่ในเขตโทษ และอยู่ห่างจาก ลูกบอล 5 เมตร 4.ผู้เล่นคนอื่นๆ อยู่หลังแนวลูกบอล และห่างจาก ลูกบอล 5 เมตร 5.ผู้เตะต้องยิงประตูเท่านั้น ห้ามส่งให้เพื่อน 6.โดยหากการทำ ฟาวล์รวมนี้เกิดขึ้นระหว่างเส้นประตู ของ ฝ่ายที่ถูกทำ ฟาวล์ และแนวจุดโทษที่ 2 ของฝ่ายที่ทำ ฟาวล์ ให้ตั้งเตะที่จุดโทษที่ 2 (10 เมตรจากเส้นประตู) 7.แต่หากทำ ฟาวล์ระหว่าง แนวจุดโทษที่ 2 ของฝ่ายที่ ทำ ฟาวล์ และเส้นประตูของฝ่ายที่ทำ ฟาวล์ ให้เลือกได้ว่าจะตั้ง เตะที่จุดเกิดเหตุ หรือที่จุดโทษที่ 2 13. การเตะโทษ (Free kicks) ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามต้องอยู่ห่างจากลูกบอลไม่น้อย กว่า 5 เมตร ถ้าฝ่ายที่ได้เตะโทษใช้เวลาเกินกว่า 4 วินาที ให้ฝ่าย ตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม สัญญาณของผู้ตัดสิน (ดูภาพด้านล่าง) โทษ โดยตรง ผู้ตัดสินจะยกแขนในแนวนอนชี้ไปใน ทิศทางของทีมที่กระทำ ผิด และนับเป็นการกระทำ ผิดรวม โทษโดยอ้อม ผู้ตัดสินจะยกแขนชูขึ้นเหนือศีรษะ จนกว่าการเตะจะเกิดขึ้น


15. ลูกจุดโทษ (The penalty kick) 1.ผู้รักษาประตูต้องอยู่บนเส้น ประตู 2.ผู้เล่นคนอื่นต้องอยู่นอก เขตโทษ และห่างจากลูกบอล 5 เมตร 16. เตะเข้าเล่น (The kick-in) 1.ลูกบอลต้องวางนิ่งบนเส้น ข้าง 2.ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามต้องอยู่ ห่างจากลูกบอล 5 เมตร 3.ผู้เตะเข้าเล่นต้องเล่นภาย ใน 4 วินาที 18. ลูกเตะมุม (The corner kick) 1.ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามต้อง อยู่ห่างจากลูกบอล 5 เมตร 2.ผู้เตะต้องเตะลูกภายใน 4 วินาที 17. การทำ ประตู (The method of scoring) 1.ผู้รักษาประตูไม่สามารถทำ ประตูได้จากการขว้างลูกจากประตู


ความแตกต่างระหว่างฟุตซอลกับฟุตบอล ฟุตซอล 1. ใช้ลูกบอลเบอร์ 4 ซึ่งลตแรงกระตอนลง 2. ผู้เล่น 5 คน 3. ไม่จำ กัดจำ นวนการเปลี่ยนตัวผู้เล่น ผู้เล่น เปลี่ยนตัวเข้าและออกได้ตลอดเวลา 4. ใช้การเตะเข้าเล่นจากเส้นข้าง 5.มีผู้ตัดสิน กับผู้ช่วยผู้ตัดสินอย่างละคน ซึ่ง รับผิดชอบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใกล้ตัวเอง 6. ใช้ผู้รักษาเวลาเป็น ป็ ผู้ดำ เนินการหยุดนาฬิกา ตามเหตุการณ์ต่างๆ 7. ขอเวลานอกได้ 1 นาทีต่อทีมและทำ ได้ใน แต่ละครึ่ง 8. ส่งลูกบอลเข้าเล่นโดยผู้รักษาประตู 9. ไม่มีการชนด้วยไหล่ต่อไหล่หรือการสไลด์ แย่งลูกบอล 10.มีข้อบังดับการเริ่มเล่นภายใน 4 วินาที 11.ไม่มีการล้ำ หน้า 12.ไม่มีการนับก้าวของผู้รักษาประตู 13.กำ หนดจำ นวนครั้งการกระทำ ผิดกติกา 5 ครั้ง(และการเตะโทษโดยไม่มีการตั้งกำ แพง ป้อ ป้ งกัน) 14.ผู้รักษาประตูไม่สามารถสัมผัสลูกบอลโดย มือจากการเตะส่งคืนมาให้ได้ (รวมทั้งการส่ง ด้วยศีรษะและหน้าอก) 15.อนุญาตให้ส่งลูกบอลกลับคืนให้ผู้รักษา ประตูเพียงครั้งเดียว (เช่น ถูกสัมผัสโดยฝ่าย ตรงข้ามแล้ว) 16.สามารถเปลี่ยนตัวผู้เล่นแทนผู้ที่ถูกไล่ออก ได้ภายหลังผ่านพันเวลา 2 นาทีแล้ว หรือฝ่าย ตรงข้ามทำ ประตูได้แล้ว 17.การเตะจากมุมตั้งบนมุมสนาม 18.ถ้าภายหลังเวลาการเล่นจบลงผลการทำ ประตูเท่ากันให้ต่อเวลาพิเศษครึ่งละ 5 นาที ฟุตบอล 1. ใช้ลูกบอลเบอร์ 5 2.ผู้เล่น 11 คน 3. เปลี่ยนตัวผู้เล่นสำ รองได้ 3 คน 4.มีการทุ่มเมื่อลูกบอลออกนอก เส้นข้าง 5. มีผู้ตัดสิน 1 คน และผู้ช่วยผู้ ตัดสิน 2 คน (ผู้กำ กับเส้น) 6. ผู้ตัดสินเป็น ป็ ผู้รักษาเวลา 7. ไม่มีการขอเวลานอก 8. เตะจากประตู 9. ชนด้วยไหล่ต่อไหล่ และสไลด์ได้ 10.ไม่มีการกำ หนด 4 วินาทีเมื่อ เริ่มเล่นต่างๆ 11.มีการล้ำ หน้า 12.มีการนับก้าวของผู้รักษาประตู 13.ไม่จำ กัดจำ นวนครั้งของการทำ ผิดกติกา 14.ผู้รักษาประตูไม่สามารถสัมผัส ลูกบอลโดยมือจากการเตะส่งคืน มาให้ได้ 15.ส่งลูกบอลคืนให้ผู้รักษาประตู เล่นด้วยเท้าได้ตลอด 16.ไม่มีการเปลี่ยนตัวผู้เล่นแทนผู้ที่ ถูกไล่ออก 17.การเตะจากมุมทำ ภายในเขตมุม 18.ถ้าภายหลังเวลาการเล่นจบลง ผลการทำ ประตูเท่ากันให้ต่อเวลาพิเศษครึ่ง ละ 15 นาที


รู้จักกับ 5 ทักษะการเล่นฟุตซอล ฟุตซอลเป็นกีฬาที่มีการเคลื่อนไหวร่างกายแทบจะทุก ส่วน แถมยังต้องมีไหวพริบที่ดีในระหว่างการแข่งอีกด้วย การเริ่มต้นฝึกทักษะการเล่นฟุตซอล นอกจากจะช่วยให้ เล่นฟุตซอลเก่งขึ้นแล้ว ยังช่วยเพิ่มความคล่องแคล่วใน การเล่น เมื่อมีทักษะการเล่นฟุตซอลที่แม่นยำ จะช่วยให้ เข้าใจการเล่นมากขึ้น และสามารถพัฒนาศักยภาพการเล่น ในด้านอื่นๆ ให้ดีขึ้นตามไปด้วยได้ ซึ่งในการเล่นฟุตซอลมี 5 ทักษะหลักๆ ดังนี้ ทักษะการเลี้ยงบอล ทักษะในการเลี้ยงบอลเป็นทักษะการเล่นฟุตซอลที่ แสดงให้เห็นว่า ผู้เล่นมีความชำ นาญในการเล่นมากน้อย เพียงใด ซึ่งทักษะในการเลี้ยงบอลมีเป้า ป้ หมาย เพื่อหลบ หลีกหรือหลอกล่อฝั่งตรงข้าม โดยต้องครอบครองบอล ไว้ให้ได้นานที่สุด เพื่อที่จะหาโอกาสทำ ประตูซึ่งทักษะการ เลี้ยงบอลที่ควรฝึกฝนอย่างสม่ำ เสมอ สามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ การเลี้ยงบอลด้วยฝ่าเท้า เป็นการเลี้ยงบอลเพื่อ เปลี่ยนทิศทาง สามารถเลี้ยงบอลไปได้ทุกทิศ ทั้งด้าน หน้า ด้านข้าง และด้านหลัง โดยใช้ฝ่าเท้าข้างที่ถนัด แตะลูกบอลด้านบน แล้วดึงลูกบอลไปข้างหน้าพร้อม บิดตัวบังในระหว่างเคลื่อนที่ เพื่อเลี้ยงลูกบอลต่อ หรือจะยิงก็ได้ 1. การเลี้ยงบอลด้วยเท้าด้านใน เป็นการเลี้ยงบอลเพื่อ หลอกล่อ หรือหาโอกาสในการส่งบอลต่อให้เพื่อน โดยใช้เท้าด้านในข้างที่สะดวกเลี้ยงบอลและควบคุม ลูก 2. การเลี้ยงบอลด้วยเท้าด้านนอก เป็น ป็ การเลี้ยงบอล โดยใช้เท้าด้านนอก ให้ปลายเท้าขนานกับลูกบอล 3. ทั้งนี้ ทักษะการเลี้ยงบอลนั้นจำ เป็น ป็ ต้องอาศัยการฝึกฝน เป็นอย่างมาก เพื่อให้เกิดความชำ นาญ โดยการเลี้ยงบอล ที่ดีต้องไม่เกร็งลำ ตัวส่วนบน และใช้การย่อเข่า เพื่อสร้าง ความสมดุล


ทักษะการรับ - ส่งบอล ทักษะในการรับ - ส่งลูกเป็น ป็ ทักษะการเล่นฟุตซอลที่สำ คัญ โดย การส่งบอลสามารถแบ่งออกได้ 2 แบบ ดังนี้ การส่งลูกเรียด เป็น ป็ การส่งลูกในระยะใกล้ ซึ่งผู้เล่นต้องวาง เท้าหลักให้อยู่ห่างจากลูกฟุตซอล โดยมีระยะประมาณ 1 ฝ่ามือ เพื่อให้ลูกบอลเรียดไปกับพื้น การส่งลูกโด่ง มีลักษณะการวางเท้าไม่ต่างจากแบบเรียด แต่ใช้เท้าข้างที่ถนัดช้อนไปใต้ลูกแล้วเตะให้ลูกโด่งขึ้นจาก พื้น สำ หรับการรับบอลต้องคอยดูจังหวะของเพื่อนในทีมให้ดีแล้วใช้ เท้าหรือส่วนอื่นๆ ของร่างกายในการรับบอล แต่ต้องระวังไม่ให้ ลูกโดนมือและแขน เพราะจะทำ ให้ผิดกติกาได้ ทักษะการเดาะบอล การเดาะบอลสามารถใช้ร่างกายได้หลายส่วน ไม่ว่าจะเป็น การใช้ หลังเท้าเดาะลูกบอล ที่ต้องย่อเข่าเล็กน้อยเพื่อทรงตัวและ ควบคุมลูก หรือการใช้หน้าขาที่ต้องยกขาให้ตั้งฉาก 90 องศา จัดลำ ตัวให้ตรง และควบคุมลูกบอลให้ดีหรือการใช้ศีรษะในการ เดาะบอล โดยใช้หน้าผากเป็น ป็ จุดสัมผัสลูกบอล เป็นต้น ทักษะการโหม่ง การโหม่งเป็น ป็ หนึ่งในทักษะการเล่นฟุตซอล ที่ใช้หน้าผากสัมผัส กับลูกบอล เพื่อเป็น ป็ จุดรับแรงปะทะกับลูกบอล โดยมีจุด ประสงค์ในการโหม่ง 3 แบบ คือ โหม่งให้ลูกโด่ง โหม่งระดับอก และโหม่งลงพื้น โดยขณะที่โหม่งต้องลืมตามองลูกอยู่ตลอด เกร็งคอ และใช้การบิดลำตัวเพื่อเปลี่ยนทิศทาง นอกจากนี้ สามารถใช้เข่าและการโยกตัวเพื่อเพิ่มแรงในการโหม่งลูกได้อีก ด้วย ทักษะการยิง การยิงลูกนั้นสามารถทำ ได้หลากลายรูปแบบ ทั้งการใช้หลังเท้า ข้างเท้าด้านใน หรือด้านนอก แต่ส่วนใหญ่แล้วมักจะใช้หลังเท้า เพราะทำ ให้ลูกพุ่งแรง


การเล่นกีฬาทุกชนิดย่อมก่อให้เกิดประโยชน์ แก่ผู้เล่นทั้งทางตรงและทางอ้อม ฟุตซอลเป็น กีฬาอีกประเภทหนึ่งที่ีมีประโยชน์ต่อผู้เล่นดังนี้ 1. การเล่นกีฬาฟุตซอลจะต้องเคลื่อนไหว ตลอดเวลา มีความเชื่อมั้นในตัวเอง มีไหวพริบ ดี สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆได้ ตัดสินใจ รวดเร็วแน่นอน แม่นยำ ดังนั้นฟุตซอลจึงเป็น กีฬาประเภทหนึ่งที่ช่วยฝึกฝนให้ผู้เล่นมีไหวพริบ และแก้ ปัญหาอย่างฉับพลันได้ 2. ฟุตซอลเป็นกีฬาอีกประเภทหนึ่งที่ช่วย เสริมสร้างสมรรถภาพทางร่างกายให้แข็ง แรง ช่วยให้ระบบต่างๆในร่างกายทำ งานอย่างมี ประสิทธิภาพ เช่น ระบบกล้ามเนื้อ ระบบการ หายใจ ระบบขับถ่าย ระบบการไหลเวียนของ โลหิต เป็นต้น 3. ฟุตซอลเป็นกีฬาที่ช่วยส่งเสิรมกิจกรรมที่ รวมการเคลื่อนไหว เช่น การวิ่งหลบหลีก การ แย่ง การรับ การส่ง การกระโดด การเตะ ตลอดจนการใช้เท้าให้สัมพันธ์กับสายตาด้วย ประโยชน์ของการเล่นกีฬาฟุตซอล


อ้างอิง https://th.wikipedia.org/wiki/ http://www.aw.ac.th/webboard-show_10224 file:///C:/Users/Lenovo/Downloads/administ https://www.thestreetratchada.com/Blogs/55/5-basic-skillsfor-playing-futsal


Click to View FlipBook Version