The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือประเมินศูนย์พอเพียง2022

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Supapan Emsomboon, 2022-07-04 13:52:32

คู่มือประเมินศูนย์พอเพียง2022

คู่มือประเมินศูนย์พอเพียง2022

คานา

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักคิดและหลักปฏิบัติที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานให้คนไทยใช้เป็นแนวทางในการดาเนินชีวิต
โดยยึดหลกั ทางสายกลาง พอประมาณ มเี หตุผล และมภี ูมิคมุ้ กนั โดยมเี ง่ือนไขความรแู้ ละคณุ ธรรมนาไปส่มู ิติ
ทง้ั 4 ด้าน คอื วตั ถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วฒั นธรรม

โรงเรียนนครไทย ได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษา
โดยนามากาหนดนโยบายและแนวทางในการบริหารจัดการสถานศึกษา อีกท้ังยังร่วมกับสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พัฒนาผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนให้มีความรู้
ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการขับเคลื่อนสู่สถานศึกษาให้มีความชัดเจนยิ่งข้ึน สา มารถ
บริหารจัดการ พัฒนาหลักสูตร จัดการเรียนรู้และได้พัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและแหล่งเรียนรู้เพ่ือเสริมสร้าง
คุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงท่ีสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ให้นักเรียนได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
โดยประสานขอความร่วมมือจากคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานราชการ หน่วยงานภายนอก ให้การ
สนับสนุนการดาเนินการของโรงเรียน เพ่ือขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาและ
สนับสนุนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ด้านการศึกษา) เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้
บ่มเพาะ เสริมสรา้ งคณุ ลักษณะ “อยอู่ ย่างพอเพียง” ให้นักเรียนโรงเรียนนครไทย ตลอดจนเป็นแหล่งแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ของครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นแหล่งเรียนรู้ ศึกษา ดูงานสาหรับโรงเรียนอื่นและผู้สนใจ
เป็นแบบอย่างและเครือข่ายพัฒนาการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา ของสานักงานเขต
พ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษาพิษณโุ ลก อุตรดิตถ์



สารบัญ

หน้า

คานา...................................................................................................................................................... ก
สารบัญ................................................................................................................................................... ข
ข้อมูลพ้ืนฐานโรงเรียน............................................................................................................................. 1
แนวทางการจดั การเรียนร้เู พอ่ื เสริมสร้างคณุ ลักษณะอยู่อยา่ งพอเพียง..................................................... 1
แผนผังการเรียนรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง....................................................................... 2
ฐานการเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ฐานการเรยี นรู้ หอ้ งของพ่อ................................................................................................................. 9
ฐานการเรียนรู้ ก่อเกิดศิลปต์ ระการ..................................................................................................... 13
ฐานการเรยี นรู้ ธนาคารโรงเรียน......................................................................................................... 17
ฐานการเรยี นรู้ เพยี รฝกึ สมาธเิ พอ่ื ชีวิต................................................................................................ 21
ฐานการเรียนรู้ พิชิตเขาช้างล้วงเมอื งนครไทย.................................................................................... 25
ฐานการเรยี นรู้ เรียนรูก้ า้ วไกลดว้ ยหุ่นยนต์......................................................................................... 28
ฐานการเรียนรู้ ยุวชนประชาธิปไตย................................................................................................... 32
ฐานการเรียนรู้ นางฟ้าไรเ้ ทียมทาน.................................................................................................... 37
ฐานการเรียนรู้ สืบสานวฒั นธรรมการแทงหยวก (ประดับแลแหน่ าค)................................................ 41
เรอ่ื งเลา่ เร้าพลัง..................................................................................................................................... 45



ข้อมูลพืน้ ฐานโรงเรียน

1. ประวตั ิโรงเรียน

โรงเรียนนครไทย ได้รับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการให้จัดต้ังเป็นโรงเรียนสังกัดกองโรงเรียนรัฐบาล
กรมวิสามัญศึกษา เมื่อวันท่ี 20 มิถุนายน พ.ศ. 2502 ซ่ึงได้ทาการเปิดสอนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4
จานวน 1 ห้องเรียน ปี พ.ศ. 2503 ได้ทาการเปิดสอนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวมเป็น 2 ห้องเรียน ได้ขออนุญาต
ทางอาเภอนครไทย ย้ายท่ีต้ังโรงเรียนมาอยู่ในท่ีดินปัจจุบันของโรงเรียน ซ่ึงเป็นท่ีดินสาธารณประโยชน์ท่ีทาง
อาเภอนครไทยสงวนไว้ ตั้งอยู่บ้านหนองน้าสร้าง หมู่ที่ 4 ตาบลนครไทย อาเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
ปี พ.ศ. 2504 โรงเรียนนครไทย ได้รับอนุมัติเข้าสังกัด กรมสามัญศึกษา เปิดทาการสอนถึงระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 6
วันท่ี 1 มีนาคม พ.ศ. 2514 สานักงานที่ดินจังหวัดพิษณุโลก ได้ทาการรังวัดท่ีดินและยกให้เป็นสมบัติของโรงเรียน
จานวน 86 ไร่ 300 ตารางวา ได้รับงบประมาณสร้างอาคารแบบ 216 เป็นอาคารถาวรหลังแรก ปัจจุบันคือ
“อาคารศรีอินทราทิตย์” ปี พ.ศ. 2523 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียนแบบ 216 ค ปัจจุบันคือ “อาคารจาปา
ขาว” เปน็ อาคารถาวรหลังที่ 2 ปี พ.ศ. 2530 ได้รับงบประมาณสร้างหอประชุมขนาดใหญ่ ปัจจุบันคือ “หอประชุม
พ่อขุนบางกลางท่าว” ปี พ.ศ. 2533 ได้รับงบประมาณสร้างห้องน้านักเรียน และอาคาร 204/27 ปัจจุบันคือ
“อาคารช้างล้วง” ปีการศึกษา 2542 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียนแบบ 424 ล. (พิเศษ) “อาคารปักธงชัย”
และโรงเรยี นนครไทยได้รบั รางวลั โรงเรยี นพระราชทาน ระดับมัธยมศึกษาขนาดกลาง” เขตการศึกษา 7 ปีการศึกษา
2549 โรงเรียนนครไทย สังกดั สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาพิษณุโลกเขต 3 ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนรางวัล
พระราชทาน ระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ปีการศึกษา 2548 เขตตรวจราชกา รที่ 2 จากสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี

2. ขอ้ มูลจาเพาะของโรงเรียน

2.1 สญั ลักษณ์ของโรงเรียน

พอ่ ขนุ ศรีอนิ ทราทติ ย์ (พอ่ ขนุ บางกลางทา่ ว)

1

2.2 อักษรย่อของโรงเรยี น
น.ท.

2.3 ปรัชญาของโรงเรยี น
สิกฺขา วิวฬุ หฺ ิ สมฺปตฺตา (Education is Growth) การศึกษา คือ ความเจรญิ งอกงาม

2.4 คติพจน์ของโรงเรยี น
นครไทยไขทางสร้างคนดี

2.5 อัตลักษณ์ของโรงเรยี น
สบื สานความเป็นไทย ใฝ่เรียนรู้ เชดิ ชคู ุณธรรม

2.6 เอกลักษณ์ของโรงเรียน
มนุ่ เน้นการเรยี นรู้สูส่ ากล

2.7 คาขวญั ประจาโรงเรียน
มคี วามรู้ คคู่ ุณธรรม ก้าวทันเทคโนโลยี เปน็ คนดขี องสงั คม

2.8 ตน้ ไมป้ ระจาโรงเรยี น
ตน้ จาปาขาว

2.9 สีของธงประจาโรงเรียน
ขาว-แดง
สีขาว หมายถึง พระพทุ ธศาสนา ความบรสิ ุทธ์ิ ความสงบ สันติ
สแี ดง หมายถึง ความกล้าหาญ ความเข้มแข็ง อดทน

2.10 สิ่งสกั การะของโรงเรยี น
อนุสาวรยี พ์ อ่ ขุนศรีอนิ ทราทิตย์ (พอ่ ขุนบางกลางท่าว)

2.11 วสิ ัยทศั นข์ องโรงเรียน : ภายในปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ โรงเรยี นนครไทย มคี ุณภาพตามมาตรฐานสากล
บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2

3. ขอ้ มลู บุคลากร (ขอ้ มลู ณ วันท่ี 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564)

ตาแหนง่ จานวนครูและบุคลากรทางการศกึ ษา

ผ้อู านวยการ ชาย หญงิ รวม
รองผู้อานวยการ
ขา้ ราชการครู 1- 1
พนักงานราชการ
ครูอัตราจ้าง 21 3
ลูกจา้ งประจา
ลกู จ้างชว่ั คราวปฏิบัตงิ านสานักงาน 16 57 73
ลกู จ้างช่วั คราว
-2 2
รวม
26 8

2- 2

16 7

46 10

28 78 106

4. ข้อมูลนักเรยี น (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564)

ระดับชนั้ จานวนหอ้ ง เพศ รวม
ชาย หญิง
ม. 1 6 111 119 230
ม. 2 6 110 137 247
ม. 3 7 130 162 292
ม. 4 7 133 169 302
ม. 5 6 105 141 246
ม. 6 6 86 451 775
รวมทั้งหมด 38 675 869 1544

3

แนวทางการจดั การเรยี นรู้เพ่ือเสรมิ สร้างคณุ ลกั ษณะอยูอ่ ย่างพอเพยี ง

โรงเรียนนครไทย เปน็ โรงเรยี นมัธยมศึกษาประจาอาเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการ
ศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน นักเรียน ผปู้ กครอง และชุมชน ตระหนักเหน็ คณุ ค่า และศรัทธาในหลักการ
ทรงงานของในหลวงรัชกาลที่ 9 และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงมีหลักคิดเพ่ือช้ีแนะ
แนวทางในการดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมามากกว่า 40 ปี เพื่อให้ประชาชนของพระองค์สามารถดารงอยู่ได้อย่าง
มน่ั คงและย่ังยนื ภายใต้กระแสโลกาภวิ ัตน์และความเปล่ียนแปลงต่างๆ บนพนื้ ฐานความพอเพียง มคี วามพอประมาณ
มเี หตผุ ล และมีภมู คิ ุม้ กนั ในตัวทดี่ ี โดยตอ้ งอาศัยความรอบรู้ รอบคอบและระมดั ระวงั ในการนาหลักวิชาการต่างๆ มาใช้
ในการวางแผนและดาเนินการทุกข้ันตอน

โรงเรียนนครไทย ได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในการบริหารจดั การสถานศกึ ษา พร้อมท้ัง
จัดกระบวนการเรียนการสอนแบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ตลอดจน
ขบั เคล่ือนการจดั การเรียนการสอนในรปู แบบของกิจกรรมพฒั นานกั เรยี น เพอื่ สะท้อนพฤติกรรม และบม่ เพาะ เสริมสร้าง
คณุ ลักษณะ “อยู่อยา่ งพอเพยี ง” ส่งผลให้โรงเรยี นนครไทย ได้รบั การคัดเลือกใหเ้ ป็นสถานศึกษาแบบอย่าง การจดั กจิ กรรม
การเรยี นรู้และการบรหิ ารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “สถานศึกษาพอเพียง ๒๕๕๔” ตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ ปี 2554 และไดด้ าเนินการขับเคล่ือนอย่างต่อเนื่อง ขบั เคล่ือนคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนโดยใช้
“NAKHONTHAI 5G MODEL” และกาหนดเป็นนโยบายของสถานศกึ ษา บรู ณาการในแผนปฏิบตั ิการประจาปีดาเนนิ การ
ตามนโยบาย และแผนท่วี างไว้ มีการนเิ ทศ กากับผลการดาเนินงานและรายงานผลการปฏิบัตงิ านใหผ้ ู้เกีย่ วขอ้ งทราบ
พรอ้ มทงั้ นาผลการปฏิบัติงานมาแก้ไขปรบั ปรงุ นอกจากน้ีผู้บรหิ าร ครู บคุ ลากรทางการศึกษา และนกั เรยี น ไดร้ ับ
การพัฒนาในรูปแบบการประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ าร และศึกษาดูงานศูนย์การเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านการศึกษา สง่ ผลใหผ้ ูบ้ รหิ ารมีความรู้ ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอย่างถกู ต้อง สามารถเป็นผนู้ า
และแบบอยา่ งท่ีดี ในการขบั เคล่อื นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษานาหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติตนอย่างเป็นเหตุเป็นผล พอประมาณกับศักยภาพของตน สอดคล้องกับภูมิสังคม
ดาเนินชีวิตโดยใช้คุณธรรมนาความรู้ และเป็นแบบอย่างที่ดี ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถออกแบบและจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างมีคุณภาพ นักเรียนได้รับการพัฒนา บ่มเพาะให้มี
คุณลักษณะ “อยู่อย่างพอเพียง” นอกจากน้ีโรงเรียนได้พัฒนาแหล่งเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริง
ทุกแหล่งเรียนรู้มีครูและนักเรยี นแกนนารับผิดชอบ อาคารสถานท่ีและสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนสะอาด ร่มร่ืน ปลอดภัย นอกจากนผ้ี ูป้ กครอง ชุมชน คณะกรรมการ
สถานศึกษา และหนว่ ยงานอื่น ไดเ้ ขา้ มาชว่ ยสนับสนนุ ส่งเสรมิ การขับเคลือ่ นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสสู่ ถานศึกษา

4

ปี 2560 ได้ผ่านการคัดเลือกสถานศึกษาพอเพียงท่ีมีผลการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) ระดับประเทศ
จากศูนย์สถานศึกษาพอเพียง มูลนิธิยวุ สถิรคุณ โรงเรียนนครไทยไดด้ าเนินการขับเคล่อื นหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ส่งผลให้การขับเคล่ือนปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของโรงเรยี นประสบความสาเรจ็ มคี วาม
เข้มแข็ง ผู้บรหิ าร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และนักเรียน มีความพร้อมและมน่ั ใจในการถ่ายทอดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงบูรณาการกบั การศกึ ษาได้ถูกต้อง และดว้ ยสานกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร
มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร โรงเรยี นนครไทย ขอน้อมนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏิบัติ
อย่างเตม็ ศกั ยภาพ เพ่ือขยายผลสู่สถานศึกษาอน่ื ๆ โรงเรยี นนครไทยจึงขอรบั การประเมินเปน็ ศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศกึ ษา เพ่อื เป็นแกนนาและแบบอยา่ งในการน้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การ
ปฏิบตั อิ ยา่ งแทจ้ ริง เปน็ แหล่งเรียนรเู้ พอ่ื พฒั นาบ่มเพาะนักเรียนให้มีคุณลักษณะ “อยู่อย่างพอเพียง” อีกทง้ั เป็นสถานท่ีศึกษา
ดงู านเก่ียวกับการจัดการศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของสถานศึกษาอื่น ต่อไป

5

แผนผงั การเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ฐานการเรียนรู้ท่ี 1 หอ้ งของพ่อ ฐานการเรียนรู้ท่ี 6 เรยี นรกู้ า้ วไกลด้วยหุ่นยนต์
ฐานการเรียนรทู้ ่ี 2 กอ่ เกิดศลิ ป์ตระการ ฐานการเรยี นรู้ที่ 7 ยวุ ชนประชาธิปไตย
ฐานการเรียนรู้ที่ 3 ธนาคารโรงเรียน ฐานการเรยี นรู้ท่ี 8 นางฟา้ ไร้เทยี มทาน
ฐานการเรียนรทู้ ี่ 4 เพยี รฝกึ สมาธเิ พอื่ ชีวติ ฐานการเรียนรทู้ ่ี 9 สบื สานวัฒนธรรมการแทงหยวก
ฐานการเรยี นรู้ที่ 5 พิชิตเขาชา้ งล้วงเมืองนครไทย
(ประดับแลแห่นาค)

6

ฐานการเรยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

โรงเรียนมีการจัดทาเป็นฐานการเรียนรู้ ๙ ฐานการเรียนรู้ โดยบูรณาการ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกจิ กรรม
พัฒนาผู้เรยี น มีครูแกนนาและนกั เรยี นแกนนาประจาฐานการเรียนรู้ที่สามารถเป็นวิทยากรอธิบายการใช้ประโยชน์
และปฏิบัติกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างอุปนสิ ยั อยู่อยา่ งพอเพยี ง ดังนี้

แหล่งเรียนรู้ ใช้ประโยชน์
ภายใน

ฐานที่ 1 เปน็ แหล่งเรียนรู้สาหรับนักเรยี น ครู ชมุ ชน ไดเ้ รยี นรู้เรอ่ื งพระราชประวัตแิ ละพระราชกรณียกิจ

หอ้ งของพ่อ ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และโครงการในพระราชดาริ หลกั การทรงงาน เพื่อใหน้ กั เรยี น

ฐานที่ 2 นาความร้ทู ไี่ ด้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั โดยบรู ณาการกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ก่อเกดิ ศลิ ป์
ตระการ เป็นแหลง่ เรยี นรสู้ าหรับนกั เรยี น ครู ชุมชน ได้เรยี นรู้ ฝึกปฏิบัติงานเกี่ยวกบั การวาดภาพระบายสี ในรปู แบบ
จติ รกรรมไทย การใช้สี องคป์ ระกอบของภาพประเพณีท้องถนิ่ นครไทยวิถชี วี ติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง ตลอดจนเกดิ ความภาคภมู ใิ จในทอ้ งถนิ่ ของตนเอง

ฐานท่ี 3 เป็นแหล่งเรียนรสู้ าหรับนักเรียน ครู ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเก็บออมเงินอย่างสม่าเสมอ วางแผนการใช้จา่ ย
ธนาคารโรงเรียน ของตนเองวธิ ีการทาบญั ชีรายรบั -รายจ่าย วธิ ีการออมในอนาคต และฝึกปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานธนาคารโรงเรยี น

ด้วยความซือ่ สัตยส์ จุ รติ

ฐานที่ 4 เปน็ แหล่งเรียนรสู้ าหรับนักเรยี น ครู ชมุ ชน เพื่อเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรมและคณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของนักเรยี น

เพียรฝกึ สมาธเิ พ่อื โดยนกั เรียนมคี วามรลู้ าดับข้นั ตอนพธิ ีการทางศาสนา และฝึกปฏบิ ตั ิศาสนพธิ ี

ชีวิต ในบทบาทมัคนายกนอ้ ย เรียนรหู้ ลกั ธรรมไตรสกิ ขา ทีใ่ ชเ้ ปน็ แนวทางปฏิบตั ติ นในชีวติ ประจาวนั โดยใช้กจิ กรรม

อาราธนาศีล 5 นักเรยี นมีทกั ษะชีวิตด้วยสติ และสมาธิ ๖ ขั้น

ฐานท่ี 5 เปน็ แหลง่ เรยี นรสู้ าหรับนักเรยี น ครู ชมุ ชน ไดเ้ รยี นรู้เกย่ี วกบั ประวตั ิความเป็นมาของประเพณี
พิชิตเขาช้างลว้ ง ปกั ธงชยั วิถชี ีวิต ภูมิปัญญา วัฒนธรรมท้องถนิ่ ในยคุ สมยั ประวตั ศิ าสตร์ของเมอื งนครไทย
เมอื งนครไทย วิธกี ารเตรยี มความพร้อมของรา่ งกาย สมรรถภาพทางกายเพอ่ื เข้าร่วมกจิ กรรมพชิ ิตเขาช้างลว้ ง
ในประเพณีปกั ธงชยั

ฐานท่ี 6 เป็นแหล่งเรยี นรสู้ าหรบั นักเรยี น ครู ชมุ ชนได้เรียนรู้ ฝกึ ปฏบิ ตั ิการออกแบบการสรา้ งหุ่นยนต์

เรยี นรู้กา้ วไกลด้วย กลไกการทางานของหุ่นยนต์ การควบคุมหุ่นยนต์ รจู้ ักเลือกวัสดุ อปุ กรณ์ทีน่ ามาประกอบเป็นหนุ่ ยนตไ์ ด้มที กั ษะ
ด้านความคดิ สรา้ งสรรค์ เพ่อื ประยกุ ต์ความร้ดู า้ นเทคโนยีไปใชใ้ นการดาเนินชวี ติ
หุน่ ยนต์

ฐานท่ี 7 เปน็ แหลง่ เรยี นรสู้ าหรับนกั เรยี น ครู ชมุ ชน ไดเ้ รยี นรู้เกย่ี วกับวถิ ปี ระชาธิปไตยตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
ยวุ ชนประชาธปิ ไตย พอเพียง ทดลองปฏบิ ัติจริงด้วยสถานการณจ์ าลองเมืองประชาธิปไตยภายใต้การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย

อันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข สร้างเสริมความเป็นพลเมอื งดดี ว้ ยกระบวนการพฒั นาพฤตกิ รรม
ประชาธปิ ไตย ส่งเสริมภาวะความเป็นผู้นา ทกั ษะกระบวนการทางานอยา่ งเป็นระบบ โดยใช้หลักประชาธปิ ไตย

7

แหล่งเรยี นรู้ ใช้ประโยชน์
ภายใน
เปน็ แหลง่ เรียนรสู้ าหรบั นักเรยี น ครู ชุมชนไดเ้ รียนรเู้ กย่ี วกับขน้ั ตอน วิธีการทาแหนมเหด็ นางฟ้า เปน็ การนาเหด็
ฐานท่ี 8 นางฟ้ามาสร้างมลู คา่ เพ่ิม สง่ เสริมใหน้ ักเรียนมรี ายไดร้ ะหวา่ งเรยี น และสามารถนาความรไู้ ปประยุกตใ์ ชใ้ นการ
ประกอบอาชพี
นางฟา้
เปน็ แหลง่ เรียนรสู้ าหรับนกั เรยี น ครู ชุมชนได้เรยี นรเู้ ก่ียวกับประวตั ิ ความเป็นมาของอาเภอ
ไร้เทียมทาน นครไทย ศลิ ปะพ้ืนบา้ นการแทงหยวกประดบั แลแหน่ าค และตระหนักถึงคณุ ค่าด้านศลิ ปวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ ทาให้
นกั เรียนเห็นคุณคา่ หวงแหน และสบื ทอดภูมิปญั ญา มีความภาคภมู ใิ จที่เปน็ สว่ นหนง่ึ ในการร่วมสบื สาน
ฐานที่ 9 วัฒนธรรมท้องถนิ่

สบื สานวฒั นธรรม

แทงหยวก

แนวทางการจัดการเรยี นรู้ฐานการเรียนรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

จัดการเรียนการสอนโดยใช้ช่วั โมงเสริมสร้างทักษะชีวิต

8

ฐานการเรียนรู้ หอ้ งของพ่อ

ครูแกนน่า

นางประดดั ชมมี นางสภุ าพรรณ เอมสมบญุ นางสาวอญั ชลี ไชยวฒุ ิ นางสาวนารรี ัตน์ จติ ตใ์ จฉา่

นางสาวปรศิ นา บญุ ประสพ นางสาวศศธิ ร จนั ทรโ์ ท นางสาวดจุ สติ า ขา่ นาพงึ

นกั เรียนแกนนา่

นางสาวณฎั ฐณิชา สหี ะวงษ์ นางสาวสารสิ า พลสอนดา นางสาวณัฐสินันทกานต์ โสคาภา นางสาวจิรภญิ ญา แจม่ โถง

นางสาวจดิ าภา ทองกวด เดก็ หญงิ มนปรยิ า ดธี งทอง เดก็ หญงิ พรนภา ภสู ุธรรม

9

ฐานการเรยี นรู้ หอ้ งของพอ่

10

ฐานการเรยี นรู้ หอ้ งของพอ่

11

ปัจจยั เอ้ือทที ่าใหง้ านสา่ เรจ็

1. ด้านผ้บู ริหาร
ใหก้ ารสนบั สนนุ เชงิ นโยบาย และสง่ เสริมใหม้ ีการน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใชใ้ นการ

บริหารจดั การสถานศึกษาโดยคานงึ ถงึ ๒ เง่ือนไข ๓ หลกั การ เพอื่ เกิดความสมดลุ และพร้อมรบั การเปล่ยี นแปลงใน ๔ มติ ิ
เพอ่ื มุ่งพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การ คุณภาพการจดั การเรียนรู้ และคณุ ภาพของผู้เรียนใหเ้ ขา้ ใจ เห็นคุณค่าของการ
อยูอ่ ย่างพอเพยี ง และมอี ปุ นสิ ยั อยอู่ ย่างพอเพยี ง

2. ดา้ นครู
จัดกิกรรมการเรยี นรู้เพื่อมุ่งให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้ เข้าใจ ซึมซับ ฝึกฝน เหน็ คุณคา่ ของการอยู่อยา่ ง

พอเพยี ง และมีคุณลักษณะอยอู่ ย่างพอเพียง/อุปนิสยั อยู่อยา่ งพอเพียง โดยคานงึ ถงึ ๒ เงอ่ื นไข ๓ หลกั การ เพ่ือเกดิ ความ
สมดลุ และพร้อมรบั การเปลย่ี นแปลงใน ๔ มิติ และใช้ชวี ติ สอดคล้องกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ คิด พูด ทา
อย่างพอประมาณ มีเหตุผล และมภี ูมิคมุ้ กันในตวั ที่ดี โดยใชค้ วามรู้ และคุณธรรมเปน็ พน้ื ฐานในการดาเนินชวี ิตและปฏบิ ตั ิ
ภารกจิ หนา้ ที่ให้เพ่ือเจริญกา้ วหน้าไปอยา่ งสมดุล และพร้อมรับตอ่ การเปลี่ยนแปลงในดา้ นวตั ถ/ุ เศรษฐกิจ สงั คม
ส่งิ แวดล้อม และวฒั นธรรม มกี ระบวนการกลมุ่ ของครแู ละบคุ ลากร ทางการศึกษาในสถานศึกษาท่ีรว่ มมือรว่ มใจ รวมพลงั
และเรียนรรู้ ่วมกัน โดยมวี ัตถุประสงคเ์ พือ่ การพฒั นาคุณภาพการจดั การเรียนร้ใู ห้บรรลวุ สิ ยั ทศั น์ เปา้ หมาย และภารกิจ
บนพ้นื ฐานความสมั พนั ธแ์ บบกัลยาณมิตร โดยรว่ มกนั วางเปา้ หมายการเรียนรู้ของผเู้ รยี น ตรวจสอบ และสะท้อนผล
การปฏบิ ตั ิงานทงั้ ในส่วนบุคคล และผลที่เกดิ ขึน้ โดยรวมผา่ นกระบวนการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ การวพิ ากษว์ จิ ารณ์
และการทางานเปน็ แบบทมี การเรยี นรู้ที่มคี รเู ปน็ ผนู้ ารว่ มกัน และผบู้ ริหารเปน็ ผูด้ ูแลสนับสนนุ สกู่ ารเรียนร้แู ละพัฒนา
วิชาชพี ให้เกิดการเปลย่ี นแปลงคุณภาพตนเองส่คู ุณภาพการจัดการเรยี นรู้ท่ีเนน้ ความสาเรจ็ หรอื ประสิทธผิ ลของผเู้ รียน
เป็น สาคัญตลอดจนความสุขของการทางานร่วมกนั ของสมาชกิ ในชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ ตลอดจนมคี ุณลกั ษณะทด่ี ี
ทแ่ี สดงออกถึงการมีความรู้ความเขา้ ใจ ความคดิ หรือเจตคติ และการปฏบิ ัตติ นในทางท่ีดีงามวา่ เปน็ บุคคลที่มี
ความรบั ผิดชอบต่อตนเอง ตอ่ สงั คม และต่อสถาบันหลักของชาติ รวมทั้งมคี วามเคารพผู้อื่นตามระบอบการปกครอง
แบบประชาธิปไตย เพอื่ ประโยชน์ตอ่ การดารงชวี ติ รว่ มกนั ในสงั คมอยา่ งสนั ตสิ ุข

3. ด้านนกั เรยี น
ผู้เรียนเข้าใจ ซมึ ซับ ฝกึ ฝน ปฏิบัติ และเหน็ คณุ ค่าของการอยู่อยา่ งพอเพยี ง จนเกิดคุณสมบตั ิ

ทพี่ ึงประสงค์ ๔ ด้าน ได้แก่ ๑. มที ัศนคติที่ถูกต้องต่อบา้ นเมือง ๒. มีพน้ื ฐานชีวติ ทมี่ ่นั คง – มคี ุณธรรม มรี ะเบยี บวินัย
๓. มงี านทา – มีอาชีพ ๔. เป็นพลเมอื งท่ดี ี

4. ดา้ นชมุ ชน/ผูป้ กครอง/หนว่ ยงานทีเกียวข้อง
ให้การสนับสนุน ส่งเสรมิ และสบื สานการขบั เคล่อื นหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของสถานศึกษา

สู่ภายนอกสถานศกึ ษาจนเหน็ ผล

12

ฐานการเรยี นรู้ กอ่ เกดิ ศิลป์ตระการ

ครูแกนนา

นางสาวอปั สรสวรรค์ สงิ หเดช นายพรชัย เปร้ อด นางจดิ าภา โตเสนห่ ์ นายสมทราย มาตชยั เคน

นางสาวสิริลกั ษณ์ สงิ หข์ ร นางสาวกฤษณา ไกรสทุ ธพิ งศ์ นางสาวจุฑารตั น์ อุน่ ไพร

นกั เรยี นแกนนา

นางสาวรงุ่ อรุณ มากดี นางสาวฐติ ิรตั น์ จนั ทรค์ ีรี นางสาวเยาวภา อยู่ทิม นางสาวปรญิ ญาดา พรมชา

นางสาวฐิตวิ รดา คงกล่อม เดก็ หญิงพชิ ญาพร เยาวะยอด เดก็ หญิงขวญั ข้าว จนั ทร์อินทร์

13

ฐานการเรียนรู้ กอ่ เกดิ ศลิ ป์ตระการ

14

ฐานการเรียนรู้ กอ่ เกดิ ศลิ ป์ตระการ

15

ปัจจยั เออื้ ทท่ี าให้งานสาเร็จ

1. ดา้ นผบู้ รหิ าร
สง่ เสริมการเรียนรขู้ องผูศ้ ึกษาในดา้ นสถานท่ี และวสั ดอุ ปุ กรณ์ และอนุญาตให้ผเู้ กย่ี วข้องจากภายนอก

(ปราชญ)์ เขา้ มาใหค้ วามรู้แก่ผศู้ ึกษาในโรงเรยี นได้
2. ด้านครู
ท่มุ เทกาลังกาย กาลงั ใจ และเวลาใหค้ วามรู้ สร้างองค์ความรู้สร้างทักษะการวาดภาพจิตรกรรมไทย

ทอ้ งถิน่ เพื่ออนุรักษว์ ัฒนธรรมท้องถิน่ แลแหน่ าคนครไทย
3. ด้านนกั เรียน
มุ่งม่ันในการศึกษา และคน้ คว้าข้อมลู เพมิ่ เติมด้วยตนเอง และฝกึ ฝนการวาดภาพจนได้ผลงานทีส่ วยงาม

ในเชงิ ประจกั ษ์
4. ด้านชมุ ชน/ผปู้ กครอง/หนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง
ให้ความร่วมมือต่อโรงเรียนเป็นอยา่ งดี เปดิ โอกาสให้ผู้ศึกษาได้ฝึกฝนในแนวทางของศลิ ปะ

จติ รกรรมไทยเสมอมา

16

ฐานการเรยี นรู้ ธนาคารโรงเรยี น

ครูแกนนา

นางอารี สีขา นางสมพร ป่ินเงนิ นางประไพ ชา้ งอนิ ทร์ นางสาวพรพชิ ชา สนุ ทรวงศ์

นางอนกุ ูล แกว้ บัวรมย์ นางนฤมล อย่สู ุขสวสั ด์ิ นางสาวศศธิ ร จันทร์โท

นักเรยี นแกนนา

นางสาวพัชรี แกว้ วงหวิ นางสาวญารดา หม่ืนจันทร์ นางสาววนั วสิ า แซวหวิ นางสาวธนพร สคุ งเจริญ

นางสาวรสิตา นาคประสงค์ นางสาวสทุ ธนิ ี สอนเสยี ม นางสาวอนญั ญา จตั ตนุ าม

17

ฐานการเรยี นรู้ ธนาคารโรงเรยี น

18

ฐานการเรยี นรู้ ธนาคารโรงเรยี น

19

ปัจจัยเอ้ือทที่ าให้งานสาเร็จ

1. ด้านผู้บรหิ าร
ให้การสนบั สนุนดา้ นงบประมาณ บคุ ลากร สถานท่ี

2. ด้านครู
นาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในการศึกษาพฒั นางานอยา่ งต่อเนื่อง รกั การทางานธนาคาร

3. ดา้ นนักเรียน
1) ศึกษาเรยี นร้แู ละเก็บเก่ียวประสบการณ์ตา่ งๆที่ไดเ้ รียนมาปรบั ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวัน
2) นักเรยี นมีความพยายาม มีความอดทนและใฝร่ ใู้ ฝ่เรียน

4. ดา้ นชุมชน/ผูป้ กครอง/หน่วยงานที่เกยี่ วข้อง
ให้ความสนบั สนนุ อปุ กรณ์ เงินทุน ความรู้ ในการดาเนนิ งาน

20

ฐานการเรียนรู้ เพียรฝึกสมาธเิ พื่อชวี ติ

ครูแกนนา

นางกาญจนา กณั ฑษา นางสาววลีรตั น์ สิทธโิ ชค นายสมพงษ์ นอ้ ยทุง่ นางนงลกั ษณ์ มาตชยั เคน

นางสาวธดิ ารตั น์ เพียภูเขยี ว นางสาวชาลิสา สิงหห์ า นายณทั ธร จนั ทรเ์ กษม

นกั เรียนแกนนา

นางสาวศิราพร เพง็ อินทร์ นางสาวจุฑากันยา แย้มสวัสด์ิ นางสาวทิฆัมพร พงษส์ ารกิ นั นางสาวอัญชลีพร สขุ โขสวสั ดิ์

เดก็ หญงิ ญาณีกร สุขมามอญ เดก็ หญงิ เจตนพิ ฐิ สุขมามอญ เดก็ หญงิ ธญั ชนก สวุ รรณเกดิ

21

ฐานการเรียนรู้ เพยี รฝกึ สมาธเิ พื่อชวี ติ

22

ฐานการเรียนรู้ เพยี รฝกึ สมาธเิ พื่อชวี ติ

23

ปจั จัยเออื้ ทท่ี าใหง้ านสาเร็จ

1. ดา้ นผบู้ ริหาร
ส่งเสริมให้จัดกิจกรรมสรา้ งเสรมิ ทกั ษะชวี ติ โดยใชส้ มาธิ ใหก้ บั นักเรียนทุกคนโดยจดั เปน็ ระดบั

ชัน้ ละ 1 วนั ทงั้ ด้านการเรยี นการสอน กจิ กรรมในโรงเรียน และกจิ กรรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม เพ่อื ใหน้ ักเรยี น
มีจิตใจทสี่ งบ เกดิ ความรสู้ กึ ตัวดีในการใช้ชวี ติ

2. ดา้ นครู
ส่งเสริมใหม้ คี วามรู้เกย่ี วกับศาสนพธิ ี การฝึกสมาธิ และความรู้เก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

บูรณษการในรายวิชาท่สี อน ในชีวิตประจาวัน และศนู ยก์ ารเรียนรู้ สามารถนาความรู้ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนต์ อ่ ไป
3. ดา้ นนกั เรยี น
นกั เรียนแกนนา และนกั เรยี นไดเ้ รยี นรูข้ นั้ ตอนศาสนพิธี การฝกึ สมาธิ และทาทาน เป็นประจา

สามารถนาประสบการณ์ท่ีได้รับไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ในชีวติ ประจาวัน
4. ดา้ นชมุ ชน/ผปู้ กครอง/หน่วยงานที่เกยี่ วข้อง
บา้ น วัด และโรงเรยี น ใหค้ วามรว่ มมือกนั ในกิจกรรมสรา้ งเสรมิ ทกั ษะ เพียรฝึกสมาธิเพื่อชีวติ

จนทาใหก้ จิ กรรมนเ้ี ป็นทยี่ อมรับ

24

ฐานการเรยี นรู้ พิชิตเขาช้างล้วงเมอื งนครไทย

ครแู กนน่า

นายภเู มศวร์ หมน่ั กิจ นายชอบ หนกู ล่า นางนันทวนั หนกู ลา่ นายอริยะ เอมสมบญุ

นางสาวศิรวิ มิ ล ทองศิริ นางสาวสนุ สิ า สพี รม นายธงชยั ค่าปอ้ ง

นักเรยี นแกนนา่

นางสาวณัฐรญิ านันท์ ปยิ ะมติ ร นางสาวสรญั ชนา มาตชยั เคน นายมงคลเอก ด่อนแผ้ว นายนพจร สอนเปรมปรี

นายอาทิตย์ กันคา นายจกั รนิ ทร์ แกว้ ป้องปก นายจิรายทุ ธ เชอ้ิ บญุ มี

25

ฐานการเรยี นรู้ พิชติ เขาช้างล้วงเมืองนครไทย

26

ฐานการเรยี นรู้ พิชติ เขาช้างล้วงเมืองนครไทย

27

ปจั จัยเอ้อื ทที่ ่าใหง้ านส่าเร็จ

1. ด้านผู้บริหาร
สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารอนุรกั ษแ์ ละสืบสานประเพณงี านปักธงชัยและพชิ ิตเขาชา้ งลว้ ง ของอาเภอนครไทย

เพ่ือให้นกั เรยี นไดร้ จู้ ักประเพณขี องท้องถนิ่ ในอาเภอ
2. ด้านครู
สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรียนมีความรู้เกี่ยวกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในด้านตา่ งๆ และสง่ เสรมิ

ใหน้ ักเรียนรู้จักการเขา้ ร่วมประเพณปี ักธงชัยและพิชติ เขาช้างลว้ ง เพอ่ื สบื สารประเพณีทอ้ งถิ่น
3. ดา้ นนกั เรยี น
ศึกษาเรยี นรู้และเก็บเก่ียวประสบการณ์ต่างๆท่ีได้เรียนมาและนาไปปรบั ใชใ้ นชีวิตประจาวัน

และการพึ่งพาตวั เองในอนาคต
4. ด้านชุมชน/ผปู้ กครอง/หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้อง
ชมุ ชน ผ้ปู กครอง ใหค้ วามร่วมมอื ในการให้ความร้เู ก่ยี วกับประเพณปี ักธงชัยและพชิ ิตเขาช้างล้วง

และใหค้ าแนะนาและคาปรกึ ษาเกยี่ วกับการร่วมสืบสานประเพณขี องท้องถน่ิ อาเภอนครไทยเปน็ อยา่ งดี

28

ฐานการเรยี นรู้ เรียนร้กู ้าวไกลด้วยหุน่ ยนต์

ครแู กนนา

นายละไม สารี นางเบญจมาส ภมู ถิ าวร นางลดั ดาวลั ย์ ศรีฉมิ นางทติ ยา หงษท์ องมี

นางสาวนวรตั น์ ระวีวัฒน์ นายภทั รพงศ์ หงษท์ องมี

นักเรียนแกนนา

นางสาวเชญิ ขวญั สทุ ธนิ นท์ นางสาวสธุ าสนิ ี ยอดเกตุ นางสาวเมธาพร โพธ์ิเตย้ี นายทฆี ายุ บัวขัน

เดก็ หญิงธัญธร แก้วกองทรพั ย์ เดก็ หญงิ ธญั ชนก ศรีฉิม เดก็ หญงิ จารวี สพี รม

29

ฐานการเรยี นรู้ เรยี นรู้กา้ วไกลดว้ ยห่นุ ยนต์

30

ฐานการเรยี นรู้ เรยี นรู้กา้ วไกลดว้ ยห่นุ ยนต์

31

ปจั จยั เออ้ื ทที่ าให้งานสาเร็จ

1. ด้านผู้บริหาร
ส่งเสริมใหม้ ีการจดั กิจกรรมค่ายวชิ าการ (การฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารดา้ น STEM) สาหรบั นกั เรียน

ทกุ ระดับช้ัน และสง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นตวั แทนนักเรียนเข้ารับการอบรมและเข้าร่วมการแข่งขนั หนุ่ ยนตใ์ นระดบั ตา่ งๆ
เพ่ือให้นกั เรียนได้ฝึกฝนทักษะดา้ นหุ่นยนตแ์ ละมโี อกาสได้แสดงศักยภาพของตนเอง

2. ดา้ นครู
ส่งเสริมใหม้ ีความรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในดา้ นต่างๆมาปรับใช้ในชีวติ ประจาวนั

และการรู้จักนาวสั ดเุ หลือใช้มาประยกุ ต์ในการออกแบบสรา้ งหุน่ ยนต์ได้ เปน็ ผ้นู าและเปน็ ผฝู้ กึ สอนนกั เรียน
ให้มีความชานาญในการประกอบและควบคุมหนุ่ ยนต์

3. ดา้ นนักเรยี น
1) ศึกษาเรยี นรู้และเก็บเก่ยี วประสบการณ์ต่างๆ ท่ีได้เรยี นมาปรับประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวัน
2) นกั เรยี นมคี วามพยายาม มีความอดทนและใฝ่ร้ใู ฝ่เรยี น

4. ดา้ นชุมชน/ผู้ปกครอง/หน่วยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง
ผู้ปกครองนักเรยี นให้ความรว่ มมือและสนับสนนุ นกั เรยี นให้เข้ารว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ ทโ่ี รงเรียนจดั ขนึ้

32

ฐานการเรยี นรู้ ยวุ ชนประชาธิปไตย

ครแู กนนา

นางจรญิ ญา ปยิ ะมติ ร นางอุราลกั ษณ์ แสงคา นางญาณดิ า แกว้ วงษห์ วิ นางแกว้ กัลยาณี ใจสมคั ร

นายสุธี เทยี่ งคา นางสาวกนกมาศ คุม้ ปากพงิ นางสาววนั วสิ า ชาตยิ ม้ิ

นักเรียนแกนนา

นางสาวณัฐกฤตา เสนานุช นางสาวจิราภา สารองพันธ์ นายเตชวัน ชูชว่ ย นางสาวพริมรตา หลอ่ อินทร์

นายธนากร วฒั นธรรม นางสาวนฐั อนันดา ฮวดพงศ์วทิ ย์ นางสาววยิ ะดา เช้อื บญุ มี

33

ฐานการเรยี นรู้ ยุวชนประชาธปิ ไตย

34

ฐานการเรยี นรู้ ยุวชนประชาธปิ ไตย

35

ปัจจยั เอื้อทที่ าใหง้ านสาเรจ็

1. ดา้ นผู้บรหิ าร
สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารจดั กิจกรรมที่ส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตยในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีการติดตามผล

การดาเนนิ งานอยา่ งเป็นระบบและต่อเนอ่ื ง
2. ดา้ นครู
จดั การเรียนรโู้ ดยบูรณาการรูปแบบการสง่ เสริมประชาธปิ ไตยในชนั้ เรียน เชน่ กิจกรรมห้องเรยี นสีขาวและ

การจดั การเรียนรใู้ นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้อย่างหลากหลายตามบริบทของวชิ าและกิจกรรม
ท่ีสง่ เสริมความเป็นประชาธิปไตยในชีวิตประจาวันอย่างต่อเน่ือง มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง อยา่ งเปน็ ระบบ
และตอ่ เนื่อง

3. ดา้ นนักเรยี น
นักเรยี นมคี วามตระหนกั เห็นคณุ ค่าของการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย ให้ความร่วมมือในการร่วม

กิจกรรมสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตยท่ีโรงเรยี นจัดข้ึน
4. ดา้ นชุมชน/ผู้ปกครอง/หน่วยงานท่เี ก่ยี วข้อง
สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ความร่วมมอื ในการจดั กจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ ประชาธิปไตยในสถานศึกษาอย่างต่อเน่ือง

ให้ความร่วมมือในการเป็นวทิ ยากรใหค้ วามรแู้ ละให้ความชว่ ยเหลือ อานวยความสะดวกด้านวัสดุ อุปกรณ์ทเ่ี กี่ยวกับ
การสง่ เสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอยา่ งต่อเนื่อง

36

ฐานการเรยี นรู้ นางฟา้ ไร้เทยี มทาน

ครูแกนนา

นางธมกร ทองพลบั นางนงนุช กนั แยม้ นางฉววี รรณ อินจิว นางผสุ ดี ฟกั ทอง

นางสมประสงค์ แดงบ้งุ นางสาวรัชนกี ร สนิ ใจ นางรจุ ริ า จนี ทิม

นกั เรียนแกนนา

นางสาวปนั ทชิ ากรณ์ บญุ ธรรม เด็กหญงิ ปรยิ ากร จันทศลิ ป์ นายรชั พล ทานนท์ นายวชริ วทิ ย์ เสงี่ยมอยู่

นายวริ ิทธพ์ิ ล ใจเกนิ นายจกั รภทั ร วรรณโสภา นายกติ ตพิ ร หลา้ จันทร์

37

ฐานการเรียนรู้ นางฟา้ ไรเ้ ทียมทาน

38

ฐานการเรียนรู้ นางฟา้ ไรเ้ ทียมทาน

39

ปจั จยั เอื้อทท่ี าให้งานสาเร็จ

1. ดา้ นผูบ้ รหิ าร
ส่งเสริมให้มีนักเรียนมรี ายไดร้ ะหว่างเรียน โดยการนาวัสดุที่อยใู่ นทอ้ งถนิ่ มาสรา้ งรายได้

2. ดา้ นครู
สง่ เสริมใหน้ ักเรยี นมคี วามรเู้ กย่ี วกับการแปรรูปอาหารและการถนอมอาหาร

3. ด้านนกั เรยี น
ศกึ ษาการเรยี นรแู้ ละเกบ็ เกีย่ วประสบการณ์ต่างๆที่ไดจ้ ากฐานการเรียนรไู้ ปสรา้ งรายได้ให้กบั ตนเอง

และพ่งึ พาตนเองในอนาคต
4. ด้านชุมชน/ผู้ปกครอง/หนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้อง
ชมุ ชนผูป้ กครองให้ความร่วมมือในการให้ความร้รู วมไปถึงสูตรของการทาแหนมเหด็ นางฟา้

รวมถงึ สนับสนนุ ผลิตภัณฑข์ องนักเรียน

40

ฐานการเรยี นรู้ สบื สานวฒั นธรรมการแทงหยวก

ครแู กนนา

นางสภุ าพรรณ วงศส์ มบตั ิ นางสุมาลี พุม่ บานเย็น นางเกตนส์ ิรี เกตยุ อด นางรตั ตกิ าล มว่ งมติ ร

นางลกั ขณา สุขรตั นปรชี า นางสาวกญั ญาวรี ์ ทะจิ นายราชสทิ ธ์ิ คาสอนเจรญิ

นักเรยี นแกนนา

เด็กชายปรีดา จนี ภกั ดี นายชยานนั ต์ จนี ทมิ นางสาวศศวิ มิ ล เขยี นงาม นางสาวภัทรกร ฤทธศิ กั ดิ์

นางสาวณฐั กมล มูลละ นายนภสินธุ์ มูลสารี นายรัฐธรรมนญู แพงมี

41

ฐานการเรยี นรู้ สืบสานวัฒนธรรมการแทงหยวก

42

ฐานการเรยี นรู้ สืบสานวัฒนธรรมการแทงหยวก

43

ปัจจยั เอ้อื ทที่ าให้งานสาเร็จ

1. ด้านผ้บู รหิ าร
สง่ เสริมให้มกี ารจดั กิจกรรมสืบสานวฒั นธรรมแทงหยวก เชิญปราชญช์ าวบา้ นมาถ่ายทอดมรดก

ทางภมู ปิ ญั ญาให้กบั ครูและนักเรยี น สรา้ งความตระหนักให้นักเรยี นเหน็ คุณค่าของภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ อนุรกั ษ์ประเพณี
วฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน โดยจดั ทาหลักสูตรทอ้ งถิน่ เพ่ือสืบสานการแทงหยวกประดับแลแห่นาคจากบรรพชนสเู่ ยาวชน
ในยคุ ปัจจุบัน

2. ดา้ นครู
สง่ เสรมิ ความรู้ เข้าใจความหมายทถี่ ูกตอ้ งในหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความรอบรู้

ในวฒั นธรรมไทยและภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ตระหนักในความสาคัญสบื สานภมู ิปัญญาดา้ นการแทงหยวกประดบั แลแหน่ าค
และการนาวัตถดุ บิ ในท้องถ่นิ มาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์

3. ดา้ นนักเรยี น
มีความรู้ ทกั ษะในการดาเนนิ ชวี ิตอยา่ งพอเพียง นาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอไปเพยี งมาใชใ้ นการเรยี น

และดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั การศกึ ษาเรียนรู้ เกบ็ เกย่ี วประสบการณด์ ้านการแทงหยวก มีความภาคภูมิใจ ที่มสี ว่ นร่วม
ในการสบื สานวฒั นธรรมการแทงหยวกร่วมกบั ชมุ ชน

4. ดา้ นชมุ ชน/ผู้ปกครอง/หน่วยงานทเี่ ก่ียวข้อง
ชุมชน ผู้ปกครอง ปราชญช์ าวบ้าน ใหค้ วามรว่ มมือในการเป็นวิทยากรให้ความรู้และสอน

การแทงหยวกกล้วยลวดลายต่างๆของแตล่ ะชมุ ชนแก่ครูและนักเรียนโรงเรยี นนครไทย

44

เร่อื งเลา่ เรา้ พลงั

45

46

47


Click to View FlipBook Version