The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มวิจับปี 2563 ฉบับสมบูรณ์ ศทม.ชพ.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sunti Gea-in, 2022-08-25 09:18:40

เล่มวิจับปี 2563 ฉบับสมบูรณ์ ศทม.ชพ.

เล่มวิจับปี 2563 ฉบับสมบูรณ์ ศทม.ชพ.

42

หรอื สสี ้ม นำ้ มรี สหวาน มกี ลนิ่ หอม มะพร้าวต้นเตยี้ ทกุ พนั ธ์ุจะมีผลขนาดเลก็ เม่ือผลแกม่ ีเนือ้ บางและน้อย
ซ่ึงได้แก่พนั ธ์ุ นกคุม่ หมสู เี ขยี ว หม่สู เี หลอื ง หรือนาฬิกา มะพรา้ วเต้ยี นำ้ หอม และมะพร้าวไฟ แต่ปัจจุบัน
มะพร้าวน้ำหอมกำลังเป็นพืชเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมใช้ในการบริโภคสดและส่งออกไปยังตลาด
ตา่ งประเทศ ตลอดจนใชเ้ ปน็ วตั ถดุ บิ ในอุตสาหกรรมเครือ่ งดม่ื

ภาพท่ีก2.20กมะพร้าวพันธุ์ต้นเต้ีย
ทีม่ าก:กประสงค์ (ม.ป.ป.)

สำหรับมะพร้าวที่มีอยู่ในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นที่รู้จักในชื่อ
มะพร้าวพันธุ์พื้นเมืองไทย หรือมะพร้าวแกง ตามลักษณะที่ปรากฏหรือแหล่งที่มาของมะพร้าว
ส่วนมะพรา้ วพันธลุ์ กู ผสมท่ีได้รับการรับรองพันธ์ุและแนะนำพันธุ์โดยกรมวิชาการเกษตร จัดเป็นมะพร้าว
กงึ่ สูงและเปน็ มะพร้าวแกง หรอื มะพรา้ วสำหรับอุตสาหกรรม ซึ่งมะพรา้ วแต่ละพันธ์จุ ะมขี ้อดีและข้อจำกัด
ทีแ่ ตกต่างกัน

2.1.3 การปลูกมะพร้าวให้ไดผ้ ลผลิตทดี่ ี
ศิวเรศ และคณะ (2562) กล่าวว่าการปลูกมะพร้าวให้ได้ผลผลิตที่ดีน้ัน

นอกจากจะใชพ้ นั ธมุ์ ะพร้าวท่ดี ีตอ้ งอาศัยองค์ประกอบอืน่ ๆ ประกอบด้วย การเลอื กพื้นที่ปลูก วิธีการปลูก
การดูแลรักษา และการแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ ท่ีเกดิ ขึน้ กับมะพรา้ ว เป็นต้น นอกจากนีย้ ังต้องคำนึงถงึ โรค ศัตรู
ของมะพร้าว และการปอ้ งกนั กำจัด โดยโรคของมะพร้าวท่สี ำคญั ไดแ้ ก่ โรคผลรว่ ง (Immature nut fall)
เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora โรคใบจุด (Leaf spot) เกิดจากเชื้อรา Heiminthosporium sp.

43

โรคยอดเน่า (Heart leaf rot) เกิดจากเชื้อรา Pythium sp. โรคเอือนกิน ซึ่งเป็นโรคที่ไม่ทราบสาเหตุ
อยา่ งแน่ชัด ลกั ษณะภายนอกผลปกติ แตเ่ นอ้ื มะพรา้ วจะมลี กั ษณะฟา่ ม โดยจากการสนั นิษฐานวา่ อาจเกิด
จากสภาพแวดล้อมทไี่ ม่เหมาะสม รวมถงึ ศตั รขู องมะพะร้าวทส่ี ำคัญ เช่น แมลงดำหนามมะพร้าว ดว้ งแรด
ด้วงมะพร้าว และหนอนหวั ดำมะพรา้ ว เป็นต้น รวมถงึ ยังมีสัตว์ทเ่ี ป็นศตั รทู ส่ี ำคญั ของมะพรา้ วที่สำคัญ คือ
หนูทอ้ งขาวบา้ น และกระรอกที่ทำลายมะพร้าวให้ไดร้ บั ความเสียหาย

2.1.4 คณุ ประโยชน์ในน้ำหวานจากมะพร้าว
มะพร้าวจัดเป็นไมย้ ืนต้นท่ีให้เกสรและน้ำหวานสำหรับผง้ึ (กรมส่งเสริมการเกษตร,

2556) สำหรบั ในประเทศไทยมกี ารใช้ประโยชน์จากนำ้ หวานจากมะพร้าว หรือ Coconut Sap ในรูปแบบ
ผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว อาทิ น้ำตาลมะพรา้ ว ในอำเภออัมพวา จังหวดั สมทุ รสงคราม (กวิศร์, ฐิติมา และ
ประภาพร, 2552) ด้วยน้ำหวานจากมะพร้าวมีรสชาติและมีคุณประโยชน์ ในปัจจุบันจึงมีการศึกษาถึง
องคป์ ระกอบท่สี ำคัญในนำ้ หวานจากมะพร้าว ดงั น้ี

ตารางที่ก2.11กกองคป์ ระกอบและคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระของน้ำหวานจากมะพรา้ ว

ลำดับ องคป์ ระกอบ ปรมิ าณ
1 ความชนื้ รอ้ ยละ 85.93 ± 0.66
2 เถ้า ร้อยละ 0.27 ± 0.33
3 โปรตีน ร้อยละ 0.26 ± 0.02
4 ไขมนั รอ้ ยละ 0.01 ± 0.00
5 คาร์โบไฮเดรต รอ้ ยละ 13.53 ± 0.64
6 ความเปน็ กรด-ด่าง (pH) ร้อยละ 5.52 ± 0.08
7 ปริมาณของแขง็ ทลี่ ะลายน้ำได้ รอ้ ยละ 12.40 ± 1.14
8 สี
8.1 คา่ L* 38.16 ± 0.63
8.2 ค่า a* -0.92 ± 0.10
8.3 คา่ b* -3.5 ± 0.04
8.4 คา่ c* 3.62 ± 0.07
8.4 ค่า H* 1.31 ± 0.02
9 คา่ ดชั นีสีน้ำตาล -10.21 ± 0.29

ท่ีมาก:กAsghar et al. (2020)

ตารางที่ก2.11กก(ต่อ) 44

ลำดบั องคป์ ระกอบ ปรมิ าณ
10 น้ำตาล
รอ้ ยละ 2.53
10.1 กลูโคส ร้อยละ 3.48
10.2 ฟรักโทส รอ้ ยละ 6.91
10.3 ซูโครส
11 วติ ามนิ 116.19 ± 0.87 มลิ ลิกรัมตอ่ ลิตร
11.1 วิตามินซี 4.33 ± 0.19 มลิ ลิกรมั ตอ่ ลติ ร
11.2 วติ ามินบี 1 0.084 ± 0.00 มลิ ลกิ รมั ตอ่ ลิตร
11.3 วติ ามนิ บี 2 1.88 ± 0.07 มิลลกิ รมั ตอ่ ลิตร
11.4 วติ ามนิ บี 3 0.53 ± 0.01 มลิ ลิกรมั ต่อลิตร
11.5 วิตามินบี 4 0.03 ± 0.01 มลิ ลิกรัมต่อลติ ร
11.6 วิตามินบี 10
12 แร่ธาตุ 0.42 ± 0.02 มลิ ลกิ รัมต่อลิตร
12.1 แคลเซยี ม (Ca) 22.91 ± 0.18 มิลลิกรัมต่อลติ ร
12.2 แมกนเี ซยี ม (Mg) 0.105 ± 0.005 มิลลกิ รัมตอ่ ลติ ร
12.3 แมงกานสี (Mn) 0.065 ± 0.001 มิลลิกรัมต่อลติ ร
12.4 คอปเปอร์ (Cu) 183.21 ± 1.42 มลิ ลิกรัมต่อลติ ร
12.5 โซเดียม (Na) 960.87 ± 12.50 มิลลกิ รมั ตอ่ ลิตร
12.6 โพแทสเซยี ม (K) 0.338 ± 0.002 มิลลิกรัมต่อลติ ร
12.7 สงั กะสี (Zn) 1.36 ± 0.0038 มลิ ลิกรัมตอ่ ลติ ร
12.8 เหล็ก (Fe)
13 คณุ สมบตั ิตา้ นอนมุ ูลอิสระ 23.42 ± 0.82 ร้อยละ Sc. A
13.1 DPPH 2.09 ± 0.84 มลิ ลโิ มลารต์ ่อมิลลิลิตร
13.2 FRAP 21.85 ± 4.81 รอ้ ยละ In. A
13.3 ABTS 20.95 ±6.93 GAE ตอ่ 100กรมั ของตวั อย่าง
13.4 TPC

ที่มาก:กAsghar et al. (2020)

45

นอกจากน้ีการศึกษาของ Purnomo (2007) ศึกษาสารประกอบของ
มะพร้าวสด น้ำเชื่อมมะพร้าว และน้ำตาลมะพร้าว พบวา่ ในทกุ ตัวอย่างพบสาร 2 - butanol และกรดอะซิติก
เป็นองค์ประกอบ ทำให้มะพร้าวมีกลิ่นเฉพาะตัว และในน้ำหวานจากมะพร้าวจะมีค่าดัชนีน้ำตาล
(Glycemic Index : GI) อยู่ประมาณร้อยละ 35 - 54 (Kusumawaty, Maharani and Edwina, 2012)
โดยค่า GI ในระดับดงั กลา่ ว ถอื ได้วา่ อยใู่ นระดบั ปานกลาง ซ่งึ ตามปกตหิ ากในอาหารมีค่า GI ต่ำ ร่างกาย
จะย่อยอาหารได้ช้า และปรมิ าณระดับนำ้ ตาลในเลอื ดจะลดระดับลง ซง่ึ หากอาหารมีค่า GI สงู ร่างกายจะ
ย่อยอาหารเร็วและระดับน้ำตาลในเลือดจะสูงขึ้น (Queensland government, 2016) สำหรับการ
รับประทานอาหารที่มีค่า GI ต่ำ ยังจะส่งผลในด้านการลดความเสี่ยงในการเป็นโรคเบาหวานชนิดที่สอง
และโรคหัวใจ (Gunnars, 2018) ดังนัน้ นำ้ หวานจากมะพรา้ วจงึ เปน็ อาหารทางเลือกท่ีมีคณุ ค่าตอ่ สุขภาพ

ภาพท่ีก2.21กน้ำหวานจากมะพรา้ ว
ท่ีมาก:กTrinidad (n.d.)

2.2 มะพร้าวทบั สะแกสงิ่ บ่งช้ีทางภมู ศิ าสตร์ (THAI Geographical Indication : GI)
สง่ิ บง่ ชที้ างภมู ศิ าสตร์ (THAI Geographical Indication : GI) โดยกรมทรัพย์สินทางปัญญา

(2559) กล่าววา่ เปน็ เครอ่ื งหมายท่ีใชก้ ับสนิ ค้าท่มี าจากแหล่งผลติ ท่ีเฉพาะเจาะจง ซง่ึ คณุ ภาพหรือช่ือเสียง
ของสนิ คา้ นนั้ เป็นผลมาจากการผลิตในพ้นื ท่ีดังกลา่ ว ดงั น้นั GI จงึ เปรียบเสมอื นเป็นแบรนด์ของท้องถ่ินท่ี
บ่งบอกถึงคุณภาพและแหล่งทมี่ าของสนิ ค้า สำหรบั ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับจากการข้นึ ทะเบียนสินค้าชุมชนเป็น
สง่ิ บ่งช้ที างภูมศิ าสตร์ คอื การค้มุ ครองชือ่ สนิ ค้าให้เปน็ สิทธิ์เฉพาะของชุมชนที่ขน้ึ ทะเบียน เพ่ิมมูลค่าของ
สินคา้ และเป็นเครือ่ งมอื การตลาด ดแู ลรักษามาตรฐานของสนิ คา้ และรักษาภูมิปญั ญาท้องถิ่น สร้างความ
เข้มแข็งให้แก่ชุมชนเพิ่มความสามัคคี เพื่อพัฒนาท้องถิ่น สนับสนุนการท่องเที่ยวชุมชน ผู้ผลิตยั่งยืน
สร้างความเชื่อมั่น ในแหล่งที่มาและคุณภาพของตัวสินค้า ให้กับผู้ซื้อ และก้าวสู่ระดับสากล ได้รับการ
สนับสนุนการจดทะเบียนในระดับต่างประเทศ สำหรับในปัจจุบันกรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ประกาศ
สินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ออกมาแล้วจำนวน 76 จังหวัด 130 สินค้า ข้อมูล ณ วันที่ 20 พฤศจิกายน
2563 ประกอบด้วย ข้าวจำนวน 14 รายการ อาหารจำนวน 25 รายการ ผัก ผลไม้ จำนวน 63 รายการ

46
ผ้า (ไหมและฝา้ ย) จำนวน 11 รายการ หัตกรรม อุตสาหกรรม จำนวน 15 รายการ และไวน์ สุรา จำนวน
2 รายการ

ภาพท่ีก2.22กการขน้ึ ทะเบียนสงิ่ บ่งช้ีทางภมู ศิ าสตร์ไทย
ทีม่ าก:กกรมทรพั ย์สนิ ทางปัญญา (2559)

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์เป็นจังหวัดหนึ่งได้รับการรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
จำนวน 2 รายการ คือ ทุเรยี นปา่ ละอู ในปี พ.ศ. 2554 และมะพร้าวทบั สะแก ในปี พ.ศ. 2562 แตส่ ำหรับ
พืชที่ถอื ว่ามพี นื้ ท่ีปลกู มากที่สุดในจงั หวัดประจวบครี ีขันธ์ คือ มะพรา้ ว จำนวน 442,714.38 ไร่ มีปริมาณ
ผลผลิต จำนวน 431,081,290 กิโลกรัม และมีปริมาณผลผลิตเฉลี่ย จำนวน 1,038.93 กิโลกรัมต่อไร่
(สำนักงานเกษตร-และสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์, 2562) โดยเฉพาะอย่างยิ่งมะพร้าวทับสะแก
ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ คำขอเลขที่ 61100183 ทะเบียนเลขที่ สช 63100135
ย่ืนคำขอข้ึนทะเบียนเมอ่ื วนั ที่ 7 มิถนุ ายน 2561 และไดร้ ับการประกาศเม่อื วันที่ 8 มกราคม 2563 ดังนั้น

47

มะพร้าวทับสะแกจึงมีคุณภาพ ชื่อเสียง และคุณสมบัติหรือคุณลักษณะเฉพาะของสินค้าดังนี้
(กรมทรัพยส์ นิ ทางปัญญา, 2562)

2.2.1 มะพร้าวทบั สะแก (Thap Sakae Coconut หรือ Mapraw Thap Sakae)
หมายถึง มะพร้าวพันธุ์ไทยต้นสูง พันธุ์สวีลูกผสม 1 และพันธุล์ ูกผสมชุมพร 2 ซึ่งมีผลขนาดใหญ่ รูปทรง
กลมหรอื รีเล็กน้อย เปลือกหนา เน้ือมะพรา้ วสีขาวหนา 2 ชน้ั ใหเ้ ปอร์เซ็นต์นำ้ มนั สงู รสชาติ (กะทิ) หอม
และมัน ปลูกในพื้นที่อำเภอทับสะแก อำเภอบางสะพาน อำเภอบางสะพานน้อย และอำเภอเมือง
ประจวบคีรีขันธ์ เฉพาะพื้นที่ตำบลเกาะหลัก ตำบลคลองวาฬ และตำบลห้วยทราย ของจังหวัด
ประจวบคีรขี นั ธ์

2.2.2 พันธุ์มะพร้าว เป็นพันธุ์ไทยต้นสูง พันธุ์สวีลูกผสม 1 และพันธุ์ลูกผสม
ชุมพร 2

2.2.3 กระบวนการผลติ ประกอบดว้ ย การปลกู ในทด่ี อนไมม่ นี ้ำขงั ปลูกโดยไม่
ต้องยกร่อง ส่วนที่ลุ่มควรทำร่องระบายน้ำไม่ให้ขวางทางน้ำหรือตามสภาพความเหมาะสมของพื้นที่
ขุดหลุมปลูกโดยรองก้นหลุมด้วยปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักหรือตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นท่ี นำหน่อ
มะพร้าวลงปลูกในหลุม กลบดินโดยไม่กลบยอด และปลูกโดยมีระยะห่างระหว่างต้นไม่น้อยกว่า 8 เมตร
การดแู ลรักษา โดยเร่มิ ใส่ปยุ๋ เม่อื มะพรา้ วอายุ 6 เดือนหลังปลกู การเก็บเก่ียว โดยเก็บผลผลติ หลังดอกบาน
11 - 12 เดอื น เก็บเกี่ยวประมาณ 2 - 3 ทะลาย หรือพิจารณาจากสีผวิ ของผลทะลายแรกสุก ซึง่ จะมีผิวสี
น้ำตาลแก่ ทะลายท่ี 2 จะมีสเี ขยี วและสนี ำ้ ตาลขนึ้ เปน็ บางตำแหน่ง และการบรรจหุ ีบหอ่ โดยรายละเอียด
บนฉลากหรือหีบห่อ ให้ประกอบด้วยคำว่า “มะพร้าวทับสะแก” และ/ หรือ “Thap Sakae Coconut
และ/ หรือ Mapraw Thap Sakae” พร้อมให้ระบุ ชื่อสวน/ เกษตรกรที่อยู่ที่ติดต่อได้ หรืออื่นๆ
ทเี่ ก่ียวข้อง เพอ่ื ใหเ้ ป็นประโยชนต์ ่อผผู้ ลิตและผู้บริโภค

2.2.4 ความสมั พันธ์ระหว่างสินคา้ กับแหลง่ ภมู ิศาสตร์
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีลักษณะภูมิประเทศ อยู่ระหว่างลองติจูดที่ 11

องศา 45 ลิปดาเหนือ ถึงละติจูด 12 องศา 37 ลิปดาเหนือ และลองติจูดที่ 99 องศา 9 ลิปดาตะวันออก
ถึง 100 องศา 1 ลิปดาตะวนั ออก ทิศตะวนั ตกเป็นเทือกเขาตะนาวศรกี น้ั พรมแดนระหวา่ งไทยกบั ประเทศ
เมยี นมา เป็นภูเขาสลบั ซับซ้อน พืน้ ทีม่ ีลกั ษณะลาดลงสู่ทิศตะวันออกซ่ึงตดิ กับอ่าวไทย พนื้ ท่ีราบส่วนมาก
เป็นที่ราบเชงิ เขา บางตอนเป็นท่ีราบต่ำ มีทั้งเป็นป่าทึบ ป่าโปร่ง ภูเขาทางด้านทิศตะวันตกส่วนใหญ่เป็น
เขาหินแกรนิต ส่วนภเู ขาดา้ นทศิ ตะวนั ออกเปน็ เขาหินปนู ดินโดยทั่วไปเป็นดินรว่ นปนทราย บางแห่งมดี ินลกู รงั ปน

สภาพอากาศได้รับอิทธพิ ลของลมมรสมุ ตะวันตกเฉียงใต้หรือมรสุมฤดูร้อน
และลมมรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนอื หรอื มรสมุ ฤดหู นาว ตง้ั อยใู่ นเขตรอ้ นชน้ื รับแสงอาทิตย์เต็มท่ีตลอดท้ังปี
มอี ณุ หภูมเิ ฉลี่ยตลอดปอี ยู่ในชว่ ง 27 - 28 องศาเซลเซียส อุณหภมู สิ งู สดุ ประมาณ 32 องศาเซลเซียส และ
มีอณุ หภมู ติ ่ำสุดประมาณ 23.30 องศาเซลเซยี ส แตใ่ นอากาศยังมคี วามชืน้ ความชนื้ สมั พัทธโ์ ดยเฉลี่ยทั้งปี

48

ร้อยละ 76.30 ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยสูงสุดร้อยละ 87.50 และต่ำสุดร้อยละ 61.60 ปริมาณน้ำฝนอยู่
ในชว่ ง 716.40 ถึง 1,581 มิลลิเมตร พ้นื ท่มี ีโอกาสฝนตกมากเกินกวา่ 120 วนั ต่อปี ได้แก่ อำเภอทบั สะแก
อำเภอบางสะพาน และอำเภอบางสะพานนอ้ ย ด้วยลักษณะภมู ปิ ระเทศที่มคี วามลาดเอยี งจากทิศตะวันตก
สู่ทิศตะวันออกและติดกับอ่าวไทย ส่งผลทำให้การระบายน้ำดี ประกอบกับดินมีแร่ธาตุและสภาพ
เหมาะสม รวมถึงสภาพภูมิประเทศที่มีปริมาณแสงแดดตลอดทั้งปีแต่ไม่ร้อนมากมีฝนตกชุก จึงมีความ
เหมาะสมในการเปน็ แหล่งเพาะปลกู มะพรา้ วทบั สะแกให้ไดผ้ ลดี

2.2.5 การพิสูจน์แหล่งกำเนดิ
มะพรา้ วทับสะแก จะตอ้ งมกี ารปลูกในเขตพ้นื ทที่ ีก่ ำหนดตามกระบวนการ

ผลิต และกระบวนการผลิตจะต้องผ่านการควบคุมตรวจสอบ คือ มีการขึ้นทะเบียนสมาชิกปลกู มะพร้าว
ทบั สะแก รวมท้งั ต้องมเี อกสารกำกบั เพื่อการตรวจสอบยอ้ นกลบั ได้

2.2.6 ขอบเขตท่ตี ง้ั แหลง่ ภูมิศาสตร์
ขอบเขตพื้นที่การปลูกมะพร้าวทับสะแก ครอบคลุมพื้นที่ในเขต

อำเภอทับสะแก อำเภอบางสะพาน อำเภอบางสะพานน้อย และอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ เฉพาะ
ตำบลเกาะหลัก ตำบลคลองวาฬ และตำบลหว้ ยทราย ของจงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์

ภาพที่ก2.23กแผนที่แสดงแหล่งภมู ิศาสตรม์ ะพรา้ วทบั สะแก
ทม่ี าก:กกรมทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา (2559)

49

ตารางท่ีก2.12กกข้อมูลทวั่ ไปของพื้นทต่ี ้ังรงั ผึง้ ในแปลงมะพร้าวทบั สะแกทีใ่ ชใ้ นการศึกษา

พนื้ ที่ตงั้ รงั ผึ้ง ขอ้ มูลท่ัวไปของพ้ืนที่ตั้งรังผ้ึงในแปลงมะพร้าวทับสะแกท่ีใช้ในการศกึ ษา
แปลงที่ 1 1. นางสาวนิสานาถ มีศักด์ิ อำเภอทับสะแก ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 ตำบลเขาล้าน
แปลงที่ 2 อำเภอทับสะแก จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ ละติจูด : 11.52926 และลองติจูด
แปลงที่ 3 : 99.60270 แปลงปลกู มะพร้าวมีพืน้ ทีป่ ระมาณ 10 ไร่ เปน็ มะพร้าวพันธุไ์ ทย
ตน้ สูง มคี วามสูงประมาณ 15-18 เมตร มอี ายปุ ระมาณ 30 ปี ปลกู ในพื้นท่ี
แปลงที่ 4 โลง่ แจง้ ไม่มีพืชแซม และพนื้ ทขี่ า้ งเคยี งปลกู มะพร้าวพันธุไ์ ทยตน้ สูง
2. นายศักดา มีศักดิ์ อำเภอทับสะแก ตั้งอยู่ที่ศูนย์เรียนรู้สัมมาชีพชุมชน
บ้านทงุ่ กลาง หมู่ที่ 6 ตำบลเขาล้าน อำเภอทบั สะแก จังหวดั ประจวบคีรีขันธ์
ละติจูด : 11.52882 และลองติจูด : 99.60501 แปลงปลูกมะพร้าวมพี ื้นที่
ประมาณ 5 ไร่ เป็นมะพร้าวพันธุ์ไทยต้นสูง มีความสูงประมาณ 15-18
เมตร มีอายุประมาณ 30 ปี ปลูกในพื้นที่โล่งแจ้งไม่มีพืชแซม และพ้ืนที่
ข้างเคียงปลูกมะพร้าวพันธ์ไุ ทยต้นสงู
3. นายสวาท หิรัญวงศ์ อำเภอบางสะพาน ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 บ้านหินกอง
ตำบลพงศ์ประศาสน์ อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบครี ีขันธ์ ละติจูด :
11.16770 และลองติจูด : 99.47519 แปลงปลูกมะพร้าวมีพื้นที่ประมาณ
12 ไร่ เปน็ มะพร้าวพันธุ์ไทยตน้ สงู มีความสงู ประมาณ 10-15 เมตร มีอายุ
ประมาณ 5-30 ปี มีการปลูกมะพร้าวทดแทนเพิ่มเติม ในลักษณะสวน
ผสมผสาน และพื้นทีข่ ้างเคียงปลูกมะพร้าวและยางพารา
4. นายยงยุทธ สุขธนะ ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 บ้านหินกอง ตำบลพงศ์ประศาสน์
อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ละติจูด : 11.16973 และ
ลองติจูด : 99.47302 แปลงปลูกมะพร้าวมีพื้นที่ประมาณ 20 ไร่
เป็นมะพร้าวพันธุ์ไทยต้นสูง มีความสูงประมาณ 10-15 เมตร มีอายุ
ประมาณ 5-30 ปี มกี ารปลกู มะพร้าวทดแทนต้นมะพร้าวท่สี ูงขึน้ ในลกั ษณะ
สวนผสมผสาน และพื้นที่รอบข้างปลูกพืชชนิดต่างๆ เช่น ยางพารา กล้วย
จำปาดะ และโกโก้

ท่ีมาก:กนสิ านาถ และคณะ (2563)

50

กกกกกกกกกกกก3. โครงการระบบส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่
การดำเนินงานโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ (กองแผนงาน-

กรมสง่ เสริมการเกษตร, 2559) เกิดขน้ึ ตามทกี่ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดแนวทางการพัฒนาของ
กระทรวง (Road map) โดยมีโครงการท่สี ำคญั คือ การปรับโครงสร้างการผลิตสนิ คา้ เกษตร ดา้ นสินค้าพืช
ปศุสัตว์ และสินค้าประมง ประกอบกับพลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ มอบนโยบายเรื่อง การลดตน้ ทนุ การผลิต โดยการรวมแปลงเปน็ แปลงใหญ่กอ่ ใหเ้ กิดกิจกรรมลด
ต้นทุนการผลิต และสามารถวัดผลสมั ฤทธิ์ไดอ้ ย่างเปน็ รูปธรรม เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2558 ซึ่งโครงการ
ดังกล่าวมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ 1) เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มทำการผลิต มีการบริหาร
จัดการร่วมกนั เพอื่ ใหเ้ กิดการรวมกนั ผลิตและรวมกันจำหน่ายโดยมีตลาดรองรบั ท่แี น่นอน และ 2) เพื่อให้
เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตและมผี ลผลิตต่อหน่วยเพ่ิมขึ้น รวมทั้งผลผลิตมีคุณภาพไดม้ าตรฐาน
ภายใต้การบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน โดยมีเป้าหมายในการดำเนินงานจำนวน 1,512
แปลง ทป่ี ระกอบดว้ ย แปลงใหญ่ในปี 2559 จำนวน 600 แปลง แปลงใหญ่ในปี 2560 จำนวน 400 แปลง
และแปลงเตรียมความพร้อม จำนวน 512 แปลง มีแหล่งงบประมาณการดำเนินงานจากหน่วยงานใน
สงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จำนวน 13 หนว่ ยงาน คือ กรมส่งเสริมการเกษตร กรมวชิ าการเกษตร
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กรมชลประทาน กรมการข้าว กรมส่งเสรมิ สหกรณ์
กรมตรวจบัญชสี หกรณ์ สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร สำนักงานปฏิรูปท่ดี นิ เพือ่ เกษตรกรรม กรมประมง
กรมพัฒนาที่ดิน และกรมหม่อนไหม รวมงบประมาณทั้งสิ้น 739.50 ล้านบาท สำหรับผลการดำเนินงาน
โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ตั้งแต่ปี 2559 - 2563 มีแปลงใหญ่เกิดขึ้นจำนวน 6,839 แปลง
มีเกษตรกรเข้าร่วมจำนวน 438,457 ราย และมีพื้นที่รวมกันทั้งสิ้น 5,903,855.61 ไร่ (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2562)
ดังนั้นการดำเนินโครงการระบบส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ จึงเป็นโครงการที่มวี ัตถุประสงค์หลัก
เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มทำการผลิต มีการบริหารจัดการร่วมกัน รวมกันจำหน่ายโดยมี
ตลาดรองรบั ทแี่ น่นอน และการลดต้นทุนการผลิตและมีผลผลิตตอ่ หน่วยเพิ่มข้ึน รวมท้ังผลผลิตมีคุณภาพ
ได้มาตรฐาน โดยหน่วยงานภาครัฐและเอกชนร่วมบูรณาการ ดังนั้นเม่ือเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ จึงจะ
ไดร้ บั โอกาสทีด่ สี ำหรับการพัฒนาระบบการเกษตรของประเทศไทยให้มปี ระสิทธภิ าพ

โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มะพร้าว กรมส่งเสริมการเกษตร
โดยข้อมูล ณ วันที่ 16 มีนาคม 2563 ประเทศไทยมีแปลงใหญ่มะพร้าว ซึ่งรวมกลุ่มแปลงใหญ่มะพร้าว
มะพร้าวน้ำหอม และมะพร้าวแก่ จำนวนท้งั สิน้ 102 แปลง มเี กษตรกรเข้าร่วมจำนวน 4,330 ราย และมี
พน้ื ท่ีรวมกันท้งั สิ้น 39,077 ไร่ และสำหรับกลมุ่ แปลงใหญ่มะพรา้ วในจังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ตั้งแต่ปี 2560
- 2563 มีการรวมกลุ่มแปลงใหญม่ ะพรา้ วและมะพร้าวแก่ รวมจำนวนท้ังส้ิน 22 แปลง มีเกษตรกรเข้าร่วม
จำนวน 1,259 ราย และมีพื้นที่รวมกันทั้งสิ้น 15,015.05 ไร่ โดยแบ่งเป็นแปลงใหญ่มะพร้าวน้ำหอม
จำนวน 4 แปลง เกษตรกรเข้าร่วมจำนวน 220 ราย และมีพื้นที่ 3,032.50 ไร่ และแปลงใหญ่มะพร้าวแก่

51

จำนวน 18 แปลง เกษตรกรเข้ารว่ มจำนวน 1,039 ราย และมพี ้ืนที่ 11,982.55 ไร่ (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2562)
และจากสถิติข้อมูลในปี 2559 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีเนื้อที่ปลูกมะพร้าวทั้งสิ้น 454,550 ไร่ มีเนื้อท่ี
ให้ผลผลติ จำนวน 421,376 ไร่ และมีเนื้อทีเ่ กบ็ เกี่ยวผลผลิต จำนวน 418,488 ไร่ ถือเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่
และผลผลิตมากทส่ี ุดในประเทศ (สำนักงานเกษตรและสหกรณจ์ ังหวัดประจวบคีรขี ันธ์, 2562)

ภาพที่ก2.24กสรปุ แปลงใหญ่จงั หวัดประจวบครี ขี ันธ์
ทม่ี าก:กกลุม่ พัฒนานวัตกรรมดิจติ อลศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ การ กรมสง่ เสริมการเกษตร (2563)

ผลงานวิจยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
กกกกกกกกกกกกจรัส, กติ ตพิ จน์ และวศิ นุ (2527) ได้ศกึ ษาการเลยี้ งผง้ึ พันธ์ุอิตาเล่ยี น (Apis mellifera)
ในสวนป่าลมุ่ น้ำวังทองฝั่งขวา จังหวัดพิษณุโลก พบว่าพนื้ ทส่ี ่วนใหญใ่ นการตง้ั เล้ียงผ้งึ เปน็ สวนป่าที่มีต้นไม้
ใหญ่ มีดอกไม้หลากหลายชนิด เช่น ลำไย ยูคาลิปตัส และมะพร้าว เป็นต้น และพืชไร่ อาทิ ข้าวโพด งา
และถั่วต่างๆ ที่เป็นสถานทีต่ ั้งเลี้ยงผ้ึงที่ดี และหลากหลาย รวมถึงการปลกู พชื เสริมหมุนเวียนท่ีเหมาะสม
ตอ่ การเลย้ี งผง้ึ ที่จะเกดิ ความสัมพันธ์ระหวา่ งกิจกรรมของป่าไม้เกอ้ื กลู กัน
กกกกกกกกกกกกสุรไกร, อนุชิต และสุระพงศ์ (2528) ได้ศึกษาการเลี้ยงผึ้งในภาคใต้และปัญหาทาง
ชีววิทยา พบว่า ผึ้งโพรงเป็นผึ้งที่นิยมเลี้ยงที่สุดในภาคใต้ โดยเลี้ยงมากที่สุดในพื้นท่ีอำเภอเกาะสมุย
จังหวัดสุราษฎร์ธานี ใช้รูปแบบเลี้ยงออกเป็น 2 ลักษณะ คือ สร้างรังจากไม้เป็นกล่องรูปสี่เหลี่ยมขนาด
9 x 9 x 9 น้วิ เลี้ยงแบบธรรมชาติ และขนาด 12 x 12 x 17 นิ้ว เลยี้ งแบบเขา้ กรอบรวงหรือคอน ซึง่ เลีย้ ง
ในพน้ื ที่ลานบ้าน เป็นลานเล้ยี งผ้งึ มแี หลง่ อาหารเป็นเกสรและนำ้ หวานจากมะพร้าว ได้รับผลผลิตน้ำผึ้งต่อ
รังเฉลี่ย 5.54ลูกบาศก์เซนติเมตร ไขผึ้ง 1.78 กิโลกรัม หรือได้ผลผลิตต่อรังจำนวน 905.40 บาท สำหรับ

52

ศตั รขู องผ้ึงท่สี ำคญั คอื ตอ่ หวั เสือ มดแดง ผีเส้ือหนอนกินรวงผง้ึ ไร สัตว์คร่งึ บกคร่ึงน้ำ และสัตว์เล้อื ยคลาน
บางชนดิ
กกกกกกกกกกกกสุวัฒน์ และคณะ (2548) ได้ศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีผึ้ง โดยใช้ผึ้งพันธุ์
ต่างประเทศ ในช่วงเดือนธันวาคม 2547 – กรกฎาคม 2448 ผลการศึกษาพบว่าสามารถเก็บน้ำผึ้งจาก
ดอกทานทานตะวัน ได้เฉลีย่ 5.08 ± 2.340 กโิ ลกรมั ตอ่ รัง จากดอกลำไย ไดเ้ ฉล่ีย 3.95 ± 1.680 กิโลกรมั ต่อรัง
ส่วนในดอกนุ่น ไม่สามารถเก็บได้เนื่องจากมีปริมาณน้ำหวานเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอต่อการสะสม
นำ้ หวาน และปัญหาจากนกศตั รผู ึ้ง นอกจากนีย้ งั พบว่าชว่ งเวลามผี ลต่อการเก็บน้ำหวานของแมลง โดยจะ
พบชันโรงลงเก็บน้ำหวานดอกไม้มากทีส่ ุด คิดเป็นร้อยละ 70.10 ช่วงเวลา 8.00 - 12.00 น. และผึ้งพันธ์ุ
ตา่ งประเทศ คิดเป็นร้อยละ 29.3 ช่วงเวลา 12.00 - 14.00 น.
กกกกกกกกกกกกวนั เพญ็ (2553) ได้เปรยี บเทียบการจัดการการเล้ียงผ้ึงพนั ธ์ุและผง้ึ โพรงของเกษตรกรใน
จังหวัดชุมพร ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรผู้เลี้ยงผึ้งส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย มีอายุเฉลี่ย 51.79 ปี สำเร็จ
การศึกษาระดับชัน้ ประถมศึกษามีประสบการณ์ในการเลย้ี งผึง้ เฉลี่ย 4.77 ปี มีรังผึ้งเฉลย่ี 41.15 รงั และมี
ต้นทุนในการเลี้ยงผึ้งโพรงเฉลี่ยรังละ 484.91 บาท แรงจูงใจในการเลี้ยงผึ้ง คือ ผึ้งช่วยผสมเกสรพืช
ได้ทดลองทำสิ่งใหม่ๆ เป็นที่ยอมรับในสังคม และสุขภาพดีไม่เสี่ยงต่อการใช้สารเคมี และผู้เลี้ยงผึ้งโพรง
ไม่พบปัญหาในการเลี้ยงผึ้ง สำหรับข้อเสนอแนะในการเลี้ยงผึ้งของเกษตรกรแนะนำว่า ภาครัฐควรจัด
จำหน่ายอปุ กรณก์ ารเลีย้ งผงึ้ ในราคาถูก และทำการตรวจสอบมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้งึ เพ่ือเพิ่มราคาผลผลิต
ใหส้ งู ขน้ึ
กกกกกกกกกกกกชนญั พร และคณะ (2562) ได้ศึกษากระบวนการเก็บรักษาน้ำผงึ้ โพรงไทย (Apis cerana)
ต่อการตกผลึก จากกลุ่มแปลงใหญ่แมลงเศรษฐกิจในพื้นที่ภาคใต้ พบว่าน้ำผึ้งทุกตัวอย่างมีคุณลักษณะ
คุณภาพและสุขลักษณะด้านจุลินทรีย์ ผ่านตามเกณฑม์ าตรฐานสินค้าเกษตร โดยมีคุณลักษณะของนำ้ ผึ้ง
โพรงไทยจากการทดสอบปริมาณสารไฮดรอกซีเมทิลเฟอร์ฟูรอล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 31.67 ± 0.350
มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ความชื้นในน้ำผึ้งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.27 ± 0.390 กรัมต่อ 100 กรัม ความเป็น
กรดดา่ ง (pH) ในนำ้ ผ้ึงมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.60 ± 0.210 ปริมาณน้ำตาลท้ังหมดมีค่าเฉลีย่ เท่ากับ 76.13 ±
0.740 กรัมต่อ 100 กรมั ปริมาณนำ้ ตาลฟรกั โทสในน้ำผึ้งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 38.49 ± 1.370 กรัมต่อ 100
กรัม ปริมาณน้ำตาลกลูโคสในน้ำผึ้งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 34.49 ± 0.750 กรัมต่อ 100 กรัม ปริมาณน้ำตาล
ซูโครสในน้ำผึ้งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.75 ± 0.820 กรัมต่อ 100 กรัม ปริมาณน้ำตาลมอลโทสในน้ำผึ้งมี
คา่ เฉลย่ี เทา่ กับ 1.53 ± 0.350 กรัมตอ่ 100 กรมั และไมพ่ บนำ้ ตาลแล็กโทสในนำ้ ผ้ึง ความหวานในน้ำผ้งึ มี
ค่าเฉล่ียเทา่ กับ 78.20 ± 0.280 บริกซ์ และไมพ่ บเช้ือ Salmonella spp. และเชอื้ Staphylococcus aureus
กกกกกกกกกกกกGhazali and Sin (1986) ได้ศึกษาผลของนำ้ ผง้ึ มะพรา้ ว ที่มผี ลจากอุณหภูมิในการเก็บ
รักษาต่อคุณสมบัติทางเคมีฟิสิกส์ ผลการศึกษาพบว่าการเก็บรักษาน้ำผึ้งที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส
เปน็ ระยะเวลา 18 สัปดาห์ สีของน้ำผ้งึ เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมากกว่าการเกบ็ รักษาท่ีอุณหภูมิ

53

28 องศาเซลเซียส และปริมาณน้ำตาลกลโู คส น้ำตาลฟรักโทส และน้ำตาลซูโครส มีระดับน้ำตาลที่ลดลง
ในทั้งสองอณุ หภูมิ
กกกกกกกกกกกกChepulis and Francis (2012) ได้ศึกษาคา่ ดชั นนี ้ำตาลของน้ำผ้งึ มานูก้า ผลการศึกษา
พบว่าในนำ้ ผึ้งมานูก้าทกุ ตัวอยา่ งท่ีศึกษามคี า่ ดชั นนี ำ้ ตาลอยรู่ ะหวา่ งร้อยละ 54-59
กกกกกกกกกกกกSuwannapong et al. (2013) ได้ศึกษาผึ้งพื้นเมืองสามชนิดของไทยที่ประกอบด้วย
ผึ้งหลวงผึ้งโพรงไทย และผึ้งมิ้ม ในการเก็บเกสรผึ้ง และจัดจำแนกชนิดเกสรดอกไม้ ผลการศึกษาพบว่า
ผึ้งโพรงไทยเก็บเกสรมาจากพืช จำนวน 11 ชนิด และพบว่าผึ้งหลวงและผึ้งโพรงไทย เก็บเกสรจาก
มะพร้าว โดยมีขนาดของเกสรมะพร้าวประมาณ 32.00 ± 1.580 ไมโครเมตร
กกกกกกกกกกกกSohaimy, Masry and Shehata (2015) ได้ศึกษาคุณลักษณะทางเคมีและคณุ ภาพของ
น้ำผึ้งจากหลายแหล่ง พบว่าน้ำผึ้งมีค่าความเป็นกรดด่าง เท่ากับ 3.40 - 6.10 ค่าการนำไฟฟ้ามีค่าอยู่
ระหวา่ ง 0.53 - 4.18 มิลลิซีเมนต์ตอ่ เซนตเิ มตร ค่าความชื้น อยู่ระหว่างร้อยละ 14.73 - 18.31
ค่าปริมาณเถ้า มีค่าอยู่ระหว่างร้อยละ 0.23 - 2.33 ค่าโปรตีนอยู่ระหว่าง 1.69 - 4.67 มิลลิกรัมต่อกรัม
ค่ารีดิวซิงซูการ์ อยู่ระหว่าง 15.11 - 72.36 กรัมต่อ 100 กรัม ค่าอัตราส่วนปริมาณน้ำตาลฟรักโทสต่อ
กลูโคส อยู่ระหวา่ ง 0.42 - 2.35 และคุณภาพของน้ำผึง้ ที่แตกต่างกันนั้น เกิดจากความแตกตา่ งของชนิด
พชื อาหารทผี่ ึง้ เกบ็ น้ำหวาน การผลิตน้ำผ้งึ และการเกบ็ รกั ษานำ้ ผึ้ง
กกกกกกกกกกกกAtayoglu et al. (2016) ได้ศกึ ษาค่าดชั นีนำ้ ตาลของน้ำผง้ึ ตรุ กี และการบริโภคนำ้ ผ้ึงตอ่
ผลระดบั นำ้ ตาลกลโู คสในเลอื ด ผลการศึกษาพบวา่ นำ้ ผ้งึ จากต้นซิตรัส และน้ำผึ้งชนิดอืน่ มีค่าดัชนีน้ำตาล
ต่ำ ในขณะทร่ี ะดับซีรมั ของอนิ ซูลนิ นำ้ ตาลในเลือดลดลงของน้ำผ้ึงเกาลดั แตกต่างอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ
ซึ่งอกี ทง้ั งานวิจยั นอ้ี าจต่อยอดในการทดสอบผู้ปว่ ยเบาหวานได้อีกต่อไป
กกกกกกกกกกกกJASMI (2017) ได้ศึกษาความหลากหลายของพืชอาหารของผึ้งโพรงท่ีเลี้ยงภายในสวน
ผสมผสาน ในเกาะสุมาตราตะวันตก ประเทศอินโดนีเซีย ผลการศึกษาพบว่ามีพืชจำนวน 94 ชนิด
(34 สกลุ ) ที่เปน็ แหล่งอาหารของผึง้ และมะพรา้ ว (Cocos nucifera L.) เป็นพืชตัวหนง่ึ ท่ีเปน็ แหล่งอาหาร
ของผึง้ ทสี่ ำคัญ มีการบานดอกตลอดปีต้งั แต่เดือนมกราคมถึงธนั วาคม
กกกกกกกกกกกกKrishna and Patil (2019) ได้ศึกษาการหาอาหารของผึ้งโพรง ในรัฐกรณาฏกะ
ประเทศอินเดีย ผลการศึกษาพบว่าพืชอาหารที่เป็นแหล่งโปรตีนของผึ้งที่พบมากที่สุด คือ เกสรดอก
มะพรา้ ว อยปู่ ริมาณร้อยละ 31.14 เกสรฝรงั่ และเกสรไมยราบ
กกกกกกกกกกกกAsghar et al. (2020) ได้ศึกษาคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระและคุณค่าทางอาหาร
ของน้ำหวานจากมะพร้าว ผลการศึกษาพบว่าน้ำหวานจากมะพร้าวมีฤทธิ์ในการต้านอนมุ ูลอิสระด้วยวิธี
DPPH คิดเป็นร้อยละ 23.42 วิธี FRAP จำนวน 2.09 มิลลิโมลาร์ต่อมิลลิลิตร และวิธี ABTS คิดเป็น
รอ้ ยละ 21.85 นอกจากนี้ยังพบว่ามีวติ ามนิ ซี จำนวน 116.19 ไมโครกรมั ต่อมลิ ลิลิตร โพแทสเซยี ม จำนวน

54

960.87 ไมโครกรัมต่อลิตร และโซเดียม จำนวน 183.21 ไมโครกรัมต่อลิตร ซึ่งจากคุณสมบัติที่ศึกษาจะ
พบได้ว่าน้ำหวานจากมะพรา้ วมีศักยภาพในการเป็นแหล่งอาหารเพ่อื สขุ ภาพอกี ชนดิ หน่ึง

55

บทท่ี 3
วธิ กี ารวิจัย

กกกกกกกกกกกกการศึกษาประสิทธิภาพการผลิตน้ำผึ้งโพรงไทย (Apis cerana) ในมะพร้าวทับสะแก
(สิ่งบ่งช้ที างภมู ิศาสตร์ : GI) กลุ่มแปลงใหญ่มะพร้าว จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ แบ่งการศึกษาออกเป็น
2 ส่วน ประกอบด้วย 1) การศึกษาปริมาณผลผลิตน้ำผึ้งโพรงไทย และ 2) การศึกษาคุณลักษณะของ
น้ำผึง้ โพรงไทย ซึง่ ตลอดการศึกษามรี ะเบียบวธิ กี ารวิจัยดังนี้

อุปกรณ์

กกกกกกกกกกกก1. เทอรโ์ มมเิ ตอร์อณุ หภมู ิ 0 ถึง 100 องศาเซลเซียส (Thermometer, จนี ) จำนวน 10 อัน

กกกกกกกกกกกก2. เคร่อื งชงั่ ดจิ ิตอล รนุ่ SF 400 ขนาด 1 – 1,000 กรัม (จีน) จำนวน 1 อัน

กกกกกกกกกกกก3. ขวดใสน่ ้ำผ้งึ ตัวอย่าง ขนาด 100 มิลลลิ ติ ร (ตงั้ ซุ่นฮวด จำกดั , ไทย) จำนวน 40 ขวด

กกกกกกกกกกกก4. ถงุ มือยาง (ถงุ มือแพทย)์ (ศรีตรังโกลฟส์, ไทย) จำนวน 1 กลอ่ ง

กกกกกกกกกกกก5. มีดคดั เตอร์พร้อมใบ ขนาด 18 มลิ ลเิ มตร (ชา้ ง, ไทย) จำนวน 10 อนั

กกกกกกกกกกกก6. ยางวง (งาชา้ งคู่, ไทย) จำนวน 1 กิโลกรัม

กกกกกกกกกกกก7. ถงุ รอ้ น ขนาด 15×18 นิว้ (เอโร่, ไทย) จำนวน 1 กิโลกรัม

กกกกกกกกกกกก8. ถงุ มอื ยางดำแบบหนา (สามห่าน, ไทย) จำนวน 10 คู่

กกกกกกกกกกกก9. ถาดสำหรับใส่อาหาร ขนาด 50 เซนตเิ มตร (หัวม้าลาย, ไทย) จำนวน 3 ใบ

กกกกกกกกกกกก10. ฟิล์มถนอมอาหาร กว้าง 30 เซนติเมตร × ยาว 60 เมตร (เอ็มแรป, ไทย) จำนวน 1 มว้ น

กกกกกกกกกกกก11. ผา้ ขาวบางอเนกประสงค์ ขนาด 90 × 90 เซนตเิ มตร (ทีพอี า, ไทย) จำนวน 8 ผืน

วิธีการ
กกกกกกกกกกกก1. การศึกษาปรมิ าณผลผลิตนำ้ ผ้งึ โพรงไทย มีขนั้ ตอน ดงั น้ี

1.1 การติดต่อและประสานงานกับสำนักงานเกษตรอำเภอทับสะแก และสำนักงานเกษตร
อำเภอบางสะพาน เพ่อื แจ้งความประสงคใ์ นการศึกษาวิจยั

1.2 การลงพื้นท่ี เพื่อคัดเลือกพื้นที่ตั้งรังผึ้งในแปลงมะพร้าวทับสะแก โดยต้องเป็น
แปลงมะพร้าวทับสะแก ที่มีอายุ 5 ปี ขึ้นไป และไม่มีพืชอาหารอื่นอยู่บริเวณรอบข้างแปลง หรือมีเพียง
เล็กน้อย ในวันศุกรท์ ี่ 12 มิถุนายน 2563 ณ แปลงใหญ่มะพรา้ วอำเภอทับสะแก และอำเภอบางสะพาน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อำเภอละ 2 แปลง รวมจำนวนทั้งสิ้น 4 แปลง ซึ่งพบข้อมูลทั่วไปของแปลง
มะพร้าวทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา ดังตารางท่ี 2.12

56

1.3 การเตรยี มรงั เลี้ยงและพันธ์ุผงึ้ โพรงไทย โดยใช้พนั ธ์ุผง้ึ โพรงไทยของศูนย์ส่งเสริม
เทคโนโลยกี ารเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จงั หวดั ชุมพร และรังเลีย้ งผง้ึ โพรงไทยที่ใช้ในการศึกษาต้องผ่าน
การบังคับผึง้ เขา้ คอนแล้ว และมีจำนวน 5 คอนต่อรงั ซ่งึ เขา้ คอนต้ังแต่เดือนพฤษภาคม 2563

1.4 การศึกษาประสิทธิภาพการผลิตน้ำผึ้งมะพร้าวของผึ้งโพรงไทย โดยนำรังผึ้งไป
ตดิ ตงั้ ในพืน้ ท่ีแปลงมะพรา้ วตวั อย่างของเกษตรกร จำนวน 4 ราย ดังตารางที่ 2.12 จำนวน 5 รัง ต่อพ้ืนที่
ของเกษตรกร 1 ราย วางรังในลักษณะกระจายใหค้ รอบคลุมทว่ั แปลง พรอ้ มเนน้ ยำ้ ให้เกษตรกรดูแล และ
ป้องกันกำจัดศัตรูผึ้ง รวมถึงรายงานผลที่เกิดขึ้นในช่วงวันที่ 19 มิถุนายน ถึงวันที่ 17 กรกฎาคม 2563
โดยวางแผนการทดลองแบบสมุ่ สมบรู ณ์ (Completely Randomized Design: CRD) โดยกล่มุ แปลงใหญ่
มะพร้าว มตี ัวแทนสมาชิกท้งั สิ้นจำนวน 4 ราย ทำการศึกษารายละ 5 ซ้ำ รวมจำนวนทั้งสิ้น 20 รัง ดงั นี้

1.4.1 แปลงท่ี 1 นางสาวนสิ านาถ มศี กั ดิ์ อำเภอทบั สะแก จำนวน 5 ซำ้ รวมจำนวน 5 รัง
1.4.2 แปลงท่ี 2 นายศกั ดา มศี กั ด์ิ อำเภอทบั สำแก จำนวน 5 ซำ้ รวมจำนวน 5 รงั
1.4.3 แปลงที่ 3 นายสวาท หริ ญั วงศ์ อำเภอบางสะพาน จำนวน 5 ซ้ำ รวมจำนวน 5 รงั
1.4.4 แปลงที่ 4 นายยงยุทธ สขุ ธนะ อำเภอบางสะพาน จำนวน 5 ซ้ำ รวมจำนวน 5 รัง
1.5 เมอ่ื ครบระยะเวลา 15 วัน เจา้ หน้าทีศ่ นู ย์จะลงพืน้ ท่ีติดตามผลการศึกษา
1.6 เมื่อครบระยะเวลา 30 วัน จึงเก็บผลผลิตน้ำผึ้งทุกรัง และเก็บข้อมูลปริมาณ
ผลผลติ น้ำผ้งึ
กกกกกกกกกกกก2. การศกึ ษาคณุ ลกั ษณะของนำ้ ผ้ึงโพรงไทย มีขัน้ ตอนดงั น้ี
2.1 สุ่มคัดเลือกน้ำผึ้งตัวอย่างแปลงละ 3 ขวด จำนวน 4 แปลง ใส่ขวดแก้วปริมาตร
100 มลิ ลิลิตร จำนวนทั้งส้ิน 12 ตัวอยา่ ง
2.2 การศึกษาคุณลกั ษณะของน้ำผึง้ โพรง จากความเป็นกรดด่าง (pH) โดยใช้เครื่อง
pH meter ความหวานและความชื้นโดยใช้เครื่อง Refractometer สำหรับทดสอบคุณภาพของน้ำผึ้ง
ปริมาณน้ำตาลกลูโคส ปริมาณน้ำตาลฟรักโทส ปริมาณน้ำตาลแล็กโทส ปริมาณน้ำตาลมอลโทส และ
ปริมาณน้ำตาลซูโครส สารไฮดรอกซีเมทิลเฟอร์ฟูรอล (HMF) โดยใช้เครื่อง High Performance Liquid
Chromatography (HPLC) ตรวจปริมาณเชื้อ Staphylococcus aureus และเชื้อ Salmonella spp.
โดยใช้วธิ ี Conventional Plate Count Method โดยวางแผนการทดลองแบบส่มุ สมบูรณ์ (Completely
Randomized Design: CRD) รวมจำนวนตวั อยา่ งทง้ั สิ้น 12 ตวั อยา่ ง ดังน้ี
2.2.1 น้ำผงึ้ ตวั อย่างแปลงที่ 1 นางสาวนสิ านาถ มศี ักดิ์ อำเภอทับสะแก จำนวน
3 ซำ้ รวมจำนวน 3 ตวั อยา่ ง
2.2.2 นำ้ ผึง้ ตวั อย่างแปลงที่ 2 นายศักดา มีศักดิ์ อำเภอทับสำแก จำนวน 3 ซ้ำ
รวมจำนวน 3 ตวั อยา่ ง

57

2.2.3 น้ำผึ้งตัวอย่างแปลงที่ 3 นายสวาท หิรัญวงศ์ อำเภอบางสะพาน จำนวน
3 ซำ้ รวมจำนวน 3 ตัวอย่าง

2.2.4 น้ำผึ้งตัวอย่างแปลงท่ี 4 นายยงยุทธ สุขธนะ อำเภอบางสะพาน จำนวน
3 ซ้ำ รวมจำนวน 3 ตัวอย่าง

การเกบ็ รวบรมขอ้ มลู
กกกกกกกกกกกก1. การศึกษาปรมิ าณผลผลิตน้ำผึง้ โพรงไทย โดยเก็บรวบรวมข้อมลู จากปรมิ าณผลผลติ
น้ำผ้งึ โพรงไทย ประกอบด้วย การช่ังนำ้ หนกั ของรงั ผ้ึงท้ังหมด (กรัมตอ่ รงั ) การช่ังน้ำหนักหัวน้ำหวานของ
รวงผง้ึ (กรมั ตอ่ รัง) และการชัง่ ปรมิ าณน้ำผึ้งบรสิ ุทธิ์ (กรัมตอ่ รัง)
กกกกกกกกกกกก2 การศึกษาคุณลักษณะของน้ำผึ้งโพรงไทย โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากความเป็นกรดด่าง
(pH) ความหวาน (บริกซ์) ความชน้ื (กรมั ต่อ 100 กรัม) ปริมาณน้ำตาลทั้งหมด (กรัมตอ่ 100 กรมั ) ปริมาณ
น้ำตาลกลูโคส (กรัมต่อ 100 กรัม) ปริมาณน้ำตาลฟรักโทส (กรัมต่อ 100 กรัม) ปริมาณน้ำตาลแล็กโทส
(กรัมต่อ 100 กรัม) ปริมาณน้ำตาลมอลโทส (กรัมต่อ 100 กรัม) และปริมาณน้ำตาลซูโครส (กรัมต่อ 100 กรัม)
สารไฮดรอกซีเมทิลเฟอร์ฟูรอล (HMF) (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ปริมาณเชื้อ Staphylococcus aureus
(per 25 กรัม) และเชอ้ื Salmonella spp. (per 0.1 กรมั )

การวิเคราะห์ข้อมูล
กกกกกกกกกกกกการวเิ คราะห์ข้อมูล โดยการวเิ คราะห์ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และ
เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s New Multiple Range Test (DMRT หรือ DUNCAN) หาความ
แตกตา่ งระหวา่ งสิง่ ทศ่ี กึ ษา โดยการใช้โปรแกรม Statistical Package for the Social Sciences (SPSS)
รนุ่ 22 วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งทร่ี ะดบั นัยสำคัญ 0.05

ระยะเวลาการวจิ ยั
กกกกกกกกกกกก1. การรวบรวมประเด็นปัญหาและความต้องการของเกษตรกรในพื้นที่ อีกทั้งศึกษา
ข้อมลู จากตำรา เอกสาร บทความ ทฤษฎี และงานวจิ ยั ทเี่ กีย่ วขอ้ ง ในเดือนเมษายน 2563
กกกกกกกกกกกก2. การติดตอ่ และประสานงานกับสำนกั งานเกษตรอำเภอทบั สะแก และสำนกั งานเกษตร
อำเภอบางสะพาน เพอื่ แจ้งความประสงค์ในการศึกษาวจิ ัย ในเดอื นพฤษภาคม 2563
กกกกกกกกกกกก3. การลงพื้นที่ เพื่อคัดเลือกพื้นที่ตั้งรังผึ้งในแปลงมะพร้าวทับสะแก ในวันศุกร์ ที่ 12
มิถนุ ายน 2563

58

กกกกกกกกกกกก4. การศึกษาปริมาณผลผลิตน้ำผึ้งโพรงไทย ในระหว่างวันที่ 19 มิถุนายน ถึงวันที่ 17
กรกฎาคม 2563
กกกกกกกกกกกก5. การศึกษาคุณลักษณะของน้ำผึ้งโพรงไทย ในระหว่างวันที่ 3 สิงหาคม ถึงวันที่ 4
กนั ยายน 2563
กกกกกกกกกกกก 6. สรุปผลการศึกษา และจดั ทำรูปเล่มรายงานการศกึ ษาฯ ในเดือนกันยายน 2563

การรวบรวมประเด็นปญั หาและความตอ้ งการของเกษตรกรในพื้นท่ี และศึกษาข้อมูล

ประสานงานแจ้งความประสงคก์ ารศกึ ษาวจิ ัยฯ

คัดเลอื กพ้นื ทต่ี ง้ั รังผ้งึ ในแปลงมะพรา้ ว กลุม่ แปลงใหญม่ ะพรา้ ว จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์
อำเภอละ 2 แปลง รวมจำนวนทงั้ สน้ิ 4 แปลง

อำเภอทบั สะแก อำเภอบางสะพาน
1. แปลงท่ี 1 นางสาวนิสานาถ มีศกั ด์ิ 1. แปลงท่ี 3 นายสวาท หิรัญวงศ์
2. แปลงที่ 2 นายศกั ดา มศี ักด์ิ 2. แปลงที่ 4 นายยงยทุ ธ สขุ ธนะ

ตดิ ตั้งรงั เล้ยี งผึง้ โพรงไทยในพ้ืนทีต่ ัง้ รงั ผ้งึ ในแปลงมะพร้าว

ลงพืน้ ทต่ี ดิ ตามผลการศกึ ษาในระยะเวลา 15 วนั

ครบระยะเวลา 30 วนั

การเกบ็ ข้อมลู ปริมาณผลผลติ นำ้ ผ้ึง
1. การศึกษานำ้ หนักของรงั ผึง้ ทั้งหมด (กรัมต่อรงั )
2. การศึกษาน้ำหนักหัวน้ำหวานของรวงผ้ึง (กรัมตอ่ รงั )
3. การศึกษาปริมาณนำ้ ผึง้ บรสิ ุทธ์ิ (กรัมตอ่ รงั )

ภาพท่ีก3.1กข้ันตอนการศกึ ษาปริมาณผลผลติ นำ้ ผึ้งโพรงไทย

59

สุม่ คัดเลือกนำ้ ผง้ึ ตัวอยา่ ง แปลงละ 3 ขวด จำนวน 4 แปลง
ขวดละ ปรมิ าตร 100 มิลลิลิตร จำนวนท้ังสิ้น 12 ตวั อยา่ ง

สง่ ตัวอยา่ งแก่หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารวิทยาศาสตร์ บรษิ ัทหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
กรุงเทพมหานคร เพอื่ ตรวจวเิ คราะหผ์ ล

การตรวจวเิ คราะห์คณุ ลักษณะของน้ำผึง้ โพรงไทย
1. การศกึ ษาปริมาณสารไฮดรอกซีเมทิลเฟอรฟ์ รู อล (HMF) (มลิ ลกิ รมั ตอ่ กโิ ลกรัม)
2. การศกึ ษาความชืน้ (กรมั ต่อ 100 กรัม)
3. การศกึ ษาความเปน็ กรดด่าง (pH)
4. การศกึ ษาปรมิ าณน้ำตาลทงั้ หมด (กรัมตอ่ 100 กรมั )

4.1 ปริมาณน้ำตาลกลูโคส (กรัมตอ่ 100 กรัม)
4.2 ปริมาณนำ้ ตาลฟรุกโตส (กรัมต่อ 100 กรมั )
4.3 ปรมิ าณนำ้ ตาลแลคโตส (กรัมตอ่ 100 กรมั )
4.4 ปรมิ าณนำ้ ตาลมอลโทส (กรัมตอ่ 100 กรัม)
4.5 ปรมิ าณนำ้ ตาลซโู ครส (กรมั ตอ่ 100 กรัม)
5. การศกึ ษาความหวาน (บรกิ ซ์)
6. การตรวจปริมาณเชื้อ Staphylococcus aureus (per 25 กรัม)
7. การตรวจปรมิ าณเชอื้ Salmonella spp. (per 0.1 กรัม)

ภาพท่ีก3.2กขั้นตอนการศึกษาคณุ ลักษณะของนำ้ ผึ้งโพรงไทย

60

บทที่ 4
ผลการวจิ ยั

กกกกกกกกกกกกการศึกษาประสิทธิภาพการผลิตน้ำผึ้งโพรงไทย (Apis cerana) ในมะพร้าวทับสะแก
(สง่ิ บ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ : GI) กลุม่ แปลงใหญ่มะพร้าว จังหวดั ประจวบคีรีขันธ์ แบ่งผลการศึกษาออกเป็น
2 ส่วน ประกอบด้วย การศกึ ษาปรมิ าณผลผลติ น้ำผง้ึ โพรงไทย และการศกึ ษาคณุ ลกั ษณะของน้ำผึ้งโพรงไทย
ซึ่งตลอดการศกึ ษามีผลการวิจยั ดังน้ี

1. ผลการศึกษาปรมิ าณผลผลิตน้ำผึง้ โพรงไทย

คำอธิบายตารางก:กจากผลการศึกษาปริมาณผลผลิตน้ำผึ้งโพรงไทย โดยหลังจากตั้งรังเลี้ยงผึ้งในพื้นท่ี
สวนมะพรา้ วทั้งสองอำเภอ ในจังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ เมอื่ ระยะเวลาครบ 30 วัน พบวา่ นำ้ หนักเฉล่ียของ
รังผง้ึ ท้ังหมด ในพ้นื ท่ีต้ังรังผง้ึ แปลงท่ี 1, 2 และ 3 ลดลงจากน้ำหนักรงั ผงึ้ เร่ิมตน้ แตน่ ำ้ หนกั เฉลีย่ ของรังผ้ึง
ทั้งหมด ในพื้นที่ตั้งรังผึ้งแปลงที่ 4 เพิ่มขึ้นจากน้ำหนักรังผึ้งเริ่มต้น สำหรับน้ำหนักเฉลี่ยหวั น้ำหวานของ
รวงผ้ึง และปรมิ าณน้ำผง้ึ บริสุทธิเ์ ฉลี่ย ที่ผลิตได้มีปรมิ าณใกล้เคยี งกัน โดยจะพบว่าในพ้ืนท่ตี งั้ รังผึ้งแปลงที่
4 มีปริมาณน้ำหนักเฉลีย่ หัวน้ำหวานของรวงผึ้ง และปริมาณน้ำผึ้งบริสุทธิ์เฉลี่ยมากทีส่ ุด และในพื้นทีต่ ้งั
รงั ผ้งึ แปลงที่ 1, 2 และ 3 ตามลำดับ ทงั้ น้ี สบื เน่ืองจากสภาพแวดลอ้ มในพ้ืนทตี่ ง้ั รังผงึ้ แปลงท่ี 1, 2 และ 3
อยใู่ นสภาพทโี่ ล่งแจง้ ต้นมะพร้าวมีระดบั ความสูงประมาณ 10 - 18 เมตร และพืชอาหารของผ้งึ มจี ำนวน
ไม่หลากหลาย จึงส่งผลให้มีน้ำหนักเฉลี่ยของรังผึ้งทั้งหมด น้ำหนักเฉลี่ยหัวน้ำหวานของรวงผึ้ง และ
ปรมิ าณนำ้ ผง้ึ บรสิ ทุ ธ์ิเฉล่ียท่ีลดลง แตกตา่ งจากในพ้ืนทีต่ งั้ รังผึง้ แปลงที่ 4 (ตารางท่ี 4.1)

ตารางที่ก4.1กกผลการศึกษาปริมาณผลผลิตนำ้ ผึ้งโพรงไทย

การศกึ ษาปรมิ าณผลผลิตน้ำผึ้งโพรงไทย (Mean ± SD)

พ้นื ที่ต้ังรังผึ้ง นำ้ หนกั เฉล่ยี ของรงั ผง้ึ นำ้ หนักเฉล่ียหัวนำ้ หวาน ปริมาณนำ้ ผงึ้ บริสุทธ์ิ

1) แปลงที่ 1 ท้ังหมด (กรมั ต่อรัง) ของรวงผ้ึง (กรัมตอ่ รัง) เฉลี่ย (กรมั ต่อรัง)
2) แปลงท่ี 2
3) แปลงท่ี 3 -740.00 ± 0.477a 506.05 ± 24.100a 364.34 ± 13.260a
4) แปลงที่ 4
-762.40 ± 0.547a 495.01 ± 13.910a 343.49 ± 12.730a

-260.00± 0.230ab 421.40 ± 15.540a 221.40 ± 10.980a

280.00 ± 0.303b 814.60 ± 22.810b 580.20 ± 23.370b

61

หมายเหตุก:ก1. แปลงที่ 1 คอื พน้ื ท่ตี ั้งรงั ผึง้ อำเภอทบั สะแก นางสาวนสิ านาถ มศี กั ดิ์
2. แปลงท่ี 2 คือ พืน้ ท่ีต้ังรังผ้ึงอำเภอทบั สะแก นายศกั ดา มีศกั ด์ิ
3. แปลงท่ี 3 คอื พ้นื ที่ต้งั รงั ผ้งึ อำเภอบางสะพาน นายสวาท หิรัญวงศ์
4. แปลงที่ 4 คอื พื้นที่ตัง้ รังผ้งึ อำเภอบางสะพาน นายยงยทุ ธ สุขธนะ
5. a และ b คือ แตกตา่ งอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05
6. Mean ± SD คอื คา่ เฉลีย่ เลขคณิต ± คา่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน

2. ผลการศกึ ษาคณุ ลักษณะของน้ำผ้งึ โพรงไทย
2.1 ผลการศึกษาคุณลักษณะของน้ำผึง้ โพรงไทย (สารไฮดรอกซเี มทลิ เฟอร์ฟรู อลเฉลีย่ ความชื้นเฉลี่ย

ความเปน็ กรดดา่ งเฉลย่ี และความหวานเฉล่ีย)

คำอธิบายตารางก:กจากผลการศึกษาคุณลักษณะของน้ำผึ้งโพรงไทย (สารไฮดรอกซีเมทิลเฟอร์ฟูรอลเฉล่ีย
ความชน้ื เฉล่ยี ความเป็นกรดด่างเฉลี่ย และความหวานเฉลย่ี ) พบว่าปรมิ าณสารไฮดรอกซีเมทิลเฟอร์ฟูรอลเฉลี่ย
และความเป็นกรดด่างเฉลี่ย ของน้ำผึ้งโพรงไทยในพื้นที่ตั้งรังผึ้งทุกแปลงไม่แตกต่างกันอยา่ งมนี ัยสำคัญ
ทางสถติ ิที่ระดับ 0.05 สำหรบั ความชื้นเฉลี่ย และความหวานเฉล่ียของน้ำผึ้งโพรงไทยในพ้ืนท่ีตั้งรังผึ้งทุกแปลง
แตกตา่ งกันอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ 0.05 อกี ท้งั ในพืน้ ท่ีตง้ั รงั ผึ้งแปลงที่ 1 และ 2 มีความชื้นเฉล่ีย
สูงกวา่ ในพนื้ ท่ีตัง้ รังผง้ึ แปลงท่ี 3 และ 4 จึงสง่ ผลให้น้ำผง้ึ มีความหวานเฉลีย่ ท่ตี ่ำกว่า หรือในทางตรงกันขา้ ม
ในพื้นที่ตั้งรังผึ้งแปลงที่ 3 และ 4 มีความชื้นเฉลี่ยต่ำกว่า ในพื้นที่ตั้งรังผึ้งแปลงที่ 1 และ 2 จึงส่งผลให้
น้ำผ้ึงมีความหวานเฉลย่ี ทีส่ ูงกว่า (ตารางท่ี 4.2)

ตารางที่ก4.2กกผลการศึกษาคุณลกั ษณะของน้ำผ้งึ โพรงไทย (สารไฮดรอกซเี มทิลเฟอรฟ์ ูรอลเฉล่ีย
ความชน้ื เฉลยี่ ความเปน็ กรดด่างเฉล่ีย และความหวานเฉลี่ย)

ตัวอยา่ งน้ำผึง้ การศกึ ษาคณุ ลักษณะของนำ้ ผึง้ โพรงไทยฯ (Mean ± SD)
ในพนื้ ที่
ต้ังรงั ผงึ้ สารไฮดรอกซเี มทลิ ความเปน็ ความช้ืนเฉลย่ี ความหวานเฉลย่ี
เฟอรฟ์ ูรอลเฉล่ีย กรดด่างเฉลีย่ (กรัมตอ่ 100กรมั ) (บรกิ ซ์)
1) แปลงที่ 1 (มิลลิกรัมตอ่ กิโลกรมั )
2) แปลงท่ี 2
3) แปลงที่ 3 2.22 ± 1.920a 3.54 ± 0.040a 24.21 ± 0.501a 71.40 ± 0.693a
4) แปลงที่ 4
3.89 ± 0.959a 3.53 ± 0.030a 24.19 ± 0.470a 71.37 ± 0.232a

2.22 ± 1.920a 3.50 ± 0.032a 23.45 ± 0.123b 72.40 ± 0.354b

5.00 ± 0.003a 3.50 ± 0.021a 23.43 ± 0.225b 72.53 ± 0.501b

62

หมายเหตุก:ก1. แปลงที่ 1 คือ พ้นื ท่ตี ง้ั รงั ผึง้ อำเภอทบั สะแก นางสาวนสิ านาถ มีศักด์ิ
2. แปลงที่ 2 คือ พนื้ ทีต่ ้งั รังผ้งึ อำเภอทบั สะแก นายศกั ดา มศี กั ดิ์
3. แปลงท่ี 3 คือ พืน้ ทตี่ ง้ั รงั ผึ้งอำเภอบางสะพาน นายสวาท หริ ัญวงศ์
4. แปลงท่ี 4 คอื พืน้ ทีต่ ้งั รงั ผงึ้ อำเภอบางสะพาน นายยงยุทธ สุขธนะ
5. a และ b คือ แตกตา่ งอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ทิ ี่ระดับ 0.05
6. Mean ± SD คือ คา่ เฉลีย่ เลขคณติ ± คา่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน

2.2 ผลการศึกษาคุณลักษณะของน้ำผึ้งโพรงไทย (ปริมาณน้ำตาลทั้งหมดเฉลี่ย น้ำตาลฟรักโทสเฉลย่ี
น้ำตาลกลูโคสเฉลย่ี น้ำตาลซโู ครสเฉลย่ี นำ้ ตาลมอลโทสเฉลีย่ และน้ำตาลแล็กโทสเฉล่ยี )

คำอธบิ ายตารางก:กจากผลการศกึ ษาคณุ ลักษณะของน้ำผ้ึงโพรงไทย (ปรมิ าณน้ำตาลทง้ั หมดเฉล่ยี นำ้ ตาล
ฟรักโทสเฉลี่ย น้ำตาลกลูโคสเฉลี่ย น้ำตาลซูโครสเฉลี่ย น้ำตาลมอลโทสเฉลี่ย และน้ำตาลแล็กโทสเฉลี่ย)
พบว่าน้ำผึ้งตัวอย่างในพื้นทีต่ ัง้ รงั ผึ้งทุกแปลงมีปริมาณนำ้ ตาลทั้งหมดเฉลีย่ น้ำตาลฟรักโทสเฉล่ีย น้ำตาล
กลูโคสเฉลี่ย น้ำตาลซูโครสเฉลี่ย น้ำตาลมอลโทสเฉลี่ย และน้ำตาลแล็กโทสเฉลี่ย อยู่ในปริมาณท่ีไม่
แตกตา่ งกนั อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติทีร่ ะดับ 0.05 (ตารางที่ 4.3)

ตารางที่ 4.3กกผลการศกึ ษาคุณลักษณะของน้ำผงึ้ โพรงไทย (ปริมาณน้ำตาลทง้ั หมดเฉล
และน้ำตาลแลก็ โทสเฉล่ยี )

ตวั อย่างน้ำผึ้ง ปรมิ าณน้ำตาลท้งั หมดเฉลย่ี การศกึ ษาคุณลักษณ
ในพน้ื ทต่ี ง้ั รงั ผ้ึง (กรัมต่อ 100 กรัม) น้ำตาลฟรักโทสเฉล่ยี น้ำตาลกลูโ
64.85 ± 0.511a (กรมั ต่อ 100 กรมั ) (กรัมต่อ 10
1) แปลงที่ 1 64.46 ± 0.572a
2) แปลงที่ 2 65.21 ± 0.543a 29.99 ± 0.771a 31.77 ±
3) แปลงที่ 3 65.15 ± 0.522a 29.65 ± 0.272a 31.75 ±
4) แปลงท่ี 4 29.84 ± 0.312a 32.16 ±
30.10 ± 0.144a 32.05 ±

หมายเหตุก:ก1. แปลงท่ี 1 คือ พนื้ ที่ต้ังรังผ้งึ อำเภอทบั สะแก นางสาวนสิ านาถ มีศกั ด์ิ
2. แปลงที่ 2 คอื พื้นทตี่ ั้งรังผึง้ อำเภอทบั สะแก นายศกั ดา มีศกั ดิ์
3. แปลงที่ 3 คือ พน้ื ทตี่ ้ังรังผง้ึ อำเภอบางสะพาน นายสวาท หริ ญั วงศ์
4. แปลงที่ 4 คอื พ้ืนทีต่ ้งั รงั ผึ้งอำเภอบางสะพาน นายยงยุทธ สุขธนะ
5. a และ b คือ แตกต่างอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ิท่ีระดับ 0.05
6. Mean ± SD คือ ค่าเฉล่ยี เลขคณติ ± ค่าสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

63
ลี่ย น้ำตาลฟรักโทสเฉล่ยี น้ำตาลกลโู คสเฉลี่ย นำ้ ตาลซโู ครสเฉลยี่ นำ้ ตาลมอลโทสเฉลี่ย

ณะของน้ำผึ้งโพรงไทยฯ (Mean ± SD)

โคสเฉลี่ย นำ้ ตาลซูโครสเฉลีย่ นำ้ ตาลมอลโทสเฉลย่ี น้ำตาลแล็กโทสเฉลย่ี
(กรมั ต่อ 100 กรมั )
00 กรัม) (กรมั ตอ่ 100 กรัม) (กรัมตอ่ 100 กรมั ) 0.39 ± 0.090a
0.39 ± 0.090a
0.591a 2.17 ± 0.142a 0.53 ± 0.120a 0.39 ± 0.092a
0.30 ± 0.291a
0.821a 2.17 ± 0.191a 0.50 ± 0.072a

0.773a 2.31 ± 0.059a 0.51 ± 0.271a

0.281a 2.38 ± 0.143a 0.51 ± 0.011a

63

64

2.3 ผลการศกึ ษาคุณลักษณะของน้ำผ้งึ โพรงไทย (เชอื้ Salmonella spp. และเชอ้ื Staphylococcus aureus)

คำอธิบายตารางก:กจากผลการศึกษาคุณลักษณะของน้ำผึ้งโพรงไทย (เชื้อ Salmonella spp. และเช้ือ
Staphylococcus aureus) พบว่าตวั อย่างนำ้ ผ้ึงในพืน้ ที่ตั้งรงั ผง้ึ ทกุ แปลงไมพ่ บเชอื้ ทัง้ สองชนิด (ตารางที่ 4.4)

ตารางท่ี 4.4กกผลการศกึ ษาคณุ ลักษณะของนำ้ ผึง้ โพรงไทย
(เชอ้ื Salmonella spp. และเช้ือ Staphylococcus aureus)

ตวั อย่างนำ้ ผง้ึ การศึกษาคณุ ลักษณะของน้ำผง้ึ โพรงไทยฯ (Mean ± SD)
ในพน้ื ทีต่ ง้ั รงั ผ้ึง
เช้ือ Salmonella spp. เช้อื Staphylococcus aureus
1) แปลงท่ี 1
2) แปลงที่ 2 (per 25 กรัม) (per 0.1 กรัม)
3) แปลงท่ี 3
4) แปลงที่ 4 ไม่พบ ไม่พบ

ไมพ่ บ ไม่พบ

ไม่พบ ไมพ่ บ

ไม่พบ ไม่พบ

หมายเหตุก:d1. แปลงท่ี 1 คอื พนื้ ที่ต้งั รงั ผึง้ อำเภอทับสะแก นางสาวนสิ านาถ มศี ักด์ิ
2. แปลงที่ 2 คือ พืน้ ทต่ี ั้งรังผงึ้ อำเภอทับสะแก นายศักดา มีศกั ด์ิ
3. แปลงท่ี 3 คอื พ้นื ทต่ี ง้ั รงั ผ้งึ อำเภอบางสะพาน นายสวาท หริ ัญวงศ์
4. แปลงที่ 4 คือ พ้นื ทตี่ ้ังรังผ้ึงอำเภอบางสะพาน นายยงยุทธ สุขธนะ

65

บทท่ี 5
สรปุ และอภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

กกกกกกกกกกกกการศึกษาประสิทธิภาพการผลิตน้ำผึ้งโพรงไทย (Apis cerana) ในมะพร้าวทับสะแก
(สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ : GI) กลุ่มแปลงใหญ่มะพร้าว จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ คณะผู้ศึกษาได้สรุป และ
อภิปรายผล รวมถึงมีข้อเสนอแนะในการวจิ ัยดังตอ่ ไปน้ี

สรุปและอภปิ รายผล
กกกกกกกกกกกก1. การศึกษาปรมิ าณผลผลิตนำ้ ผงึ้ โพรงไทย

การศึกษาประสิทธิภาพการผลิตน้ำผึ้งโพรงไทย (Apis cerana) ณ กลุ่มแปลงใหญ่
มะพร้าวอำเภอทับสะแก และอำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบครี ีขันธ์ รวมจำนวนทัง้ สิน้ 4 แปลง ศึกษา
ในช่วงวนั ที่ 19 มิถุนายน ถงึ วันที่ 17 กรกฎาคม 2563 โดยศกึ ษานำ้ หนักเฉลี่ยของรังผึง้ ทงั้ หมด (กรัมต่อรัง)
นำ้ หนักเฉลย่ี หัวน้ำหวานของรวงผงึ้ (กรัมต่อรงั ) และปริมาณน้ำผึ้งบริสทุ ธเิ์ ฉลย่ี (กรัมต่อรัง) หลังจากการ
เลี้ยงผึ้งโพรงไทยในพื้นที่ตั้งรังผึ้งแปลงมะพร้าวทับสะแก เป็นระยะเวลาครบจำนวน 30 วัน ปริมาณ
น้ำหนักเฉลี่ยของรังผึ้งทั้งหมด น้ำหนักเฉลี่ยหัวน้ำหวานของรวงผึ้ง และปริมาณน้ำผึ้งบริสุทธิ์เฉล่ีย
ดังตารางที่ 4.1 โดยน้ำหนักเฉลี่ยของรังผึง้ ทัง้ หมดในพ้ืนที่ตั้งรังผึ้งแปลงที่ 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ280.00 ±
0.303 กรัมต่อรัง แสดงถึงมีน้ำหนักของรังผึ้งที่เพิ่มขึ้นหลังการเลี้ยงในแปลงมะพร้าวทับสะแก
เป็นระยะเวลา 30 วัน ส่วนน้ำหนักเฉลี่ยของรงั ผึ้งทัง้ หมดในพื้นที่ตั้งรังผ้ึงแปลงที่ 1, 2 และ 3 มีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ -740.00 ± 0.477, -762.40 ± 0.547 และ -260.00 ± 0.230 กรัมต่อรัง ตามลำดับ แสดงถึง
นำ้ หนักของรังผึ้งทล่ี ดลงหลงั การเลี้ยงในพนื้ ทตี่ ้งั รงั ผง้ึ ในแปลงมะพร้าว ซึ่งจากผลการศึกษาในด้านน้ำหนัก
เฉลี่ยของรังผึ้งทั้งหมดนั้น แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งมีสาเหตุหลักจากช่วง
ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา คือ ช่วงวันที่ 19 มิถุนายนถึงวันที่ 17 กรกฎาคม 2563 ประเทศไทยเข้าสู่
ฤดูฝน โดยปกติประเทศไทยจะเริ่มต้นเข้าสู่ฤดูฝนตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม โดยมีระยะเวลา
ประมาณ 5 เดือน (ภัทราพร, 2556) และจากข้อมูลปรมิ าณน้ำฝนในช่วงการศกึ ษาพบว่าอำเภอทบั สะแกมี
ปริมาณน้ำฝนสะสม จำนวน 111 มิลลิลิตร และอำเภอบางสะพานมีปริมาณน้ำฝนสะสม จำนวน 185
มิลลิลิตร (สำนักพัฒนาอุตุนิยมวิทยา, ม.ป.ป.) ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงส่งผลให้น้ำหนักเฉลี่ยของรังผึ้ง
ทงั้ หมดหลงั การเล้ียงลดลง และผงึ้ โพรงจะมีการท้งิ รงั และแยกรงั สูง ประมาณปลี ะ 6 ครั้งต่อปี โดยจะแยก
รังมากที่สุด ตั้งแต่เดือนสิงหาคมถึงกุมภาพันธ์ ของปีถัดไป เพื่อผึ้งโพรงไทยจะไปหาแหล่งอาหารท่ี
สมบรู ณ์ อีกท้งั สว่ นใหญ่ผ้งึ จะอาศยั ในสวนมะพร้าวประมาณปลายเดือนมนี าคมถึงสงิ หาคม เป็นระยะเวลา

66

ประมาณ 6 เดอื น เพราะเนือ่ งจากมะพรา้ วจะเกิดจั่นมากกว่าช่วงเดอื นอน่ื (กลุ่มสง่ เสริมการเล้ียงผ้ึงและ-
แมลงเศรษฐกิจฯ, 2546) รวมถึงตามข้อมูลพืชอาหารของผึ้ง ดังตารางที่ก2.8 แต่อย่างไรก็ตามจากผล
การศึกษาของพื้นทีต่ ั้งรังผึ้งในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ แปลงที่ 4 มีน้ำหนักเฉลีย่ ของรังผึ้งท้ังหมดเพิ่มขนึ้
หลังการเลย้ี งในแปลงมะพร้าวทับสะแก เนอื่ งจากแปลงดังกล่าวมีการปลกู มะพร้าวเสรมิ ทดแทนมะพร้าว
รุ่นเก่า จึงส่งผลให้มะพร้าวเกิดช่อดอกหรือจั่น ท่ีมากกว่าแปลงอื่น อีกทั้งบริเวณรอบข้างปลูกพืชที่
หลากหลาย เช่น ยางพารา กลว้ ย จำปาดะ และโกโก้ เปน็ ตน้ ดังตารางที่ 2.12 จงึ เป็นสาเหตุให้มีน้ำหนัก
เฉล่ยี ของรังผึง้ ทเี่ พิ่มขึ้น นอกจากน้ีในพื้นท่ีตง้ั รงั ผึ้งแปลงที่ 1, 2 และ 3 พน้ื ทบี่ ริเวณรอบข้างส่วนใหญ่เป็น
มะพร้าว ประกอบกบั ตน้ มะพร้าวมีลักษณะคอ่ นข้างสูง และอยู่ในสภาพโลง่ แจ้ง จึงเป็นสาเหตุให้น้ำหนกั
ของรงั ผงึ้ ลดลง แต่อย่างไรก็ตามในพืน้ ที่ตงั้ รังผง้ึ ในแปลงท่ี 3 แตกต่างกันอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ
0.05 จากทั้งสามแปลง เนื่องจากแปลงดังกล่าวต้นมะพร้าวมีความสูงประมาณ 10-15 เมตร มีอายุ
ประมาณ 5-30 ปี มีการปลูกมะพร้าวทดแทนเพ่ิมเติมในลักษณะสวนผสมผสาน และพื้นที่ข้างเคียงปลกู
มะพร้าวและยางพารา จงึ ส่งผลใหผ้ ้งึ มีน้ำหนักเฉลยี่ ของรังผึ้งทง้ั หมดมีค่ามากกว่าในพ้ืนที่ตัง้ รังผงึ้ แปลงที่ 1
และ 2 ซ่ึงจะเหน็ ไดช้ ดั เจนจากขอ้ มูลทั่วไปของแปลงมะพรา้ วท่ใี ชใ้ นการศึกษา ดงั ตารางท่ี 2.12 สำหรับผล
การศึกษาน้ำหนักเฉลี่ยหัวน้ำหวานของรวงผึ้ง พบว่าน้ำหนักหัวน้ำหวานของรวงผึ้งทุกแปลงมีค่าเฉล่ีย
เท่ากับ 506.05 ± 24.100, 495.01 ± 13.910, 421.40 ± 15.540 และ 814.60 ± 22.810 กรัมต่อรัง
ตามลำดับ โดยน้ำหนักเฉลี่ยหัวน้ำหวานของรวงผึ้งในพื้นที่ตั้งรังผึ้งแปลงท่ี 4 มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ
814.60 ± 22.810 กรัมต่อรัง และจากผลการศึกษาในดา้ นน้ำหนักเฉล่ียหัวนำ้ หวานของรวงผง้ึ แตกต่างกัน
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปริมาณน้ำผึ้งบริสุทธิ์ที่ผลิตได้ทุกแปลงมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
364.34 ± 13.260, 343.49 ± 12.730, 221.40 ± 10.980 และ 580.20 ± 23.370 กรมั ต่อรัง ตามลำดับ
ซึ่งปริมาณน้ำผึ้งบริสุทธิ์เฉลี่ยในพื้นที่ตั้งรังผึ้งแปลงที่ 4 มีค่าเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ 580.20±23.370 กรัมต่อรงั
และจากผลการศึกษาในด้านปริมาณน้ำผึ้งบริสุทธ์ิแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
สำหรับการเลี้ยงผึ้งโพรงในธรรมชาติโดยปกติ ในรอบฤดูการผลิตต่อปีจะสามารถผลิตน้ำผึ้งได้ประมาณ
3 - 15 กิโลกรัมต่อรังต่อปี หรือโดยเฉลี่ยประมาณ 7 กิโลกรัมต่อรังต่อปี (สุวิทย์, ปัญญา และสาวิตรี, 2561)
จากผลการศกึ ษาทไี่ ด้พบว่า ปรมิ าณนำ้ ผึ้งท่ีได้มีปริมาณนอ้ ยกวา่ การเล้ียงผึง้ โพรงในธรรมชาติ ด้วยสาเหตุ
จากหลายปัจจัยที่สอดคล้องกับผลการศึกษาของนำ้ หนักเฉลี่ยของรังผึ้งทั้งหมดข้างต้น แต่อย่างไรก็ตาม
ปจั จุบันมีการเลี้ยงผ้งึ เพอ่ื เปน็ อาชีพเสริมในสวนมะพร้าวในอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี
(สุรไกร, อนุชิต และสุระพงศ์, 2528) และการเปรียบเทียบการจัดการการเลี้ยงผึ้งพันธุ์และผึ้งโพรงของ
เกษตรกรในจังหวัดชุมพร (วันเพ็ญ, 2553) เนื่องจากมะพร้าว (Cocos nucifera L.) เป็นพืชตัวหนึ่งที่
เป็น แหล่งอาหาร ของผึ้งที่สำคัญ มีการบานของดอกตลอดปีตั้งแต่เดือนมกราคมถึงธันวาคม

67

(Suwannapong et al., 2013 and JASMI, 2017) อีกทง้ั ดอกมะพรา้ วเป็นแหล่งโปรตีนของผึ้งที่พบมาก
ทสี่ ดุ คอื เกสรดอกมะพร้าว อยูป่ ริมาณร้อยละ 31.14 (Krishna and Patil, 2019) และจากข้อมูลการ
สำรวจเกษตรกรผเู้ ลี้ยงแมลงเศรษฐกิจรายจงั หวัด ปี 2562 ผึง้ โพรงไทย พบว่าน้ำผึง้ โพรงขนาดบรรจุ 750
มิลลิลิตรต่อขวด มีราคาจำหน่ายเฉลี่ย จำนวน 444 บาท โดยเฉพาะจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีราคา
จำหน่ายเฉลี่ย จำนวน 310 บาท (ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดชุมพร, 2562)
และเมื่อคำนวณถึงราคาจำหน่ายปริมาณน้ำผึ้งบริสุทธิ์ที่ผลิตได้ โดยเปรียบเทียบราคาจำหน่ายในพื้นที่
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทุกแปลงมีราคาจำหน่ายเท่ากับ 150.59, 141.97, 91.51 และ 239.82 บาท
ตามลำดบั ซง่ึ จะเป็นรายได้เสริมอกี ทางหนงึ่ ใหเ้ กษตรกรทีน่ อกเหนือจากการจำหน่ายมะพร้าวผลสด และ
มะพร้าวแกงเปน็ หลกั อีกท้ังเป็นผลพลอยไดแ้ ละผลติ ภัณฑใ์ หม่ทีเ่ กิดข้ึนจากมะพร้าวทบั สะแก

จากผลการศกึ ษาด้านปรมิ าณผลผลติ น้ำผง้ึ โพรงไทยในพน้ื ทต่ี งั้ รงั ผง้ึ จำนวน 4 แปลง
ที่แตกต่างกันนั้น พบว่าในพื้นที่ตั้งรังผึ้งแปลงที่ 4 อำเภอบางสะพาน มีสภาพพื้นที่แปลงปลูกมะพร้าว
ขนาดใหญ่ทส่ี ุด ต้นมะพรา้ วมีความสงู ประมาณ 10-15 เมตร มีอายปุ ระมาณ 5-30 ปี มกี ารปลูกมะพร้าว
ทดแทนต้นที่สูงขึน้ ในลักษณะสวนผสมผสาน และพื้นท่ีรอบข้างปลูกพืชชนิดตา่ งๆ ส่งผลให้ได้รบั ปริมาณ
น้ำหนักเฉลี่ยของรังผึ้งทั้งหมด น้ำหนักเฉลี่ยหัวน้ำหวานของรวงผึ้ง และปริมาณน้ำผึ้งบริสุทธิ์เฉลี่ยมาก
ท่สี ดุ ซ่ึงแตกตา่ งกบั ในพื้นทต่ี ง้ั รงั ผึง้ แปลงอ่ืน ซึ่งปลกู มะพรา้ วเปน็ พืชหลกั เพียงชนดิ เดียว จึงส่งผลให้ได้รับ
ปริมาณนำ้ หนกั เฉลย่ี ของรังผง้ึ ทัง้ หมด นำ้ หนกั เฉล่ยี หวั น้ำหวานของรวงผึ้ง และปริมาณนำ้ ผ้ึงบริสุทธิ์เฉลี่ย
นอ้ ยตามลำดับ
กกกกกกกกกกกก2. การศึกษาคุณลักษณะของน้ำผ้งึ โพรงไทย

การศึกษาคุณลักษณะของน้ำผึ้งโพรงไทย (สารไฮดรอกซีเมทิลเฟอร์ฟูรอลเฉลี่ย
ความชน้ื เฉลยี่ ความเปน็ กรดด่างเฉลย่ี และความหวานเฉล่ยี ) จากผลการศึกษาดงั ตารางท่ี 4.2 โดยผลจาก
การศึกษาในน้ำผึ้งมีปริมาณสารไฮดรอกซีเมทิลเฟอร์ฟูรอลเฉลี่ยเท่ากับ 2.22 ± 1.920, 3.89 ± 0.959,
2.22 ± 1.920 และ 5.00 ± 0.003 มิลลิกรัมต่อกโิ ลกรัม ตามลำดับ ซึ่งตามมาตรฐานสินค้าเกษตร น้ำผ้ึง
ปี 2556 และประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 211 พ.ศ. 2543 เรื่องน้ำผึ้ง กำหนดให้น้ำผึ้งต้องมี
ปริมาณสารไฮดรอกซีเมทิลเฟอร์ฟูรอล ไม่เกิน 80 มิลลิกรัมต่อ 1 กิโลกรัม (สำนักงานมาตรฐานสินค้า-
เกษตรและอาหารแหง่ ชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2556 และกระทรวงสาธารณสุข, 2543) จึงถือ
ได้ว่าน้ำผึ้งทุกตัวอย่างผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานปริมาณสารไฮดรอกซีเมทิลเฟอร์ฟูรอลที่กำหนด และ
สอดคล้องกับการศึกษาสมบตั ทิ างเคมีและการต้านอนุมลู อสิ ระของน้ำผง้ึ จากดอกไม้ต่างชนดิ ประกอบด้วย
ดอกสาบเสือ ดอกลำไย และดอกล้นิ จี่ โดยพบวา่ นำ้ ผง้ึ ดอกสาบเสอื มีปริมาณสารไฮดรอกซเี มทิลเฟอร์ฟูรอล
สูงทส่ี ดุ ในนำ้ ผึง้ ลำไย และน้ำผงึ้ ลนิ้ จี่ ตามลำดับ พบไม่เกนิ 2.5 มิลลิกรัมตอ่ 1 กิโลกรัม อีกทั้งหากมีสาร
ไฮดรอกซีเมทิลเฟอรฟ์ ูรอลในน้ำผึง้ มาก ทำให้นำ้ ผึ้งมสี ีคล้ำและรสขม (วชริ , ปิยวรรณ และธวชั ชัย, 2560)

68

และปรมิ าณสารไฮดรอกซเี มทิลเฟอร์ฟูรอลในน้ำผึง้ ทุกแปลง มคี า่ ต่ำกวา่ การศึกษากระบวนการเก็บรักษา
น้ำผึ้งโพรงไทย (Apis cerana) ต่อการตกผลึก จากกลุ่มแปลงใหญ่แมลงเศรษฐกิจในพื้นที่ภาคใต้
ของชนัญพร และคณะ (2562) เพราะเนือ่ งจากน้ำผึ้งทุกแปลงเป็นน้ำผึ้งท่ีสดใหม่ และยังไม่ผา่ นกระบวน
เก็บรักษาเปน็ ระยะเวลานาน จึงทำให้มีปริมาณสารไฮดรอกซีเมทิลเฟอร์ฟูรอลในปริมาณทีต่ ่ำ นอกจากน้ี
ผลการวิเคราะห์ทางสถิตพิ บวา่ ปริมาณสารไฮดรอกซีเมทิลเฟอรฟ์ ูรอล ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง
สถิตทิ ร่ี ะดับ 0.05 แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามน้ำผึง้ มะพรา้ วหากไดร้ บั การกระตุ้นจากอุณหภูมิที่สงู แสงอาทิตย์ และ
วิธีการเก็บรักษาที่ไม่เหมาะสม ย่อมส่งผลให้สีของน้ำผึ้งเกิดการเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็วจนกระท่ัง
สีเข้มขึ้น (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2557) อีกทั้งสอดคล้องกับการศึกษาของ Ghazali and Sin (1986)
ศึกษาผลของน้ำผึง้ มะพร้าว ที่มีผลจากอุณหภูมิในการเกบ็ รักษาต่อคุณสมบัติทางเคมีฟิสิกส์ โดยการเกบ็
รักษาน้ำผึ้งที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 18 สัปดาห์ ระดับสี ของน้ำผึ้งจะเกิดการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมากกว่าการเกบ็ รักษาที่อุณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส และมีผลต่อการลดระดับ
ของปรมิ าณนำ้ ตาลกลโู คส น้ำตาลฟรกั โทส และนำ้ ตาลซูโครส

การศึกษาความเป็นกรดด่าง จากผลการศึกษาดังตารางที่ 4.2 พบว่าในน้ำผึ้งมคี วาม
เป็นกรดด่างเฉลี่ยเท่ากับ 3.54 ± 0.040, 3.53 ± 0.030, 3.50 ± 0.032 และ 3.50 ± 0.021 ตามลำดับ
และความเป็นกรดด่างเฉลยี่ ในน้ำผึ้ง ไม่แตกตา่ งกันอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั 0.05 สำหรับค่าความ
เป็นกรดด่างของน้ำผึ้งโดยปกติจะมีค่าอยู่ระหว่าง 3.2 - 3.5 (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2557) และ
สอดคล้องกับการศึกษาคุณลกั ษณะทางเคมีและคุณภาพของน้ำผ้ึงจากหลายแหล่ง พบว่าน้ำผึ้งมคี ่าความ
เป็นกรดด่าง อยู่ระหว่าง 3.40 - 6.10 (Sohaimy, Masry and Shehata, 2015) นอกจากนี้สอดคล้อง
การศึกษาของชนญั พร และคณะ (2562) ในน้ำผ้งึ โพรงไทย มีความเป็นกรดดา่ งเฉลี่ยเทา่ กับ 3.60 ± 0.21
แต่อย่างไรก็ตามความเปน็ กรดด่างมีความแตกตา่ งกนั ข้ึนอยกู่ ับแหล่งพืชอาหารของผ้งึ เชน่ น้ำผึ้งสาบเสือ
นำ้ ผึง้ ลำไย และน้ำผ้งึ ลนิ้ จี่ มีความเปน็ กรดด่างเทา่ กับ 4.03 ± 0.000, 4.09 ± 0.010 และ 4.08 ± 0.000
ตามลำดบั (วชิร, ปิยวรรณ และธวัชชัย, 2560)

การศึกษาความชื้น จากผลการศึกษาดังตารางที่ 4.2 พบว่าในน้ำผึ้งมคี วามชื้นเฉลี่ย
เท่ากับ 24.21 ± 0.501, 24.19 ± 0.470, 23.45 ± 0.123 และ 23.43 ± 0.225 กรัมต่อ 100 กรัม
ตามลำดับ และความชื้นเฉลี่ยในน้ำผึ้งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยตาม
มาตรฐานสินค้าเกษตร น้ำผึ้ง ปี 2556 (สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวง-
เกษตรและสหกรณ์, 2556) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 211 พ.ศ. 2543 เรื่องน้ำผึ้ง
(กระทรวงสาธารณสุข, 2543) และมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน น้ำผึ้ง ปี 2557 (สำนักงานมาตรฐาน-
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม, 2547) กำหนดให้น้ำผึ้งต้องมีความชื้นไม่เกินร้อยละ 21
และการศึกษาของชนัญพร และคณะ (2562) ศกึ ษากระบวนการเก็บรกั ษานำ้ ผ้งึ โพรงไทย (Apis cerana)
ต่อการตกผลึก จากกลุ่มแปลงใหญ่แมลงเศรษฐกิจในพื้นที่ภาคใต้ พบว่าน้ำผึ้งโพรงไทยมีความชื้นเฉลี่ย

69

เท่ากับ 16.27 ± 0.390 กรัมต่อ 100 กรัม รวมถึงการศึกษาคุณลักษณะทางเคมีและคุณภาพของน้ำผึ้ง
จากหลายแหล่ง พบว่าน้ำผึ้งมีค่าความชื้นอยู่ระหว่างร้อยละ 14.73 - 18.31 (Sohaimy, Masry and
Shehata, 2015) โดยจากผลการศึกษาท่ไี ด้น้ำผ้ึงทกุ ตัวอย่างมีค่าความชืน้ สูงกว่านำ้ ผง้ึ ทั่วไปในสภาพปกติ
อีกทั้งน้ำผึ้งไม่ได้ผ่านกระบวนการบ่มหรือไล่ความชื้น จึงส่งผลให้น้ำผึ้งมีความชื้นสูงเกินค่ามาตรฐาน
ซึ่งในช่วงการศึกษาประเทศไทยเข้าสู่ฤดูฝน ตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม โดยมีระยะเวลา
ประมาณ 5 เดือน (ภัทราพร, 2556) จึงส่งผลทำให้น้ำผึ้งทุกตัวอย่างเกิดความชื้นสูง แต่อย่างไรก็ตามใน
สภาพปกติธรรมชาติผ้ึงจะไล่ความชื้นให้น้อยกว่ารอ้ ยละ 20 จึงปิดฝาหลอดรวง ส่งผลให้น้ำผึง้ มีความชน้ื
ค่อนข้างต่ำ (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2556) ซึ่งการทำให้น้ำผึ้งตัวอยา่ งท่ีศึกษาผ่านตามเกณฑ์มาตรฐาน
ดว้ ยวธิ ธี รรมชาตนิ ั้นต้องเลี้ยงผ้งึ ในฤดกู าลท่ีเหมาะสม และใหผ้ งึ้ ปิดฝาหลอดรวงสนิท รวมถงึ การใช้วิธีการ
บ่มหรือไลค่ วามชืน้ ให้ลดลงไมเ่ กินรอ้ ยละ 21 จึงจะได้นำ้ ผึ้งทผี่ ่านตามเกณฑม์ าตรฐานและมีคณุ ภาพ

การศกึ ษาความหวาน จากผลการศึกษาดังตารางที่ 4.2 พบวา่ ในน้ำผง้ึ มีความหวานเฉลี่ย
เท่ากับ 71.40 ± 0.693, 71.37 ± 0.232, 72.40 ± 0.354 และ 72.53 ± 0.501 บริกซ์ ตามลำดับ และ
ความหวานเฉลี่ยในน้ำผึ้งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยค่าความหวานเฉลี่ยใน
นำ้ ผึง้ ท่ีได้มรี ะดับทต่ี ำ่ กว่านำ้ ผึ้งโพรงไทยทีเ่ ล้ยี งในสภาพธรรมชาติทั่วไป และนำ้ ผงึ้ ทานตะวนั ทมี่ ีความหวาน
เฉลี่ยเท่ากับ 78.20 ± 0.28 และ 78.70 บริกซ์ (อัญชลี และคณะ, 2549 และชนัญพร และคณะ, 2562)
รวมถึงการศกึ ษาความหวานเฉลี่ยในน้ำผึง้ แตกตา่ งกนั อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ิท่ีระดับ 0.05 ซึ่งสามารถ
แบ่งระดับความหวานเฉลี่ยได้ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 พื้นที่ตั้งรังผึ้งแปลงที่ 1 และ 2 อำเภอทับสะแก
และกลุ่มที่ 2 พื้นที่ต้ังรังผึง้ แปลง 3 และ 4 อำเภอบางสะพาน โดยค่าความหวานเฉลีย่ ของตัวอย่างน้ำผึง้
กลุ่มที่ 2 มีระดับสูงกว่าความหวานเฉลี่ยของตัวอย่างน้ำผึ้งกลุ่มที่ 1 และโดยปกติในธรรมชาติปริมาณ
ความชื้นในน้ำผึ้งจะสอดคล้องกบั ปริมาณน้ำที่เจือปนอยู่ในน้ำผึ้ง (สมนึก, 2557) จึงส่งผลให้ความหวาน
และความชนื้ ในน้ำผ้งึ เกิดการแปรผกผนั (Inverse variation) ซึ่งกันและกนั ดงั จะเหน็ ได้จากความชื้นเฉลี่ย
ของตัวอย่างนำ้ ผึง้ กลุ่มที่ 1 มีระดับที่สูงกว่ากลุม่ ท่ี 2 จึงส่งผลใหน้ ้ำผ้ึงกลุม่ ที่ 2 มีความหวานเฉลี่ยสูงกว่า
กลมุ่ ท่ี 1 และแตกต่างกันอย่างมนี ยั สำคัญทางสถติ ิทรี่ ะดบั 0.05

การศึกษาคุณลักษณะของน้ำผึ้งโพรงไทย (ปริมาณน้ำตาลทั้งหมดเฉลี่ย น้ำตาล
ฟรักโทสเฉล่ีย น้ำตาลกลูโคสกลูโคสเฉลีย่ น้ำตาลซูโครสเฉลี่ย น้ำตาลมอลโทสเฉล่ีย และน้ำตาลแล็กโทสเฉล่ยี )
พบว่าการศึกษาปริมาณน้ำตาลทั้งหมด จากผลการศึกษาดังตารางที่ 4.3 ในน้ำผึ้งทุกตัวอย่างมีปริมาณ
น้ำตาลทั้งหมดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 64.85 ± 0.511, 64.46 ± 0.572, 65.21 ± 0.543 และ 65.15 ± 0.522
กรัมตอ่ 100 กรัม ตามลำดับ และปริมาณนำ้ ตาลท้งั หมดเฉลยี่ ในน้ำผงึ้ ไมแ่ ตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง
สถิติที่ระดับ 0.05 สำหรับองค์ประกอบในน้ำผึ้งนั้น โดยปกติประกอบด้วยน้ำตาลรวมทั้งหมดถึงร้อยละ
75.90 (กรมสง่ เสริมการเกษตร, 2556) แต่อยา่ งไรกต็ ามปริมาณน้ำตาลทง้ั หมดในน้ำผ้ึงจะข้ึนอยู่กับแหล่ง
อาหารของผึ้ง ซึ่งในการศึกษาของ Suwannapong et al. (2013) พบว่าผึ้งโพรงไทยเกบ็ เกสรมาจากพืช

70

จำนวน 11 ชนิด โดยผ้งึ โพรงไทยมกี ารเก็บเกสรจากมะพร้าว ซึง่ เปน็ แหลง่ ผลิตเกสรและน้ำหวานตลอดปี
ให้แกผ่ ึ้ง (สัมฤทธิ์, 2559) นอกจากน้ีในนำ้ หวานของมะพร้าวดังตารางท่ี 2.11 มอี งค์ประกอบของน้ำตาล
กลูโคส รอ้ ยละ 2.53 นำ้ ตาลฟรกั โทส รอ้ ยละ 3.84 และน้ำตาลซูโครส รอ้ ยละ 6.91 จึงส่งผลให้ในน้ำผ้ึงมี
ปริมาณน้ำตาลทั้งหมดเฉล่ยี ในปรมิ าณท่ีสงู กวา่ ร้อยละ 60 ทเี่ ป็นองคป์ ระกอบ

การศึกษาปริมาณน้ำตาลฟรักโทส จากผลการศึกษาดังตารางท่ี 4.3 พบว่าในน้ำผ้งึ มี
ปริมาณน้ำตาลฟรักโทสมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 29.99 ± 0.771, 29.65 ± 0.272, 29.84 ± 0.312 และ 30.10
± 0.144 กรัมต่อ 100 กรัม ตามลำดับ และปริมาณน้ำตาลฟรักโทสเฉลี่ยในน้ำผึ้งไม่แตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยจากการศึกษาของชนัญพร และคณะ (2562) พบปริมาณน้ำตาล
ฟรักโทสในนำ้ ผึ้งโพรงไทยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 38.43 ± 1.370 กรมั ต่อ 100 กรมั และการศึกษาของ Venir,
Spaziani and Maltini (2010) ศึกษาลักษณะทางกายภาพและองค์ประกอบของน้ำผึ้งจาก Tarassaco
ของประเทศอิตาลี พบว่าในน้ำผึ้งมีน้ำตาลฟรกั โทสจำนวน ร้อยละ 37.40 ± 0.66 ดังนั้นปริมาณน้ำตาล
ฟรักโทสในตัวอยา่ งนำ้ ผง้ึ ทีศ่ กึ ษานน้ั มีอยู่ในปริมาณทต่ี ่ำกว่านำ้ ผง้ึ โพรงท่เี ลี้ยงในสภาพธรรมชาตทิ ัว่ ไป และ
น้ำผ้ึงของต่างประเทศเพียงเล็กน้อย

การศึกษาปริมาณน้ำตาลกลูโคส จากผลการศึกษาดังตารางที่ 4.3 พบว่าในน้ำผึ้งมี
ปริมาณน้ำตาลกลูโคสมคี ่าเฉลี่ยเท่ากับ 31.77 ± 0.591, 31.75 ± 0.821, 32.16 ± 0.773 และ 32.05 ±
0.281 กรัมต่อ 100 กรัม ตามลำดับ และปริมาณน้ำตาลกลูโคสเฉลี่ยในน้ำผึ้งไม่แตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยจากการศึกษาของชนัญพร และคณะ (2562) พบปริมาณน้ำตาล
กลูโคสในน้ำผึ้งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 34.49 ± 0.750 กรัมต่อ 100 กรมั รวมถงึ การศึกษาของ Venir, Spaziani and
Maltini (2010) พบว่าในน้ำผึ้งมีน้ำตาลกลูโคส ร้อยละ 32.57 ±1.33 ดังนั้นปรมิ าณน้ำตาลกลูโคสจากผล
การศึกษามีอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับการศึกษาอื่น หากพิจารณาถึงอัตราส่วนน้ำตาลกลูโคสต่อน้ำตาล
ฟรกั โทสของนำ้ ผง้ึ ในการศึกษา พบว่ามีอตั ราสว่ นท่เี กินกว่าร้อยละ 60 ของนำ้ หนกั ตามข้อกำหนดของ
มาตรฐานสินค้าเกษตร น้ำผึ้ง ปี 2556 (สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2556) แตอ่ ย่างไรก็ตามหากพิจารณาถงึ อัตราสว่ นน้ำตาลกลูโคสต่อน้ำตาล
ฟรักโทสในน้ำผึ้งตัวอย่างทุกแปลง พบว่ามีปริมาณน้ำตาลกลูโคสที่สูงกว่าปริมาณน้ำตาลฟรักโทส ซึ่งหาก
สัดส่วนเป็นไปตามขอ้ มูลดังกล่าวข้างต้น อาจสง่ ผลใหน้ ้ำผงึ้ เกิดการตกผลึกน้ำตาล (Crystallization of honey)
หรอื แคนดี้ ฮันนี่ (Candied Honey) ได้เรว็ ขน้ึ โดยในประเทศไทยจะเกดิ ขน้ึ กบั น้ำผง้ึ ทานตะวนั และน้ำผึ้ง
ลิ้นจี่ เป็นตน้ (ศักรนิ ทร,์ 2548. อญั ชลี และคณะ, 2549 และสมนกึ , 2557)

การศึกษาปริมาณน้ำตาลซูโครส จากผลการศึกษาดังตารางที่ 4.3 พบว่าในน้ำผึ้งมี
ปริมาณน้ำตาลซโู ครสมีค่าเฉล่ียเทา่ กบั 2.17 ± 0.142, 2.17 ± 0.191, 2.31 ± 0.059 และ 2.38 ± 0.143
กรัมต่อ 100 กรัม ตามลำดับ และปริมาณนำ้ ตาลซูโครสเฉล่ียในนำ้ ผึ้งไมแ่ ตกต่างกันอย่างมีนัยสำคญั ทาง
สถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 211 พ.ศ. 2543 เรื่องน้ำผึ้ง

71

(กระทรวงสาธารณสุข, 2543) มาตรฐานสินค้าเกษตร น้ำผึ้ง ปี 2556 (สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตร-
และอาหารแห่งชาติกระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2556) และมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน น้ำผึ้ง ปี 2557
(สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม, 2547) กำหนดให้น้ำผึ้งมีปริมาณ
น้ำตาลซูโครสได้ไม่เกินร้อยละ 5 ของนำ้ หนกั รวมถึงสอดคลอ้ งกับการศึกษาสมบัติทางเคมี และการตา้ น
อนุมูลอิสระของน้ำผึ้งจากดอกไม้ต่างชนิดกัน โดยพบว่าน้ำผึ้งสาบเสือพบปริมาณน้ำตาลซูโครส ร้อยละ
2.42 ± 0.09 น้ำผ้ึงลำไยไม่พบนำ้ ตาลซโู ครส และนำ้ ผงึ้ ลิน้ จ่ีพบปริมาณนำ้ ตาลซูโครสร้อยละ 1.29 ± 0.10
(วชริ , ปิยวรรณ และธวัชชยั , 2560) อกี ทง้ั สอดคลอ้ งกบั การศกึ ษาของชนัญพร และคณะ (2562) พบวา่ ใน
นำ้ ผ้งึ โพรงไทยมีปรมิ าณน้ำตาลซโู ครสเฉลยี่ เทา่ กบั 0.75 ± 0.820 กรมั ตอ่ 100 กรัม

การศึกษาปริมาณน้ำตาลมอลโทส จากผลการศึกษาดงั ตารางที่ 4.3 พบว่าในน้ำผ้งึ มี
ปริมาณน้ำตาลมอลโทส มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.53 ± 0.120, 0.50 ± 0.072, 0.51 ± 0.271 และ 0.51
± 0.011 กรัมต่อ 100 กรัม ตามลำดับ และปริมาณน้ำตาลมอลโทสเฉลี่ยในน้ำผึ้งไม่แตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งจากผลการศึกษาที่ได้พบปริมาณน้ำตาลมอลโทสน้อยกว่าการศึกษา
ของชนัญพร และคณะ (2562) โดยในน้ำผึ้งมีปริมาณน้ำตาลมอลโทสเฉลี่ยเพียง 1.53 ± 0.350 กรัมต่อ
100 กรัม

การศึกษาปริมาณน้ำตาลแล็กโทส จากผลการศึกษาดังตารางที่ 4.3 พบว่าในน้ำผ้งึ มี
ปริมาณน้ำตาลแล็กโทส มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.39 ± 0.090, 0.39 ± 0.090, 0.39 ± 0.092 และ 0.30
± 0.291 กรัมต่อ 100 กรัม ตามลำดับ และปริมาณน้ำตาลแล็กโทสเฉลี่ยในน้ำผึ้งไม่แตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญทางสถติ ิท่ีระดบั 0.05 จากการศึกษาท่ไี ด้พบปริมาณนำ้ ตาลแล็กโทสเพียงเล็กน้อยในทุกตัวอย่าง
ซ่ึงแตกต่างจากการศึกษาของชนญั พร และคณะ (2562) ที่ไมพ่ บนำ้ ตาลแล็กโทสในตวั อยา่ งน้ำผึง้ โพรงไทย
ที่เลี้ยงในสภาพธรรมชาติท่ัวไป แต่อย่างไรก็ตามปริมาณน้ำตาลแล็กโทสที่พบ ในปริมาณที่น้อยเมือ่ เทยี บ
กับปริมาณนำ้ ผ้ึงทั้งหมด

การศึกษาคุณลักษณะของน้ำผึ้งโพรงไทย (เชื้อ Salmonella spp. และเช้ือ
Staphylococcus aureus) จากผลการศึกษาดังตารางท่ี 4.4 พบว่าในน้ำผึ้งทุกตัวอย่างไม่พบเชื้อทั้งสองชนิด
โดยตามมาตรฐานสินค้าเกษตร น้ำผึ้ง ปี 2556 กำหนดต้องไม่พบเชื้อ Salmonella spp. ในน้ำผึ้ง 25
กรัมหรือมิลลิลิตร และไม่พบเชื้อ Staphylococcus aureus ในน้ำผึ้ง 0.1 กรัมหรือมิลลิลิตร และ
สอดคลอ้ งกับการศึกษาของชนญั พร และคณะ (2562) ทีไ่ ม่พบเชือ้ ทัง้ สองชนิดในนำ้ ผ้ึงโพรงไทย

จากผลการศึกษาในด้านคุณลักษณะของน้ำผึ้งโพรงไทยนั้น โดยศึกษาปริมาณสาร
ไฮดรอกซเี มทลิ เฟอร์ฟูรอล ความชื้น ความเป็นกรดด่าง ปริมาณน้ำตาลทั้งหมด น้ำตาลฟรักโทส น้ำตาล
กลูโคส น้ำตาลซูโครส น้ำตาลมอลโทส และน้ำตาลแล็กโทส ความหวาน เชื้อ Salmonella spp. และ
Staphylococcus aureus พบว่าปริมาณสารไฮดรอกซีเมทิลเฟอร์ฟูรอลเฉลี่ย ความเป็นกรดด่างเฉล่ีย
ปริมาณน้ำตาลทั้งหมดเฉลี่ย ปริมาณน้ำตาลฟรักโทสเฉลี่ย ปริมาณน้ำตาลกลูโคสเฉลี่ย ปริมาณน้ำตาล

72

ซโู ครสเฉลี่ย ปริมาณนำ้ ตาลมอลโทสเฉล่ยี และปริมาณน้ำตาลแล็กโทสเฉลยี่ เช้ือ Salmonella spp. และ
Staphylococcus aureus เป็นไปตามข้อกำหนดของคุณภาพน้ำผึ้ง นอกจากน้ีผลการศึกษาความชื้นเฉลย่ี
ในน้ำผึ้งทุกแปลง พบปัญหาปริมาณความชื้นเกินร้อยละ 21 อีกทั้งปริมาณความชื้นที่มาก จึงส่งผลต่อ
ปริมาณความหวานในนำ้ ผึง้ ทีไ่ ดใ้ นทุกแปลง
กกกกกกกกกกกกดังนั้นจากผลการศึกษาประสิทธิภาพการผลิตน้ำผึ้งโพรงไทย (Apis cerana)
ในมะพร้าวทับสะแก (สิง่ บง่ ชท้ี างภูมิศาสตร์ : GI) กล่มุ แปลงใหญม่ ะพรา้ ว จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในด้าน
ปริมาณผลผลิตน้ำผงึ้ โพรงไทยนัน้ ดังตารางที่ 4.1 พบว่าปริมาณผลผลิตน้ำผึ้งโพรงไทยในพื้นท่ีต้ังรังผึ้งท้ัง
4 แปลง มปี ริมาณทน่ี ้อย เนือ่ งด้วยปัจจยั ทางด้านสภาพแวดล้อมในพน้ื ที่ตงั้ รงั ผึ้งแปลงที่ 1, 2 และ 3 โดย
ในพื้นทส่ี ว่ นใหญป่ ลกู มะพรา้ วในสภาพโลง่ แจ้ง และไม่มีพชื ชนิดอ่นื เสริมในช่วงระยะเวลาท่มี ะพร้าวไมอ่ อก
ช่อดอกหรือจั่น ซึ่งถือเป็นแหล่งอาหารสำคัญของผึ้งโพรงไทย ประกอบกับช่วงระยะเวลาในการศึกษา
ไมเ่ หมาะสม คือ เข้าสู่ฤดูฝน จึงมผี ลต่อปรมิ าณผลผลติ นำ้ ผึ้งโพรงไทยทไ่ี ด้รับ สำหรบั ในกรณกี ารเล้ียงหรือ
ส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงในแปลงมะพร้าวเพื่อเป็นอาชีพเสริมนั้น สามารถปฏิบัติได้ แต่ควรคำนึงถึง
สภาพแวดล้อมในการเลยี้ งผ้ึงโพรงไทย ให้มีลักษณะรม่ รนื่ ไมโ่ ล่งแจง้ มแี หล่งอาหารของผึง้ ทสี่ มบรู ณ์ ไม่มี
ศตั รรู บกวน และควรเลีย้ งในช่วงระยะเวลาและฤดกู าลทเ่ี หมาะสม ย่อมส่งผลใหไ้ ดร้ ับปรมิ าณผลผลิตจาก
ผึ้งที่เพิ่มมากยิ่งขึ้น และในด้านคุณลักษณะของน้ำผึ้งโพรงไทยที่ได้ ดังตารางที่ 4.2-4.4 พบว่าปริมาณ
สารไฮดรอกซีเมทลิ เฟอร์ฟรู อล ความเปน็ กรดด่าง ปริมาณน้ำตาลทั้งหมดที่ประกอบด้วย นำ้ ตาลฟรักโทส
น้ำตาลกลูโคส น้ำตาลซูโครส น้ำตาลมอลโทส และน้ำตาลแล็กโทส เชื้อ Salmonella spp. และ
Staphylococcus aureus เป็นไปตามข้อกำหนดลักษณะพน้ื ฐานของน้ำผึ้ง แตน่ ้ำผ้งึ ตัวอย่างทุกแปลง
พบขอ้ จำกดั ในด้านความชื้นในปรมิ าณทีส่ งู กวา่ ขอ้ กำหนด แตอ่ ยา่ งไรก็ตามหากเก็บน้ำผง้ึ ในระยะเวลาท่ี
เหมาะสม อาทิ หลอดรวงผึ้งปิดสนิทหมด และมีการบ่มไล่ความชื้นในน้ำผึ้ง ย่อมส่งผลให้ได้น้ำผึ้งที่มี
คุณภาพผ่านตามข้อกำหนด ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงแนวโน้มจากผลการศึกษาในด้านปริมาณผลผลิต และ
คุ ณ ลั ก ษ ณ ะของน้ำผึ้งโพรงไทยที่เลี้ยงในแปลงมะพร้าวทับสะแก โดยปฏิบัติด้านการเลี้ยงใน
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม และระยะเวลาที่เหมาะสม ถูกต้องตามหลักวิชาการ ย่อมสามารถผลิตน้ำผึ้ง
มะพร้าวทับสะแกทีม่ ีคุณภาพและตรงตามมาตรฐาน เพ่อื เปน็ สินคา้ ชนิดใหม่ท่ีมเี อกลักษณ์ทางภูมิศาสตร์
อีกท้ังชว่ ยเสรมิ สร้างรายได้ใหแ้ ก่เกษตรกรเพ่มิ มากขนึ้

73

ข้อเสนอแนะ
กกกกกกกกกกกกการศึกษาประสิทธิภาพการผลิตน้ำผึ้งโพรงไทย (Apis cerana) ในมะพร้าวทับสะแก
(สิ่งบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ : GI) กลุ่มแปลงใหญ่มะพร้าว จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีข้อเสนอแนะจากการวิจยั
ดงั น้ี
กกกกกกกกกกกก1. การส่งเสริมอาชีพด้านการเลี้ยงผึ้งโพรงไทยในพื้นที่แปลงปลูกมะพร้าวทับสะแก
จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์ สามารถส่งเสริมแกเ่ กษตรกรได้ โดยตอ้ งคำนงึ ถงึ สภาพแวดลอ้ มทีเ่ หมาะสมในด้าน
ต่างๆ ของการเลี้ยงผึ้งโพรง เช่น พื้นที่มีความร่มรื่นและไม่โล่งแจ้งเกินไป มีความสมบูรณ์ของพืชอาหาร
และไม่มศี ตั รูผง้ึ ในธรรมชาติรบกวน อีกท้งั ควรเล้ียงในฤดกู าลหรอื ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อให้ได้รับ
ผลผลิต ในปริมาณมากและมีคณุ ภาพ
กกกกกกกกกกกก2. การรวมกลุ่มของเกษตรกรแปลงใหญ่มะพร้าว หรือเกษตรกรที่มีความสนใจในการ
เลี้ยงผึ้ง เพื่อเพิ่มเติมกิจกรรมส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงผึ้งโพรงไทยในแปลงมะพร้าวทับสะแกให้เห็นเป็น
รูปธรรม อีกทั้งการส่งเสริมองค์ความรู้ดา้ นการเลี้ยงผึง้ เฉพาะด้านให้แก่เกษตรกรใหค้ รอบคลุมในทุกดา้ น
อาทิ ด้านกระบวนการทางชีววิทยาของผึง้ ดา้ นการเลี้ยงการจัดการที่เหมะสม ด้านสุขลักษณะข้อกำหนด
หรอื กฎหมายตา่ งๆ และดา้ นการบริหารจัดการกลุ่ม เปน็ ตน้ ท่จี ำเป็นตอ่ กระบวนการเลีย้ งผึง้ กระบวนการ
จัดการผลผลิตให้ได้คุณภาพ และกระบวนการกลุ่ม รวมถึงระบบการผลิตให้เหมาะสมต่อความต้องของ
การตลาด
กกกกกกกกกกกก3. หน่วยงานของรฐั บาล อาทิ สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานเกษตรอำเภอ
ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีด้านแมลงเศรษฐกิจ กรมปศุสัตว์ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต้องเป็นผู้สนับสนุนกลุ่ม
เกษตรกร เมื่อเกิดผลผลติ น้ำผึ้งจากมะพร้าวขึ้น และเน้นยำ้ ให้เกษตรกรผู้เลี้ยงผ้ึงหรอื กลุ่มผู้เลี้ยงผึ้งโพรง
ควรได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มผึ้ง
(Good agricultural practices for bee farm : GAP) รวมถึงระบบบริหารจัดการกลุ่มให้เกิดความ
เขม้ แข็ง เช่น การเขา้ ถึงแหล่งเงนิ ทุน ระบบตรวจสอบยอ้ นกลบั และการสรา้ งเครอื ขา่ ยเกษตรกร เป็นต้น
กกกกกกกกกกกก4. การสรา้ งอัตลักษณแ์ ละประวัติ/ ขอ้ มลู ของผลติ ภัณฑ์น้ำผึง้ มะพรา้ วทับสะแก ให้เป็น
ทรี่ จู้ กั ในรูปของบรรจุภณั ฑห์ รอื ฉลากสนิ คา้ ทห่ี ลากหลายดงึ ดูดใจผู้บริโภค และการเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์
สินค้าใหเ้ ป็นท่รี จู้ กั ในรปู แบบตา่ งๆ อาทิ สื่อออนไลนท์ ีผ่ บู้ ริโภคสามารถเข้าถึงข้อมลู ได้งา่ ย
กกกกกกกกกกกก5. การลดต้นทุนในกระบวนการผลิตจากรูปแบบการเลี้ยงผึ้งโพรงไทย โดยสามารถใช้
วสั ดุท่ีตนเองมีในทอ้ งถนิ่ เพ่ือมาผลิตรงั เล้ียงผึ้ง อาทิ การใชร้ งั ธรรมชาตทิ ผี่ ลติ จากไมม้ ะพร้าวและห่อหุ้ม
ดว้ ยใบมะพรา้ ว และการใชเ้ สาต้ังรังเล้ยี งโดยใช้ไมใ้ นธรรมชาตทิ ดแทน เป็นตน้

74

กกกกกกกกกกกก6. การเน้นย้ำให้เกษตรกรรักษาคุณภาพผลผลิตและคุณภาพน้ำผึ้งให้เป็นไปตาม
ข้อกำหนดต่างๆ อาทิ มาตรฐานสินค้าเกษตร น้ำผึ้ง ปี 2556 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2543
และมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ชุมชน น้ำผึ้ง ปี 2547 เป็นตน้
กกกกกกกกกกกก7. การสร้างนกั วิจัยระดับชุมชนในกล่มุ เกษตรกรผู้เลย้ี งผึ้ง สำหรบั เปน็ กล่มุ หรือเครอื ข่าย
การบนั ทกึ ขอ้ มลู ทสี่ ำคญั ในการเล้ียงผึง้ โพรง อาทิ พืชอาหาร สภาพอากาศ สภาพแวดล้อม การใช้สารเคมี
และโรคระบาดในผึง้ เป็นต้น ที่มีความผันแปรในแต่ละปี โดยข้อมูลที่ได้นี้จะเป็นประโยชนเ์ ฉพาะเจาะจง
ของในพื้นที่นัน้ ซึ่งก่อให้เกิดประโยชนใ์ นหลายๆ ด้าน เช่น การคาดการณ์ผลผลติ การอนุรักษพ์ ชื อาหาร
ของผ้งึ การจัดการผลผลติ ให้สัมพนั ธก์ ับความต้องการของตลาด และการสร้างงานวิจยั เชงิ ชมุ ชนในกลุ่มผู้
เลี้ยงผึ้งโพรงให้เกิดนวัตกรรมทีเ่ หมาะสมต่อการนำมาใช้ประโยชน์ เป็นต้น รวมถึงการนำเยาวชนเขา้ มา
เรียนร้งู าน เพ่อื เปน็ กำลงั หลกั ทสี่ ำคญั ของกลุม่ ตอ่ ไปในอนาคต
กกกกกกกกกกกก8. การปรับปรงุ พนั ธกุ รรมหรอื คดั เลอื กพนั ธ์ุผง้ึ โพรงไทย ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพแวดล้อม
ท่ีจำกัด ในดา้ นการทิ้งรงั ความดรุ า้ ย และปรมิ าณผลผลติ เป็นตน้
กกกกกกกกกกกก9. การจำแนกชนดิ ของละอองเกสรพืชทีเ่ จือปนอยูใ่ นน้ำผึ้งโพรงไทย ให้ชัดเจนถึงชนิด
พืชหลัก และพชื รองอย่ใู นปริมาณเท่าใด เพอ่ื เปน็ การรับรองชนดิ ของนำ้ ผ้ึง
กกกกกกกกกกกก10. การสร้าง/ ประดิษฐ์เครื่องมือหรืออุปกรณ์ ในการบ่มหรือไล่ความชื้นในน้ำผึ้ง
ขนาดครัวเรือน เพื่อลดปัญหาความชื้นในน้ำผึ้งที่สูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน และลดการสูญเสียคุณค่าทาง
อาหารและโภชนาการ
กกกกกกกกกกกก11. การเพิ่มเติมขั้นตอนการศึกษาคุณลักษณะของน้ำผึ้งตามมาตรฐานสินค้าเกษตร
(2556) ในด้านวัตถุเจืออาหาร ด้านสารพิษตกค้าง ด้านสารปนเปื้อน ด้านยารักษาสัตว์ตกค้าง และด้าน
สุขลักษณะ ให้ครอบคลุมตามมาตรฐาน รวมถึงการศึกษาอ่ืนๆ เพิ่มเติม อาทิ สารสำคัญ สารหอมระเหย
คุณค่าทางอาหารและโภชนาการ คณุ สมบัติต้านอนุมลู อิสระ คา่ ดัชนนี ้ำตาล (Glycemic Index : GI) และ
อายกุ ารเก็บรกั ษา เปน็ ตน้
กกกกกกกกกกกก12. ระยะเวลาของการศึกษาวจิ ัยมอี ย่างจำกดั เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคไวรัสโคโรนา 2019 และช่วงเวลาที่ศึกษาเข้าสู่ฤดูฝน จึงส่งผลทำให้ระยะเวลาการศึกษามีความ
คลาดเคลื่อนตอ่ ฤดกู ารเล้ียงผง้ึ โพรงไทย และส่งผลตอ่ ปริมาณผลผลิตท่ีได้รับ อกี ท้งั ระดบั ความช้นื ในน้ำผ้ึง
ทสี่ ูงกวา่ ค่ามาตรฐาน
กกกกกกกกกกกก13. การศกึ ษาและใช้ประโยชน์จากนำ้ ผงึ้ โพรงท่ีผลติ จากมะพรา้ วทับสะแก ในรูปแบบท่ี
หลากหลาย เช่น การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และการตลาดหรือช่องทางการจัด
จำหน่ายสินค้า เป็นตน้

75

เอกสารอา้ งองิ

กรมสง่ เสรมิ การเกษตร. 2556. องคค์ วามร้เู พิ่มประสิทธภิ าพการผลติ ส่กู ารเปน็ Smart officer ผ้งึ และ
แมลงเศรษฐกิจ. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั .

_________________. 2557. การผลิตน้ำผึ้งคุณภาพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร
แหง่ ประเทศไทย จำกัด.

_________________. 2562. ระบบสารสนเทศแปลงใหญ่ 2562. สืบคน้ 14 มีนาคม 2563.
จาก http://www.co-farm.doae.go.th.

กรมทรัพยส์ ินทางปญั ญา. 2559. สนิ คา้ GI ในแต่ละภมู ภิ าค. สืบคน้ 20 พฤศจกิ ายน 2563
จาก http://www.ipthailand.go.th/th/gi-002.html.

_________________. 2562. มะพร้าวทับสะแก. สบื คน้ 20 พฤศจกิ ายน 2563.
จาก http://www.ipthailand.go.th.

_________________. 2563. ประกาศกรมทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา เรอื่ ง การขึ้นทะเบียนส่งิ บ่งชท้ี างภูมิศาสตร์.
ประกาศ ณ วนั ท่ี 8 มกราคม 2563.

กรมศลุ กากร. 2563. น้ำผึง้ . สบื ค้น 1 พฤศจกิ ายน 2563. จาก http://www.custom.go.th.
กระทรวงสาธารณสขุ . 2543. นำ้ ผ้งึ . ประกาศ ณ วนั ท่ี 19 กันยายน 2543.
กลมุ่ ส่งเสรมิ การเล้ยี งผง้ึ และแมลงเศรษฐกิจ สว่ นสง่ เสรมิ สินค้าเกษตร สำนักส่งเสรมิ และจัดการ-

สนิ คา้ เกษตร กรมสง่ เสริมการเกษตร. 2546. คู่มือเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร หลกั สูตร
สง่ เสริมการเลี้ยงผ้งึ โพรง. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด.
กองแผนงาน กรมส่งเสรมิ การเกษตร. 2559. แผนยุทธศาสตร์กรมส่งเสริมการเกษตร พ.ศ. 2560 - 2564.
กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์สำนักพฒั นาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสริมการเกษตร.
กลุ่มพัฒนานวตั กรรมดิจิตอล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร กรมส่งเสริมการเกษตร. 2563.
แผนภมู สิ รปุ แปลงใหญจ่ งั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2563.
จาก https://co-farm.doae.go.th.
กวศิ ร์ วานชิ กุล ฐิติมา สกุลน่มุ และประภาพร ตั้งกจิ โชต.ิ 2552.“กระบวนการผลิตและลกั ษณะการ
ให้ผลผลิตของนำ้ ตาลมะพรา้ ว”.วารสารวทิ ยาศาสตร์เกษตร. ปีที่ 40. (ฉบับท่ี 3).
กันยายน - ธนั วาคม.
จรัส เข้มแข็ง กติ ติพจน์ สมอารยพงศ์ และวิศณุ วงศ์พฒุ ิ. 2527. การเลยี้ งผงึ้ ในสวนป่า – ทฤษฎี และ
แนวทางปฏบิ ตั ิ. สำนักงานป่าไม้เขตพิษณุโลก. (อัดสำเนา)

76

ชนญั พร หริ ัญเรือง สนุ ันทา กำเหนิดโทน กีรติ อสุ าหวงษ์ สันติ แก่อนิ ทร์ และจิตพิสุทธิ์ ศริ ิพร. 2562.
รายงานการวจิ ัยเร่อื งการศกึ ษากระบวนการเก็บรกั ษานำ้ ผง้ึ โพรงไทย (Apis cerana) ต่อการ
ตกผลึก จากกลมุ่ แปลงใหญ่แมลงเศรษฐกจิ ในพื้นทีภ่ าคใต้ The Study of Storage Process of
Eastern Honey Bee (Apis cerana) from Large Scale of Economic Insects Farming in
Southern of Thailand on Crystallization. เอกสารวิจยั . ศูนย์ส่งเสรมิ เทคโนโลยีการเกษตร
ดา้ นแมลงเศรษฐกจิ จงั หวดั ชุมพร.

นสิ านาญมีศกั ดิ์ ศักดามีศักด์ิ สวาทหิรัญวงศ์ และนายยงยุทธ สุขธนะ. 2563.นกั วิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ.
ศนู ยส์ ่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกจิ จังหวดั ชุมพร.สัมภาษณ์. 12 มิถนุ ายน 2563

ประสงค์ ทองยงค.์ ไมป่ รากฏปที ่พี ิมพ์. มะพร้าวนำ้ หอม. มติชนกรุ๊ป. (อัดสำเนา)
ภัทราพรวงษน์ ้อย.2556.ฤดกู าล (Seasons).สืบคน้ 1 พฤศจิกายน 2563. จาก https://www.lib.ru.ac.th.
ภาณวุ รรณ จันทวรรณกรู สิริวฒั น์ วงษศ์ ริ ิ และณพศิษฎ์ จักรพทิ กั ษ.์ 2561. ค่มู อื การเล้ียงผงึ้ .

เชียงใหม่ : โชตนาพริ้น จำกัด.
วริ ตั น์ ไชยชว่ ย. 2556. รายงานผลการดำเนนิ งาน เรือ่ ง การส่งเสริมการเลี้ยงผ้ึงโพรงในภาคใต้ ปี 2554.

ศูนย์สง่ เสริมและพัฒนาอาชพี การเกษตร จังหวดั ชุมพร (ผง้ึ ). (อดั สำเนา).
วชิร สมะวรรธนะ ปยิ วรรณ ศภุ วิทติ พฒั นา และธวัชชยั ศุภวิทติ พฒั นา. 2560. การประชุมวิชาการ

ระดับชาติ “นเรศวรวิจัย”ครง้ั ที่ 13 วิจยั และนวัตกรรม ขบั เคล่ือนเศรษฐกิจและสังคม.
ศึกษาสมบัตทิ างเคมีและการต้านอนุมลู อิสระของนำ้ ผงึ้ จากดอกไม้ตา่ งชนดิ .
ณ อาคารเอกาทศรถ มหาวิทยาลัยนเรศวร. (อัดสำเนา).
วลั ลี ออ่ นมขุ จุลพนั ธ์ เพช็ รพิรุณ และคะนอง คลอดเพ็ง. 2532. เอกสารวชิ าการที่ 5 เร่ือง มะพร้าว.
กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย.
วันเพญ็ เจริญจิต. 2553. การเปรียบเทยี บการจดั การเลย้ี งผง้ึ พันธุแ์ ละผ้งึ โพรงของเกษตรกรในจังหวดั ชุมพร.
การประชมุ วชิ าการวจิ ยั รำไพพรรณี ครัง้ ที่ 4. มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช. นนทบุร.ี
โรงพิมพ์มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. หนา้ 173 - 181.
ศวิ เรศ อารีกิจ ธานี ศรวี งศ์ชัย ทพิ ยาไกรทองและหยกทิพย์ สุดารีย์.2562. COCOMATE ค่มู ือปลกู มะพร้าว.
กรุงเทพฯ : สำนกั พิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศูนย์ส่งเสรมิ เทคโนโลยีการเกษตรดา้ นแมลงเศรษฐกจิ จงั หวดั ชมุ พร. 2562. รายงานผลการสำรวจข้อมลู
การเลยี้ งแมลงเศรษฐกิจ ในพื้นทภ่ี าคใต้ และภาคตะวันตก ประจำปี 2562.
สบื คน้ 22 ตลุ าคม 2562. จาก http://www.aopdb03.doae.go.th.
_________________.ไม่ปรากฎปที พี่ มิ พ์. บทบาทและพ้นื ท่ีความรบั ผิดชอบของศนู ยฯ์ .
สืบค้น 23 ธันวาคม 2563. จาก http://www.aopdb03.doae.go.th.

77

ศักรินทร์ ปริศวงศ์. 2548. ผลขององค์ประกอบทางชวี เคมีตอ่ การตกผลึกในน้ำผ้ึง.
วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์.

สริ ิวัฒน์ วงศริ ิ และเพญ็ ศรี ตงั คณะสงิ ห์. 2529. ชีววทิ ยาของผง้ึ . กรงุ เทพฯ : ฟนั นพี่ บั บลิชชง่ิ .
สุรไกร เพิม่ คำ อนชุ ติ ชนิ าจริยวงศ์ และสรุ ะพงศ์ สายบุญ. 2528.การศกึ ษาการเลย้ี งผง้ึ ในภาคใต้และ

ปญั หาทางชวี วิทยาโครงการวิจัยภาควชิ าการจัดการศตั รพู ชื . รายงานวิจยั .มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร.์
สุวฒั น์ รวยอารยี ์ ยุทธนา แสงโชติ พวงผกา อ่างมณี และวาทิน จันทรส์ งา่ . 2548. โครงการวิจัยและพัฒนา

เทคโนโลยีผ้ึง. กรมวิชาการเกษตร. (อดั สำเนา)
สุวทิ ย์ ดำแก้ว ปญั ญา ประดิษฐสาร และสาวติ รี สุวรรณ.์ 2561. แนวทางการศกึ ษาวชิ าการสง่ เสรมิ

การเล้ียงผึง้ โพรงเพื่อเสริมรายได้. เอกสารคณะทำงานผลติ บทเรยี นอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Learning)
เพ่อื พัฒนาบคุ ลากรกรมส่งเสรมิ การเกษตรสำนกั งานสง่ เสริมและพัฒนาการเกษตรท่ี 8 จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี.
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร.
สมนกึ บุญเกิด. 2557. การเลย้ี งผง้ึ และชันโรง (Beekeeping with European honey bee and stingless bees).
กรุงเทพฯ : สำนกั พมิ พ์มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง.
สำนักงานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ.2556.เตือนบริโภคตัวออ่ นผึ้ง ตอ่ ดิบระวังโรคทอ้ งร่วง. สสส.
สบื ค้น 1 พฤศจกิ ายน 2563. จาก http://www.thaihealth.or.th.
สำนักงานเกษตรและสหกรณจ์ ังหวัดประจวบครี ีขันธ.์ 2562. ข้อมูลเดือนธันวาคม 2562.
สบื ค้น 20 พฤศจกิ ายน 2563. จาก www.opsmoac.go.th.
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2556.
มาตรฐานสนิ คา้ เกษตร : นำ้ ผงึ้ . ประกาศ ณ วนั ท่ี 16 ตลุ าคม 2556.
สำนกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. 2547. น้ำผงึ้ .
สบื ค้น 20 พฤศจกิ ายน 2563. จาก http://tcps.tisi.go.th.
สำนักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ. ไม่ปรากฏปีท่พี มิ พ์. ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการสร้าง
ความสามารถในการแขง่ ขนั . สืบคน้ 14 มีนาคม 2563. จาก http://www.nscr.nesdb.go.th.
สำนกั พัฒนาอตุ นุ ยิ มวทิ ยา. ไมป่ รากฏปที ีพ่ ิมพ์. ฝนทั้งประเทศ: ภาคใตฝ้ งั่ ตะวันออก: ประจวบคีรีขนั ธ์.
สบื คน้ 1 ตลุ าคม 2563. จาก http://hydromet.tmd.go.th.
สำนกั วจิ ยั เศรษฐกิจการเกษตร. 2561. เร่งแกป้ มปัญหามะพรา้ วราคาตก วางเกณฑ์เปิดตลาดภายใต้
WTO-AFTA คุมเข้มนำเข้าช่วงผลผลิตออกตลาด. สบื ค้น 14 มีนาคม 2563.
จาก http://www.oae.go.th.
สมั ฤทธิ์ มากสง. 2559. “ความหลากหลายของพชื อาหารของผึง้ ในหมู่บา้ นทพิ ุเย ตำบลชะแล
อำเภอทองผาภูมิ จงั หวัดกาญจนบรุ ี”. วารสารวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ปีที่ 24. (ฉบับที่ 1).
มกราคม - มีนาคม.

78

อญั ชลี สวาสดิ์ธรรม สคุ นั ธรส ธาดากติ ติสาร สุทธิ ชัยพฤกษ์ และอรพินธ์ โรจนะ. 2549.
การพัฒนาเทคโนโลยีการทำน้ำผ้ึงครีมจากน้ำผึ้งดอกไม้บางชนดิ .
เอกสารรายงานผลการวิจัยโครงการวิจยั คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร.
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี.

Asghar, M.T., Yusof, Y. A., Mokhtar, M.N., Ya’acob, M.F., Ghazali, H. M., Chang, L.S. and
Manaf, Y. N. 2020. Coconut (Cocos nucifera L.) sap as a potential source of sugar
Antioxidant and nutritional properties. Journal of Food Science Nutrition.
8. 1,777 - 1,787.

Atayoglu, A.T., Soylu, M., Silici, S. and Inanc, N. 2016. Glycemic index values of
monofloral Turkish honeys and the effect of their consumption on glucose
metabolism. Turkish journal of medical sciences. 46. 483 - 488.

Bellik, Y. 2015. Bee venom: Its potential use in alternative medicine. Anti - infective Agents.
13. 1 – 14.

Bogdanov, S. 2015. “Beeswax: Production, Properties composition and control”.
Bee Product Science. Retrieved November 1, 2020,fromhttp://www.bee-hexagon.net.

___________. 2016. “Pollen: collection, Harvest, Composition, Quality”.Bee Product Science.
Retrieved November 1, 2020, from http://www.bee-hexagon.net.

Chepulis, L. and Francis, L. 2012. The glycaemic index of manuka honey. e - SPEN Journal. 1-4.
Gunnars, K. 2018. “Coconut sugar- A healthy sugar alternative or a big, fat lie?”.

Healthline. Retrieved April 1, 2020, from http:// healthline.com.
Ghazali, H. M. and Sin, M. K. 1986. Coconut honey: The effect of storage temperature on

some of its physic-chemical properties. Journal of Apicultural Research.
25. 109 - 112.
JASMI. 2017. Diversity and blooming season of food sources plant of Apis cerana
(Hymenoptera: Apidae) in polyculture plantation in West Sumatra, Indonesia.
Biodiversitas Journal. 18. 34 - 40.
Krishna, A. G. S. and Patil, R. K. 2019. Foraging preferences of Honey bee Apis cerana in
Dakshina Kannada,Karnataka, India. Journal of Threatened Taxa. 11. 13,756 – 13,764.
Kusumawaty, Y., Maharani, E. and Edwina, S. 2012. Perceived quality of coconut sugar by
produce, traders and downstream industries in Indragiri Hilir District, Riau Provine,
Indonesia. Journal of Agribusiness Marketing. 5. 1 - 13.

79

Narayana, V. G. 1937. On the nectar secretion in the coconut. Agricultural research
institute, Coimbatore. 5. 224 - 229.

Purnomo, H. 2007. Volatile component of coconut fresh sap, sap syrup and coconut sugar.
ASEAN food Journal. 14. 45 - 49.

Queensland government. 2016. “Glycemic Index of food”. Dietitian. Retrieved April 1,
2020, from http:// glycemicindex.com.

Sohaimy, E.S.A., Masry, S.H.D. and Shehata, M.G. 2015. Physicochemical characteristicsof
honey from different origins. Annals of Agricultural Science Journal. 60. 279 - 287.

Suwannapong, G., Maksong, S., Yemore, T., Junsuri, N. and Benbow, M. E. 2013.
Three species of native Thai honey bees exploit overlapping pollen resources:
Identification of bee flora from pollen loads and midguts from Apis cerana,
Apis dorsata and Apis florea. Journal of Apicultural Research. 52. 196 - 201.

Trinidad, T.T. no date. Nutritional and health benefits of coconut sap sugar/ syrup.
Food and nutrition research institute department of science and technology.1-29.

Venir, E., Spaziani, M. and Maltini, E. 2010. Crystallization in “Tarassaco” Italian honey
studied by DSC. Food chemistry. 122. 410 - 415.

80

ภาคผนวก

81
ภาพผนวกท่ีก1กการลงพ้ืนทสี่ ำรวจ/ ตดิ ตอ่ และประสานงานโครงการฯ อำเภอทบั สะแก

82
ภาพผนวกท่ีก2กการลงพ้ืนท่ีสำรวจ/ ตดิ ต่อ และประสานงานโครงการฯ อำเภอบางสะพาน

83
ภาพผนวกท่ีก3กการลงพ้ืนท่ีตดิ ตงั้ รงั ผ้ึงในแปลงมะพรา้ วเกษตรกร อำเภอทบั สะแก

84
ภาพผนวกที่ก4กการลงพนื้ ทตี่ ดิ ต้งั รงั ผงึ้ ในแปลงมะพรา้ วเกษตรกร อำเภอบางสะพาน

85
ภาพผนวกท่ีก5กการลงพ้ืนท่ตี ดิ ตามรงั เล้ยี งผงึ้ อำเภอทบั สะแก

86
ภาพผนวกท่ีก6กการลงพ้ืนท่ตี ดิ ตามรงั เล้ยี งผ้ึง อำเภอบางสะพาน

87
ภาพผนวกท่ีก7กการเกบ็ ผลผลิตจากผง้ึ โพรง อำเภอทบั สะแก

88
ภาพผนวกท่ีก8กการเก็บผลผลิตจากผ้ึงโพรง อำเภอบางสะพาน

89
ภาพผนวกที่ก9กน้ำผึ้งโพรงไทยท่ไี ด้จากการศกึ ษา
ภาพผนวกท่ีก10กไขผ้ึงโพรงไทยทผ่ี ลติ ได้ จำนวน 142.74 กรมั

80 90

ประวตั ิผเู้ ขยี น

ช่ือและนามสกลุ นายสนั ติ แก่อนิ ทร์
ท่อี ยู่ ศนู ย์สง่ เสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกจิ จังหวัดชมุ พร

เลขท่ี 22/ 7 หมทู่ ่ี 6 ตำบลขุนกระทิง อำเภอเมอื งฯ จงั หวดั ชมุ พร 86000
หมายเลขโทรศพั ท์ 092 3712323
ไปรษณยี อ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ [email protected]
ประวตั ิการศึกษา คหกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ประวตั ิการทำงาน นักวชิ าการส่งเสรมิ การเกษตรปฏบิ ัตกิ าร

ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จงั หวัดชุมพร

ชื่อและนามสกลุ นายกีรติ อุสาหวงษ์
ทอ่ี ยู่ ศนู ย์สง่ เสริมเทคโนโลยกี ารเกษตรด้านแมลงเศรษฐกจิ จงั หวัดชมุ พร

เลขท่ี 22/ 6 หมูท่ ี่ 6 ตำบลขนุ กระทงิ อำเภอเมืองฯ จังหวดั ชุมพร 86000
หมายเลขโทรศพั ท์ 085 6001009
ไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนิกส์ [email protected]
ประวัติการศึกษา วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
ประวัติการทำงาน นักวชิ าการส่งเสริมการเกษตรปฏบิ ัติการ

ศูนย์สง่ เสริมเทคโนโลยกี ารเกษตรดา้ นแมลงเศรษฐกิจ จงั หวัดชมุ พร


Click to View FlipBook Version