The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by it.cult2020, 2023-03-02 21:44:25

รายงานผลการประเมินแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565

risk-2565

รายงานผลการประเมิน แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปี 2565 ชุมนุมสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแห่งประเทศไทย จำกัด 40 ถนนรามคำแหง แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร โทร. 02 373 0020-2


คำนำ ชุมนุมสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแห่งประเทศไทย จำกัด (ช.ส.ค.) ตระหนักถึงความสำคัญในการเตรียมการ และ ป้องกันต่อความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นต่อการบริหารงาน คณะกรรมการดำเนินการ ช.ส.ค. จึงได้กำหนดเป็นประกาศ เรื่อง นโยบายการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้บุคลากรของ ช.ส.ค.ทุกคน มีหน้าที่ปฏิบัติตามนโยบายการบริหารความเสี่ยงอย่าง เคร่งครัด พร้อมทั้งได้แต่งตั้งคณะทำงานบริหารความเสี่ยง ตามคำสั่ง ช.ส.ค. ที่ 011/2565 สั่ง ณ วันที่ 27 เมษายน 2565 เพื่อให้มีการจัดทำคู่มือบริหารความเสี่ยง ให้ความรู้แก่ส่วนงานต่างๆ เพื่อให้มีความเข้าใจถึงหลักเกณฑ์ การ วิเคราะห์ การประเมิน และบริหารจัดการความเสี่ยง และดำเนินการประเมินความเสี่ยงในแต่ละด้าน ซึ่ง ช.ส.ค. ได้ กำหนดไว้ทั้งหมด 6 ด้าน ดังนี้ ด้านสินเชื่อ ด้านการลงทุน ด้านสภาพคล่อง ด้านปฏิบัติการ ด้านกลยุทธ์ และ ด้านตลาด คณะทำงานบริหารความเสี่ยง ได้จัดทำคู่มือและเสนอต่ออนุกรรมการบริหารความเสี่ยง และได้รับความ เห็นชอบ จึงได้มีการประเมินการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงแล้ว ระหว่างวันที่ 9-10 มิถุนายน พ.ศ. 2565 ซึ่ง คณะทำงานฯ ได้สรุปผลการประเมิน และรายงานผลการประเมินความเสี่ยงประจำปี 2564 สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง และให้สรุปปัญหา และแนวทางการปรับปรุง เพื่อให้ ช.ส.ค. สามารถบริหารความ เสี่ยงเป็นที่ยอมรับได้ต่อไป เมื่อคณะทำงานบริหารความเสี่ยง ได้สรุปและจัดทำรายงานบริหารความเสี่ยงแล้ว จึงได้ นำเสนอรายงานผลการประเมินความเสี่ยง ประจำปี 2564 ต่อคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงเพื่อพิจารณา และ รายงานต่อคณะกรรมการดำเนินการ ช.ส.ค. ต่อไป คณะทำงานบริหารความเสี่ยง คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ขอขอบคุณคณะกรรมการดำเนินการ คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง เจ้าหน้าที่ระดับบริหารทุกคน และเจ้าหน้าที่และลูกจ้างทุกส่วนงาน ที่ได้ตระหนัก ในความสำคัญเรื่องการบริหารความเสี่ยง และให้ความร่วมมือในการเข้ารับการตรวจและรายงานการดำเนินงาน ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ คณะทำงานบริหารความเสี่ยง ตามคำสั่ง ช.ส.ค. ที่ 011/2565 คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ตามคำสั่ง ช.ส.ค. ที่ 025/2565 หน้า 2


สารบัญ หน้า คำนา 2 สารบัญ 3 บทที่ 1 บทนำ 4 ปัจจัยเสี่ยงแต่ละด้าน 4 แนวทางการประเมินผลการบริหารความเสี่ยง 5 บทที่ 2 ผลการประเมินความเสี่ยง ประจำปี 2564 8 ปัญหา ข้อเสนอแนะ ในแต่ละด้าน 11 บทที่ 3 สรุประดับความเสี่ยง ประจำปี 2565 15 ตารางสรุประดับความเสี่ยง 16 บทที่ 4 รายงานผลการตรวจประเมินการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง ประจำปี 2564 17 ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ (Credit Risk : C) 18 ความเสี่ยงด้านการลงทุน (Investment Risk : I) 22 ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk : L) 24 ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational Risk : O) 29 ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk : S) 34 ความเสี่ยงด้านตลาด (Market Risk : M) 38 บทที่ 5 สิ่งที่นำไปจัดทำเป็นแผนงาน ประจำปี 2566 40 หน้า 3


บทที่ 1 บทนำ ชุมนุมสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแห่งประเทศไทย จำกัด (ช.ส.ค.) ตระหนักในความสำคัญต่อการดำเนินงานตาม แผนบริหารความเสี่ยง โดยจะเห็นได้จากการกำหนดแผนงานการบริหารความเสี่ยงไว้ในแผนกลยุทธ์ ช.ส.ค. ระยะเวลา 6 ปี (พ.ศ. 2565 - พ.ศ. 2570) ในแผนงานที่ 20 พัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ โดยมีเป้าหมายใน การนำระบบบริหารความเสี่ยงมาใช้อย่างเคร่งครัดและต่อเนื่อง เพื่อให้ ช.ส.ค.มีผลการประเมินความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ ยอมรับได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของปัจจัยเสี่ยง แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปี 2564 โดยกำหนดปัจจัยเสี่ยงในแต่ละด้าน มีดังต่อไปนี้ 1. ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ (Credit Risk : C) ปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ 1.1 ขาดการจัดการระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพถูกต้องครบถ้วน ทันเวลา และนำมาใช้ในการ บริหารสินเชื่อ 1.2 การพิจารณาให้เงินกู้และการปรับโครงสร้างหนี้ไม่ได้ให้ความสำคัญกับความสามารถในการชำระหนี้ 1.3 การกำกับติดตามหนี้ขาดประสิทธิภาพ 1.4 ความไม่เพียงพอต่อการประมาณการสำรองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ 2. ความเสี่ยงด้านการลงทุน (Investment Risk : I) ปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ 2.1 การตัดสินใจนำเงินไปฝากหรือลงทุนโดยให้ความสำคัญเรื่องผลตอบแทนมากกว่าการพิจารณาอย่าง ละเอียดรอบคอบถึงความสามารถในการส่งคืนเงินตามกำหนด 2.2 ขาดการจัดการระบบที่มีประสิทธิภาพครบถ้วนทันเวลาและนำมาใช้ในการบริหารเงินลงทุน 3. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk : L) ปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ 3.1 ไม่มีการจัดทำประมาณการเงินสด ติดตามประเมินและทบทวนสถานะการเงินและสภาพคล่องของ ช.ส.ค.อย่างใกล้ชิดเป็นประจำสม่ำเสมอ 3.2 แผนการจัดหาทุนและแผนการใช้ทุนไม่สัมพันธ์กัน 3.3 ไม่มีแผนในการจัดสภาพคล่องในสถานการณ์ฉุกเฉิน หน้า 4


4. ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational Risk : O) ปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ 4.1 ไม่มีการปรับปรุงหรือทบทวนโครงสร้างให้สอดคล้องกับภารกิจขององค์กรในปัจจุบัน 4.2 ไม่มีการนำกิจกรรมควบคุมภายในมาปรับปรุงขั้นตอนการปฏิบัติงานหรือผังกระบวนการทำงานตาม คู่มือการปฏิบัติงานที่มีการทบทวนและปรับปรุงใหม่ 4.3 ขาดการนำผลการประเมินคุณภาพการควบคุมภายในโดยกรมตรวจบัญชีสหกรณ์เสนอต่อ คณะกรรมการดำเนินการได้พิจารณาเชิงวิเคราะห์ 4.4 ไม่มีการจัดแผนสำรองข้อมูลระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและรบบงานข้อมูลสำรอง เพื่อความ ปลอดภัยรองรับกรณีระบบงานขัดข้องและแผนรองรับการดำเนินงานธุรกิจต่อเนื่อง 5. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk : S) ปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ 5.1 การจัดทำแผนงานและงบประมาณประจำปี(แผนปฏิบัติการ) ไม่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ 5.2 ขาดการประเมินความสำเร็จและความก้าวหน้าของแผนกลยุทธ์ 5.3 ก่อนออกผลิตภัณฑ์ทางการเงินหรือสวัสดิการไม่มีการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการให้ละเอียด รอบคอบ (Project feasibility study) 5.4 ไม่มีการเตรียมการสร้างกรรมการทดแทนเพื่อความต่อเนื่องในการดำเนินธุรกิจ 5.5 ขาดการวางแผนการเตรียมสร้างเจ้าหน้าที่ระดับบริหารทดแทนเพื่อความต่อเนื่องในการดำเนินงาน 6. ความเสี่ยงด้านตลาด (Market Risk : M) ปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ 6.1 ไม่มีการบริหารต้นทุนและผลตอบแทนที่เหมาะสม แนวทางการประเมินผลการบริหารความเสี่ยง การประเมินผลการดำเนินการตามแผนการบริหารความเสี่ยงของ ช.ส.ค. ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน 1. การกำหนดเกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ได้แก่ระดับโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง (Likelihood) ระดับความรุนแรงของผลกระทบ(Impact) และ ระดับของความเสี่ยง (Degree of Risk) โดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่งจะมีการกำหนดเป็นเกณฑ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ 5 ระดับ (ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับข้อมูล สภาพแวดล้อมในส่วนงาน) หน้า 5


2. การจัดระดับความเสี่ยง (Risk Level) หมายถึง สถานะของความเสี่ยงที่ได้รับจากการประเมินโอกาส และผลกระทบของแต่ละปัจจัยเสี่ยง กำหนดเกณฑ์ไว้ 5 ระดับ คือ สูงมาก สูง ปานกลาง ต่ำ และต่ำมาก ดังต่อไปนี้ ตารางแสดงระดับความเสี่ยง ผลกระทบ สูงมาก 5 M M H VH VH สูง 4 L M H VH VH ปานกลาง 3 L L M H H ต่ำ 2 VL VL L M M ต่ำมาก 1 VL VL VL L L 1 2 3 4 5 ต่ำมาก ต่ำ ปานกลาง สูง สูงมาก โอกาสเกิด ความหมายระดับความเสี่ยง VH (Very High) : ระดับความเสี่ยงสูงมาก H (High) : ระดับความเสี่ยงสูง M (Medium) : ระดับความเสี่ยงปานกลาง L (Low) : ระดับความเสี่ยงต่ำ VL (Very Low) : ระดับความเสี่ยงต่ำมาก 3. การประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยง เป็นการนำความเสี่ยงและปัจจัยเสี่ยงแต่ละปัจจัยที่ระบุไว้ มาประเมินโอกา (Likelihood) ที่จะเกิด เหตุการณ์ความเสี่ยงต่างๆ และประเมินระดับความรุนแรง หรือมูลค่าความเสียหา (Impact) จากความเสี่ยง เพื่อให้เห็น ถึงระดับของความเสี่ยงที่แตกต่างกัน ทำให้สามารถกำหนดการควบคุมความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสม ซึ่งจะช่วยให้ สามารถวางแผนและจัดสรรทรัพยากรได้อย่างถูกต้อง ภายใต้งบประมาณกำลังคน หรือเวลาที่มีจำกัด โดยอาศัยเกณฑ์ มาตรฐานที่กำหนดไว้ หน้า 6


4. การวิเคราะห์ความเสี่ยง เป็นการพิจารณา โอกาส/ความถี่ที่จะเกิดเหตุการณ์ (Likelihood) และความรุนแรงของผลกระทบ (Impact) ของแต่ละปัจจัยเสี่ยง แล้ว มาพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง และผลกระทบของ ความเสี่ยงว่า ก่อให้เกิดความเสี่ยงในระดับใด ตามตารางระดับความเสี่ยง ซึ่งจำทำให้ทราบว่ามีความเสี่ยงใดเป็นความ เสี่ยงสูงสุดที่จะต้องบริหารจัดการก่อนหลัง 5. การจัดลำดับความเสี่ยง เมื่อได้ค่าระดับความเสี่ยงแล้ว ให้นำมาจัดลำดับความรุนแรงของความเสี่ยง เพื่อพิจารณากำหนด กิจกรรมการควบคุมในแต่ละสาเหตุของความเสี่ยงที่สำคัญให้เหมาะสม โดยพิจารณาจากระดับของความเสี่ยงที่เกิดจาก ความสัมพันธ์ระหว่างโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง และผลกระทบของความเสี่ยงที่ประเมินได้ตามตารางการวิเคราะห์ ความเสี่ยง ซึ่งจัดเรียงตามลำดับจากระดับสูงมาก สูง ปานกลาง ต่ำ ต่ำมาก และเลือกความเสี่ยงที่มีระดับสูงมาก และ หรือสูง มาจัดทำแผนบริหารจัดการความเสี่ยง หน้า 7


บทที่ 2 ผลการประเมินความเสี่ยง ประจำปี 2565 ชุมนุมสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแห่งประเทศไทย จำกัด (ช.ส.ค.) โดยคณะทำงานบริหารความเสี่ยง ได้พิจารณา ระดับโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง และระดับความรุนแรงของผลกระทบ เพื่อจัดระดับความเสี่ยงเป็น 5 ระดับ ได้แก่ สูงมาก(Very High) , สูง(High), ปานกลาง(Medium), ต่ำ(Low) และ ต่ำมาก(Very Low) ผลการประเมินการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง ประจำปี 2565 จำนวน 6 ด้าน ดังตาราง ต่อไปนี้ ด้านความเสี่ยง วัตถุประสงค์ ปัจจัยเสี่ยง สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับ ความเสี่ยง 1. ด้านสินเชื่อ 1.1 เพื่อให้ ผู้บริหารมีข้อมูล เพียงพอต่อการ บริหารสินเชื่อ 1.1.1 ขาดการจัดการระบบ ฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และนำมาใช้ใน การบริหารสินเชื่อ 3 3 M 1.2 เพื่อให้ลูกหนี้ เงินกู้ชำระหนี้ได้ ตามสัญญาและ ลดอัตราหนี้คั่ง ค้าง จากอัตรา ร้อยละ 10 ให้ เหลืออัตราร้อย ละ 5 1.2.2 การพิจารณาให้เงินกู้และการ ปรับโครงสร้างหนี้ไม่ได้ให้ความสำคัญ กับความสามารถในการชำระหนี้ 4 5 VH 1.2.3 การกำกับติดตามหนี้ขาด ประสิทธิภาพ 4 5 VH 1.2.4 ความไม่เพียงพอต่อการ ประมาณการสำรองค่าเผื่อหนี้สงสัย จะสูญของลูกหนี้ 4 5 VH 2. ด้านการลงทุน เพื่อให้ ช.ส.ค. ได้รับการชำระ คืนจากเงินนที่ น ำ ไ ป ล ง ทุ น อย่างครบถ้วน 2.1.1 การตัดสินใจนำเงินไปฝาก หรือลงทุนโดยให้ความสำคัญเรื่อง ผลตอบแทนมากกว่าการพิจารณา อ ย ่ า ง ล ะ เ อ ี ย ด ร อ บ ค อ บ ถึ ง ความสามารถในการส่งคืนเงินตาม กำหนด 2 2 L หน้า 8


ด้านความเสี่ยง วัตถุประสงค์ ปัจจัยเสี่ยง สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับ ความเสี่ยง ด้านการลงทุน(ต่อ) เพื่อให้ ช.ส.ค. มี ฐานข้อมูลที่มี ประสิทธิภาพ แ ล ะ ส า ม า ร ถ นำมาตัดสินใจ ในการนำเงินไป ลงทุน 2.2.2 ขาดการจัดการระบบ ที่มี ประสิทธิภาพครบถ้วน ทันเวลา และ นำมาใช้ในการบริหารเงินลงทุน 2 2 L 3 . ด ้ า น ส ภ า พ คล่อง เพื่อให้ ช.ส.ค. สามารถชำระหนี้ และภาระผูกพัน เมือถึงกำหนด 3.1.1 ไม่มีการจัดทำประมาณการเงิน สด ติดตามประเมิน ทบทวนสถานะ การเงิน สภาพคล่องของ ช.ส.ค.อย่าง ใกล้ชิดเป็นประจำสม่ำเสมอ 1 1 VL 3.1.2 แผนการจัดหาทุนและแผนการ ใช้ทุนไม่สัมพันธ์กับสภาพคล่องของ ช.ส.ค. 2 5 M 3.1.3 ไม่มีแผนในการจัดสภาพคล่อง ในสถานการณ์ฉุกเฉิน 3 5 H 4. ด้านปฏิบัติการ เพื่อให้ ช.ส.ค. ไม่ เกิดความเสียหาย อันเนื่องมาจากการ ขาดการกำกับดูแล กิจการที่ดี หรือ ขาดธรรมาภิบาล 4.1.1 ไม่มีการปรับปรุงหรือทบทวน โครงสร้างให้สอดคล้องกับภารกิจของ องค์กรในปัจจุบัน 3 3 M 4.1.2 ไม่มีการนำกิจกรรมควบคุม ภายในมาปรับปรุงขั้นตอนการ ปฏิบัติงานหรือผังกระบวนการทำงาน ตามคู่มือการปฏิบัติงานที่มีการ ทบทวนและปรับปรุงใหม่ 4 4 VH หน้า 9


ด้านความเสี่ยง วัตถุประสงค์ ปัจจัยเสี่ยง สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับ ความเสี่ยง ด้านปฏิบัติการ (ต่อ) เพื่อให้การ ดำเนินงานเป็นไป ตามมาตรฐาน 4.2.3 ขาดการนำผลการประเมิน คุณภาพการควบคุมภายในโดยกรม ตรวจบัญชีสหกรณ์ เสนอต่อ คณะกรรมการดำเนินการได้ พิจารณาเชิงวิเคราะห์ 2 2 VL เพื่อให้ ช.ส.ค. สามารถให้บริการ แก่สหกรณ์สมาชิก ได้อย่างต่อเนื่อง 4.3.4 ไม่มีการจัดทำแผนสำรองข้อมูล ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ระบบงานข้อมูลสำรอง เพื่อความ ปลอดภัยรองรับกรณีระบบงาน ขัดข้องและแผนรองรับการดำเนินงาน ธุรกิจต่อเนื่อง 2 2 M 5. ด้านกลยุทธ์ เพื่อให้การ ดำเนินงานเป็นไป ตามแผนกลยุทธ์ที่ สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมที่ เปลี่ยนไป 5.1.1 ก า ร จ ั ด ท ำ แ ผ น ง า น แ ล ะ งบประมาณประจำปี (แผนปฏิบัติการ) ไม่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ 2 2 VL 5.1.2 ขาดการประเมินความสำเร็จ และความก้าวหน้าของแผลกลยุทธ์ 3 3 M 5.1.3 ก่อนออกผลิตภัณฑ์ทางการเงิน หรือสวัสดิการ ไม่มีการศึกษาความ เป็นไปได้ของโครงการให้ ละเอียด รอบคอบ (Project feasibility study) 3 3 M 5.1.4 ไม่มีการเตรียมการสร้าง กรรมการทดแทนเพื่อความต่อเนื่องใน การดำเนินกิจการ 3 3 M 5.1.5. ขาดการวางแผนการเตรียม สร้างเจ้าหน้าที่ระดับบริหารทดแทน เพื่อความต่อเนื่องในการดำเนินงาน 3 4 H หน้า 10


ด้านความเสี่ยง วัตถุประสงค์ ปัจจัยเสี่ยง สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับ ความเสี่ยง 6. ด้านตลาด เพื่อให้ ผลตอบแทน ต้นทุนและรายได้ ของ ช.ส.ค. ไม่ เกิดผลกระทบ ในทางลบจาก การเปลี่ยนแปลง อัตราดอกเบี้ย และราคาตรา สารในตลาดเงิน และตลาดทุน 6.1.1 ไม่มีการบริหารต้นทุนและ ผลตอบแทนที่เหมาะสม 5 5 VH รวม 6 ด้าน 10 วัตถุประสงค์ 19 ปัจจัยเสี่ยง ปัญหา ข้อเสนอแนะ ในแต่ละด้าน มีดังต่อไปนี้ 1. ด้านสินเชื่อ ปัญหา แนวทางปรับปรุง 1. ขาดการประเมินผลหลังการติดตามหลังการ ดำเนินงานตามแนวทางจัดการความเสี่ยงทุกกรณี 2. ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลเชิงลึกในปัญญาของลูกหนี้ ส่งผลให้การแก้ไขปัญหาไม่ตรงจุด 1. ควรเพิ่มแรงจูงใจสำหรับลูกหนี้ที่ดี เช่น การมี ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เพื่อเพิ่มรายได้ดอกเบี้ยรับเงินกู้ 2. ไม่ควรนำกระแสเงินสดอนาคตมาใช้ประกอบการ พิจารณา ควรเป็นกระแสเงินสดที่เป็นปัจจุบันและตาม ข้อเท็จจริง เช่น การคำนวณกระแสเงินเข้าให้ยึดหลัก ข้อเท็จจริงและให้เป็นตามข้อเท็จจริงมากที่สุด 3. ให้นำรายงานการติดตามหนี้และที่ประชุมคณะ ติดตามหนี้อย่างเคร่งครัด 4. ให้ติดตามประเมินผลหลังการดำเนินงานตามแนวทาง จัดการความเสี่ยงทุกกรณี หน้า 11


ปัญหา แนวทางปรับปรุง 5. ควรจัดเก็บข้อมูล การยืนยันยันยอดของลูกหนี้ และ ปัญหาของลูกหนี้เพื่อใช้ติดตามและให้ทราบปัญหา 6. แผนกจัดการธนกิจและสวัสดิการ ควรมีการติดตาม ประเมินผลข้อมูลรายงานอัตราหนี้คั่งค้างของลูกหนี้ และ รายงานการติดตามการชำระหนี้เป็นประจำทุกเดือน 2. ด้านการลงทุน ปัญหา แนวทางปรับปรุง 1. มีระบบจัดเก็บข้อมูลในการติดตามการลงทุน แต่การนำ เงินไปลงทุนใหม่ จะต้องตรวจสอบข้อมูลจากฐานข้อมูลของ ตลาดหลักทรัพย์ เพื่อประกอบการพิจารณาอีกครั้ง 3. ด้านสภาพคล่อง ปัญหา แนวทางปรับปรุง 1. มีการจัดทำแผนประมาณการกระแสเงินสดแต่ไม่นำ Action plan มาเป็นข้อมูลในการจัดทำประมาณการ กระแสเงินสด 2. แผนการจัดหาทุนและแผนการใช้ทุนไม่สัมพันธ์กัน ทำ ให้เสียโอกาส 3. ช.ส.ค. มีข้อจำกัดในจัดทำเงินเบิกเกินบัญชีสถาบัน การเงินอื่นเนื่องจากมี NPL เกินมาตรฐาน 4. การจัดทำ MOU เพื่อรักษาสภาพคล่องอาจมี ข้อจำกัดเรื่องระยะเวลา 1. ควรมีผู้รับผิดชอบหลัก ในการรวบรวมข้อมูลและ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำมากำหนดนโยบายเร่งด่วน เพื่อลด ความเสี่ยง 2. ลดขั้นตอนการพิจารณา จัดหาทุนและการใช้ทุน เพื่อให้สัมพันธ์กัน ไม่เสียโอกาส 3. การจัดแผนงานงบประมาณประจำปี (Action Plan) ควรนำข้อมูลประมาณการกระแสเงินสดประจำปีที่ผ่าน มาประกอบการพิจารณาจัดทำแผนการจัดหาทุนและการ ใช้ทุน 4. ช.ส.ค. ต้องบริหารลูกหนี้ NPL ตามเกณฑ์มาตรฐาน ของสถาบันการเงิน 5. ควรจัดทำวงเงินกู้เบิกเกินบัญชีกับสถาบันการเงินอื่นที่ ยอมรับ NPL ของ ช.ส.ค.ได้โดยเร็ว 6. ควรมีแนวทางอื่นเพิ่มเติมในการจัดการความเสี่ยง เพื่อลดปัจจัยสภาพคล่องในสถานการฉุกเฉิน หน้า 12


4. ด้านปฏิบัติการ ปัญหา แนวทางปรับปรุง 1. ไม่มีการแต่งตั้งคณะทำงานปรับปรุงหรือทบทวน โครงสร้างโดยปัจจุบันการทบทวนโครงสร้างอยู่ในการ รวบรวมข้อมูล และนำเสนอโดยฝ่ายยุทธศาสตร์องค์กร 1. ควรจัดทำคู่มือเป็นรูปเล่มทุกส่วนงาน 2. ควรจัดทำรายละเอียดอธิบายการสำรองข้อมูลกรณี ฉุกเฉินเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อรับทราบและเกิดความ มั่นใจในการใช้ระบบ 5. ด้านกลยุทธ์ ปัญหา แนวทางปรับปรุง 1. ควรนำผลการประเมินความสำเร็จที่ต่ำกว่าเกณฑ์มา ปรับปรุงแก้ไข 2. ควรจัดสัมมนาเจ้าหน้าที่ ช.ส.ค. ให้เข้าใจแผนกลยุทธ์ของ องค์กร 3. ควรลดขั้นตอนการออกผลิตภัณฑ์ทางการเงิน ให้ สอดคล้องกับการลงทุนของสหกรณ์ เพื่อลดการเสียโอกาส ทางการเงิน 4. ควรสำรวจข้อมูลความต้องการการลงทุนของสหกรณ์ สมาชิกก่อนออกผลิตภัณฑ์ 5. ควรประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์การเงินและการจัดสวัสดิการ ให้ทั่วถึง และมุ่งเน้นที่กลุ่มเป้าหมายเป็นหลัก 6. ควรทำแบบประเมิน ก่อนและหลังการอบรม 7. การจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติ ควรใช้รูปแบบของกรม ส่งเสริมสหกรณ์ 8. ควรจัดให้มีชุดโปรแกรมทะเบียนประวัติของบุคลากร ช.ส.ค. ทั้งระบบ 9. ควรดำเนินการตามแผนพัฒนาความก้าวหน้า ของ บุคลากรของ ช.ส.ค. 10. ติดตามและประเมินผลบุคลากรรายบุคคลตาม แผนพัฒนาบุคลากรของ ช.ส.ค. 11. ควรจัดให้มีชุดโปรแกรมบริหารทรัพยากรบุคคลของ องค์กรทั้งระบบ หน้า 13


6. ด้านตลาด ปัญหา แนวทางปรับปรุง 1. ควรมีผู้รับผิดชอบหลัก นำผลการวิเคราะห์มาหารือใน ระดับเจ้าหน้าที่ระดับบริหารเพื่อกำหนดแนวทางการ ดำเนินงาน 2. ควรมีรายงานผลการวิเคราะห์การปฏิบัติงาน เปรียบเทียบเป้าหมาย 3. ควรจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบในทางลบ จากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและราคาตราสารใน ตลาดเงินและตลาดทุน หน้า 14


บทที่ 3 สรุประดับความเสี่ยง ประจำปี 2565 การประเมินการดำเนินงานการบริหารความเสี่ยง ประจำปี 2565 ช.ส.ค. มีระดับความเสี่ยง ทั้ง 6 ด้าน โดย ในจำนวน 6 ด้านนั้น ประกอบด้วย 10 วัตถุประสงค์ และ 19 ปัจจัยเสี่ยง ซึ่งระดับความเสี่ยง มีดังต่อไปนี้ VH (Very High) : ระดับความเสี่ยงสูงมาก = 6 ปัจจัยเสี่ยง 31.58% H (High) : ระดับความเสี่ยงสูง = 2 ปัจจัยเสี่ยง 10.53% M (Medium) : ระดับความเสี่ยงปานกลาง = 6 ปัจจัยเสี่ยง 31.58% L (Low) : ระดับความเสี่ยงต่ำ = 2 ปัจจัยเสี่ยง 10.53% VL (Very Low) : ระดับความเสี่ยงต่ำมาก = 3 ปัจจัยเสี่ยง 15.78% 19 ปัจจัยเสี่ยง และจากระดับความเสี่ยงนั้น จะเห็นได้ว่า ช.ส.ค. - มีระดับค่าความเสี่ยง VH คือเสี่ยงสูงมาก จำนวนร้อยละ 31.58 โดยมีความเสี่ยงด้านสินเชื่อ จำนวน 3 ปัจจัยเสี่ยง, ด้านปฏิบัติการ 1 ปัจจัยเสี่ยง, ด้านกลยุทธ์ 1 ปัจจัยเสี่ยง และการตลาด จำนวน 1 ปัจจัยเสี่ยง - มีระดับค่าความเสี่ยง H คือเสี่ยงสูง จำนวน ร้อยละ 10.53 โดยมีความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง จำนวน 1 ปัจจัยเสี่ยง, ด้านกลยุทธ์ จำนวน 1 ปัจจัยเสี่ยง - มีระดับค่าความเสี่ยง M คือเสี่ยงปานกลาง ร้อยละ 31.58 โดยมีความเสี่ยงด้านสินเชื่อ จำนวน 1 ปัจจัยเสี่ยง, ด้านสภาพคล่อง จำนวน 1 ปัจจัยเสี่ยง, ด้านปฏิบัติการ จำนวน 2 ปัจจัยเสี่ยง, ด้านกลยุทธ์ จำนวน 2 ปัจจัยเสี่ยง - มีระดับค่าความเสี่ยง L คือความเสี่ยงต่ำ จำนวน ร้อยละ 10.53 โดยมีความเสี่ยงด้านการลงทุน 2 ปัจจัยเสี่ยง - มีระดับค่าความเสี่ยง VL คือความเสี่ยงต่ำมาก ร้อยละ 15.78 โดยมีความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง จำนวน 1 ปัจจัยเสี่ยง, ด้านปฏิบัติการ จำนวน 1 ปัจจัยเสี่ยง, ด้านกลยุทธ์ จำนวน 1 ปัจจัยเสี่ยง หน้า 15


ตารางสรุป ระดับความเสี่ยง ประจำปี 2565 ด้านความเสี่ยง VH H M L VL รวม ด้านสินเชื่อ 3 1 4 ด้านการลงทุน 2 2 ด้านสภาพคล่อง 1 1 1 3 ด้านปฏิบัติการ 1 2 1 4 ด้านกลยุทธ์ 1 1 2 1 5 ด้านตลาด 1 1 รวม 6 5 5 3 19 เมื่อเปรียบเทียบ 2 ปี (2564-2565) สรุปได้ดังต่อไปนี้ ความเสี่ยงทั้ง 6 ด้านนั้น ปี2564 ระดับความเสี่ยง VH=10 , ปี 2565 มีระดับความเสี่ยง VH ลดลง VH=6 ซึ่งวิเคราะห์ได้ว่า ลดจาก VH ลงมาอยู่ระดับ H ซึ่งปีก่อน H=2 โดยปี 2565 H=5 และ โดยค่าที่ยอมรับได้ใน ระดับ M L VL อยู่ในระดับใกล้เคียงในปีก่อน ดังนั้น ช.ส.ค. จึงต้องดำเนินการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง อย่างระมัดระวัง และต้องลดระดับความเสี่ยงด้านสินเชื่อลง จะทำให้การบริหารงานและการดำเนินงานของ ช.ส.ค. เป็นไปด้วยความมั่นคงต่อไป เชิงอรรถ แสดงค่า ระดับความเสี่ยง ประจำปี 2564 ด้านความเสี่ยง VH H M L VL รวม ด้านสินเชื่อ 4 4 ด้านการลงทุน 2 2 ด้านสภาพคล่อง 1 1 1 3 ด้านปฏิบัติการ 1 2 1 4 ด้านกลยุทธ์ 1 1 2 1 5 ด้านตลาด 1 1 รวม 10 2 4 3 19 หน้า 16


บทที่ 4 แบบรายงานผลการตรวจประเมินการดำเนินการ ตามแผนบริหารความเสี่ยง ประจำปี 2565 หนา้ 17


| แผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565 แบบรายงานผลประเมินการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงชุมนุมสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแห่งประเทศไทย ประจำปี 2565 – 1. ด้านสินเชื่อ (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการตาม แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับความ เสี่ยง 1.1 เพื่อให้ผู้บริหารมีข้อมูลที่ เพียงพอต่อการบริหาร สินเชื่อ 1.1.1. ขาดการจัดการระบบ ฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ ถูกต้องครบถ้วน ทันเวลา และ นำมาใช้ในการบริหารสินเชื่อ ทำ ไม่ทำ ไม่สมบูรณ์ 1. จัดทำระบบเก็บฐานข้อมูลสมาชิกรายแห่ง เพื่อใช้สำหรับ การอำนวยสินเชื่อ 2. จัดทำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพสำหรับ เครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลลูกหนี้ เพื่อให้สามารถนำ ข้อมูลนั้นมาใช้ในการบริหารสินเชื่อ 3. มีการวิเคราะห์สถานภาพลูกหนี้ที่ผิดนัดชำระหนี้ตั้งแต่ 2 เดือนขึ้นไป และมีการวิเคราะห์สถานภาพลูกหนี้ปกติ ทุก 1 ปี เพื่อให้ฐานข้อมูลเป็นปัจจุบัน 4. การรักษาลูกหนี้และสร้างแรงจูงใจในการชำระหนี้ สำหรับลูกหนี้ที่ดี ข้อเสนอแนะ - ควรเพิ่มแรงจูงใจสำหรับลูกหนี้ที่ดี เช่น การมีผลิตภัณฑ์ ใหม่ ๆ เพื่อเพิ่มรายได้ดอกเบี้ยรับเงินกู้ 1.รายงาน การวิเคราะห์ เงินกู้ 2.ฐานข้อมูล ของสหกรณ์ สมาชิก 3 3 M


| แผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565 (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการตาม แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับความ เสี่ยง 1.2 เพื่อให้ลูกหนี้เงินกู้ชำระ หนี้ได้ตามสัญญาและลด อัตราหนี้คั่งค้าง จาก อัตราร้อยละ 10 ให้เหลือ อัตราร้อยละ 5 1.2.2. การพิจารณาให้เงินกู้และ การปรับโครงสร้างหนี้ไม่ได้ให้ ความสำคัญกับความสามารถใน การชำระหนี้ 1.2.3 การกำกับติดตามหนี้ขาด ประสิทธิภาพ ทำ ไม่ทำ ไม่สมบูรณ์ 1. การวิเคราะห์สินเชื่อให้คำนึงถึงกระแสเงินสดและ ความสามารถในการชำระหนี้ของสหกรณ์สมาชิกผู้ขอกู้เป็น อันดับแรก ข้อเสนอแนะ - ไม่ควรนำกระแสเงินสดอนาคตมาใช้ประกอบการ พิจารณา ควรเป็นกระแสเงินสดที่เป็นปัจจุบันและตาม ข้อเท็จจริง เช่น การคำนวณกระแสเงินเข้าให้ยึดหลัก ข้อเท็จจริงและให้เป็นตามข้อเท็จจริงมากที่สุด ทำ ไม่ทำ ไม่สมบูรณ์ 1. ติดตามการชำระหนี้ของลูกหนี้ให้เป็นไปตามงวดชำระที่ กำหนดไว้ 2. ติดตามสถานการณ์ดำเนินงานและให้ข้อแนะนำหรือร่วมทำ แผนฟื้นฟู ของลูกหนี้ 3. กำหนดอัตราหนี้คั่งค้างให้ลดลง หรือไม่เกินอัตราร้อยละ 5 4. ติดตามการชำระหนี้ของลูกหนี้จัดชั้นต่ำกว่าคุณภาพ ลูกหนี้ ระหว่างดำเนินคดีและลูกหนี้ตามคำพิพากษาอย่างต่อเนื่อง 5. ลูกหนี้ตามคำพิพากษาไม่ชำระหนี้ให้ดำเนินการบังคับคดี 6. รายงานความคืบหน้าในการติดตามลูกหนี้จัดชั้นต่ำกว่า 1.รายงาน การวิเคราะห์ เงินกู้ 2.ฐานข้อมูล ของสหกรณ์ สมาชิก 1.รายงาน การติดตามแผน ฟื้นฟูของลูกหนี้ 2.รายงาน อัตราหนี้คั่งค้าง ของลูกหนี้ 3.รายงาน การติดตามการ ชำระหนี้ทุก 4 4 5 5 VH VH


| แผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565 (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการตาม แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับความ เสี่ยง คุณภาพ ลูกหนี้ระหว่างดำเนินคดี และลูกหนี้ตามคำพิพากษา ทุก 3 เดือน ปัญหา - ขาดการประเมินผลหลังการติดตามหลังการดำเนินงาน ตามแนวทางจัดการความเสี่ยงทุกกรณ๊ ข้อเสนอแนะ 1. ให้นำรายงานการติดตามหนี้และที่ประชุมคณะ ติดตามหนี้อย่างเคร่งครัด 2. ให้ติดตามประเมินผลหลังการดำเนินงานตามแนวทาง จัดการความเสี่ยงทุกกรณี 1 เดือน


| แผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565 (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการตาม แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับความ เสี่ยง 1.2.4 ความไม่เพียงพอต่อการ ประมาณการสำรองค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ทำ ไม่ทำ ไม่สมบูรณ์ 1. รายงานความคืบหน้าในการติดตามลูกหนี้จัดชั้นต่ำกว่า คุณภาพ ปัญหา - ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลเชิงลึกในปัญญาของลูกหนี้ส่งผล ให้การแก้ไขปัญหาไม่ตรงจุด - ข้อเสนอแนะ 1. ควรจัดเก็บข้อมูล การยืนยันยันยอดของลูกหนี้ และ ปัญหาของลูกหนี้เพื่อใช้ติดตามและให้ทราบปัญหา 2. แผนกจัดการธนกิจและสวัสดิการ ควรมีการติดตาม ประเมินผลข้อมูลรายงานอัตราหนี้คั่งค้างของลูกหนี้ และ รายงานการติดตามการชำระหนี้เป็นประจำทุกเดือน 1.รายงาน อัตราหนี้คั่งค้าง ของลูกหนี้ 2.รายงานการ ติดตามการชำระหนี้ ทุก 1 เดือน 4 5 VH ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน (นายสุริยา เพชรสุข) (นางพัชรพร เครือษา) (นางสาวชมจันทร์ เตชะวงค์) วันที่……2…8 …พ.ย. 2565 …………………………. วันที่ ............................................... 28 พ.ย. 2565 วันที่ ................................... 28 พ.ย. 2565 .......


| แผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565 รายงานผลประเมินการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงชุมนุมสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแห่งประเทศไทย ประจำปี 2565 – 2. ด้านการลงทุน (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการตาม แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับความ เสี่ยง 2.1 เพื่อให้ ช.ส.ค. ได้รับการ ชำระคืนจากเงินที่นำไป ลงทุนอย่างครบถ้วน 2.1.1. การตัดสินใจนำเงินไปฝาก หรือลงทุนโดยให้ความสำคัญเรื่อง ผลตอบแทนมากกว่าการพิจารณา อย่างละเอียดรอบคอบถึง ความสามารถในการส่งคืนเงิน ตามกำหนด 1. มีการกำหนดนโยบาย กำหนดสัดส่วนการจัดสัดส่วนการ ลงทุนเพื่อกระจายความเสี่ยง ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ 2. มีการกำหนดนโยบาย หรือแผนการลงทุนโดยพิจารณาถึง อันดับความน่าเชื่อถืออัตราผลตอบแทนและอายุของตราสาร ของหลักทรัพย์ต่าง ๆ ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ 3. มีการรายงานผลวิเคราะห์และปรับปรุงแผนการลงทุน ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ - มีรายงานผลวิเคราะห์ ขาดรายงานปรับปรุงแผนการลงทุน 1.ประกาศ นโยบายสัดส่วน การลงทุน 2.รายงาน ทางการเงิน ลงทุน เปรียบเทียบตาม ประกาศนโยบาย สัดส่วนการลงทุน 3.แผนการ ฝากและการ ลงทุน 4.รายงาน การเงินการ ลงทุน 5.รายงานผล วิเคราะห์และ ปรับปรุงแผนการ ลงทุน L L M


| แผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565 (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการตาม แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับความ เสี่ยง 2.2 เพื่อให้ช.ส.ค.มีฐานข้อมูล ที่มีประสิทธิภาพและ สามารถนำมาตัดสินใจใน การนำเงินไปลงทุน 2.2.2. ขาดการจัดการระบบที่มี ประสิทธิภาพครบถ้วนทันเวลา และนำมาใช้ในการบริหารเงิน ลงทุน 1. ออกแบบจัดทำระบบเก็บฐานข้อมูลด้านต่าง ๆ ของผู้ออก หุ้นรายแห่ง เพื่อใช้สำหรับการติดสินใจจะลงทุนครั้งต่อไป ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ - มีระบบจัดเก็บข้อมูลในการติดตามการลงทุน แต่การนำเงิน ไปลงทุนใหม่ จะต้องตรวจสอบข้อมูลจากฐานข้อมูลของตลาด หลักทรัพย์ เพื่อประกอบการพิจารณาอีกครั้ง 2. สรุปผลหรือรวบรวมข้อมูลความเคลื่อนไหวจากประมาณ การของนักวิเคราะห์จากบริษัทหลักทรัพย์ รายงานต่อผู้บริหาร ทุกไตรมาส ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ 1.ระบบ ฐานข้อมูล ที่มี ประสิทธิภาพ สำหรับเป็น เครื่องมือในการ จัดเก็บข้อมูลนั้นมา ใช้ในการติดตาม ตรวจสอบหรือจะ นำเงินไปลงทุนครั้ง ต่อไป 2.รายงานการ สรุปผล หรือข้อมูล ความเคลื่อนไหว จากการประมาณ การของการ วิเคราะห์จากบริษัท หลักทรัพย์ L L ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน (นายชัชชัย จันทร์กระจ่าง) (นางสุวรรณี มุติยารมย์) (นายณัฐวุฒิ อนันกิตติกุล) วันที่.......................................... วันที่.......................................... วันที่.......................................... 22 พ.ย. 65 22 พ.ย. 65 22 พ.ย. 65


| แผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565 แบบรายงานผลการตรวจประเมินการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง ประจำปี 2565 3. ด้านสภาพคล่อง (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการ แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยงปี 2565 โอกาส ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง ? เพื่อให้ ช.ส.ค. สามารถ ชำระหนี้และภาระผูกพัน เมื่อถึงกำหนด 3.1.1 ไม่มีการจัดทำประมาณ การเงินสด ติดตามประเมิน และทบทวนสถานะการเงิน และสภาพคล่องของ ช.ส.ค. อย่างใกล้ชิดเป็นประจำ สม่ำเสมอ 1.จัดทำประมาณการกระแสเงินสด (Cash Flow Projection) รายปี รายเดือน รายสัปดาห์ รายวัน เสนอ ผู้จัดการใหญ่ ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ 2.การนำข้อมูลจริงทุกสิ้นเดือนมา พิจารณาปรับปรุงประมาณการ กระแสเงินสด ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ 3.รายงานกระแสเงินสดต่อผู้จัดการ ใหญ่ ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ ประมาณการเงินสดรับจ่าย ล่วงหน้า ช.ส.ค. รายงานการประชุม คณะกรรมการอำนวยการหรือ คณะกรรมการดำเนินการแล้วแต่ กรณี 1 1 VL


| แผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565 (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการ แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยงปี 2565 โอกาส ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง 3.1.2 แผนการจัดหาทุนและ แผนการใช้ทุนไม่สัมพันธ์กัน 1.จัดทำแผนการให้เงินกู้กับสหกรณ์ สมาชิกและสหกรณ์อื่นเป็นรายเดือน ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ 2. ติดตามแผนการให้เงินกู้กับ สหกรณ์สมาชิกและสหกรณ์อื่นเป็น รายเดือน ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ 3. การกำหนดกรอบนโยบายการ บริหารสินทรัพย์และหนี้สิน กระจาย ไม่กระจุก ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ ข้อสังเกต 1. การจัดทำประมาณการกระแสเงิน สดไม่สอดคล้องกับแผนงาน งบประมาณประจำปี (Action Plan) แผนการระดมเงินฝาก และ หรือแผนการลงทุนประจำปี รายงานการติดตามและ ประเมินผลการดำเนินงานตาม แผนการระดมเงินฝาก และหรือ แผนการลงทุน 2 5 M


| แผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565 (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการ แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยงปี 2565 โอกาส ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง 2. แผนการจัดหาทุนและแผนการใช้ ทุนไม่สัมพันธ์กัน ทำให้เสียโอกาส ข้อเสนอแนะ 1.ควรมีผู้รับผิดชอบหลัก ในการ รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อนำมากำหนดนโยบายเร่งด่วน เพื่อลดความเสี่ยง 2. ลดขั้นตอนการพิจารณา จัดหา ทุนและการใช้ทุน เพื่อให้สัมพันธ์กัน ไม่เสียโอกาส 3. การจัดแผนงานงบประมาณ ประจำปี (Action Plan) ควรนำ ข้อมูลประมาณการกระแสเงินสด ประจำปีที่ผ่านมาประกอบการ พิจารณาจัดทำแผนการจัดหาทุน และการใช้ทุน


| แผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565 (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการ แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยงปี 2565 โอกาส ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง 3.1.3 ไม่มีแผนในการจัด สภาพคล่องในสถานการ ฉุกเฉิน 1.จัดทำเงินเบิกเกินบัญชีสถาบัน การเงินอื่น ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ 2.ให้จัดทำทะเบียนหลักทรัพย์เรียง ตามลำดับความสามารถเปลี่ยนเงิน สดได้เร็วและเรียงลำดับความ เสียหาย (เรียงลำดับจากเสีย ประโยชน์น้อยที่สุด) ทบทวนเป็น ประจำทุกเดือนและรายงานให้ ผู้บริหารทราบ ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ ข้อสังเกต 1. ช.ส.ค. มีข้อจำกัดในจัดทำเงิน เบิกเกินบัญชีสถาบันการเงินอื่น เนื่องจากมี NPL เกินมาตรฐาน 2. การจัดทำ MOU เพื่อรักษา สภาพคล่องอาจมีข้อจำกัดเรื่อง ระยะเวลา รายงานการดำรงอัตราส่วน ความเพียงพอของแหล่งเงินกับ การใช้เงิน (Net Stable Funding Ratio :NAFR) ใน ระยะ 1 ปี ข้างหน้า รายงานอัตราส่วนการดำรง สินทรัพย์เพื่อรองรับสถานการณ์ ด้านสภาพคล่องที่มีความรุนแรง (Liquidity Coverage Ratio : LCR) 3 5 H


| แผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565 (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการ แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยงปี 2565 โอกาส ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง ข้อเสนอแนะ 1. ช.ส.ค. ต้องบริหารลูกหนี้ NPL ตามเกณฑ์มาตรฐานของสถาบัน การเงิน 2. ควรจัดทำวงเงินกู้เบิกเกินบัญชีกับ สถาบันการเงินอื่นที่ยอมรับ NPL ของ ช.ส.ค.ได้โดยเร็ว 3.ควรมีแนวทางอื่นเพิ่มเติมในการ จัดการความเสี่ยง เพื่อลดปัจจัย สภาพคล่องในสถานการฉุกเฉิน ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน (นางเกศริน โรงสะอาด) (นายไพรวัลย์ คำสารีรักษ์) (นางสาวน้องรัตนา สิงห์โตทอง) 30 พ.ย.2565 30 พ.ย.2565 30 พ.ย.2565


| แผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ แบบรายงานผลประเมินการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงชุมนุมสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแห่งประเทศไทย ประจำปี 2565 – 4. ด้านปฏิบัติการ (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการตาม แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับความ เสี่ยง 4.1 เพื่อให้ ช.ส.ค. ไม่เกิด ความเสียหายอันเนื่อง มากจากการขาดการ กำกับดูแลกิจการที่ดีหรือ ขาดธรรมาภิบาล 4.1.1. ไม่มีการปรับปรุงหรือ ทบทวนโครงสร้างให้สอดคล้องกับ ภารกิจขององค์กรในปัจจุบัน 1. ตั้งคณะทำงานปรับปรุง หรือทบทวนโครงสร้างเพื่อให้ สอดคล้องกับภารกิจขององค์กร ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ ไม่มีการแต่งตั้งคณะทำงานปรับปรุงหรือทบทวนโครงสร้าง โดยปัจจุบันการทบทวนโครงสร้างอยู่ในการรวบรวมข้อมูล และนำเสนอโดยฝ่ายยุทธศาสตร์องค์กร 2. ประเมินวัดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน จาก Job description ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ 1. รายงานผล การทบทวน โครงสร้าง 2. รายงานผล การประเมิน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 3. คู่มือการ ปฏิบัติงานมีการ ปรับปรุงทุกปี 3 3 M


| แผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565 ✓ ✓ ✓ (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการตาม แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับความ เสี่ยง 4.1.2 ไม่มีการนำกิจกรรม ควบคุมภายในมาปรับปรุง ขั้นตอนการปฏิบัติงานหรือผัง กระบวนการทำงาน ตามคู่มือ การปฏิบัติงานที่มีการทบทวน และปรับปรุงใหม่ 3. ทบทวนและปรับปรุงขั้นตอนการปฏิบัติงานและคู่มือการ ปฏิบัติงานให้ครอบคลุมในทุกด้าน ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ ข้อเสนอแนะ ควรจัดทำคู่มือเป็นรูปเล่มให้กับทุกส่วนงาน 1. มีผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับกระบวนการควบคุมภายในของ องค์กร (จัดทำการควบคุมภายในขององค์กรทำการประเมิน คุณภาพการควบคุมภายใน ช.ส.ค. เพื่อกำกับควบคุมการ บริหาร ช.ส.ค.) ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ อยู่ในระหว่างการออกแบบประเมินการควบคุมภายใน 2. ผลการประเมินการควบคุมภายในมาปรับปรุงขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน หรือผังกระบวนการทำงาน เพื่อปรับปรุงคู่มือการ ปฏิบัติงานของแต่ละส่วนงาน 1. รายงานการ ควบคุมภายในของ ช.ส.ค. 2. รา ย งา น ก ารต รวจ ก าร ประเมินควบคุม ภายใน 3. รายงานผล ก า ร ติ ด ต า ม ประเมินผลอย่าง น้อยปีละครั้ง 4 4 H


| แผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565 ✓ (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการตาม แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับความ เสี่ยง ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ อยู่ในระหว่างการนำแบบประเมินการควบคุมภายในไปใช้ และ ติดตามประเมินผล


| แผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565 ✓ ✓ ✓ (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการตาม แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับความ เสี่ยง 4.2 เพื่อให้การดำเนินงาน เป็นไปตามมาตรฐาน 4.2.3 ขาดการนำผลการประเมิน คุณภาพการควบคุมภายในโดย กรมตรวจบัญชีสหกรณ์เสนอต่อ คณะกรรมการดำเนินการได้ พิจารณาเชิงวิเคราะห์ 1. นำผลการประเมินผลคุณภาพการควบคุมภายในของกรม ตรวจบัญชีสหกรณ์มาทบทวนปรับปรุงเป็นประจำทุกปี ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ 1.ผลการ ประเมินคุณภาพ การควบคุม ภายในโดยกรม ตรวจบัญชี สหกรณ์ 2.รายงาน การประชุมของ คณะกรรมการที่ เกี่ยวข้อง 2 2 VL


| แผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565 ✓ ✓ ✓ ✓ (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการตาม แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับความ เสี่ยง 4.3 เพื่อให้ ช.ส.ค. สามารถ ให้บริการแก่สหกรณ์ สมาชิกได้อย่างต่อเนื่อง 4.3.4 ไม่มีการจัดทำแผนสำรอง ข้อมูลระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบงานข้อมูลสำรอง เพื่อ ความปลอดภัยรองรับกรณี ระบบงานขัดข้องและแผนรองรับ การดำเนินงานธุรกิจต่อเนื่อง 1. สำรองข้อมูลแบบ Real time ด้วยระบบ Mirror Site หรือ Disaster Recovery Site สามารถกู้คืนข้อมูลเมื่อเกิด ภัยพิบัติ ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ มีการสำรองข้อมูล 2 ช่องทาง สำรองผ่านระบบ Cloud จาก บจก. นันทนา และสำรองใน Server โดยงานเทคโนโลยี สารสนเทศ และมีการติดตั้งใช้งานระบบ Mirror Site 2. จัดให้มีแผนสำรองกรณีฉุกเฉิน (Contingency Plan) และ ทดสอบเสมือนจริงปีละครั้ง ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ ข้อเสนอแนะ ควรจัดทำรายละเอียดอธิบายการสำรองข้อมูลกรณีฉุกเฉินเป็นลาย ลักษณ์อักษร เพื่อรับทราบและเกิดความมั่นใจในการใช้ระบบ 1.รายงาน การติดตั้งและใช้ งานระบบ Mirror Site 2. แผนสำรอง ฉุกเฉินและ รายงานการ ทดสอบเสมือนจริง 2 2 M ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน (นายชัชชัย จันทร์กระจ่าง) (นายสมเดช เจริญชัย) (นางพัชรพร เครือษา) วันที่........................................... วันที่........................................... วันที่........................................... 25 พ.ย. 65 25 พ.ย. 65 25 พ.ย. 65


แบบรายงานผลการตรวจประเมินการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง ของ ช.ส.ค.ประจำปี 2565 5. ด้านกลยุทธ์ (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการตาม แนวทางการจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับความ เสี่ยง 5.1 เพื่อให้การดำเนินงาน เป็นไปตามแผนกลยุทธ์ที่ สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมที่ เปลี่ยนไป 5.1.1 การจัดทำแผนงานและ งบประมาณประจำปี (แผนปฏิบัติการ) ไม่ สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ 1. นำผลการประเมินแผนงานและงบประมาณ ประจำปี มาทบทวนเพื่อให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ แผนกลยุทธ์ ร่างแผนงานและ งบประมาณประจำปี 2 2 VL 5.1.2. ขาดการประเมิน ความสำเร็จและ ความก้าวหน้าของแผน กลยุทธ์ 1. ประเมินความสำเร็จของแผนกลยุทธ์ทุก 1 ปี ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ ข้อเสนอแนะ 1. ควรนำผลการประเมินความสำเร็จที่ต่ำกว่า เกณฑ์มาปรับปรุงแก้ไข 2. ควรจัดสัมมนาเจ้าหน้าที่ ช.ส.ค. ให้เข้าใจ แผนกลยุทธ์ขององค์กร 1.รายงานการติดตาม ประเมินผลทุกปีและทุก รอบของแผนกลยุทธ์ 3 3 M 5.1.3. ก่อนออกผลิตภัณฑ์ ทางการเงิน หรือสวัสดิการ ไม่มีการศึกษาความเป็นไปได้ ของโครงการให้ ละเอียด รอบคอบ (Project feasibility study) 1. วิเคราะห์องค์ประกอบสำคัญ คือ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย รูปแบบการดำเนินงาน แผนการตลาด และประชาสัมพันธ์ ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ ข้อเสนอแนะ 1. ควรลดขั้นตอนการออกผลิตภัณฑ์ทางการ เงิน ให้สอดคล้องกับการลงทุนของสหกรณ์ รายงานโครงสร้างทาง การเงิน ต้นทุนและ ผลตอบแทนทางการเงิน และงบประมาณของ ช. ส.ค. รายงานโครงสร้างอายุ ของสมาชิกอัตราการ เสียชีวิตในแต่ละปี 3 3 M


(1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการตาม แนวทางการจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับความ เสี่ยง เพื่อลดการเสียโอกาสทางการเงิน 2. ควรสำรวจข้อมูลความต้องการการลงทุน ของสหกรณ์สมาชิกก่อนออกผลิตภัณฑ์ 3. ควรประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์การเงินและ การจัดสวัสดิการ ให้ทั่วถึง และมุ่งเน้นที่ กลุ่มเป้าหมายเป็นหลัก รายงานการศึกษา ความเป็นไปได้ของ โครงการที่มีองค์ประกอบ ครบถ้วน 5.1.4 ไม่มีการเตรียมการ สร้างกรรมการทดแทนเพื่อ ความต่อเนื่องในการดำเนิน ธุรกิจ 1. จัดทำหลักสูตรสำหรับกรรมการ ช.ส.ค. (บทบาท หน้าที่คณะกรรมการและการบริหารด้านการจัดการ องค์กรตามที่ กฎกระทรวงกำหนด) ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ 2. จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้กับคณะกรรมการ และผ่านการอบรมทั้ง 15 คน ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ 3. จัดทำทะเบียนคุมเกี่ยวกับการศึกษา คุณวุฒิ ประสบการณ์ และการผ่านการอบรม ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ ข้อเสนอแนะ 1. ควรทำแบบประเมิน ก่อนและหลังการอบรม 2. การจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติ ควรใช้ รูปแบบของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประเมินความรู้จาก แบบทดสอบก่อนและหลัง การฝึกอบรม ทะเบียนประวัติการ อบรมขอกรรมการ 3 3 M


(1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการตาม แนวทางการจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับความ เสี่ยง 3. ควรจัดให้มีชุดโปรแกรมทะเบียนประวัติของ บุคลากร ช.ส.ค. ทั้งระบบ 5.1.5 ขาดการวางแผนการ เตรียมสร้างเจ้าหน้าที่ระดับ บริหารทดแทนเพื่อความ ต่อเนื่องในการดำเนินงาน 1. มีแผนงานเตรียมสร้างผู้จัดการใหญ่ รองผู้จัดการ ใหญ่ ผู้จัดการ ทดแทน เพื่อความต่อเนื่องในการ ดำเนินธุรกิจ ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ 2. จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้กับบุคลากรแต่ละ ตำแหน่งให้มีความชัดเจนและเชี่ยวชาญในงาน ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ 3. มีบุคลากรที่ผ่านการพัฒนาเพื่อเตรียมสร้าง บุคคลากรเข้าสู่ตำแหน่งตามแผน ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ แผนพัฒนาเจ้าหน้าที่ ระดับบริหาร (มีการจัด อบรมให้ภายในองค์กรและ มีการส่งไปอบรมกับ หน่วยงานภายนอก) แผนพัฒนา ความก้าวหน้าของบุคลากร ช.ส.ค. รายงานการประเมินผล การพัฒนาบุคลากร รายบุคคลตามแผนพัฒนา บุคลากรของ ช.ส.ค. 3 4 H


(1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการตาม แนวทางการจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับความ เสี่ยง 4. การติดตามผลก้าวหน้าแต่ละตำแหน่ง ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ ข้อเสนอแนะ 1. ควรดำเนินการตามแผนพัฒนา ความก้าวหน้า ของบุคลากรของ ช.ส.ค. 2. ติดตามและประเมินผลบุคลากรรายบุคคล ตามแผนพัฒนาบุคลากรของ ช.ส.ค. 3. ควรจัดให้มีชุดโปรแกรมบริหารทรัพยากร บุคคลขององค์กรทั้งระบบ ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน ลงชื่อ................. .................................ผู้ประเมิน (นายไพรวัลย์ คำสารีรักษ์) (นายณัฐพิพัฒ วรฤทธิ์) (นางสาวภัค ศรีสวัสดิ์) วันที่ 25 พฤศจิกายน 2565 วันที่ 25 พฤศจิกายน 2565 วันที่ 25 พฤศจิกายน 2565


แบบรายงานผลการตรวจประเมินการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง ของ ช.ส.ค. ประจำปี 2565 – 6. ด้านตลาด (1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการ แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยงปี 2565 โอกาส ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง 6.1 เพื่อให้ผลตอบแทน ต้นทุนและ รายได้ของ ช.ส.ค. ไม่เกิดผล ก ร ะ ท บ ใน ท า ง ล บ จ า ก ก า ร เปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและ ราคาตราสารในตลาดเงินและ ตลาดทุน 6.1.1 ไม่มีการบริหารต้นทุน และผลตอบแทนที่เหมาะสม 1. เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ตามเป้าหมายและนำไปใช้ในการ บริหารงาน ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ ข้อสังเกต -ควรวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน เปรียบเทียบเป้าหมาย เป็นประจำ ทุกเดือน -ควรนำผลการวิเคราะห์มาใช้ใน ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ไ ด้ ทั น กั บ สถานการณ์ เพื่อให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ แนวทาง -ควรมีผู้รับผิดชอบหลัก นำผลการ วิ เค ร า ะ ห์ม า ห า รื อใน ร ะ ดั บ เจ้าหน้าที่ระดับบริหาร เพื่ อ ก ำ ห น ดแ น ว ท า ง ก า ร ดำเนินงาน -ควรมีรายงานผลการวิเคราะห์การ ปฏิบัติงานเปรียบเทียบเป้าหมาย แผนงานงบประมาณ ประจำปี 5 5 VH


(1) ข้อ (2) วัตถุประสงค์ (3) ปัจจัยเสี่ยง (4) การดำเนินการ แนวทางจัดการความเสี่ยง (5) หลักฐานยืนยัน (6) สถานะจัดการความเสี่ยงปี 2565 โอกาส ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง 2. มีรายงานต้นทุนและผลตอบ แทนทางการเงินเป็นประจำทุก เดือน ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ 3. มีการเปรียบเทียบระหว่าง ต้นทุนกับผลตอบแทนและส่วน เหลื่อมพร้อมกับวิเคราะห์แนวโน้ม อัตราผลตอบแทนในตลาดเงินและ ตลาดทุน ทำ ไม่ได้ทำ ไม่สมบูรณ์ ข้อสังเกต ควรจัดทำรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบในทางลบจากการ เปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและ ราคาตราสารในตลาดเงินและตลาด ทุน ราย งาน ต้ น ทุ น แ ล ะ ผลตอบแทนทางการเงิน เ ฉ ลี่ ย ถ่ ว ง น้ ำ ห นั ก ประจำเดือน ร า ย ง า น วิ เค ร า ะ ห์ แน วโน้ ม เศ รษ ฐกิ จแ ล ะ ทิศทางดอกเบี้ยจากสถาบัน การเงินต่างๆ ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน (นางเกศริน โรงสะอาด) (นางสุวรรณี มุติยารมย์) (นางสาวน้องรัตนา สิงห์โตทอง) 30 พ.ย.65 30 พ.ย.65 30 พ.ย.65


บทที่ 5 สิ่งที่นำไปจัดทำเป็นแผนงาน ประจำปี 2566 แนวทางปรับปรุง ตามข้อเสนอของคณะทำงานบริหารความเสี่ยง มีดังต่อไปนี้ 1. ควรผลิตภัณฑ์ด้านสินเชื่อที่สร้างแรงจูงใจสำหรับสหกรณ์สมาชิกที่เป็นลูกหนี้ที่ดี 2. การวิเคราะห์ลูกหนี้ ไม่ควรนำกระแสเงินสดในอนาคตมาใช้ประกอบในพิจารณาให้สินเชื่อ 3. การติดตามการชำระหนี้ของลูกหนี้ให้เป็นไปตามงวดที่กำหนดไว้ 4. ร่วมจัดทำแผนฟื้นฟูสหกรณ์สมาชิก และกำกับ ติดตามให้เป็นไปตามแผนฟื้นฟูฯ 5. เร่งติดตามลูกหนี้ชั้นต่ำกว่าคุณภาพ ลูกหนี้ระหว่างดำเนินคดี และลูกหนี้ตามคำพิพากษา โดยให้ทำอย่าง ต่อไปเนื่อง 6. ลูกหนี้ตามคำพิพากษาไม่ชำระหนี้ให้ดำเนินการบังคับคดี 7. ควรจัดเก็บข้อมูล การยืนยันยอดลูกหนี้ และปัญหาของลูกหนี้ เพื่อใช้ติดตาม และทราบปัญหา 8. วิเคราะห์ ปรับปรุงแผนการลงทุน 9. จัดทำประมาณการกระแสเงินสดให้สอดคล้องกับแผนงานงบประมาณประจำ (Action Plan) 10. แผนการจัดหาทุน และแผนการใช้ทุน ให้มีความสัมพันธ์กัน จะได้ไม่เสียโอกาส 11. การบริหารหนี้ NPL ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของสถาบันการเงิน 12. จัดการสัมมนาเจ้าหน้าที่ ช.ส.ค. เพื่อให้เข้าใจแผนกลยุทธ์ขององค์กร 13. สำรวจข้อมูลความต้องการการลงทุนของสหกรณ์สมาชิกก่อนออกผลิตภัณฑ์ทางการเงิน 14. ควรมีชุดโปรแกรมทะเบียนประวัติของเจ้าหน้าที่ ช.ส.ค. 15. ควรมีการทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบในการทางลบจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและราคา ตราสารในตลาดเงินและตลาดทุน


Click to View FlipBook Version