1. โครงการเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมในสถานศึกษา (Moral Development School : (MDS) แผนงาน งานวิชาการ ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง 2. สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรฐานที่ ๑ ผลลัพธ์ของการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 1.2 ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามหลักสูตรสถานศึกษา ตัวชี้วัดที่ 1.3 ผู้เรียนสามารถน าตนเองในการเรียนรู้ 3. หลักการและเหตุผล ตามที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้จัดด าเนินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมใน สถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Moral Development School ; MDS) เพื่อขับเคลื่อนการ เสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเป็นการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษาร่วมกับ การ สร้างจิตส านึกให้เด็กและเยาวชน เป็นคนดี มีคุณภาพ ทางโรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน สังกัดเทศบาล เมืองแพรได้รับนโยบายจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นมาปฏิบัติ : ดังนั้นทางโรงเรียนจึงได้จัดท ากิจกรรม เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศึกษาขึ้นเพื่อสนอง นโยบายของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เพื่อ เสริมสร้างและพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้มี คุณธรรม จริยธรรม สามารถแยกแยะระดับการกระท าตามโครงการ เสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมเชิงสัมพัทธ์ ดี ปกติ ชั่วใน สถานศึกษาได้และมีความสอดคล้องกับคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ที่ดีทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน เช่น รัก ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย มีความ รับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการท างาน รัก ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ และตามหลักการ ส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมเชิงสัมพัทธ์ ได้แก่ พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสาและรับผิดชอบ เป็นต้น ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่ศตวรรษที่ ๒๑ มุ่งส่งเสริม ให้ผู้เรียนมีคุณธรรม รักความเป็นไทย มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยีสามารถท างาน ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสันติ และวิสัยทัศน์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนา ผู้เรียนทุกคนเป็นก าลังของชาติ เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตส านึกในความเป็น พลเมืองไทย และส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีนโยบายเน้นการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้กับนักเรียน ดังนั้นคณะผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน จึงได้จัดโครงการ เสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมเชิงสัมพัทธ์ในสถานศึกษา (Moral Development School : (MDS) ขึ้น โดยอาศัยการเบิกจ่ายตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยรายได้และการจ่ายเงินของของ สถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองท้องถิ่น พ.ศ. 2562 หมวด 2 รายจ่ายของสถานศึกษา ข้อ 9 รายจ่ายของ สถานศึกษา(2)ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาส าหรับผู้เรียนโดยตรงและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการบริหารงาน ทั่วไปส าหรับสถานศึกษา ซึ่งมีรายการค่าใช้จ่ายเป็นไปตามแนวทางที่อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ก าหนด (7) ค่าวัสดุหรือครุภัณฑ์ที่เป็นสื่อหรืออุปกรณ์ส าหรับการใช้ในการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา ปรากฏ ในแผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. 2566 – 2570) ยุทธศาสตร์ ที่ 1 หน้า 144 และแผนปฎิบัติการ ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2567 หน้า 32 ของโรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน
4. วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพื่อให้ครูมีความรู้ความเข้าใจ แยกแยะระดับการกระท า ดี ปกติ ชั่วได้และเปรียบเทียบ ระดับของคุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ สถานการณ์คุณธรรมได้ ตามโครงการเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมใน สถานศึกษาได้และสามารถน าไปปรับใช้ในการบูรณาการสอนได้อย่างเหมาะสม ๔.๒ เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจให้กับนักเรียนแกนน า สร้างนักเรียนแกนน า แยกแยะระดับการ กระท า ดี ปกติชั่ว และเปรียบเทียบระดับของคุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ สถานการณ์คุณธรรมได้ตามโครงการ เสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมในสถานศึกษาได้ ๔.๓ เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ แยกแยะระดับการกระท า ดี ปกติ ชั่วและเปรียบเทียบระดับของคุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ สถานการณ์คุณธรรมได้อย่างถูกต้อง ๔.๔ เพื่อให้นักเรียนแกนน าได้ฝึกทักษะการขยายเครือข่ายและการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับ วิเคราะห์สถานการณ์ ดี ปกติ ชั่ว และเปรียบเทียบระดับของคุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ สถานการณ์คุณธรรมกับ เครือข่ายต่างโรงเรียนได้อย่างถูกต้อง ๔.๕ เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจในการด าเนินกิจกรรมตามโครงการเสริมสร้างคุณธรรมและ จริยธรรมเชิงสัมพัทธ์ในสถานศึกษาได้ 5. เป้าหมาย/ผลลัพธ์ 5.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ - นักเรียนโรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวันชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๖ จ านวน 426 คน - ผู้บริหารและคณะครูจ านวน ๔6 คน 5.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา ให้เป็น แหล่งเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ การสามารถแยกแยะระดับการกระท า ดี ชั่ว ปกติปลูกฝัง หล่อหลอม คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ การจัดการเรียนการสอนตามเนื้อหาสาระที่ ก าหนดไว้ในหลักสูตรอย่างสอดคล้องกับ วิถีชีวิตของผู้เรียน เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ ดี ชั่ว ปกติ เน้น การปฏิบัติจริง เพื่อน าไปสู่การปฏิบัติตนที่ เหมาะสมในวิถีชีวิตประจ าวัน การขยายเครือข่ายโรงเรียนในสังกัด 6. ความสอดคล้องกับแผนพัฒนาท้องถิ่น/แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา 6.1. สอดคล้องกับแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญา ท้องถิ่น กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น 6.2. สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นไทย กลยุทธ์ที่ ๒ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นไทยให้เกิดกับบุคลากรทุกคน สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ ๔ การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ที่ ๑ ส่งเสริม สนับสนุนการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ ๖ ดําเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ที่ ๒ ส่งเสริมการดําเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 7. วิธีด าเนินการ ขั้นตอน กิจกรรมด าเนินการ ระยะเวลา สถานที่ด าเนินการ ขั้นวางแผน (PLAN) 1. ประชุมคณะครูในกลุ่มสาระ ๒. การจัดท าโครงการเพื่อก าหนด รายละเอียดการท างานและขอ อนุมัติ ๓. ประชุมวางแผนโครงการ มกราคม 2567 โรงเรียนสาธิต เทศบาลบ้านเชตวัน ขั้นด าเนินการ (DO) ๑. ขออนุมัติโครงการ ๒. ติดต่อหน่วยงาน มกราคม ๒๕๖7- มีนาคม 2567 โรงเรียนสาธิต เทศบาลบ้านเชตวัน ขั้นก ากับติดตาม (Check) ๑. สรุปรายงานผลการด าเนิน โครงการ ๒. ประเมินความพึงพอใจ มีนาคม ๒๕๖7 โ ร ง เ รี ย น ส า ธิ ต เทศบาลบ้านเชตวัน ขั้นน าข้อมูลไปใช้ (Action) ๑. รายงานโครงการ ๒. ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มี ความหลากหลาย ๓. วางแผนโครงการส าหรับ ปีการศึกษาต่อไป พฤษภาคม -กันยายน 2๕๖7 โ ร ง เ รี ย น ส า ธิ ต เทศบาลบ้านเชตวัน 8. ระยะเวลาด าเนินการ ตั้งแต่เดือน มกราคม ๒๕๖7 ถึง เดือน กันยายน 2567 9. สถานที่ด าเนินการ โรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน ต าบลในเวียง อ าเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ 10. หน่วยงานผู้รับผิดชอบ ๑. ผู้บริหารสถานศึกษา ๒. คณะครูทุกคน ๓. นางสาวฑิตยา ใจมั่น 4.นักเรียนแกนน า MDS สภานักเรียน
11. งบประมาณด าเนินการ เบิกจ่ายรายได้สถานศึกษา ตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแต่อนุบาลถึงระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนสาธิตเทศบาลบ้านเชตวัน(รายหัว) ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2567 จ านวน 10,000 บาท ตามรายละเอียดดังนี้ 1. แฟ้มตราช้างห่วง 1 นิ้วห่วง จ านวน 5 แฟ้มๆละ 85 บาท เป็นเงิน 425 บาท 2. กระดาษถ่ายเอกสาร A4 80 แกรม จ านวน 2 ห่อๆ ละ 145 บาท เป็นเงิน 290 บาท 3. กระดาษบรู๊ฟ จ านวน 50 แผ่นๆ ละ 6 บาท เป็นเงิน 300 บาท 4. น้ ายาลบค าผิดแดง 18 มล. จ านวน 2 อันๆ ละ 105 บาท เป็นเงิน 210 บาท 5. เครื่องเจาะกระดาษ ps 800จ านวน 1 เครื่องๆละ 350 บาท เป็นเงิน 350บาท 6. ฟิวเจอร์บอร์ด 3 พับฉลุลาย จ านวน 5 แผ่นๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 750 บาท 7. ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่จ าเป็นตามโครงการ เป็นเงิน 2,325 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) หมายเหตุทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายได้ตามความจ าเป็นและเหมาะสม 12. การติดตามประเมินผล ตัวชี้วัดความส าเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ ๑. ผลงานที่เกิดขึ้นจากการ ส่งเสริมการจัดการจัดกิจกรรม เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม เชิงสัมพัทธ์ในถานศึกษา(MDS) ๒ . ค ว ามพึงพอใจของผู้ จัด ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ก า ร จั ด กิจกรรม เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมเชิงสัมพัทธ์ในถาน ศึกษา(MDS) ๑. สังเกต ๒. สอบถาม ๑. แบบสอบถาม ๒. แบบสังเกต ๓. แบบประเมินโครงการ 13. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 13.๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจ แยกแยะระดับการกระท า ดี ปกติ ชั่วและเปรียบเทียบระดับของ คุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ สถานการณ์คุณธรรมได้ตามโครงการเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมในสถานศึกษาได้และ สามารถน าไปปรับใช้ในการบูรณาการสอนได้อย่างเหมาะสมคิดเป็นร้อยละ ๙๐ ๑๓.๒ นักเรียนแกนน ามีความรู้ความเข้าใจในการด าเนิน กิจกกรม นักเรียนแกนน า แยกแยะ ระดับการกระท า ดีปกติ ชั่วและเปรียบเทียบระดับของคุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ สถานการณ์คุณธรรมได้ตามโครงการ เสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมในสถานศึกษาได้คิดเป็นร้อยละ ๙๐ ๑๓.๓ นักเรียนในโรงเรียนสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ แยกแยะระดับการกระท า ดี ปกติ ชั่ว และเปรียบเทียบระดับของคุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ สถานการณ์คุณธรรม ได้อย่างถูกต้องคิดเป็นร้อยละ ๙๐
๑๓.๔ นักเรียนแกนน าได้ฝึกทักษะการขยายเครือข่ายและการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับวิเคราะห์ สถานการณ์ ดีปกติชั่วและเปรียบเทียบระดับของคุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ สถานการณ์คุณธรรมกับเครือข่ายต่าง โรงเรียนนักเรียนในเครือข่ายร่วมกิจกรรมและสามารถแยกแยะระดับการกระท าได้อย่างถูกต้องคิดเป็นร้อยละ ๙๐ ๑๓.๕ การเสริมสร้างแรงจูงใจในการด าเนินกิจกรรมตามโครงการเสริมสร้างคุณธรรมและ จริยธรรมในสถานศึกษาสามารถสร้างแรงจูงใจในการท างานของครูและแกนน าได้คิดเป็นร้อยละ ๙๐ 14. ผู้จัดท าโครงการ (ลงชื่อ) (นางสาวฑิตยา ใจมั่น) ครูผู้สอน 15.ผู้เสนอโครงการ (ลงชื่อ) (นางสาวฑิตยา ใจมั่น) หัวหน้างานกิจการนักเรียน 16.ผู้รับผิดชอบโครงการ (ลงชื่อ) (นางกิตติมา เทพสาร) รองผู้อ านวยการสถานศึกษา 17. ผู้อนุมัติโครงการ (ลงชื่อ) (นางสาวเกียรติสุดา กาศเกษม) หัวหน้าสถานศึกษา ปฏิบัติราชการแทน นายกเทศมนตรีเมืองแพร่