The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือ สูงวัยต้นแบบ เล่ม 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Prateep Chankong, 2022-12-02 10:33:21

สูงวัยต้นแบบ ชก.มช. เล่ม 2 ปี 2565

หนังสือ สูงวัยต้นแบบ เล่ม 2

Keywords: สูงวัยต้นแบบ ม

ชมรมผู้เ ชก. มช.ชียงใหม่

เล่มท่ี ๒ พ.ศ.๒๕๖๕

๙๑ ๘๖ ๘๖
๘๖ ๘๕ ๘๕ ๘๔

๘๔ ๘๔ ๘๓

๘๑ ๘๑ ๘๐ ๘๐

กษียณ มหาวิทยาลัยเ

ชมรมผู้เกษียณ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ (ชก.มช.)

ชก. มช.

เล่มที่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕

จาก เล่ม่ ๑ สู่่�เล่่ม ๒ ชก. มช.

ประธานชมรมผู้้เ� กษียี ณ มหาวิิทยาลัยั เชียี งใหม่่

ชมรมผู้�้เกษีียณมหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ ได้้จััดทำหนัังสืือสููงวััยต้้นแบบ
ชก.มช. เล่่มที่่� ๑ ปีี พ.ศ. ๒๕๖๓ เผยแพร่ใ่ ห้้กัับสมาชิกิ นักั ศึึกษาเก่่า และบุุคคล
ทั่่ว� ไป ในรููปแบบหนังั สืือและ E-Book ได้้รับั ความสนใจอย่า่ งมาก วััตถุุประสงค์์
เพื่่อ� นำเสนอเรื่อ� งราวการดำเนิินชีีวิติ ของผู้้�อาวุุโสท่่านที่่�เกษีียณอายุุราชการจาก
มหาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่่ อายุุ ๘๐ ปีขีึ้น� ไป ที่่ม� ีสี ุขุ ภาพแข็ง็ แรงทั้้ง� ร่า่ งกายและจิติ ใจ
มีีวิิถีีชีีวิิตการดููแลสุุขภาพ การออกกำลัังกาย ตลอดจนการบริิโภค รวมทั้้�ง
ข้้อคิิดเห็็นที่่�จะฝากให้้กัับสมาชิิกรุ่่�นน้้องด้้วย ปััจุุบัันผู้้�อาวุุโสที่่�เกษีียณจาก
มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ที่่�มีีอายุุ ๘๐ ปีีขึ้�นไป มีีมากกว่่า ๖๐๐ ท่่าน ปีี ๒๕๖๕
ชมรมผู้เ้� กษียี ณมหาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่่ ได้้มีโี ครงการจัดั ทำหนังั สือื “สููงวัยั ต้้นแบบ
ชก.มช. เล่่ม ๒ ปีี ๒๕๖๕” โดยได้้รัับการสนัับสนุุนจากมหาวิิทยาลััยเช่่นเคย
ชมรมฯ ได้แ้ ต่่งตั้ง� คณะกรรมการพิิจารณาผู้้�อาวุโุ สสููงวัยั ต้้นแบบที่่ม� ีอี ายุมุ ากกว่า่
๘๐ ปีี ได้้จำนวน ๑๔ ท่่าน ยัังมีีอีีกเป็็นจำนวนมาก ไม่่น้้อยกว่่า ๖๐๐ ท่่าน
ทางชมรมฯ จะได้้ดำเนินิ การจััดพิิมพ์์ต่่อๆ ไป
คณะกรรมการได้ก้ ำหนดคำถามมาตรฐาน ๕ ข้้อ คือื (๑) เพื่่อ� ทราบประวัตั ิิ
และผลงานของท่่านในช่่วงเวลาการใช้้ชีีวิิตในมหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ (๒) เพื่่�อ
ทราบว่า่ ท่า่ นได้้มีสี ่ว่ นช่ว่ ยสร้้างและพัฒั นาให้้กับั มหาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่อ่ ะไรบ้้าง
ตลอดจนความประทัับใจที่่�ท่่านมีีต่่อมหาวิิทยาลััย (๓) เพื่่�อให้้ทราบสถานภาพ
ทางครอบครัวั และความเป็็นอยู่�ในปััจจุบุ ันั (๔) เพื่่อ� ให้้ทราบจริยิ วัตั รประจำวััน
และ (๕) ข้้อแนะนำจากท่่านฝากไปถึึงสมาชิิก ชก.มช. เพื่่�อให้้สมาชิิกรุ่่�นน้้อง
ได้้ใช้้ชีีวิิตวััยเกษีียณอย่่างมีีคุุณภาพต่่อไป การทำงานของคณะทำงานได้้แบ่่ง
ความรัับผิิดชอบในการออกไปพบปะและเก็็บข้้อมููล นำมาเรีียบเรีียงจััดทำเป็็น
หนังั สือื เล่่มนี้้�
คณะทำงานหวังั ว่า่ หนังั สือื เล่ม่ นี้้จ� ะเป็น็ ประโยชน์แ์ ละสร้้างแรงบันั ดาลใจ
ให้้กับั สมาชิกิ ชก.มช. อย่่างมีคี วามสุขุ ต่อ่ ไป

รองศาสตราจารย์์ประทีปี จัันทร์์คง
ประธานชมรมผู้�เ้ กษีียณ มช.
๓ ธันั วาคม ๒๕๖๕

ชก. มช. สารจากอธิิการบดีี
มหาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่่ ได้้สนับั สนุนุ การดำเนินิ งานของชมรมผู้เ�้ กษียี ณ
มหาวิทิ ยาลััยเชียี งใหม่่ (ชก.มช.) โดยทิิศทางของชมรมฯ ไม่่ใช่แ่ ค่ผ่ ู้�ส้ ููงอายุุ
มาอยู่�ร่วมกััน ตลอดระยะเวลาที่่�ผ่่านมาชมรมฯ ได้้ แสดงให้้เห็็นว่่า สามารถ
สร้้างเครือื ข่า่ ยของผู้เ�้ กษียี ณของมหาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่แ่ ละเป็น็ ตัวั เชื่อ� มโยง
ระหว่า่ งมหาวิทิ ยาลัยั เชีียงใหม่่กัับผู้ท้� ี่่�เกษีียณไปแล้้ว มหาวิทิ ยาลัยั ตระหนััก
ดีีว่่า ผู้�เ้ กษียี ณเป็น็ ผู้�้ที่่ม� ี ี ศัักยภาพทั้้ง� พลังั กายและพลังั ใจ สามารถช่่วยเหลือื
มหาวิทิ ยาลััยและสังั คมตามศักั ยภาพได้เ้ ป็็นอย่่างดีี
ในนามของมหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ ขอแสดงความยิินดีีกัับหนัังสืือ
“สููงวัยั ต้้นแบบ ชก.มช. เล่่มที่่� ๒ พ.ศ.๒๕๖๕” โดยหนัังสือื เล่ม่ นี้้ไ� ด้้คัดั เลืือก
ผู้ส�้ ููงวัยั ต้้นแบบ จำนวน ๑๔ ท่า่ นจากคณะกรรมการชมรมผู้เ้� กษียี ณ แนวคิดิ
และการใช้้ชีีวิิตของผู้�้สููงวััยต้้นแบบจะเป็็นแรงบัันดาลใจที่่�ดีีให้้กัับผู้�้เกษีียณ
รุ่่�นหลััง ๆ และเป็น็ ตััวอย่า่ งการขัับเคลื่อ� นคุณุ ภาพชีีวิิตของผู้้ส� ููงวััยในทุกุ มิิติิ
ให้้สามารถดำรงชีวี ิติ ได้อ้ ย่า่ งมีี ความสุขุ ทั้้ง� ด้า้ นร่า่ งกาย อารมณ์ ์ ปัญั ญาและ
สัังคม ขอชื่�นชมและเป็็นกำลัังใจให้้กัับคณะกรรมการของ ชมรมผู้�้เกษีียณ
ทุุกท่่านที่่�ได้้ทำสิ่�งดีี ๆ ให้้กัับผู้�้เกษีียณและมหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่
มหาวิิทยาลััยพร้้อมที่่� จะส่่งเสริิมและให้้การสนัับสนุุนกิิจกรรมของชมรมฯ
ต่่อไปตามความเหมาะสม ในโอกาสนี้้� ขออำนวย พรให้้การจััดทำหนัังสืือ
“สููงวัยั ต้้นแบบ ชก.มช. เล่ม่ ที่่� ๒ พ.ศ.๒๕๖๕” ในครั้�งนี้้� ดำเนินิ ไปด้้วยความ
เรียี บร้้อยสััมฤทธิ์์ผ� ลตามวััตถุปุ ระสงค์ท์ ี่่�ตั้ง� ไว้้ทุุกประการ

ศาสตราจารย์์ ดร. นายแพทย์์พงษ์ร์ ักั ษ์์ ศรีีบัณั ฑิติ มงคล
อธิกิ ารบดีมี หาวิิทยาลัยั เชียี งใหม่่

สารบัญั ชก. มช.

จากเล่ม่ ๑ สู่�เ่ ล่ม่ ๒ ก

สารจากอธิกิ ารบดีี

สููงวััยต้้นแบบ ชก.มช. ๖
๑๑
๑. ศาสตราจารย์์ ดร.พาณี ี เชี่ย่� ววานิิช อายุุ ๙๑ ปีี ๑๔
๒. ศาสตราจารย์์เกียี รติิคุุณ นพ.ปััญจะ กุลุ พงษ์์ อายุุ ๘๖ ปีี ๑๙
๓. รองศาสตราจารย์์ ทพ.พิชิ ิิต โคตรจรััส อายุุ ๘๖ ปี ี ๒๗
๔. คุณุ เรี่ย� ม ภููริินันั ท์์ อายุุ ๘๖ ปี ี ๓๓
๕. รองศาสตราจารย์์สนอง ไชยารััศมี ี อายุุ ๘๕ ปีี ๓๘
๖. ผู้ช�้ ่ว่ ยศาสตราจารย์ร์ุ่�งเรืือง บุญุ โญรส อายุุ ๘๕ ปี ี ๔๓
๗. รองศาสตราจารย์์ ดร.อู่�แก้้ว ประกอบไวทยกิิจ อายุุ ๘๔ ปี ี ๔๘
๘. รองศาสตราจารย์์ ดร.สุวุ ิิทย์์ รุ่่�งวิสิ ััย อายุุ ๘๔ ปี ี ๕๓
๙. รองศาสตราจารย์์ประจักั ษ์์ สุดุ ประเสริิฐ อายุุ ๘๔ ปีี ๖๓
๑๐. คุุณจินิ ตนา วาฤทธ์ ์ อายุุ ๘๓ ปีี ๖๘
๑๑. รองศาสตราจารย์์ ดร.สุขุ ุุม สุุขพัันธ์์โพธาราม อายุุ ๘๑ ปี ี ๗๔
๑๒. คุณุ ศรีีจงกล สาระพันั ธุ์์� อายุุ ๘๑ ปี ี
๑๓. ศาสตราจารย์เ์ กียี รติคิ ุุณ ดร.วิจิ ิติ ร ศรีสี ุพุ รรณ อายุุ ๘๐ ปี ี
๑๔. รองศาสตราจารย์์ ดร.นุชุ นาฏ จงเลขา อายุุ ๘๐ ปี ี

บทกลอนจาก รศ.นราวััลย์์ พููลพิพิ ัฒั น์์ ๘๐
คณะกรรมการจััดทำำหนัังสือื ๘๑

ชก. มช.

เล่มที่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕

ชก. มช.

ศาสตราจารย

ดร.พาณี เชยี่ ววานิช

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ 1
เกิดวนั ที่ ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๔
ปัจจบุ ันอายุ ๙๑ ปี

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕

ศาสตราจารย์์ ดร.พาณีี เชี่่�ยววานิิช

ศาสตราจารย์์ ดร.พาณีี เชี่ย�่ ววานิชิ เกิดิ เมื่อ� วันั ที่่� ๘ เม.ย. ๒๔๗๔ ที่่�
กรุงุ เทพฯ เรียี นชั้้น� ประถมที่่โ� รงเรียี นหุตุ ะวณิชิ ถ.บ้้านหม้้อ พาหุรุ ัดั กรุงุ เทพฯ
เรียี นชั้้น� มัธั ยมศึกึ ษาที่่โ� รงเรียี นราชินิ ี ี สอบเข้้าคณะวิทิ ยาศาสตร์ ์ จุฬุ าลงกรณ์์
มหาวิทิ ยาลััย เมื่ �อปีี ๒๔๙๑ แต่่เรียี นได้้ไม่่ถึงึ ปีีก็ส็ อบชิงิ ทุนุ ก.พ. ไปเรียี น
ชีีววิทิ ยาที่่�สหรัฐั อเมริิกาได้้ จบปริญิ ญาตรีีทางด้า้ น Zoology ที่่ม� หาวิยิ าลัยั
คอร์์เนล นิิวยอร์์ก และจบปริิญญาโทและเอกที่่�มหาวิิทยาลััยวิิสคอนซิิน
เมื่่อ� ปีี ๒๕๐๑
อาจารย์์พาณีี เริ่�มรัับราชการที่่�แผนกชีีววิิทยา จุุฬาลงกรณ์์
มหาวิิทยาลััย ในปีี ๒๕๐๑ จากนั้้�นในปีี ๒๕๐๗ โอนย้้ายมารัับราชการที่่�
คณะวิิทยาศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลััยเชีียงใหม่่ เป็็นผู้ว้� างรากฐานอันั มั่่น� คงให้้แก่่
ภาควิชิ าชีวี วิทิ ยา
อาจารย์์พาณีี เคยดำรงตำแหน่่งหััวหน้้าภาควิิชาชีีววิิทยาคนแรก
เป็็นเวลานานติิดต่่อกัันกว่่า ๑๐ ปีี และเคยดำรงตำแหน่่งรองอธิิการบดีี
ฝ่่ายวิิชาการ มหาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่่ ในช่ว่ งปีี ๒๕๒๐ – ๒๕๒๒ กัับตำแหน่่ง
คณบดีบี ัณั ฑิิตวิิทยาลััย ช่่วงปีี ๒๕๒๒ – ๒๕๓๐
ในช่ว่ งปีี ๒๕๒๕ – ๒๕๒๗ อาจารย์์พาณีี
ยัังได้้ดำรงตำแหน่่งเป็็นผู้�้อำนวยการสมาคม
ชีีววิิทยาศึึกษาแห่่งเอเชีีย (Asian Association
for Biology Education) ด้้วย

2 สูงู วััยต้น้ แบบ ชก.มช.

อาจารย์พ์ าณีสี มรสกับั นายแพทย์์เพียี ร เชี่ย่� ววานิิช เมื่อ� ปีี ๒๕๐๕
มีีบุุตรชาย ๒ คน คืือ นายวััชรพงศ์์ (เกิิดปีี ๒๕๐๗) และนายพีีรพจน์์
(เกิดิ ปีี ๒๕๐๙)
อาจารย์์พาณีีเกษีียณอายุุราชการเมื่�อปีี ๒๕๓๔ ปััจจุุบัันอยู่�ที่�บ้้าน
ถ.นิมิ มานเหมินิ ท์ ์ ซ.๑๗ ซึ่่ง� เป็น็ บ้้านที่่อ� ยู่�มาตั้ง� แต่ป่ ีี ๒๕๓๕ โดยอยู่่�กับั ลููกชาย
คนโต และมีผี ู้�ค้ อยดููแลคนหนึ่่�ง ส่ว่ นลููกชายคนเล็็กนั้้น� ทำงานเป็็นแพทย์์อยู่�
ที่่ส� หรัฐั อเมริิกา

อาจารย์พ์ าณีี ตื่่น� นอนประมาณ ๖ โมงเช้้า ส่ว่ นการเข้้านอนนั้้�นจะ
เข้้านอนเมื่�อง่ว่ ง อาจารย์ด์ ููโทรทัศั น์์ ชอบดููข่า่ วการเมืือง แต่ล่ ะครก็็ดูู
ทางด้า้ นสุขุ ภาพนั้้น� อาจารย์ม์ ีโี รคความดันั และเบาหวานอยู่�บ้าง เคย
เป็น็ โรคหัวั ใจ ต้้องผ่่าตัดั เปลี่่�ยนเส้้นเลือื ดที่่�ไปยังั หััวใจ ช่่วงหลังั นี้้� อาจารย์ม์ ีี
ปััญหาทางด้้านการหกล้้มอยู่ �หลายครั้ �ง

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕ 3

อาจารย์์พาณีี เคยเป็็นผู้้�ดููแลควบคุุมหอพัักหญิิงด้้วย ซึ่่�งสมััยนั้้�น
เรียี กว่า่ เป็็นตำแหน่ง่ อธิกิ ารวิิทยาลััย ๒ (หญิงิ ) สัังกััดสำนักั งานอธิิการบดีี
อาจารย์บ์ อกว่า่ ตอนที่่ม� าทำงานช่ว่ งแรกๆ ถููกมอบหมายให้้ทำอะไร
ก็็ทำหมด ทำด้้วยความสนุุก แม้้ว่่าจะมีีงานเยอะแยะและบางครั้�งก็็ยาก
อาจารย์ไ์ ม่เ่ คยรู้้ส� ึกึ เบื่่อ� หรือื เหงา
อาจารย์พ์ าณีเี คยเรียี บเรียี งหนังั สือื ธรรมชาติวิ ิทิ ยาสำหรับั เด็ก็ เรื่อ� ง
“ณ ชายหาดสะอาดทราย” ในปีี ๒๕๐๙ เคยแปลและเรียี บเรียี งหนังั สืือ
“วิทิ ยาศาสตร์์ชีีวภาพ เล่่ม ๑” ในปีี ๒๕๑๕
ในปีี ๒๕๑๖ อาจารย์์พาณีี ได้้
แปลหนัังสือื ชื่�อ “The Green Frontier :
Stories of Chemurgy” ที่่�เขีียนโดย
Wheeler McMillen ใช้้ชื่่�อไทยว่่า
“แนวหน้้าแห่่งอาณาจัักรพืืช” ซึ่่�งเป็็น
เรื่ � อ ง ร า ว ก า ร วิิ จัั ย ท า ง เ ค มีี เ กี่ � ย วกัั บ พืื ช
หนัังสืือเรื่�องนี้้�เป็็นหนัังสืือแปลเล่่มที่่� ๖
ในหนัังสืือชุุด “นวทััศน์์” ของนิิตยสาร
“เสรีีภาพ”

4 สููงวััยต้น้ แบบ ชก.มช.

ข้้อคิดิ ที่่�ฝากให้้สมาชิิกชมรมผู้เ�้ กษียี ณ มหาวิทิ ยาลัยั เชีียงใหม่่
ทำอะไรตามที่่�ใจชอบ ทำแล้้วสบายใจก็็ทำ แต่่ก็็เหลืือบดููคนรอบๆ
ก่่อนว่่าพวกเขาชอบใจไหม ถ้้าเขาไม่่ชอบก็็อย่่าทำ อย่่าไปขััดใจคนอื่่�น
ส่ว่ นด้้านการดููแลสุขุ ภาพนั้้�น ขอให้้ดููแลตัวั เองโดยไม่่ประมาท

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕ 5

ชก. มช.

ศาสตราจารยเ กยี รตคิ ณุ

ดร.นายแพทยป ญจะ กุลพงษ

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่
เกิดวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๔๗๙
ปัจจุบัน อายุ ๘๖ ปี

6 สูงู วััยต้้นแบบ ชก.มช.

ศาสตราจารย์์เกียี รติคิ ุณุ ดร.นายแพทย์ป์ ััญจะ กุลุ พงษ์์

ศาสตราจารย์์เกีียรติิคุุณ ดร.นายแพทย์์ปััญจะ กุุลพงษ์์ เป็็น
ปููชนีียบุุคคลอีีกท่่านหนึ่่�งที่่�เป็็นต้้นแบบซึ่ �งเรีียกได้้ว่่าเป็็นอาจารย์์ผู้�้อุุทิิศตน
เพื่่�อผู้�้อื่�นและมหาวิิทยาลััยมาโดยตลอด ถึึงแม้้ท่่านจะผ่่านโลกมา ๘๖ ปีี
แล้้ว ท่่านก็ย็ ัังทำงานเพื่่อ� ส่่วนรวมอย่า่ งมีีความสุุข
อาจารย์์เกิิดที่่�จัังหวััดสมุุทรสาคร เมื่�อวัันที่่� ๓๐ พฤศจิิกายน
พ.ศ. ๒๔๗๙ สมรสกับั อาจารย์์ส่อ่ งสีี กุุลพงษ์์ มีบี ุุตรีหี นึ่่�งคน อาจารย์อ์ ยู่่�กับั
ภรรยา ณ บ้้านเลขที่่� ๑๐๐/๑ ซอยวััดหมื่ น� ตููม ถ.พระปกเกล้้า ต.พระสิงิ ห์์
อ.เมืือง เชีียงใหม่่
อาจารย์ส์ ามารถพููดได้้ ๔ ภาษา คือื ภาษามอญ ญี่่ป� ุ่่�น จีนี ไทย เพราะ
เกิิดในสมััยสงครามโลกและได้อ้ ยู่่�กัับคนมอญ คนจีีน ฯลฯ อาจารย์ส์ ำเร็็จ
การศึึกษาระดัับมัธั ยมจากโรงเรีียนเตรีียมอุุดมศึกึ ษา และสำเร็็จการศึกึ ษา
แพทยศาสตรบัณั ฑิติ จากคณะแพทยศาสตร์ศ์ ิริ ิริ าชพยาบาล (มหาวิทิ ยาลัยั
แพทยศาสตร์์ ซึ่่�งปััจจุุบัันคืือ มหาวิิทยาลััยมหิิดล) ปีี ๒๕๐๓ สอบผ่่าน
American Board of Pediatrics, USA. ปีี ๒๕๑๑ เคยเป็็นแพทย์ป์ ระจำ
บ้้านภาควิชิ ากุมุ ารเวชศาสตร์์ คณะแพทยศาสตร์์ รพ.ศิิริริ าช แพทย์์ประจำ
บ้้านภาควิชิ ากุมุ ารเวชศาสตร์์ คณะแพทยศาสตร์์ Washington University,
St. Louis, Missouri, USA., Research Fellow in Hematology and
Cancer ที่่�สถาบัันเดียี วกััน, Research Associate in Hemostasis and
Thrombolysis, St. Louis University, St. Louis, Mo., USA.

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕ 7

อาจารย์์รัับราชการที่่�มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ตั้�งแต่่ พ.ศ. ๒๕๑๑
สอนวิิชา Hematology and Cancer แก่น่ ักั ศึึกษาแพทย์ช์ั้น� ปีที ี่่� ๖ Intern
และ Residents
นอกจากนี้้� อาจารย์ย์ ัังได้…้
สอนวิชิ ากุุมารเวชศาสตร์์ แก่่นัักศึึกษาคณะพยาบาลศาสตร์์
สอนวิชิ า Hematology แก่่นัักศึึกษาเทคนิิคการแพทย์์
เป็็นหัวั หน้้าหน่ว่ ยโลหิิตวิทิ ยา สถาบันั วิิจััยวิิทยาศาสตร์ส์ ุขุ ภาพ
เป็็นหัวั หน้้าห้้องปฏิิบััติิการกลางและธนาคารเลือื ด
รพ.มหาราชนครเชียี งใหม่่
สอนวิชิ า Clinical Pathology นัักศึึกษาแพทย์ ์ ชั้้�นปีที ี่่� ๓ - ๔

ประสบการณ์์
อาจารย์์ได้้เป็็นผู้้�ก่่อตั้�งคณะเทคนิิคการแพทย์์ มช. ร่่วมกัับ
ศาสตราจารย์์ นายแพทย์์ชััยโรจน์์ แสงอุุดม เคยเป็็นหััวหน้้าภาควิิชา
Clinical Microscopy คณะเทคนิิคการแพทย์์ มช. หััวหน้้าภาควิชิ ากุมุ าร
เวชศาสตร์์ คณะแพทยศาสตร์์ มช. เป็น็ บรรณาธิิการวารสาร “เชียี งใหม่่
เวชสาร” คณะแพทยศาสตร์์ มช. เป็็นกรรมการสอบวิิทยานิิพนธ์์

8 สูงู วััยต้น้ แบบ ชก.มช.

คณะพยาบาลศาสตร์์ บรรยายวิิชาการด้้านจริิยธรรมการวิิจััย คณะ
แพทยศาสตร์์ และมีีส่่วนเกี่�ยวข้้องด้้านจริิยธรรมการวิิจััย โดยเป็็น
ประธานกรรมการให้้กัับคณะพยาบาลศาสตร์์ คณะแพทยศาสตร์์ คณะ
เทคนิิคการแพทย์์ และสถาบันั วิิจัยั วิิทยาศาสตร์์สุขุ ภาพ
อาจารย์์ได้้รัับพระราชทานปริิญญาวิิทยาศาสตรดุุษฎีีบััณฑิิต
(เทคนิิคการแพทย์)์ และได้้รัับพระราชทานเหรียี ญรััตนาภรณ์ ์ ชั้้น� ที่่� ๔
ปััจจุุบััน อาจารย์์เป็็นประธานคณะกรรมการจริิยธรรมการวิิจััย
บางคณะ และเป็็นกรรมการบริหิ ารคณะเทคนิคิ การแพทย์์

กิิจวััตรประจำวันั
เข้้านอน ๒ ทุ่่�ม และตื่น� ๔.๓๐ น. เพื่่�อจะได้้มีีเวลาเล่่น Line กัับ
เพื่่�อนๆ อาจารย์์มีีปััญหาด้้านสุุขภาพเล็็กน้้อย คืือความดัันโลหิิตสููง
หลายๆ เดือื นจะมีีหััวใจเต้้นเร็ว็ มาก ๑ - ๒ นาทีี แล้้วหายได้เ้ อง
๖.๓๐ น. เริ่ม� กวาดถนนหน้้าบ้้านและทางเข้้าวัดั หมื่่น� ตููม รดน้้ำต้้นไม้้
บริิเวณนั้้�น ใส่่บาตรพระสงฆ์์ที่่�ผ่่านบริิเวณที่่�กวาดถนน แต่่งตััวไปทำงาน
ที่่�โรงพยาบาล (ทำฟรีีไม่่ได้้รัับเงิิน แต่่เสีียค่่าจอดรถให้้โรงพยาบาลปีีละ
๓๐๐ บาท ด้้วย)
อาจารย์์กิินอาหารได้้ทุุกชนิิด แต่่ลดพวกเนื้้�อสััตว์์ เพิ่่�มผัักกัับปลา
มากขึ้ น�

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕ 9

ข้้อคิิดที่่ฝ� ากให้้สมาชิกิ ชมรมผู้้�เกษีียณ มหาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่่
พุทุ ธศาสนาเน้้นสอนเราให้้มีี “สติ”ิ อยู่่�ทุกุ ขณะ จะได้ไ้ ม่่ “ประมาท”
ไม่่พููดมากกัับเด็็กวััยรุ่่�น เพราะเขาเบื่่�อที่่�จะฟัังเราพููดซ้้ำ แต่่ควรจะพููดมาก
กัับเพื่่�อนๆ จะได้้ใช้้เซลล์์สมองอยู่ �เสมอ ช่่วยชะลอความเสื่ �อมของสมองให้้
เกิดิ ช้้าลง เตืือนเด็ก็ ๆ ของเราให้้ทุกุ คนเขียี นประวััติิชีวี ิิตของตนเอง บางคน
แก่ต่ ัวั แล้้วเสียี ใจที่่�ทำสิ่ง� ที่่�ไม่่เหมาะสมเอาไว้้
ทำใจให้้สงบ อย่่าไปวุ่่�นเรื่อ� งชาวบ้้านมากนักั “อย่า่ วิดิ น้้ำเข้้าเรือื ”
เรากำลัังเดิินทางไปสู่่�ความตาย จึึงควรจะใช้้เวลาชมนกชมไม้้
กิินอาหารอร่อ่ ยๆ ไม่่ทะเลาะกับั ใคร ทำอะไรที่่ช� ่่วยสัังคมได้้ก็็ทำเสียี จะได้้
สบายใจ
ครููสอนว่่า “เถีียงให้้แพ้้ ห้้ามชนะ” มิิฉะนั้้�นจะมีีศััตรููเพิ่่�มขึ้�นอีีก
บอกเขาตามข้้อเท็็จจริิงหรืือความคิิดของเราเท่่านั้้�น อย่่าพยายามเอาชนะ
คนอื่่น�
ติิดตามข่่าวสารทุุกวััน เพราะเหตุุการณ์์ในโลกเปลี่่�ยนทุุกวััน
เมื่่�อเข้้าใจการเปลี่่ย� นแปลงก็็จะไม่่รู้เ้� บื่่อ� หน่า่ ย

10 สููงวััยต้้นแบบ ชก.มช.

ชก. มช.

รองศาสตราจารย ทันตแพทย

พชิ ิต โคตรจรัส

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 11
เกดิ วันท่ี ๑๙ ธนั วาคม ๒๔๗๙
ปัจจุบัน อายุ ๘๖ ปี

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕

รองศาสตราจารย์์ ทันั ตแพทย์พ์ ิชิ ิิต โคตรจรัสั

ประวัตั ิิ และการศึึกษา
อาจารย์เ์ ป็น็ เด็ก็ หนองคาย ที่่ม� ีโี อกาสได้เ้ ข้้ามาเรียี นที่่ก� รุงุ เทพ เรียี น
จบชั้�นมััธยมจากโรงเรีียนอำนวยศิิลป์์ ปีี ๒๔๙๘ อาจารย์์ได้้เข้้าเรีียนต่่อที่่�
มหาวิทิ ยาลัยั แพทยศาสตร์์ (ปัจั จุบุ ันั เป็น็ คณะแพทยศาสตร์ศ์ ิริ ิริ าชพยาบาล)
ได้้รัับปริญิ ญาทันั ตแพทยศาสตรบัณั ฑิิต ในปีี ๒๕๐๔
ปีี ๒๕๑๖ อาจารย์ไ์ ด้้รับั ทุนุ WHO ไปศึกึ ษาต่อ่ ที่่� Tufts University,
Boston Mass., USA. ได้้รัับปริิญญาโท M.S., Postdoctorate
Prosthodontics และ American Board of Prosthodontics.
เริ่�มต้้นชีวี ิติ ที่่เ� ชีียงใหม่่
อาจารย์์ได้้ตััดสิินใจย้้ายมาเชีียงใหม่่เพื่่�อเริ่�มงานที่่�โรงพยาบาล
สวนดอก เป็น็ ทันั ตแพทย์ ์ ประจำโรงพยาบาลสวนดอก
ด้้านครอบครัวั
อาจารย์์ได้้พบกัับสาวงาม
คนดีีชาวเชียี งใหม่่ คืือ ทันั ตแพทย์์
หญิิงมลิิวััลย์์ และแต่่งงานกัันในปีี
๒๕๐๘ มีบี ุุตรและธิดิ าอย่่างละคน
มีคี รอบครััวที่่อ� บอุ่่�น และพักั อาศัยั
ในบ้้านที่่�แวดล้้อมด้้วยต้้นไม้้ ติิด
ถนนเชียี งใหม่่-หางดง

12 สูงู วััยต้น้ แบบ ชก.มช.

ความประทับั ใจในชีีวิติ การทำงานในมหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่
อาจารย์์มีีความรู้�้สึึกภููมิิใจและโชคดีีมากที่่�ได้้มีีโอกาสร่่วมงาน
กัับผู้้�มีีประสบการณ์์และความสามารถหลายๆ ท่่าน ในการก่่อตั้�งคณะ
ทัันตแพทยศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่่ ซึ่่ง� เปิดิ ในปีี ๒๕๑๕

“เราเริ่�มต้้นจากสอนเรื่�อง ถอนฟันั อุุดฟััน ใส่ฟ่ ััน ผมยังั มีีโอกาสร่ว่ ม
ริิเริ่ม� ก่่อตั้ง� ภาควิชิ าทันั ตกรรมประดิษิ ฐ์์

เริ่�มแรก คณะเรามีีนัักเรีียนสิิบกว่่าคน แล้้วคณะทัันตะของเรา
ก็็โตขึ้้น� เรื่�อยๆ อย่า่ งสง่า่ งาม มีีภาควิิชาเพิ่่ม� ขึ้น� หลากหลาย”

อาจารย์ไ์ ด้้มีโี อกาสรับั ใช้้คณะทันั ตแพทยศาสตร์์ ด้้วยการเป็น็ คณบดีี
ช่ว่ งปีี ๒๕๒๑-๒๕๒๕

“ผมสามารถพููดอย่่างภาคภููมิิใจได้้ว่่า การมีีโอกาสได้้ทำงานให้้กัับ
คณะทันั ตแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลัยั เชีียงใหม่่ เป็น็ หนึ่่ง� ในความทรงจำที่่ด� ีี
ที่่�สุุดของผม”

ข้้อคิิดที่่ฝ� ากให้้สมาชิกิ ชมรมผู้เ�้ กษียี ณ
มหาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่่
กิินอิ่่�ม นอนหลับั ออกกำลััง ปล่่อยวาง
และมีคี วามสุขุ ในสิ่่ง� ที่่�เรามี ี ทุุกๆ วััน
มองไกล คิิดไกล อย่า่ หยุุด

อาจารย์ท์ ัันตแพทย์ถ์ าวร อนุมุ านราชธน 13
คณบดีีคนแรกของคณะทันั ตแพทยศาสตร์์ มช.

และ อาจารย์ท์ ันั ตแพทย์์พิิชิติ โคตรจรััส
เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕

ชก. มช.

คณุ เรย่ี ม ภูรนิ นั ทน

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่
เกิดวันท่ี ๑๑ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๗๙
ปัจจบุ ันอายุ ๘๖ ปี

14 สูงู วัยั ต้้นแบบ ชก.มช.

คุณุ เรี่่�ยม ภููรินิ ัันทน์์

คุุณเรี่�ยม ภููริินัันท์์ เกิิดเมื่ �อวัันที่่� ๑๑ มิิ.ย. ๒๔๗๙ ที่่� อ.หลัังสวน
จ.ชุมุ พร เรียี นจบประโยคอาชีวี ศึกึ ษาชั้น� สููงที่่� รร. พณิชิ ยการพระนคร เมื่่อ� ปีี
๒๔๙๙ จากนั้้น� เข้้ารับั ราชการที่่ค� ณะวิทิ ยาศาสตร์ ์ จุฬุ าลงกรณ์ม์ หาวิทิ ยาลัยั
และต่่อมาในปีี ๒๕๐๘ โอนย้้ายมารัับราชการที่่�คณะวิิทยาศาสตร์์
มหาวิทิ ยาลััยเชียี งใหม่่
ในปีี ๒๕๓๐ คุุณเรี่�ยมทำงานในตำแหน่่งหััวหน้้างานบริิหารและ
ธุุรการ สำนัักงานเลขานุุการ คณะวิิทยาศาสตร์์ ซึ่่�งเป็็นเหมืือนตำแหน่่ง
เลขานุุการคณะในปััจจุุบััน แต่่ในสมััยนั้้�นยัังไม่่มีีตำแหน่่งนี้้� คุุณเรี่�ยม
ได้้จััดระเบีียบสะสางงานด้้านสารบรรณและการเจ้้าหน้้าที่่� จััดทำ
แฟ้ม้ ประวัตั ิบิ ุคุ ลากรแต่ล่ ะคน จัดั ทำทะเบียี นเกี่ย� วกับั เครื่อ� งราชอิสิ ริยิ าภรณ์์
ของบุุคลากร จััดแฟ้้มเอกสารงานสารบรรณให้้เป็็นระบบ และเป็็นผู้�้ช่่วย
เลขานุุการของกรรมการประจำคณะ

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕ 15

คุุณเรี่�ยมมีคี ติใิ นการทำงานว่า่ “งานคือื ชีีวิิต ชีีวิิตคือื งาน บันั ดาลสุขุ
ทำงานให้้สนุกุ จะเป็น็ สุขุ ขณะทำงาน” คุณุ เรี่ย� มได้ท้ ำงานสร้้างความเข้้มแข็ง็
ให้้งานบริิหารและธุุรการของคณะวิิทยาศาสตร์์ คุุณเรี่ �ยมมีีความสามารถ
รอบรู้้�ในงานที่่�ทำและรัับผิิดชอบงานอย่่างแท้้จริิง จนได้้เป็็น “ข้้าราชการ
ดีีเด่่น” ของคณะวิิทยาศาสตร์์ ประจำปีี ๒๕๓๖ คุุณเรี่�ยมทำงานที่่�
คณะวิิทยาศาสตร์์เป็น็ เวลา ๓๑ ปีี จนเกษีียณอายุรุ าชการในปีี ๒๕๓๙
ปััจจุุบัันคุุณเรี่�ยมอยู่�ที่�บ้้าน ต.หนองหอย อ.เมืือง เชีียงใหม่่ โดย
อยู่่�กัับลููกสาวซึ่่�งทำงานที่่�สำนัักงานใหญ่่ขององค์์การโทรศััพท์์เชีียงใหม่่
มีีความสุุขอยู่่�กัับการปลููกต้้นไม้้ ดููแลต้้นไม้้หลากหลายชนิิดที่่�ปลููกใน
บริิเวณบ้้าน

16 สููงวััยต้น้ แบบ ชก.มช.

คุุณเรี่ย� มเข้้านอนประมาณ ๔ ทุ่่�ม ตื่่�นก่่อน ๖ โมงเช้้าทุุกวััน สำหรัับ
อาหารการกิินนั้้�น คุุณเรี่ �ยมมีีฝีีมืือทางด้้านการทำอาหาร มีีอยู่่�ช่่วงหนึ่่�งที่่�
ลููกสาวชัักชวนให้้ทำอาหารขายที่่� “นานาจัังเกิ้�ล” ซึ่่ง� คุณุ เรี่ย� มก็ไ็ ด้ท้ ำปลาทูู
ต้้มเค็็ม พะโล้้ไข่่แข็็งดำ แกงเหลืือง ฯลฯ ไปขาย ซึ่่�งก็็ทำให้้ได้้ความสุุข
ความสนุุก ได้้พบปะผู้้�คนจำนวนมาก แถมยัังได้้ใช้้ใส่่บาตรพระที่่�มา
บิิณฑบาตแถวนั้้น� ด้้วย สำหรับั การใส่บ่ าตรนั้้�น ปััจจุุบัันคุุณเรี่ย� มจะใส่่บาตร
ทุุกวันั อาทิิตย์์ที่่�บริเิ วณหน้้ามหาวิทิ ยาลัยั เชีียงใหม่่
เมื่่�ออยู่�ที่�บ้้าน คุุณเรี่�ยมจะดููทีีวีี ชอบดููข่่าว ดููกีีฬา ชอบดููมวย
เป็น็ พิิเศษ ไม่่ได้้ดููละคร คุณุ เรี่ย� มยังั คงอ่า่ นหนังั สือื ได้้ดีีโดยไม่่ต้อ้ งใช้้แว่่นตา
เพราะได้้ไปผ่่าตััดเปลี่่�ยนเลนส์์ตาชนิิดพิิเศษมาแล้้ว คุุณเรี่ �ยมอ่่านหนัังสืือ
ทั่่�วไป ไม่่ได้้เจาะจงประเภท คุุณเรี่�ยมเล่่น “เฟซบุ๊๊�ก” กัับ “ไลน์์” ด้้วย
แต่เ่ ป็็นแบบอ่่านและดููที่่�คนอื่่น� โพสต์เ์ ท่า่ นั้้�น
ด้้านการท่่องเที่่�ยว ที่่�ผ่่านมา คุุณเรี่�ยมก็็ได้้ไปเที่่�ยวกัับเพื่่�อนๆ ที่่�
ภาคอีีสาน และเมื่ �อครั้�งชมรมผู้�้เกษีียณคณะวิิทยาศาสตร์์ จััดนำเที่่�ยว
ไปลำปาง คุุณเรี่ �ยมก็็ได้้เดิินขึ้้�นเขาไปวััดเฉลิิมพระเกีียรติิพระจอมเกล้้าฯ
กัับทางกลุ่�ม มาแล้้ว
ด้้านสุุขภาพ คุุณเรี่�ยมมีีความดัันโลหิิตสููง และมีีน้้ำตาลในเลืือดสููง
เล็็กน้้อย

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕ 17

ข้้อคิิดที่่ฝ� ากให้้สมาชิกิ ชมรมผู้เ�้ กษีียณ มหาวิทิ ยาลััยเชีียงใหม่่
ให้้ทำใจให้้สบายๆ ดููแลตัวั เองเรื่อ� งอาหารการกินิ การออกกำลังั กาย
นั้้น� อาจใช้้แค่่การเดิินก็็ได้้ ไม่ต่ ้้องถึึงกัับออกไปวิ่่ง� และให้้พักั ผ่่อนมากๆ
ทางด้้านกิิจกรรมที่่�ทาง ชก.มช. จััดนั้้�น คุุณเรี่�ยมอยากให้้มีีการ
จััดกิิจกรรมบางอย่่างเพิ่่�มเติิมสำหรัับกลุ่�มผู้�้สููงอายุุมากๆ โดยเฉพาะบ้้าง
นอกเหนืือจากกิิจกรรมรวมสำหรัับทุุกกลุ่�ม และหากมีีใครเจ็็บไข้้ได้้ป่่วย
ก็็อยากให้้มีีการสื่ �อสารแจ้้งกัันให้้ทราบด้้วย

18 สููงวััยต้น้ แบบ ชก.มช.

ชก. มช.

รองศาสตราจารย

สนอง ไชยารัศมี

คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ 19
เกิดวนั ที่ ๑๒ กนั ยายน ๒๔๘๐
ปัจจบุ ันอายุ ๘๕ ปี

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕

รองศาสตราจารย์์สนอง ไชยารััศมีี

รองศาสตราจารย์์สนอง ไชยารััศมีี เกิิดที่่�จัังหวััดลำพููน มีีพี่่�น้้อง
ด้้วยกััน ๖ คน ชาย ๕ คน หญิิง ๑ คน ปััจจุุบัันเสีียชีีวิติ เหลืือแต่่อาจารย์์
คนเดีียว อาจารย์์จบชั้�นมัธั ยมปีที ี่่� ๕ จาก รร.จักั รคำคณาทร ต่่อมาได้้ย้าย
ไปเรียี นต่่อชั้น� มััธยมปีที ี่่� ๖ ที่่� รร.ปรินิ ส์ร์ อยแยลส์์วิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่่ โดยไป
พัักอาศััยที่่�บ้้านคุุณป้้าเรืือนแก้้ว ซึ่่�งเป็็นภรรยาของหลวงศรีีประกาศ
วิิชยาภััย และเรีียนจบชั้�นมััธยมปีีที่่� ๘ พร้้อมกัับได้้รัับตำแหน่่ง Best
All Around Student เนื่่�องจากมีีผลงานดีีเด่่น โดยเฉพาะได้้ช่่วยเหลืือ
งานฉลองครบรอบ ๕๐ ปีี (Golden Jubilee) ของโรงเรีียนซึ่่�งได้้รัับ
พระมหากรุณุ าธิิคุณุ จากพระบาทสมเด็จ็ พระมงกุุฎเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััว เมื่่อ� ครั้�ง
ยัังทรงเป็็นสยามกุุฎราชกุุมารเสด็็จทรงวางศิิลาราก เมื่่�อวัันที่่� ๒ มกราคม
ค.ศ. ๑๙๐๖ และพระราชทานนามว่่า "The Prince Royal's College"
อาจารย์ไ์ ด้ไ้ ปศึึกษาต่่อในสาขาวิชิ าเทคนิคิ การแพทย์์ มหาวิทิ ยาลัยั
แพทยศาสตร์์ การศึกึ ษาในชั้้น� ปีที ี่่� ๑ และ ๒ ต้อ้ งเรีียนที่่�คณะเภสัชั ศาสตร์์
ภายในจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย เนื่่�องจากในรุ่่�นนั้้�นทางคณะเภสััชศาสตร์์
รัับนัักศึึกษา ๕ สาขาวิิชา มาเรีียน คืือ เภสััชศาสตร์์ ทัันตแพทยศาสตร์์
พยาบาลศาสตร์ ์ สาธารณสุขุ ศาสตร์์ และเทคนิคิ การแพทย์์ ทำให้้ห้้องเรีียน
มีีไม่พ่ อ ต้อ้ งไปยืืมเต็น็ ท์์ของทหารอากาศมาตั้�งไว้้ข้้างหน้้าตัวั ตึกึ ของคณะฯ
ส่ว่ นม้้านั่่ง� เรียี นก็ท็ ำเป็น็ ม้้ายาวแบบนักั เรียี นทั่่ว� ไป พวกเราจึงึ เรียี กนักั ศึกึ ษา
รุ่่�นนี้้�ว่่า “รุ่่�นเต็น็ ท์”์ การใช้้ห้้องปฏิบิ ัตั ิิการก็็ลำบาก บางครั้ง� กว่่าจะทำงาน
เสร็็จในห้้องปฏิิบััติิการก็เ็ กือื บ ๒๓.๐๐ น. แล้้ว

20 สูงู วััยต้้นแบบ ชก.มช.

ในชั้้�นปีีที่่� ๓ อาจารย์์ได้้ย้ ายไปเรีียนที่่�โรงเรีียนเทคนิิคการแพทย์์
รพ.จุฬุ าลงกรณ์์ เป็น็ รุ่่�นแรกจำนวน ๑๒ คน และฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิิงานในหน่ว่ ยงาน
ต่่างๆ ของโรงพยาบาล

เมื่่�อสำเร็็จการศึึกษาชั้�นปีีที่่� ๓ ได้้รัับอนุุปริิญญาเทคนิิคการแพทย์์
(อ.ทกพ.) ซึ่่ง� อาจารย์แ์ ละเพื่่�อนๆ เอามาแปลว่า่ “เอาเท่่านี้้�ก็พ็ อ” เนื่่�องจาก
มีีกฎกติิกาว่่า ผู้�้ที่่�จะได้้เรีียนต่่อในชั้้�นปีีที่่� ๔ จะต้้องสอบให้้ได้้คะแนนเกิิน
๗๐ % ของทุุกวิชิ า
ประมาณปลายเดืือนมีีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๒ อาจารย์์ได้ไ้ ปเยี่�ยมเพื่่�อน
ที่่�ศิริ ิิราช พบฝรั่ง� ชาวอเมริิกันั ชื่่�อ James R. Mcquee กำลัังตรวจเช็็คของที่่�
ส่ง่ มาช่ว่ ยเหลือื คณะแพทยศาสตร์เ์ ชียี งใหม่ ่ จึงึ ได้้พููดคุยุ กันั พอดี ี นพ.บุญุ สม
มาร์ต์ ินิ ซึ่่ง� เป็น็ คณบดีคี ณะแพทย์เ์ ชียี งใหม่ใ่ นขณะนั้้น� ได้เ้ ข้้ามาบอกว่า่ หาคน
มาทำหน้้าที่่�ช่่วย Mr. Mcquee นานแล้้ว ขอแต่ง่ ตั้�งให้้อาจารย์์เป็น็ Chief
of Supply คนแรกของคณะแพทย์เ์ ชียี งใหม่่ ให้้ไปสมัคั รงานที่่ส� ำนักั งานของ
คณะแพทย์เ์ ชียี งใหม่ ่ ที่่ช�ั้น� ๒ ของ รร.เทคนิคิ การแพทย์ศ์ ิริ ิริ าช ในวันั นั้้น� เลย

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕ 21

งานประจำที่่�ทำนอกจากการจััดระเบีียบหน่่วยพััสดุุและช่่วยตรวจ
เช็็ควััสดุุตลอดจนเครื่ �องมืือทางการแพทย์์ที่่�ส่่งมาจากสหรััฐอเมริิกาแล้้ว
ยัังต้้องรัับผิิดชอบในการจััดส่่งข้้าวของเครื่ �องใช้้ของอาจารย์์แพทย์์ที่่�จะไป
สอนในคณะแพทย์์เชีียงใหม่่ โดยส่ง่ ไปทาง รสพ. ด้้วย
ในเย็็นวัันที่่� ๓๑ ธัันวาคม ปีี ๒๕๐๓ ได้้รัับมอบหมายจากคณบดีี
นพ.บุุญสม มาร์์ติิน ให้้ไปช่่วยดููแลนัักศึึกษาแพทย์์เชีียงใหม่่รุ่่�นแรก ซึ่่�งได้้
ฝากเรีียนที่่ค� ณะแพทยศาสตร์์ รพ.จุฬุ าลงกรณ์ใ์ น ๒ ปีแี รก โดยเดิินทางไป
เชียี งใหม่่ด้้วยขบวนรถไฟ และมีีแพทย์ห์ ญิงิ ผกา ศรีวี ณิิช ช่ว่ ยควบคุุมดููแล
ไปด้้วย
ถึึงสถานีีรถไฟเชียี งใหม่เ่ ช้้าวันั ที่่� ๑ มกราคม ๒๕๐๔ มีอี าจารย์์ของ
คณะฯ มาต้้อนรัับ และให้้นัักศึึกษาแพทย์์ขึ้�นรถบััส โดยมีีอาจารย์์สนอง
ทำหน้้าที่่�เป็็นโฆษก ประกาศให้้พี่่�น้้องชาวเชีียงใหม่่ได้้รัับทราบว่่า ที่่�
ชาวเชียี งใหม่ไ่ ด้ท้ ำ Sticker สีแี ดง ร้้องขอให้้จัดั ตั้้ง� มหาวิทิ ยาลัยั ในภาคเหนือื
ตั้ง� แต่ป่ ีี พ.ศ. ๒๔๙๓ นั้้น� บััดนี้้ช� าวเชีียงใหม่ไ่ ด้้สมหวัังแล้้ว ขอนำนัักศึึกษา
แพทย์เ์ ชีียงใหม่่รุ่่�นแรกมาเป็น็ ของขวัญั ปีีใหม่่ ๒๕๐๔ ด้้วย
เมื่อ� มาอยู่�ที่เ� ชียี งใหม่่ อาจารย์ต์ ้อ้ งทำหน้้าที่่ข� องนักั เทคนิคิ การแพทย์์
โดยตรวจ Specimens และช่ว่ ยงานธนาคารเลือื ดทั้้ง� ในตอนกลางวันั และ
อยู่ �เวรตรวจในเวลากลางคืืนด้้วย นอกเหนืือไปจากการทำหน้้าที่่�หััวหน้้า
พัสั ดุ ุ ซึ่่�งเป็็นงานค่่อนข้้างหนักั บางครั้ง� ต้อ้ งตรวจเช็็คของกับั Mr. Mcquee
จนถึึงเที่่�ยงคืนื ก็ม็ ีี นอกเหนืือไปจากนั้้�น ก็็ต้้องรับั งานซ่อ่ มแซมสิ่�งที่่�เสีียหาย
เร่่งด่่วน เช่่น นำคนงานและช่่างซ่่อมท่่อประปาแตก งานสร้้างซุ้�มรัับเสด็็จ

22 สููงวััยต้้นแบบ ชก.มช.

พระราชอาคันั ตุกุ ะของในหลวงรัชั กาลที่่� ๙ เป็น็ ต้้น ทุกุ อย่า่ งที่่ค� ณบดีบี ุญุ สม
มาร์ต์ ินิ สั่่ง� ต้อ้ งให้้เสร็จ็ ด้้วยดีีทุกุ ครั้ง�
ต่่อมา อาจารย์ไ์ ด้ก้ ลัับเข้้าศึึกษาต่่อชั้�นปีีที่่� ๔ เป็น็ นักั ศึกึ ษารุ่่�นแรก
ของคณะเทคนิคิ การแพทย์์ มช. ในปีี พ.ศ. ๒๕๑๐ และฉลองปริญิ ญาร่ว่ มกับั
นักั ศึกึ ษาแพทย์ร์ ุ่่�นที่่� ๕ ที่่อ� าคารสันั ทนาการด้้วย ในปีี พ.ศ. ๒๕๑๔ อาจารย์์
ได้้เดิินทางไปศึึกษาต่่อที่่� School of Medical Technology, Missouri
Baptist Hospital รััฐ Missouri สหรััฐอเมริกิ า จนจบหลักั สููตร ๑ ปี ี สอบ
ได้บ้ อร์ด์ M.T. (ASCP) และได้อ้ ยู่่�ปฏิบิ ััติิงานเพิ่่�มเติิมต่่ออีกี ๑ ปีี
ตลอดระยะเวลาของการปฏิบิ ัตั ิงิ านของอาจารย์ ์ มีสีิ่ง� ที่่น� ่า่ ภาคภููมิใิ จ
ซึ่ง� อาจารย์์ได้้บันั ทึึกไว้้ในความทรงจำหลายประการดังั นี้้�
ประการแรก มีีความประทัับใจในการวางตนของท่่านคณบดีี
นพ.บุุญสม มาร์์ติิน ที่่�ท่่านไม่่ถืือตััว เป็็นกัันเองตลอดเวลา เป็็นเฒ่่าแก่่ไป
สู่�ขอผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์อรพิินธ์์ โหประพััฒน์์ เพื่่�อนร่่วมรุ่่�นและภรรยา
คนแรกของอาจารย์ ์ ซึ่่ง� อาจารย์ไ์ ด้้ยึดึ ถือื เอาเป็น็ ตัวั อย่า่ งของการปฏิบิ ัตั ิงิ าน
อย่่างมีีน้้ำใจเช่่นนี้้�ตลอดมา
ประการที่่�สองคืือ การร่่วมมืือกัับศาสตราจารย์์เกีียรติิคุุณ
นพ.ชััยโรจน์์ แสงอุุดม ในการจััดตั้้�งโครงการคณะเทคนิิคการแพทย์์
เชีียงใหม่่ ขณะที่่�ทำหน้้าที่่�เลขานุุการคณะฯ ได้้ปรัับปรุุงอาคารเก่่าของ
ภาควิิชากายวิิภาคศาสตร์์ให้้เป็็นอาคารเรีียนของคณะเทคนิิคการแพทย์์
และได้จ้ ััดทำป้้ายชื่�อ “คณะเทคนิคิ การแพทย์์” ด้้วยมืือตนเอง ซึ่่�งยังั คงอยู่�
จนถึึงปัจั จุุบันั

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕ 23

ประการที่่�สาม ในวัันแม่แ่ ห่่งชาติิของทุกุ ๆ ปี ี คือื วันั ที่่� ๑๒ สิงิ หาคม
สมาคมกล้้วยไม้้เชีียงใหม่่ได้้จััดให้้มีีการประกวดกล้้วยไม้้และการจััด
สวนกล้้วยไม้้ ในบริิเวณอาคารพุุทธสถาน อาจารย์์ได้้เป็็นผู้้�แทนของ
คณะแพทยศาสตร์์จััดสวนกล้้วยไม้้ทุุกปีี เพื่่�อชิิงถ้้วยพระราชทานของ
สมเด็็จพระบรมราชิินีีนาถสิริ ิกิ ิติิ์ฯ� โดยมีีกติกิ าอยู่่�ว่า่ สวนใดได้้รัับรางวัลั ที่่� ๑
รวม ๓ ครั้�ง จะได้้รับั ถ้้วยใบนี้้�ไปครอง ปรากฏว่า่ อาจารย์ส์ ามารถเอาชนะ
นักั จัดั สวนมือื อาชีพี และคว้้าถ้้วยรางวัลั พระราชทานมาให้้คณะแพทยศาสตร์์
เชียี งใหม่่ได้้
ป ร ะ ก า ร ที่่� สี่� ไ ด้้ร่่ ว ม ง า นกัั บ
รองศาสตราจารย์์นคร ณ ลำปาง จััดตั้้�ง
“ชมรมรััตตััญญูู” โดยทำหน้้าที่่�เลขานุุการ
ของชมรมตลอดเวลาหลายปีี ก่่อนที่่�จะ
มาเป็น็ ประธานชมรมคนที่่� ๓

24 สูงู วัยั ต้้นแบบ ชก.มช.

ด้้านการบริิหาร อาจารย์์ได้้ทำหน้้าที่่�เลขานุุการคณะ หััวหน้้า
ภาควิิชา คณบดีี นอกจากนี้้�ยัังเป็็นประธานการสอบเข้้ามหาวิิทยาลััยของ
นัักเรีียน ๑๗ จัังหวััดในภาคเหนืือ และอาจารย์์ยัังทำงานวิิจััยเพื่่�อเสนอ
ขอตำแหน่่งทางวิชิ าการด้้วย

ปััจจุุบััน อาจารย์์พัักอาศััยที่่�บ้้านพัักส่่วนตััวในซอยวััดอุุโมงค์์ อยู่�
กับั ภรรยา คุุณสมพิศิ ส่ว่ นลููกชายคนโตและลููกสาวคนเล็ก็ ได้แ้ ยกไปทำงาน
ส่ว่ นตััวทั้้�งคู่�แล้้ว

กิิจวััตรประจำวัันของอาจารย์์
คืือ เข้้านอนช่่วง ๔ ทุ่่�ม ตื่่�น ๗ โมงเช้้า
เป็็นประจำ ดููโทรทััศน์์โดยเฉพาะรายการ
ชกมวย และออกกำลังั กายด้้วยการเดินิ บน
สายพานทุกุ เย็น็ ไม่ม่ ีปี ัญั หาทางสายตาและ
การฟััง ความจำเรื่อ� งราวในอดีตี ยังั ใช้้ได้้ดีี

ข้้อคิิดที่่�ฝากให้้สมาชิิกชมรมผู้เ้� กษียี ณ มหาวิิทยาลัยั เชียี งใหม่่
การใช้้ชีวี ิิตในวััยเกษีียณ ต้อ้ งทำใจให้้ปล่่อยวางให้้ได้้ ใครจะโกงเรา
ให้้ยึึดถือื “กฎแห่่งกรรม” ซึ่่�งเที่่ย� งแท้้แน่่นอน

อย่่าเห็็นแก่่กิิน เลืือกกิินอาหารที่่�มีีคุุณภาพต่่อร่่างกาย โดยเฉพาะ
ผักั ผลไม้้ และโปรตีนี พร้้อมกับั พบแพทย์ต์ รวจเลือื ดและร่า่ งกาย อย่า่ งน้้อย
ปีีละครั้ �ง

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕ 25

เป็็นผู้�้ให้้ตลอดเวลา โดยไม่่คิิดว่่าจะได้้รัับผลตอบแทนหรืือไม่่
สิ่�งที่่ภ� ููมิใิ จที่่ส� ุดุ ของอาจารย์ ์ คืือตลอดระยะเวลา ๔ ปีที ี่่เ� ป็็นคณบดีี ได้้มอบ
เงินิ ประจำตำแหน่่งเดือื นละ ๗,๐๐๐ บาท ให้้คณะฯ นำไปใช้้
อุทุ ิศิ การทำงานให้้แก่ร่ าชการอย่า่ งเต็ม็ ที่่ � คือื ตลอด ๒๔ ชั่่ว� โมง ไม่ใ่ ช่่
เฉพาะ ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. เท่่านั้้�น
การทำงานแบบปิดิ ทองหลังั พระ แม้้จะไม่ม่ ีใี ครรู้เ� ห็น็ แต่ผ่ ู้ท้� ี่่ส� ุขุ ใจ
ที่่ส� ุดุ ก็ค็ ือื ตัวั เราเอง

26 สูงู วััยต้น้ แบบ ชก.มช.

ชก. มช.

ผชู วยศาสตราจารย

รุง เรอื ง บุญโญรส

คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ 27
เกดิ เมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๔๘๐
ปัจจบุ นั อายุ ๘๕ ปี

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕

ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์ร์ุ่�งเรืือง บุญุ โญรส

อาจารย์์รุ่�งเรืือง เกิิดเมื่�อวัันที่่� ๑๓ กัันยายน พ.ศ. ๒๔๘๐ ที่่�บ้้าน
ดงป่า่ หวาย อ.จอมทอง จ.เชียี งใหม่ ่ ปัจั จุุบัันอายุุ ๘๕ ปีี พักั อาศัยั อยู่�ที่�บ้้าน
เลขที่่� ๑๒/๑๘ ต.สันั กลาง อ.สัันกำแพง จ.เชียี งใหม่่
ประวััติกิ ารศึึกษา
อาจารย์์สำเร็็จการศึึกษาระดัับมััธยมศึึกษาตอนต้้นจากโรงเรีียน
ปริินส์ร์ อแยลวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่ ่ ระดับั มััธยมศึึกษาตอนปลายจากโรงเรียี น
ยุุพราชวิิทยาลััย เชีียงใหม่่ ระดัับปริิญญาตรีี B.A. จาก Visva Bhareti
University, Santiniketan India เมื่อ� ปีี พ.ศ. ๒๕๐๐ ระดับั ปริญิ ญาโท M.A.
จาก Banaras Hindee University, Varanast India เมื่่�อปีี พ.ศ. ๒๕๐๒
สอบได้้วุุฒิิครูู พ.ม. จากกรมฝึึกหััดครูู กระทรวงศึึกษาธิิการ เมื่่�อ
ปีี พ.ศ. ๒๕๐๖ และได้้รับั ประกาศนียี บััตรจากสถาบัันจิิตวิิทยาความมั่่น� คง
หลักั สููตรอำนวยการ เมื่�อปีี พ.ศ. ๒๕๒๓
ก่่อนที่่�อาจารย์์จะมารัับราชการที่่�มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ อาจารย์์
เคยเป็็นครููสอนวิิชาสัังคมศึึกษา ภาษาไทย และภาษาอัังกฤษ ที่่�โรงเรีียน
พุุทธนิิคม ๒ อ.ไชยา จ.สุรุ าษฎร์ธ์ านีี (พ.ศ. ๒๕๐๓ - พ.ศ. ๒๕๐๘)
หลังั จากนั้้น� เมื่่อ� มารับั ราชการเป็น็ อาจารย์ส์ อนที่่ค� ณะมนุษุ ยศาสตร์ ์
มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ ช่่วงแรกๆ ได้้ช่่วยสอนวิิชาภาษาอัังกฤษก่่อน
ต่อ่ มาภายหลังั ได้เ้ ป็น็ อาจารย์ส์ อนวิชิ าปรัชั ญาและศาสนา สอนกระบวนวิชิ า
ปรััชญาเบื้้อ� งต้้น ปรััชญากรีกี ปรััชญาสังั คม ปรััชญามนุษุ ยนิิยม ปรัชั ญาจีีน
ตรรกศาสตร์์ จริยิ ศาสตร์์ ฯลฯ

28 สููงวััยต้น้ แบบ ชก.มช.

นอกจากงานด้้านการสอนแล้้ว อาจารย์์ได้้ดำรงตำแหน่่งงานด้้าน
การบริหิ ารของคณะและมหาวิทิ ยาลัยั ด้้วย ได้้แก่่
ผู้�้ช่่วยคณบดีีฝ่่ายปกครอง คณะมนุุษยศาสตร์์ (พ.ศ.๒๕๑๔ -
๒๕๑๗)
คณบดีีคณะมนุุษยศาสตร์์ (๑ ส.ค. ๒๕๑๙ – ๑๕ ส.ค. ๒๕๒๓)
ในระหว่่างที่่�ดำรงตำแหน่่งคณบดีี ได้้ทููลเชิิญสมเด็็จพระเทพรััตน
ราชสุุดาสยามบรมราชกุุมารีี เสด็็จมาสอนในกระบวนวิิชาภาษาไทย
ที่่�คณะมนุุษยศาสตร์์
หััวหน้้าภาควิิชามนุุษยสัมั พัันธ์์ คณะมนุุษยศาสตร์์ (พ.ศ.๒๕๑๗ -
๒๕๑๙)
หััวหน้้าโครงการจััดตั้�งภาควิิชาปรััชญาและศาสนา คณะ
มนุษุ ยศาสตร์์ (พ.ศ.๒๕๒๖ - ๒๕๓๓)
ประธานกรรมการบริหิ ารหลักั สูตู รบัณั ฑิติ ศึกึ ษา สาขาวิชิ าปรัชั ญา
(พ.ศ.๒๕๓๗ - ๒๕๔๐)
ประธานที่่ป� รึกึ ษาวิทิ ยานิพิ นธ์์ และเป็น็ กรรมการสอบวิทิ ยานิพิ นธ์์
(พ.ศ.๒๕๒๘ - ๒๕๔๐)

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕ 29

นอกจากอาจารย์์จะเป็็นปููชนีียบุุคคล ผู้�้มีีคุุณููปการต่่อคณะ
มนุุษยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ อย่่างมากมายแล้้ว อาจารย์์ยัังเป็็น
ปููชนีียบุุคคลผู้�้มีีคุุณููปการต่่อหน่่วยงาน องค์์กร และชุุมชนทั่่�วไปอย่่าง
กว้้างขวางด้้วย เป็น็ ต้้นว่า่
ได้้รัับเชิิญให้้ไปเป็็นวิิทยากรบรรยายตามสถาบัันอุุดมศึึกษา
หลายสถาบััน นัับว่่าเป็็นผู้้�ได้้รัับความเชื่�อมั่�นในคุุณภาพทางด้้านวิิชาการ
สายปรัชั ญาเป็็นอย่่างดียีิ่�ง
เป็็นผู้้�ริิเริ่�มและเป็็นส่่วนสำคััญ
ใ น ก า ร ก่่ อ ตั้ � ง ม ห า วิิ ท ย า ลัั ย ม ห า จุุ ฬ า
ลงกรณราชวิทิ ยาลัยั วิทิ ยาเขตเชียี งใหม่่
โดยเริ่ �มแรกใช้้ทุุนทรััพย์์ส่่วนตััวในการ
ดำเนิินการ และเป็็นผู้�้ประสานงาน
ความร่่วมมืือระหว่่างคณะสงฆ์์จัังหวััด
เชีียงใหม่่และนัักวิิชาการกลุ่ �มหนึ่่�งของ
มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ ตั้้�งแต่่ปีี พ.ศ.
๒๕๒๘ เป็็นต้้นมา และได้้วางแผน
การพััฒนาวิิทยาเขตเชีียงใหม่่อย่่าง
ต่อ่ เนื่่อ� ง ทั้้ง� ในด้า้ นทรัพั ยากรบุคุ คลและ
อาคารสถานที่่� มีีการส่่งบุุคลากรและ
นิิสิิตของวิิทยาเขตเชีียงใหม่่ศึึกษาต่่อ
ต่า่ งประเทศ เพื่่อ� กลับั มาพัฒั นาวิทิ ยาเขต
เชียี งใหม่อ่ ย่่างต่่อเนื่่�องถึึงปััจจุบุ ันั

30 สููงวัยั ต้น้ แบบ ชก.มช.

เป็็นผู้�้ก่่อตั้�งศููนย์์พััฒนาเด็็กกุุลชีีวิิน บ้้านดงป่่าหวาย อ.จอมทอง
จ.เชีียงใหม่่

และยังั เคยเป็น็ ผู้จ�้ ัดั รายการวิทิ ยุเุ พื่่อ� เผยแพร่พ่ ุทุ ธศาสนาและปรัชั ญา
แก่ป่ ระชาชนทั่่ว� ไปอย่า่ งต่อ่ เนื่่�องและสม่่ำเสมอ

การดำเนินิ ชีวี ิติ ในวัยั หลัังเกษีียณอายุุราชการ
ชีีวิิตครอบครัวั อาจารย์์สมรสกัับคุุณวชิริ า บุุญโญรส ภริิยาผู้แ�้ สนดีี
และประเสริิฐมาก คอยปรนนิิบััติิดููแลอาจารย์์เป็็นอย่่างดีี ทั้้�งด้้านอาหาร
การกิิน สุุขอนามััย ตลอดจนกิิจวััตรประจำวัันของอาจารย์์ได้้อย่่างดีี
สม่่ำเสมอ อาจารย์ม์ ีบี ุตุ รชาย ๓ คน โดยบุตุ รชายคนที่่� ๑ และ ๒ ทำงาน
เอกชนอยู่�ที่� จ.เชีียงใหม่่ ส่่วนคนเล็็กทำงานอยู่�ที่�กรุุงเทพฯ อาจารย์์มีี
หลานปู่่�น่่ารักั ๆ ๓ คน เป็็นหญิงิ ๑ ชาย ๒

อาจารย์์ปฏิิบััติิตนเป็็นพลเมืืองที่่�ดีีตามหลัักพุุทธปรััชญา ใช้้ชีีวิิตที่่�
เรีียบง่่าย สัันโดษและพอเพีียง ทานอาหารที่่�ย่่อยง่่าย ทานอาหารสองมื้ �อ
หลััก คืืออาหารเช้้าและอาหารกลางวััน ส่่วนมื้้�อค่่ำจะเป็็นพวกผัักผลไม้้
พัักผ่่อนอย่่างเพีียงพอ นอนแต่่หััวค่่ำ ตื่่�นเช้้า ไม่่นอนกลางวััน พัักผ่่อน
ตอนกลางวันั ด้้วยการดููทีีวีีบ้้าง อ่่านหนังั สืือบ้้าง

อาจารย์์เล่่าให้้ฟัังว่่า เมื่่�อตอนอายุุช่่วง ๖๙ ปีี อาจารย์์ประสบ
อุุบััติิเหตุุรถเฉี่�ยวชนพลิิกคว่่ำ ต้้องนอนโรงพยาบาล เมื่่�อรัักษาตััวหายแล้้ว
หมอดููคนจีนี ทำนายว่า่ อาจารย์จ์ ะมีอี ายุยุ ืนื ยาวเกินิ ๑๐๐ ปี ี ตอนนี้้อ� าจารย์์
ก็็ ๘๕ ปีแี ล้้ว จึงึ คิิดว่่าคงจะอยู่่�อีีกหลายปีี

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕ 31

ข้้อคิดิ ที่่�ฝากให้้สมาชิกิ ชมรมผู้เ้� กษีียณ มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่
คนเราทุุกคน แม้้เมื่ �อถึึงวััยเกษีียณแล้้วก็็ตามทีี พึึงระลึึกถึึง
การมีีจิิตบริิการหรืือช่่วยกัันทำประโยชน์์ให้้กัับชุุมชนที่่�เราอยู่ �อาศััย
ตามความรู้�้ ตามกำลัังความสามารถ ตามอััตภาพของเรา บำเพ็็ญตน
เป็็นแบบอย่่างและเป็็นประโยชน์์ต่่อสาธารณะด้้วยจิิตอาสา โดยไม่่มีี
ผลประโยชน์์ส่่วนตนใดๆ จะเป็็นการดีียิ่ �ง จะทำให้้ชีีวิิตเรามีีคุุณค่่า
ไปตลอดชีวี ิติ ....

32 สูงู วััยต้น้ แบบ ชก.มช.

ชก. มช.

รองศาสตราจารย

ดร.อแู กว ประกอบไวทยกจิ

คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ 33
เกิดวนั ที่ ๘ กันยายน ๒๔๘๑
ปัจจุบันอายุ ๘๔ ปี

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕

รองศาสตราจารย์์ ดร.อู่่แ� ก้้ว ประกอบไวทยกิจิ
อาจารย์์อู่�แก้้ว ประกอบไวทยกิิจ เกิิดเมื่�อวัันที่่� ๘ ก.ย. ๒๔๘๑
ที่่� จ.อุุทััยธานีี สำเร็็จการศึึกษาชั้�นประถมศึึกษาจาก รร.อุุทััยวิิทยาลััย
จ.อุุทััยธานีี ชั้้�นมััธยมศึึกษาปีีที่่� ๖ จาก รร.ผดุุงดรุุณีี กรุุงเทพฯ และ
ชั้�นมัธั ยมศึกึ ษาปีีที่่� ๘ จาก รร.เตรีียมอุุดมศึกึ ษา กรุุงเทพฯ สำเร็จ็ การศึึกษา
ระดัับปริิญญาตรีีและปริิญญาโทที่่�จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย ระดัับ
ปริิญญาเอกที่่� University of North Wales อัังกฤษ เมื่อ� ปีี พ.ศ. ๒๕๑๓
ศาสตราจารย์ ์ ดร.พาณีี เชี่ย� ววานิิช เป็น็ ผู้�้ชวนอาจารย์อ์ู่�แก้้วให้้มา
รัับราชการที่่�ภาควิิชาชีีววิิทยา คณะวิิทยาศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่
ตั้�งแต่ป่ ีี ๒๕๐๗
อาจารย์ไ์ ม่ช่ อบงานบริหิ าร เน้้นทำงานด้า้ นวิชิ าการ เคยได้้รับั รางวัลั
ผลงานวิิทยาศาสตร์ด์ ีีเด่่นภาคเหนือื

34 สููงวัยั ต้้นแบบ ชก.มช.

อาจารย์์เกษีียณอายุุราชการเมื่�อปีี ๒๕๔๑ ปััจจุุบัันอยู่�ที่�บ้้าน
ถ.สุุขเกษม ซ.๔ โดยอยู่่�กัับน้้องชาย และมีีผู้้ด� ููแลอีกี คนหนึ่่�ง
เนื่่�องจากอาจารย์์มีีปััญหาสุุขภาพเล็็กน้้อย อาจารย์์จะทำกายภาพ
เองตอนเช้้าที่่�บ้้าน โดยใช้้อุุปกรณ์์ที่่�มีีอยู่�ในบ้้าน เช่่น ปั่่�นจัักรยานอยู่่�กัับที่่�
ดึงึ ชัักรอก และเดิินโดยใช้้วอล์ก์ เกอร์์
อาจารย์์ชอบฟัังรายการธรรมะของอาจารย์์สุุจิินต์์ บริิหารวนเขตต์์
จากยููทููบ และฟังั ธรรมะของท่่านพุุทธทาสภิิกขุุ

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕ 35

อาจารย์ช์ อบทางด้้านเพลง ชอบดููทีวี ีี รายการเพลง “The Golden
Song” อาจารย์์มีีความสามารถทางด้้านการประพัันธ์์เพลง โดยได้้แต่่ง
เนื้้อ� เพลงหลายเพลง เช่น่ ที่่ร� วบรวมไว้้ในซีดี ีชี ุดุ “อู่�แก้้ว กังั วาน” มีี ๑๐ เพลง
คืือเพลง แก้้วระย้้า รัักเธอ ดอกฟ้้า ความจริิงของชีีวิิต Smile Cha Cha
Cha Night ชีีวรวมใจ ชีวี บ้้านเรา
ชีีวปณิิธาน ลาก่่อนเจ้้าโควีีดีี
และได้้มีีการจััดคอนเสิิร์์ตหาทุุน
การศึึกษาให้้นัักศึึกษาจากผลงาน
การประพัันธ์์เพลงมาแล้้ว
อาจารย์ช์ อบทางด้า้ นการวาดภาพ ได้้วาดภาพหลายสิบิ ภาพ แล้้วนำ
ไปย่อ่ พิมิ พ์บ์ นกระดาษขนาดโปสการ์ด์ ส่ว่ นใหญ่จ่ ะเป็น็ ภาพดอกไม้้ ต้้นไม้้
ภาพที่่ว� าดล่า่ สุดุ คืือ ภาพ “เหลืืองปิิยะรัตั น์์” ไม้้ดอกชนิิดใหม่่ที่่�ค้้นพบโดย
นักั วิิจัยั สังั กัดั ภาควิิชาชีวี วิทิ ยา คณะวิิทยาศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่่

อาจารย์์เป็็นผู้�้มีีใจบุุญสุุนทาน ได้้บริิจาคเงิินบำนาญที่่�ได้้รัับมา
ทุกุ เดืือนตั้้�งแต่่เกษียี ณ ให้้แก่่ทางโรงพยาบาลสวนดอก

36 สููงวััยต้้นแบบ ชก.มช.

อาจารย์์มีีข้้อคิิดเกี่�ยวกัับชีีวิิตและการเปลี่่�ยนแปลงว่่า สรรพสิ่�งมีี
ความเป็็นอนิิจจังั แต่ส่ิ่ง� มีีชีวี ิติ ที่่อ� ยู่�บนโลก แม้้กระทั่่ง� ต้้นไม้้ ดอกไม้้ เมื่�อตาย
ไปแล้้ว ก็อ็ ยู่�ในโลกนี้้แ� หละ เวลาผ่า่ นไป เจอสภาพแวดล้้อมเหมาะสม ก็เ็ กิดิ
ขึ้น� ใหม่ไ่ ด้้บนโลกนี้้� ในรููปลักั ษณ์แ์ บบเดิิม

ข้้อคิิดเห็น็ สำหรัับ สมาชิกิ รุ่่�นน้้อง
๑. เรื่อ� งสุขุ ภาพ ให้้ไปหาหมอตามนัดั ปฏิบิ ัตั ิติ ามคำแนะนำของหมอ
อย่่างเคร่ง่ ครััด และรัับประทานอาหารที่่�มีีประโยชน์์

๒. เรื่อ� งการปฏิบิ ัตั ิติ ัวั ให้้ปฏิบิ ัตั ิติ ัวั ตามปกติิ พยายามออกกำลังั กาย
เท่่าที่่จ� ะทำได้้

๓. เรื่�องอื่�นๆ ให้้ติิดตามเรื่อ� งราวรอบตัวั อย่า่ ตกยุุค

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕ 37

ชก. มช.

รองศาสตราจารย

ดร.สุวิทย รงุ วิสัย

คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่
เกิดวนั ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๔๘๑
ปัจจุบนั อายุ ๘๔ ปี

38 สูงู วัยั ต้น้ แบบ ชก.มช.

รองศาสตราจารย์์ ดร.สุุวิทิ ย์์ รุ่�งวิิสััย

“อาจารย์์มีีจิิตอาสาเพื่่�อส่่วนรวมทุุกระดัับ ตั้้�งแต่่ท้้องถิ่�นจนถึึง
ระดับั ประเทศ” แม้้ว่า่ จะเกิดิ ที่่จ� ังั หวัดั มหาสารคาม ภาคอีสี าน แต่เ่ นื่่อ� งจาก
คุุณแม่่เป็็นคนจัังหวััดสุุพรรณบุุรีี จึึงได้้ชื่ �อว่่าเกิิดบนแผ่่นดิินอีีสานแต่่ไป
เติิบโตที่่�สุุพรรณบุุรีี อาจารย์์เป็็นแบบอย่่างของคนที่่�ว่่า “ความพยายาม
อยู่�ที่ไ� หน ความสำเร็จ็ อยู่�ที่น� ั่่�น” อย่า่ งแท้้จริงิ
ด้้านการศึึกษา อาจารย์์บวชเรีียนที่่�วััดราชประดิิษฐ์์ฯ ปีี ๒๕๐๒
สำเร็็จเปรีียญธรรม ๕ ประโยค จากนั้้�นลาสิิกขาและเข้้าศึึกษาต่่อที่่�
จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย สำเร็็จการศึึกษาวุุฒิิ “นิิติิศาสตรบััณฑิิต”
ปีี ๒๕๐๗ ซึ่่�งเป็น็ ปีีที่่� มช. ได้้เปิดิ รับั นัักศึึกษารุ่่�นแรก อาจารย์ไ์ ด้้สมััครมา
สอนที่่�ภาควิิชาสัังคมวิทิ ยาและมานุุษยวิทิ ยา คณะสังั คมศาสตร์์
อาจารย์์เล่่าว่า่ ระหว่่างทำงานที่่� มช. ช่่วง ๒ ปีี ก่่อนที่่จ� ะลาไปเรียี น
ต่่างประเทศนั้้�น อาจารย์์ใช้้เวลาทบทวนภาษาอัังกฤษทุุกวััน และช่่างเป็็น
ช่่วงเวลาที่่เ� อื้�ออำนวยมาก เพราะ มช. มีีอาจารย์ต์ ่่างชาติิจำนวนมากพอที่่�
จะได้้ใช้้ภาษาอัังกฤษตามความประสงค์์ที่่�อาจารย์์ต้้องการไปศึึกษาต่่อที่่�
อเมริิกา อาจารย์์ได้้ทุุนจากมหาวิิทยาลัยั Harvard เรียี น Cert. in Public
Law ใช้้เวลา ๑ ปีี

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕ 39

เมื่�อกลัับมาเชีียงใหม่่ อาจารย์์แต่่งงาน จากนั้้�นได้้ทุุนไปเรีียนที่่�
Brown University USA. อีกี ครั้�ง ใช้้เวลา ๒ ปีี ได้้วุุฒิิ A.M. in Political
Science ซึ่่�งครั้�งนี้้�อาจารย์์ตั้�งใจจะเรีียนให้้ได้้ถึึงปริิญญาเอก แต่่เนื่่�องจาก
ทุุนไม่ม่ ีี อาจารย์์จึึงต้อ้ งกลับั มาทำงาน เลี้ย� งลููกชาย ๒ คน ก่่อนที่่�จะไปทำ
ปริิญญาเอกให้้ได้้ตามจุุดมุ่่�งหวััง อาจารย์์เปลี่่�ยนเข็็มไปที่่�อิินเดีียแทน และ
ได้้รัับปริญิ ญา Ph.D in Sociology ปีี ๑๙๘๒ จากมหาวิทิ ยาลัยั Kumaun,
India
เมื่อ� ความมุ่�งมั่น� ด้า้ นวิชิ าการ การศึกึ ษาสำเร็จ็ ตามเป้า้ หมาย นอกจาก
การสอนนักั ศึกึ ษาแล้้ว อาจารย์ย์ ังั อาสาทำงานเพื่่อ� ส่ว่ นรวมอีกี มากมาย เช่น่
เป็็นเลขาธิิการสภาอาจารย์์ ๓ สมััย (พ.ศ. ๒๕๑๕ - ๒๕๑๘) ประธานสภา
อาจารย์ม์ หาวิทิ ยาลัยั เชีียงใหม่่ ๓ สมัยั ประธานสภาอาจารย์ม์ หาวิิทยาลััย
ทั่่ว� ประเทศ ปีี ๒๕๓๑ – ๒๕๓๒ ประธานชมรมความมั่่น� คงของครอบครัวั
เชีียงใหม่่ ปีี ๒๕๒๖ – ปััจจุุบััน ประธานโครงการส่่งเสริิมสิิทธิิเสรีีภาพ
ของประชาชนภาคเหนืือ ปีี ๒๕๒๙ – ๒๕๓๔ และปีี ๒๕๓๘ อาสาสมััคร
ผู้้�ประนีีประนอมประจำศาลจัังหวััดและศาลแขวงเชีียงใหม่่ ปีี ๒๕๔๖ –
ปัจั จุบุ ันั , และอีีกมากมาย

40 สููงวััยต้น้ แบบ ชก.มช.

ปััจจุุบัันอาจารย์์พัักอาศััยอยู่�ที่� อ.แม่่ริิม กัับภรรยา มารดาของ
ภรรยา และผู้�้ช่่วยทำงานบ้้าน มีีหลัักการดำเนิินชีีวิิตหลัังเกษีียณตามรอย
พ่อ่ หลวง “เศรษฐกิจิ พอเพียี ง และมีภี ููมิคิุ้ม� กันั ” มีคี วามมั่่น� คงในชีวี ิติ ไม่เ่ สพ
สิ่ �งเสพติิดทุุกอย่่าง ส่่วนลููกชายทำงานอยู่่�ต่่างจัังหวััดและช่่วยค่่าใช้้จ่่าย
ในการดููแลคุณุ ยาย
ในเรื่�องอาหาร อาจารย์์จะเน้้น ข้้าว ถั่่�ว และปลา รัับประทาน
มื้้อ� เช้้าระหว่า่ งเวลา ๗.๐๐ - ๘.๓๐ น. กลางวัันประมาณเที่่�ยง ส่่วนมื้้�อเย็็น
ก่อ่ น ๑๘.๐๐ น. ไม่ท่ านอาหารหนััก เข้้านอนประมาณสามทุ่�ม
ส่่วนการดููแลสุุขภาพนั้้�น อาจารย์เ์ ล่่าว่่า ที่่ท� ำเป็็นประจำคืือการใช้้
ไม้้พลองดััดไปมา และนับั ให้้ถึึง ๕๐๐ ครั้ง� จากนั้้น� นัับถอยหลังั จาก ๕๐๐,
๔๙๙ ……จนถึงึ ๑ รวมถึงึ การเดินิ ดููต้้นไม้้ในบริิเวณบ้้านทุกุ วััน

ชีวี ิิตหลังั เกษียี ณ
๑. เป็็นอาจารย์์พิิเศษด้้านกฎหมายและการเมืืองการปกครอง
แก่ภ่ ิกิ ษุสุ ามเณร และคฤหัสั ถ์์ มหาวิทิ ยาลัยั มหามกุฎุ ราชวิทิ ยาลัยั วิทิ ยาเขต
ล้้านนา วัดั เจดียี ์์หลวง ตั้้�งแต่่ปีี ๒๕๓๔-ปััจจุบุ ันั (๒๕๖๕)

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕ 41

๒. เป็็นทนายอาสาศาลแขวงและศาลจัังหวััดเชีียงใหม่่ ตั้้�งแต่่
ปีี ๒๕๔๗ - ปััจจุบุ ััน (๒๕๖๕)
๓. ยึึดมั่่�นในหลัักเศรษฐกิิจพอเพีียง ที่่�พระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่�หััว
รัชั กาลที่่� ๙ ทรงประทานไว้้แก่่ประชาชนชาวไทย
๔. แต่่งกลอน
ไหว้้พระค่่ำเช้้า ตื่่น� มาดููฟ้้าสาง เห็็นเมฆบางลอยวนจนฟ้้าใส
เหล่า่ วิิหคนกบิินร้้องก้้องป่่าไพร เป็็นแรงใจแต่่งกลอนผ่่อนอารมณ์์
ข้้อคิดิ ที่่ฝ� ากให้้สมาชิิกชมรม
ผู้เ้� กษีียณสิ้้�นงานราชการแล้้ว
กำหนดแนวทางของเราเป็็นเป้า้ หมาย
ยึึดสัมั มาอาชีพี ไว้้ใจสบาย
รู้ผ� ่อ่ นคลายครองสุุขล้้นด้้วยตนเอง

สุวุ ิิทย์ ์ รุ่่�งวิิสััย

42 สูงู วััยต้้นแบบ ชก.มช.

ชก. มช.

รองศาสตราจารย

ประจกั ษ สุดประเสริฐ

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 43
เกิดวนั ท่ี ๑๕ ตุลาคม ๒๔๘๑
ปัจจุบนั อายุ ๘๔ ปี

เลมที่�่ ๒ พ.ศ.๒๕๖๕

รองศาสตราจารย์ป์ ระจักั ษ์์ สุุดประเสริฐิ

“ทำอะไรก็ต็ าม ต้้องทำให้้ดีที ี่่ส� ุดุ ” เป็น็ ถ้้อยคำของสุภุ าพบุรุ ุษุ สููงวัยั
ท่่าทางใจดี ี นััยน์ต์ าอ่่อนโยน พร้้อมที่่จ� ะให้้คณะกรรมการได้้มาสััมภาษณ์์
พููดคุุยกันั ในฐานะที่่ท� ่า่ นเป็็น “สว. ต้้นแบบ” ในคราวนี้้�
รองศาสตราจารย์์ประจัักษ์์ สุุดประเสริิฐ เกิิดที่่�อำเภอบางคล้้า
จัังหวััดฉะเชิิงเทรา ริมิ แม่่น้้ำบางปะกง ตอนเด็็กเรียี นระดัับประถมศึกึ ษาที่่�
โรงเรีียนวััดบางกะพ้้อ ระดัับมััธยมศึึกษาเรีียนที่่�โรงเรีียนเอกชน จนจบชั้�น
มััธยมศึึกษาปีีที่่� ๖ แล้้วไปเรียี นต่อ่ ที่่�โรงเรียี นฝึกึ หัดั ครููพระนคร เนื่่อ� งจาก
พี่่ช� าย ๒ คน เรียี นทางสายครููอยู่�แล้้ว ก็เ็ ลยเรีียนตามพี่่ช� าย
เมื่่�อจบจากโรงเรีียนฝึึกหััดครููพระนคร ได้้ไปศึึกษาต่่อที่่�คณะ
ครุุศาสตร์์ จุุฬาลงกรณ์ม์ หาวิทิ ยาลัยั เมื่อ� สำเร็็จการศึกึ ษา ได้ไ้ ปทำงานเป็น็
ครููอยู่�ที่�โรงเรีียนประชาบาลสามเสนนอก ในหมู่่�บ้้านห้้วยขวาง ครููใหญ่ข่ อง
โรงเรีียนคืืออาจารย์์จรููญ จัันทร์์เครืือ ซึ่่�งต่่อมาได้้มาร่่วมงานกัันอีีกที่่�คณะ
ศึกึ ษาศาสตร์์ มช.
จากโรงเรีียนประชาบาล อาจารย์์ได้้ย้้ายไปสอนที่่�โรงเรีียนวััด
พลัับพลาชััย พร้้อมกัับได้้ศึึกษาต่่อในระดัับปริิญญาโท เมื่�อจบปริิญญาโท
ได้้ย้ายเข้้าทำงานในกองการศึึกษาผู้้�ใหญ่่ กระทรวงศึึกษาธิกิ าร จนกระทั่่ง�
ปีี พ.ศ. ๒๕๑๐ ได้้ขอย้้ายมาอยู่�มหาวิิทยาลัยั เชีียงใหม่่ โดยมาช่่วยงานท่่าน
ศาสตราจารย์์สุุวััฒก์์ นิิยมค้้า และท่่านอาจารย์์หม่่อมหลวงตุ้�ย ชุุมสาย
ด้้านการวางแผนเตรีียมการขอเปิดิ คณะศึึกษาศาสตร์์

44 สูงู วัยั ต้น้ แบบ ชก.มช.


Click to View FlipBook Version