The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานกิจกรรมประจำปี สหกรณ์ออมทรัพย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Prateep Chankong, 2021-03-05 10:59:05

รายงานกิจกรรมประจำปี สหกรณ์ออมทรัพย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2563

รายงานกิจกรรมประจำปี สหกรณ์ออมทรัพย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2563

Keywords: COOP_CMU_2563

แผนกลยุทธ

ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 : ดําเนนิ งานดว ยความโปรงใส โดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล
กลยุทธที่ 1.1 บรหิ ารจัดการดวยหลักธรรมาภิบาล
กลยทุ ธท ่ี 1.2 กระจายอํานาจ และกํากบั ตรวจสอบการดําเนินงานของสหกรณอยา ง
มีประสิทธภิ าพ
กลยุทธที่ 1.3 สงเสริมประสทิ ธภิ าพในการทํางานของคณะกรรมการดําเนนิ การ
เจาหนาทส่ี หกรณ ใหเ พม่ิ ประสิทธิผลและประสิทธภิ าพ
กลยุทธท ่ี 1.4 ลงทนุ ในหนุ กู พนั ธบัตรและการใหสนิ เชอื่ แกสหกรณออมทรพั ยอ ื่น
โดยคาํ นึงถึงความม่นั คง
กลยุทธท ่ี 1.5 พฒั นากระบวนการบรหิ ารสินเชื่อใหมปี ระสิทธภิ าพ

ยุทธศาสตรที่ 2 : พฒั นาบุคลากรของสหกรณใ หมีสมรรถนะเพิม่ ข้นึ
กลยุทธท ่ี 2.1 ใหค วามรเู กี่ยวกบั หลักการ วธิ ีการและอุดมการณสหกรณ และความรู
ดานบริหารสินทรัพยข องสหกรณแกสมาชิกอยางตอเนอ่ื งและสม่าํ เสมอ
กลยทุ ธที่ 2.2 ใหค วามรูดานหลักการ วิธีการและอดุ มการณสหกรณ และใหการศึกษา
อบรม เสรมิ ทักษะเพ่ิมสมรรถนะดา นการบริหารจดั การ และการบริหาร
สนิ ทรพั ยแกบ คุ ลากรของสหกรณอ ยา งตอเนื่อง

ยทุ ธศาสตรท่ี 3 : พัฒนาคุณภาพชวี ติ ของสมาชิกใหดขี น้ึ
กลยทุ ธท่ี 3.1 พัฒนาผลติ ภัณฑเ งินฝากใหส อดคลองกับความตอ งการของสมาชิก
กลยุทธท ี่ 3.2 สง เสรมิ ใหสมาชกิ มที อี่ ยูอาศัยหรอื เสริมสรา งฐานะใหทนั ตอ ความตองการ
ของสมาชิก
กลยทุ ธท่ี 3.3 จัดสวสั ดกิ ารใหแกสมาชิกอยา งทัว่ ถงึ

ยทุ ธศาสตรท่ี 4 : จิตอาสา รว มพัฒนาสงั คม
กลยุทธที่ 4.1 สง เสรมิ สนบั สนนุ กิจกรรมดา นศาสนา งานประเพณแี ละวัฒนธรรม
กลยุทธท ่ี 4.2 สง เสริมสนับสนนุ กจิ กรรมการอนรุ ักษส่ิงแวดลอ ม
กลยทุ ธที่ 4.3 ใหการชว ยเหลอื สังคมในหนวยงานตา ง ๆ

2 สราหยกงราณนกอ จิอกมาทรรปพั รยะจมาํหปา‚ว2ิท5ย6า3ลยั เชยี งใหม‹ จาํ กัด

คํานํา

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลยั เชียงใหม จํากัด (สอ.มช.) ไดจ ดั ทาํ หนงั สอื รายงานกจิ การ
ประจําปตอ เนอื่ งกันมาตลอดทกุ ป ตัง้ แตป 2519 จนถงึ ป 2563 เปนเวลา 44 ป เพื่อรายงานผลการ
ดาํ เนนิ งานในรอบปท ผี่ านมาใหส มาชิกทราบ ซึง่ ประกอบดว ย รายงานจาํ นวนสมาชกิ ฐานะการเงิน
ของสหกรณฯ ตลอดจนกิจกรรมตา ง ๆ ที่ สอ.มช.ไดจ ดั ขนึ้ และใชร ายงานน้ีเพ่ือเปน เอกสารประกอบ
การประชุมใหญสามญั ประจาํ ป 2563 รวมทงั้ เผยแพรผลการดําเนินการใหสหกรณอื่นและผสู นใจได
ศึกษาหาความรู คณะผจู ัดทาํ หวังวารายงานกิจการประจาํ ป 2563 สามารถใหข อ มลู แกสมาชิกและ
ผูสนใจใหไดรับประโยชน และรับทราบความกาวหนาของสหกรณออมทรพั ยมหาวิทยาลยั เชียงใหม
จํากดั ในรอบปท ่ผี านมาดว ยดี

คณะผูจ ัดทาํ

สารบญั

คํานํา 3
สารบัญ 3
สารนายกสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม 4
สารอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม 5
สารประธานกรรมการดําเนินการ 6
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ และที่ปรึกษา 7
ผูตรวจสอบกิจการ และผูสอบบัญชี 8
คณะกรรมการดําเนินการ 9
เจาหนาที่สหกรณ 12
ประวัติและความเปนมา สอ.มช. 14
รายงานผลการดําเนินงาน ประจําป 2563 18
รายงานการตรวจสอบกิจการสหกรณ ประจําป 2563 57
รายงานการสอบบัญชีสหกรณ ประจําป 2563 67
เร่อื งเลา ชาว สอ.มช. 101
เปรียบเทียบการดําเนินงาน 5 ปของสหกรณ 106
ประมวลภาพกิจกรรมในรอบป 2563 110

3สหกรณอ อมทรัพยรมายหงาาวนิทกยิจากลาัยรเชปยีรงะจใหํามป‹‚จ2าํ5ก6ัด3

สาร

นายกสภามหาวิทยาลัยเชยี งใหม‹
ศาสตราจารยเกียรติคณุ นายแพทยเ กษม วฒั นชยั

ในหลวงรชั กาลที่ 9 ของเรา ทรงมพี ระราชดาํ รเิ รอ่ื งเศรษฐกจิ
พอเพยี ง โดยใหท กุ คนใชช วี ติ อยา งมคี วามพอประมาณ ความมเี หตผุ ล
มีระบบภูมคิ มุ กนั โดยอาศยั ฐานความรอบรู ความมีคุณธรรม ความ
ซอื่ สตั ยส จุ ริต ชวี ิตและครอบครัวกจ็ ะมคี วามสขุ อยางยัง่ ยืน ผมอยาก
เหน็ สหกรณอ อมทรพั ยม หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม จาํ กดั เปน ทพี่ งึ่ ของพวก
เราชาวมหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม ไมเปนเพยี งที่ออมทรพั ยเ พ่อื หวังดอกผล หรือเปน แหลง เงนิ กูยามขัดสน
แตอ ยากใหส หกรณอ อมทรพั ยม หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม จํากดั เปน แหลง ใหค วามรดู า นการเงนิ การใชจ า ย
และพฒั นาสมาชกิ อยา งมคี วามสขุ และยง่ั ยนื ตามแนวพระราชดาํ รขิ องในหลวงรชั กาลท่ี 9 อนั เปน ทร่ี กั
ของพวกเรา
ผมขออํานวยอวยพรใหส มาชกิ คณะกรรมการดําเนนิ การ ฝา ยจดั การ และผทู เ่ี กยี่ วขอ งทกุ ทา น
ประสบความสุข ความเจริญ รวมมือรวมใจกันพัฒนาสหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยเชียงใหม จาํ กัด
แหงนี้ใหทาํ ประโยชนแกชาวมหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม สมเจตนารมณท ีไ่ ดต ง้ั ไวต อ ไป

(ศาสตราจารยเกียรติคณุ นายแพทยเกษม วัฒนชัย)
นายกสภามหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม

4 สราหยกงราณนกอ ิจอกมาทรรปพั รยะจม าํหปา‚ว2ทิ 5ย6า3ลยั เชียงใหม‹ จํากัด

สาร

ศาสตราจารยคลินิก นายแพทยน เิ วศน นันทจติ
อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยเชียงใหม‹

สมาชิกของสหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยเชียงใหม จาํ กัด
มีประมาณ 12,000 คน สว นใหญเปนบุคลากรของมหาวทิ ยาลัย การท่ี
สมาชกิ มสี ภาพทางการเงนิ ดี ชวี ติ มคี วามสขุ กจ็ ะทาํ ใหก ารทาํ งานใหก บั
มหาวทิ ยาลยั มปี ระสทิ ธภิ าพดว ย ฉะนนั้ การดาํ เนนิ งานของ สอ.มช.จงึ มี
ผลตอ มหาวทิ ยาลยั ทง้ั ทางตรงและทางออ ม ในสภาวะเศรษฐกจิ ของชาติ
และของโลกปจจุบัน การบริหารสหกรณออมทรัพยตองอาศัยความรู
ความสามารถ ความทมุ เท เอาใจใส รับผดิ ชอบ ความซ่อื สัตยสุจรติ ของ
กรรมการบริหารสหกรณท่ีจะตองดาํ เนินการอยางเต็มความสามารถ เพื่อประโยชนของสมาชิก สอ.มช.
ขอใหก ําลงั ใจทกุ คนและ มช. พรอ มทจี่ ะใหค วามรว มมอื กบั สอ.มช.ในการดแู ลผลประโยชนข องสมาชกิ สอ.มช
ใหส มาชกิ สอ.มช.มคี วามสุขอยางย่งั ยืนตลอดไป

ในโอกาสที่ สอ.มช. ดาํ เนนิ การกจิ การบรรจบครบรอบปอ กี ครง้ั ขออาราธนาคณุ พระศรรี ตั นตรยั และ
สงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธท์ิ งั้ หลาย จงดลบนั ดาลใหก จิ การของสหกรณอ อมทรพั ยม หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม จาํ กดั บรรลผุ ลตาม
ความปรารถนา ทกุ ประการ และขออวยพรใหค ณะกรรมการ เจาหนา ท่ี และสมาชกิ สหกรณฯ ทุกทานประสบ
แตความสุข สริ ิสวัสด์ิ และเจริญดว ยจตรุ พธิ พรชยั ถว นทัว่ ทุกคน

(ศาสตราจารยคลินิก นายแพทยน เิ วศน นันทจิต)
อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม

5สหกรณออมทรพั ยรมายหงาาวนิทกยิจากลาัยรเชปยีรงะจใหาํ มป‹‚จ2ํา5ก6ดั3

สาร

ประธานกรรมการดาํ เนินการ
รองศาสตราจารย ดร.ธเนศ ศรีวิชัยลําพันธ

ในโอกาสที่สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยเชียงใหม จํากัด ได
ดาํ เนินงานมาครบรอบปบัญชีอีกวาระหนึ่ง ทามกลางวิกฤตการณทาง
เศรษฐกิจอันเปนผลมาจากการระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19)
จากสถานการณดังกลาวสหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยเชียงใหม จํากัด

ภายใตคณะกรรมการดาํ เนินการ ชุดที่ 46 ท่ปี รกึ ษา ผูตรวจสอบกจิ การ และเจาหนา ที่ ตางไดร วมมือ
รว มใจดําเนินกลยทุ ธตางๆ โดยเนน ความโปรงใส และความมั่นคงเปนสําคญั เพื่อนาํ พาองคกรฝา ฟน
วิกฤติจนทําใหองคก รสามารถดําเนนิ งานไปไดอ ยางตอเนือ่ ง ในการน้ี ไดม ีการออกมาตรการชว ยเหลอื
ผอ นปรนการชําระหนี้ใหกับสมาชิกที่ไดรับผลกระทบจากโควิด-19 มีการปรับลดดอกเบ้ียเงินกูยืม
และเงินรับฝากเพื่อใหสอดคลองกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ มีการออกผลิตภัณฑเงินกูเพื่อ
เพิ่มสภาพคลอ งทางการเงินใหแ กสมาชกิ และมีการงดการดาํ เนินโครงการทไ่ี มจ าํ เปนเพอ่ื ใหสอดคลอ ง
กับสถานการณ กระผมในฐานะประธานกรรมการดําเนินการ ขอเรียนช้ีแจงผลการดําเนินงานของ
สหกรณอ อมทรพั ยห าวทิ ยาลยั เชยี งใหม จาํ กดั ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2563 ดงั นี้ มสี มาชกิ ทง้ั สน้ิ จาํ นวน
12,092 ราย ประกอบดวย สมาชกิ สามัญ จํานวน 10,913 ราย และสมาชิกสมทบ จาํ นวน 1,179 ราย
มีทุนเรือนหุน จาํ นวน 3,787.05 ลา นบาท ทุนสาํ รองและทุนสะสม จาํ นวน 800.11 ลา นบาท มีทนุ
ดาํ เนินการทง้ั สิ้น จาํ นวน 11,495.99 ลานบาท กําไรสุทธิ จํานวน 283.32 ลา นบาท การดําเนินงาน
สามารถบรรลุตามเปาหมายท่วี างไว ผมตอ งขอขอบคุณสมาชกิ ท้ังหลายท่ีใหความไวว างใจ ใชบรกิ าร
ดา นตา ง ๆ ทงั้ เงนิ ฝากและเงนิ ใหก ยู มื ทาํ ใหผ ลการดาํ เนนิ งานของสหกรณเ ปน ไปตามเปา หมายทว่ี างไว
รายละเอยี ดเหลาน้ี ไดก ลา วไวใ นรายงานผลการดําเนนิ งาน ประจาํ ป 2563

ผมขอเนน ยําอ กี ครง้ั หน่งึ วา หลกั การดําเนนิ งานที่ดีของสหกรณจะตอ งไมมงุ เนนการแสวงหา
กําไรสงู สุด แตค วรจะมงุ เนนในเรือ่ งของความมนั่ คง ความโปรงใส สวัสดกิ าร ความเปนอยูข องสมาชิก
และสงั คมรอบขางดวย นอกจากน้นั อตั ราดอกเบี้ยเงนิ ฝากกค็ วรสงู กวาสถาบันการเงินอื่น ดอกเบยี้ เงิน
กูก ็ควรตาํ่ กวาสถาบนั การเงินอ่ืน อยา งไรกต็ ามการกาํ หนดอัตราดอกเบี้ยควรเปนไปตามตลาดการเงนิ
และภาวะเศรษฐกจิ การดาํ เนินงานของสหกรณอ อมทรพั ยมหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม จาํ กดั ในอนาคตขา ง
หนา ภายใตส ถานการณท ่ีไมมอี ะไรแนนอน จะตอ งเปน ไปอยางระมัดระวัง มีความยดื หยนุ และพรอมที่
จะรบั กับการเปลย่ี นแปลงเสมอ

ทา ยนี้ ผมและคณะกรรมการดําเนินการ ชุดท่ี 46 ขอขอบคณุ ที่ปรกึ ษา ผูต รวจสอบกจิ การ
ผสู อบบญั ชี ฝา ยจดั การ รวมถงึ สมาชกิ ทกุ ทา นทมี่ สี ว นรว มทาํ ใหส หกรณอ อมทรพั ยม หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม
จํากดั มีความเจรญิ กา วหนา และมีความมน่ั คงมาจนถึงทุกวันนี้

6 สราหยกงราณนกอ จิอกมาทรรปพั รยะจม ําหปา‚ว2ทิ 5ย6า3ลัยเชยี งใหม‹ จาํ กัด (รองศาสตราจารย ดร.ธเนศ ศรีวิชัยลําพันธ)
ประธานกรรมการดําเนินการ

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยเชียงใหม จํากัด

ท่ปี รึกษากิตตมิ ศักด์ิ

ประจาํ ป‚ 2563

ศาสตราจารยค ลนิ กิ นายแพทยนเิ วศน นนั ทจติ

ทป่ี รึกษา

ประจําป‚ 2563

รองศาสตราจารยส ุวรรณา เลาหะวสิ ทุ ธิ์ รองศาสตราจารย ดร.รัฐสิทธ์ิ สขุ ะหตุ
ทป่ี รึกษาดŒานบัญชแี ละการลงทนุ ที่ปรกึ ษาดาŒ นบรหิ ารและพฒั นาสหกรณ

7สหกรณออมทรพั ยรมายหงาาวนทิ กยิจากลายั รเชปียรงะจใหํามป‹‚จ2าํ5ก6ัด3

ผŒตู รวจสอบกิจการและผŒสู อบบญั ชีสหกรณ

ประจาํ ป‚ 2563

ผŒตู รวจสอบกิจการสหกรณ

อาจารย ดร.วิสทุ ธร จติ อารี ผŒูชว‹ ยศาสตราจารยมาลมี าส สทิ ธิสมบัติ
ผตŒู รวจสอบกิจการ ผŒตู รวจสอบกิจการดŒานบรหิ ารและปฏบิ ัติการ

ดาŒ นการเงนิ การบญั ชี และการงบประมาณ

ผูŒสอบบญั ชีสหกรณ

รองศาสตราจารยบ ญุ สวาท พฤกษิกานนท
ผูŒสอบบัญชีสหกรณ

8 สราหยกงราณนกอิจอกมาทรรปัพรยะจมาํหปา‚ว2ทิ 5ย6า3ลัยเชียงใหม‹ จํากดั

รายนามคณะกรรมการดําเนนิ การ

สหกรณออมทรพั ยมหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม‹ จํากัด
ประจําป‚ 2563

1. รองศาสตราจารย ดร.ธเนศ ศรีวิชัยลําพันธ ประธานกรรมการดาํ เนนิ การ
2. ผูชวยศาสตราจารยชาตรี เรืองเดชณรงค รองประธานกรรมการดาํ เนนิ การ คนท่ี 1
3. รองศาสตราจารย นายแพทยอํานาจ อยูสุข รองประธานกรรมการดาํ เนนิ การ คนท่ี 2
4. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไพรัช กาญจนการุณ กรรมการและเหรัญญิก
5. นายวสุ ละอองศรี กรรมการและเลขานุการ
6. ผูชว ยศาสตราจารย ทันตแพทย ดร.นฤมนัส คอวนิช กรรมการ
7. รองศาสตราจารย ดร.จิราวรรณ ฉายสุวรรณ กรรมการ
8. รองศาสตราจารย ดร.ณัฐา โพธาภรณ กรรมการ
9. รองศาสตราจารย ดร.เทพินทร พัชรานุรักษ กรรมการ
10. รองศาสตราจารยประทีป จันทรคง กรรมการ
11. ผูชวยศาสตราจารย ดร.พรชัย วิสุทธิศักด์ิ กรรมการ
12. นายเดชา พรึงลําภู กรรมการ
13. ดร.สมทบ พาจรทิศ กรรมการ
14. นายประหยัด กาวิชัย กรรมการ
15. นายนิกรศักดิ์ กมล กรรมการ

9สหกรณออมทรพั ยรมายหงาาวนิทกยิจากลาัยรเชปียรงะจใหํามป‹‚จ2าํ5ก6ัด3

ประธานคณะกรรมการดาํ เนนิ การ

สหกรณอ อมทรัพยม หาวิทยาลยั เชยี งใหม‹ จาํ กัด

รองศาสตราจารย ดร.ธเนศ ศรีวชิ ัยลําพันธ

คณะกรรมการอาํ นวยการ

บน : จากซาย ลาง : จากซาย
นายวสุ ละอองศรี รองศาสตราจารย นายแพทยอ ํานาจ อยสู ขุ
กรรมการและเลขานุการ รองประธานกรรมการ คนท่ี 2
ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไพรัช กาญจนการุณ รองศาสตราจารย ดร.ธเนศ ศรวี ิชยั ลําพนั ธ
กรรมการและเหรัญญิก ประธานกรรมการดําเนนิ การ
ผูชวยศาสตราจารยช าตรี เรืองเดชณรงค
10 สราหยกงราณนกอ จิอกมาทรรปัพรยะจม ําหปา‚ว2ิท5ย6า3ลัยเชียงใหม‹ จาํ กดั รองประธานกรรมการ คนท่ี 1

คณะกรรมการเงนิ กูŒ

บน : จากซาย
นายวสุ ละอองศรี กรรมการ
ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไพรัช กาญจนการุณ รองประธานกรรมการ
นายนกิ รศกั ด์ิ กมล กรรมการและเลขานกุ าร

นายประหยัด กาวชิ ยั กรรมการ

ลาง : จากซา ย กรรมการ
ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.พรชยั วสิ ทุ ธศิ กั ด์ิ ประธานกรรมการ
ผูช วยศาสตราจารยชาตรี เรอื งเดชณรงค กรรมการ
นายเดชา พรงึ ลําภู

คณะกรรมการศกึ ษา สวสั ดิการ และประชาสมั พันธ

บน : จากซา ย
รองศาสตราจารย ดร.เทพินทร พัชรานรุ ักษ กรรมการ
รองศาสตราจารย ดร.จริ าวรรณ ฉายสุวรรณ กรรมการ
รองศาสตราจารย ดร.ณัฐา โพธาภรณ กรรมการ
ดร.สมทบ พาจรทิศ กรรมการและเลขานกุ าร

ลา ง : จากซา ย
รองศาสตราจารยประทปี จันทรค ง กรรมการ
รองศาสตราจารย นายแพทยอ ํานาจ อยูส ขุ ประธานกรรมการ
ผูชว ยศาสตราจารย ทนั ตแพทย ดร.นฤมนสั คอวนิช รองประธานกรรมการ

11สหกรณอ อมทรพั ยรมายหงาาวนิทกยิจากลาัยรเชปยีรงะจใหาํ มป‹‚จ2ํา5ก6ดั3

เจาŒ หนŒาท่ี

สหกรณอ อมทรัพยม หาวิทยาลยั เชียงใหม‹ จํากัด
ประจาํ ป‚ 2563

จากซา ย :
นางเพญ็ นภา จอมจันทร ผชู ว ยผูจ ดั การ
นางปรียานชุ กนั มะโน รองผูจดั การ
นางบุษบา ใจจนั ทร รองผูจัดการ
นายจรงุ ศักด์ิ โชติบาง ผจู ัดการ

งานสินเชอ่ื
จากซา ย :

นางสาววราภสั ร ปท มพงศป กรณ เจาหนา ทีส่ นิ เชื่อ

นายธวชั ชยั วฒุ เิ จรญิ หัวหนางานสินเชอื่

นางสาวดวงกมล ธิยานนั ต เจาหนา ที่นติ ิกร

งานการเงนิ
จากซาย :
นางสาวรจุ ิรา รงุ วสิ ัย เจาหนาทีก่ ารเงนิ
นางสาวยอดขวัญ ปวงคํา หัวหนางานการเงิน
นางวนั เพ็ญ เชียงหนุน เจา หนาที่การเงนิ

งานบญั ชี
จากซาย :
นางสาวญาดา สนธิคุณ เจา หนาทบี่ ญั ชี
นางสาวสริ ิภา บญุ สวสั ด์ิ เจา หนา ทบี่ ญั ชี
นางกรทิพย โนจา หัวหนางานบญั ชี

12 สราหยกงราณนกอิจอกมาทรรปพั รยะจมําหปา‚ว2ทิ 5ย6า3ลยั เชยี งใหม‹ จาํ กัด

งานคอมพิวเตอร
จากซา ย :
นางสาวยบุ ล ฟองรัตน หวั หนา งานคอมพวิ เตอร
นางสาวธนั ยาภรณ ดษิ กร เจา หนา ที่คอมพวิ เตอร

งานธรุ การ
และสมาคมฌาปนกจิ สงเคราะห สอ.มช.
จากซาย :
นายสมเพช็ ร หินวงศ เจา หนา ที่บริการ
นางรมดิ า อินทรปรีชา เจาหนาที่ธรุ การ
นางสาวนนทลี ศรีสวาง เจา หนา ทธ่ี ุรการ
นางภทั รา กติ ติปภสั สร หวั หนางานธรุ การ
นางสาวสุพิมาย มาลา เจาหนาที่สมาคมฌาปนกิจฯ
นายอดิศกั ดิ์ รัตนมลกิ ลุ เจาหนาท่บี รกิ าร

สาขาสวนดอก
จากซาย
นายชาญชยั ณะวชิ ยั เจาหนา ทีบ่ ริการ
นายประจวบ แกว หลวง เจา หนา ทก่ี ารเงิน
นางปรยี านุช กนั มะโน รองผูจดั การ
นางโสภาพร เชษฐภาดา เจาหนาที่การเงิน
นายเกรยี งไกร จันทรก ลาง เจา หนา ที่สินเช่ือ

13สหกรณอ อมทรพั ยรมายหงาาวนิทกยิจากลาัยรเชปียรงะจใหาํ มป‹‚จ2ํา5ก6ดั3

ประวตั ิ และความเปšนมา
สหกรณออมทรัพยมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม‹ จาํ กดั

มีนาคม พ.ศ. 2510 ฯพณฯ สุนทร หงสลดารมภ ดํารงตําแหนงอธิการบดี มหาวิทยาลัย
เชียงใหม ดําริที่จะจัดตั้งสหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยเชียงใหม จํากัด ขึ้น เพื่อจะใหเปนสวัสดิการ
แกอาจารยและขาราชการ

ผชู วยศาสตราจารย นคร ณ ลําปาง หัวหนา กองกลาง สาํ นักงานอธิการบดี (ในขณะนัน้ )
บันทกึ ขอความเห็นชอบในการจดั ตง้ั สหกรณออมทรัพยมหาวทิ ยาลัยเชียงใหม จาํ กัด ตอ ศาสตราจารย
นายแพทยยงยุทธ สัจจวาณิชย อดีตอธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม เหตผุ ลสําคัญ เพื่อเปนสวัสดิการ
แกอาจารย ขาราชการและลูกจางมหาวิทยาลัยเชียงใหม คําสั่งแตงตั้งกรรมการเพื่อเตรียมการจัดตั้ง
สหกรณออมทรัพย วันที่ 7 พฤศจิกายน 2518

- คณะกรรมการฯ ไดย กรา งขอ บงั คบั สหกรณอ อมทรพั ย เสนอขอความเหน็ ตอ ทป่ี ระชมุ คณบดี
- ประกาศเชิญชวนอาจารย ขาราชการและลูกจางประจําของมหาวิทยาลัยเชียงใหม
- สมัครเปนสมาชิกกอตั้ง ปรากฏวามีผูสนใจเปนสมาชิกประมาณหนึ่งรอยคน
- เสนอรางขอบังคับเพื่อขอจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. 2511
- นายทะเบียนสหกรณไดร ับจดทะเบียนใชขอ บังคับสหกรณอ อมทรัพยม หาวิทยาลยั เชยี งใหม
จํากัด และอนญุ าตใหใ ชขอ บงั คับสําหรับสหกรณนี้ ต้ังแตวนั ท่ี 27 เมษายน พ.ศ. 2519

สหกรณอ อมทรพั ยม หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม จาํ กดั กบั จาํ นวนสมาชกิ และทนุ เรอื นหนุ เงนิ รบั ฝาก
รอบ 43 ป

- พ.ศ. 2519 สมาชิก 916 คน
- พ.ศ. 2528 สมาชิก 4,545 คน ทุนเรือนหุน 32.50 ลานบาท เงินฝาก 10.61 ลานบาท
- พ.ศ. 2538 สมาชกิ 7,266 คน ทนุ เรอื นหนุ 314.55 ลา นบาท เงนิ รบั ฝาก 656.27 ลา นบาท
- พ.ศ. 2548 สมาชกิ 7,445 คน ทนุ เรอื นหนุ 989.92 ลา นบาท เงนิ รบั ฝาก 2,177.28 ลา นบาท
- พ.ศ. 2558 สมาชกิ 10,649 คน ทนุ เรอื นหนุ 2,517.47 ลา นบาท เงนิ รบั ฝาก 5,110 05 ลา นบาท
- พ.ศ. 2562 สมาชกิ 11,796 คน ทนุ เรอื นหนุ 3,429.18 ลา นบาท เงนิ รบั ฝาก 6,014.65 ลา นบาท

สหกรณออมทรัพย สํานักงานสาขาสวนดอก จัดตั้ง ปรับปรุงและยายสถานที่
พ.ศ. 2547 อยูที่ ชั้น 1 ของอาคารเรียน 12 ชั้น คณะเทคนิคการแพทย
พ.ศ. 2551 ยายไปยังชั้น 1 อาคารสุจิณโณ คณะแพทยศาสตร

14 สราหยกงราณนกอิจอกมาทรรปัพรยะจมําหปา‚ว2ทิ 5ย6า3ลยั เชยี งใหม‹ จํากัด

พ.ศ. 2561 ยายไปยังบริเวณโถงชั้น 1 ศูนยอาหาร หอพักพยาบาล 9 (MED FOOD COURT)
คณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม

ระยะสิบปแรก เปนระยะที่กอรางสรางตัว เริ่มตนจากสมาชิกที่จดทะเบียนจัดตั้งหนึ่งรอย
คนเศษ

ชว งแรกไดร บั การสนบั สนุนจากมหาวิทยาลยั อยา งมาก ท้ังสถานทท่ี าํ งาน บคุ ลากรชวยทาํ งาน
การใหเ งนิ กแู กส มาชกิ เพอ่ื ใหพ อเพยี งกบั ความตอ งการของสมาชกิ ทจ่ี ะกูเ งิน สหกรณเ ริม่ รบั ฝากเงนิ จาก
สมาชกิ ในป 2522

พ.ศ. 2523 สหกรณเริ่มจัดสวัสดิการใหแกสมาชิก ไดแก จัดตั้งกองทุนสาธารณประโยชน
ชวยเหลือสมาชิกเมื่อเกิดอุบัติภัยตาง ๆ ทุนสงเสริมการศึกษา เปนทุนใหบุตร-ธิดาสมาชิกและตัว
สมาชิกเองที่ศึกษาตอ และเงินชวยเหลือการศพเมื่อสมาชิกถึงแกกรรม

ระยะสิบปที่สอง เปนชวงเวลาของการเติบใหญและรับพระราชทานโลเกียรติคุณเปน
“สหกรณอ อมทรพั ยด เี ดน แหง ชาติ ประจาํ ป 2539” เปน ปท่สี หกรณมอี ายุครบ 20 ปพอดี พ.ศ. 2536
สหกรณไดจัดตั้งกองทุนรวมใจชวยเหลือสมาชิก โดยมีหลักการสงเคราะหสมาชิกเมื่อเสียชีวิต หรือ
ทุพพลภาพจนไมสามารถประกอบอาชีพได หรือกรณีที่สมาชิกมีอายุครบ 65 ปบริบูรณขึ้นไป จะจาย
ใหไมเกินกึ่งหนึ่งของสิทธิที่จะไดรับกอน ที่เหลือจายใหทายาทเมื่อสมาชิกเสียชีวิต

พ.ศ. 2538 สหกรณไดเริ่มใหเงินกูแกสหกรณออมทรัพยอื่นเปนเงิน 244.78 ลานบาท

ระยะสิบปที่สาม เปนเวลาของการพัฒนาอยางตอเนื่องและยั่งยืน
- ทุนสํารอง เพิ่มจากป พ.ศ. 2538 ซึ่งมีเพียง 31.47 ลานบาท เปน 179.31 ลานบาท
- ที่ประชุมใหญเห็นชอบใหจัดสรรกําไรสุทธิเปนทุนสํารองประมาณรอยละ 25 ซึ่งเปนความ
มั่นคงของสหกรณ
- จัดตั้งสมาคมฌาปนกิจสงเคราะหสหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยเชียงใหมขึ้น มีระเบียบ
วาดวยเงินบําเหน็จสมาชิก โดยเปนเงินจายใหสมาชิกที่มีอายุครบหกสิบปบริบูรณ และเปนสมาชิก
ตอเนื่องมาตั้งแต 10 ปขึ้นไป มีการใหของขวัญวันเกิดสมาชิกเปนหุน ซึ่งแนวโนมเงินสวัสดิการ
สมาชิกคงจะมีมากขึ้นตามลําดับ

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยเชียงใหม จํากัด กับระบบคอมพิวเตอร
สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยเชียงใหม จํากัด ไดเริ่มนําคอมพิวเตอรมาใชตั้งแต ป พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2534 เริ่มใชโปรแกรมงาน 3 ระบบ คือ ระบบทะเบียนหุน/หนี้ ระบบเงินฝาก และระบบบัญชี
โดยมีการพัฒนาตามลําดับ
พ.ศ. 2540 ไดใ ชบ รกิ ารเครอื ขา ยเตม็ รปู แบบเชอ่ื มตอ กบั หนว ยบรกิ ารสวนดอกรวมทง้ั เครอื ขา ยอนิ เตอรเ นต็
พ.ศ. 2546 ไดจ ดั จา งพฒั นาระบบโปรแกรมเตม็ รปู แบบ ทง้ั งานหลกั และงานเสรมิ รวม 11 ระบบ และ
เรม่ิ ใชร ะบบใหมท งั้ หมดในป พ.ศ. 2548

15สหกรณออมทรพั ยรมายหงาาวนทิ กยิจากลายั รเชปยีรงะจใหาํ มป‹‚จ2าํ5ก6ัด3

พ.ศ. 2552 สอ.มช.ไดรับคัดเลือกใหเปนสหกรณออมทรัพยดีเดน (ประเภทขนาดใหญมาก) คัดเลือก
โดยชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด
พ.ศ. 2553 สอ.มช.ไดรับรางวัลดานการสงเสริมการออมดีเดน อันดับ 3 ซึ่งคัดเลือกโดยชุมนุม
สหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด
พ.ศ. 2554 สหกรณฯ ไดเปดใหสมาชิกซ้ือหุนพิเศษได โดยรับซ้ือรวมจํานวนไมเกิน 50 ลานบาท

รองศาสตราจารย ดร.นัยทัศน ภูศรัณย ประธานกรรมการดําเนินการ ไดรับคัดเลือกใหเปน
“นักสหกรณออมทรัพยดีเดน สาขานักบริหาร”

สอ.มช. ไดรับรางวัลสหกรณท่ีมียอดเงินออมสูงสุด จากชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหง
ประเทศไทย จํากัด

ผลงานปน้ี คือ ดานการบริหาร สอ.มช.ไดจัดทําการบริหารความเสี่ยงครอบคลุมทุกงาน
ดานบริการเงินกู ไดขยายวงเงินกู สงเสริมใหมีการกูเพ่ือสงเสริมฐานะของสมาชิก ดานเงินออม
สง เสรมิ ใหมกี ารฝากเงิน โดยจัดใหม ผี ลิตภัณฑเ งนิ ฝากท่ใี หผลตอบแทนไมน อ ยกวาสถาบนั การเงินอน่ื
จากผลงานตอเนื่องกันมา

- ประธานกรรมการดําเนินการ สอ.มช.ไดรับรางวัลบุคลากรสหกรณดีเดนระดับจังหวัด
- รองผูจัดการ (นางสุพิศ คงดี) สอ.มช. ไดรับรางวัล นักสหกรณออมทรัพยดีเดน สาขานกั
ปฏบิ ตั กิ าร และรายงานกจิ การของ สอ.มช. ไดร บั เกยี รตบิ ตั รดา นรายงานกจิ การดเี ดน
- สอ.มช. ไดรับรางวัลสหกรณที่มียอดเงินออมสูงสุดจากชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหง
ประเทศไทย จํากัด ติดตอกันต้ังแตป พ.ศ. 2554 - พ.ศ. 2556
- จัดเสวนาใหความรู การวางแผนทางการเงิน และการบริหารหน้ี
- ดานการดําเนินการของสหกรณ ป พ.ศ. 2556 และป พ.ศ. 2557 ผลการดําเนินงานโดย
ภาพรวมเปนที่นาพอใจทั้งดานผลกําไรท่ีเกินเปาหมาย และมีการดําเนินงานตามมาตรฐานสหกรณ
ซึ่งไดรับการประเมินในระดับดีเลิศจากกรมสงเสริมสหกรณ
พ.ศ. 2557 ไดมีการแกไขระเบียบวาดวยกองทุนรวมใจชวยเหลือสมาชิก เพ่ือเพ่ิมการจายเงินใหแก
สมาชิกที่เกษียณอายุขณะท่ีมีชีวิตอยู โดยสมาชิกจะไดรับจนครบ 100,000.00 บาท
พ.ศ. 2558 สอ.มช.มีความภาคภูมิท่ีไดรับรางวัลสหกรณออมทรัพยดีเดน และ
รองผูจัดการ (นางสุรัชนีย ชัยชนะ) ไดรับรางวัลนักสหกรณออมทรัพย ระดับดี สาขานัก
ปฏิบัติการ
สอ.มช. ไดเ พม่ิ หลกั เกณฑเ งนิ กสู ามญั เพอ่ื ชดใชก องทนุ บาํ เหนจ็ บาํ นาญขา ราชการ (กบข.) การให
เงนิ กฉู กุ เฉนิ โครงการพเิ ศษเพอ่ื กเู งนิ ปน ผล เพอ่ื เพม่ิ ชอ งทางการใหบ รกิ ารและเพอ่ื อาํ นวยความสะดวกแก
สมาชกิ
พ.ศ. 2558 เปนปแรกที่ สอ.มช.ไดจัดใหมีการสรรหาโดยสงทางไปรษณียสําหรับสมาชิก ทําใหสถิติ
การใชสิทธิ์สรรหากรรมการของสมาชิกในปน้ีเพ่ิมสูงขึ้น
พ.ศ. 2559 สอ.มช.ดําเนินกิจการครบรอบ 40 ป สอ.มช.ไดจัดต้ังกองทุน 40 ป สมาชิกผูสูงอายุข้ึน
เพ่ือเพิ่มสวัสดิการใหแกสมาชิก

16 สราหยกงราณนกอ ิจอกมาทรรปพั รยะจมําหปา‚ว2ทิ 5ย6า3ลัยเชยี งใหม‹ จํากัด

สอ.มช. ยังเพ่ิมบริการสงขอความถึงสมาชิก ผานทาง SMS หรือ Email เพ่ือใหสมาชิก
สามารถติดตามขาวสารของ สอ.มช.ไดรวดเร็วขึ้น
พ.ศ. 2560 สอ.มช.กาวเขา สปู ท ่ี 41 ปนี้ สอ.มช.ไดร บั รางวัล “สหกรณออมทรพั ยค ุณภาพมาตรฐาน”
จากชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด

- สอ.มช.ไดมกี ารพัฒนาระบบการใหบรกิ ารขอมลู แกส มาชกิ ผา นเว็บไซต และโทรศพั ทม อื ถอื
โดยสมาชิกสามารถดขู อ มูลสวนตัวได ภายใตระบบปฏบิ ัตกิ าร Android และ iOS สําหรับสถานภาพ
ทางการเงนิ
พ.ศ. 2561 สอ.มช.บริหารงานภายใตเกณฑกาํ กับดูแลสหกรณของกรมสงเสริมสหกรณ ผลการดําเนิน
การเกนิ เปาหมายทวี่ างไว และไดร บั การจัดมาตรฐานดีเลิศจากกรมสงเสริมสหกรณ

สอ.มช.ยังไดพัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยนําระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ หรือ MIS
เขามาชวยในการบริหารและการจัดการองคกร นอกจากน้ี ยังไดนําระบบอิเล็กทรอนิกสมาใชในการ
ประชุม ซึ่งงายตอการเก็บรักษาขอมูลและการสืบคนรวมทั้งประหยัดเวลาและทรัพยากร
ป 2562 สอ.มช. ดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร มีผลงานเกินเปาหมายที่วางไว และไดรับการจัด
มาตรฐานดเี ลศิ จากกรมสงเสริมสหกรณ ภายใตพระราชบัญญัติสหกรณใหม ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562
ไดม ีการปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมขอบังคับสหกรณ ระเบียบและประกาศท่ีเกี่ยวของใหสอดคลองกับ
พระราชบญั ญตั สิ หกรณ การบรหิ ารงานของ สอ.มช. ไดต ระหนกั และดาํ เนนิ การอยา งตอ เนอื่ งดา นระบบ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ ใหเ กดิ ความมัน่ คงและปลอดภัย จงึ ไดก าํ หนดมาตรฐานและแนวทางปฏบิ ัติของ
การรกั ษาความม่ันคงปลอดภัยในการใชระบบสารสนเทศขององคกร ภายใตโครงการประเมนิ ระบบ
สารสนเทศ สอ.มช. โดยความรวมมอื จากสาํ นักบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศ ITSC มาเปน ผปู ระเมนิ

พัฒนาระบบการใหบริการขอมูลแกสมาชิกผานเว็บไซตและโทรศัพทมือถือ โดยยกเลิกการ
ออกใบเสร็จใหแกสมาชิกสามัญ สมาชิกสามารถตรวจสอบหรือดาวนโหลด และแกไขขอมูลการรับ
เงินปนผลดวยตนเองผานแอปพลิเคชั่น สอ.มช.

17สหกรณอ อมทรัพยรมายหงาาวนทิ กยิจากลายั รเชปยีรงะจใหาํ มป‹‚จ2าํ5ก6ัด3

รายงานผลการดาํ เนินงาน ประจาํ ป 2563

ป 2563 คณะกรรมการดาํ เนนิ การ สหกรณอ อมทรัพยมหาวิทยาลยั เชียงใหม จาํ กัด ชดุ ที่ 46 ได
รบั การเลอื กตงั้ จากทปี่ ระชมุ ใหญส ามญั ประจาํ ป 2562 เมอ่ื วนั ท่ี 7 กมุ ภาพนั ธ 2563 ไดบ ริหารงานตาม
กฎหมาย ขอบงั คับ ระเบียบ และมติ ของทป่ี ระชมุ ใหญแ ละคณะกรรมการดาํ เนนิ การ บรหิ ารงานตาม
แผนงาน/โครงการใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ ดว ยความซอ่ื สตั ยส จุ รติ การใชจ า ยเงนิ ตามงบประมาณ มกี าร
ควบคุมการใชจายงบประมาณที่ไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมใหญสามัญประจาํ ป โดยสอดคลองกับ
สถานการณและสภาพเศรษฐกิจในปจจบุ นั อยางประหยัดและมปี ระสทิ ธภิ าพ

สําหรับผลการดาํ เนินงานในรอบป 2563 เปรียบเทียบกับผลการดําเนินงาน 2 ปยอนหลัง
มีรายละเอียด ดังน้ี

ตารางสรปุ ผลการดาํ เนินงาน
เปรียบเทียบระหวา งป 2561 ป 2562 และป 2563 หนว ย : บาท

รายการ ป 2561 เพิม่ /(ลด) ป 2562 เพ่มิ /(ลด) ป 2563
1. ทนุ เรือนหนุ 3,492,187,390.00 294,863,550.00 3,787,050,940.00
2. ทนุ สํารอง 3,210,020,750.00 282,166,640.00 43,048,314.85
3. ทนุ สะสมตามขอ บงั คบั และอนื่ ๆ 613,452,453.36 656,500,768.21
4. เงนิ รับฝาก 572,656,388.86 40,796,064.50 143,922,914.70 (312,280.00) 143,610,634.70
5. เงินกูใหแกส มาชิก 6,014,652,099.34 543,929,922.81 6,558,582,022.15
6. เงนิ กใู หแ กส หกรณอ อมทรพั ยอ นื่ 143,711,196.70 211,718.00 3,477,136,505.87 84,795,784.53 3,561,932,290.40
7. การลงทุนในรูปอ่นื ๆ 1,453,691,192.25 (50,224,794.75) 1,403,466,397.50
4,853,438,099.57 1,161,213,999.77
- หนุ ชมุ นมุ สหกรณอ อมทรพั ยฯ
- หนุ บรษิ ทั สหประกันชีวติ 3,459,773,611.32 17,362,894.55
- หุนกู
- พนั ธบตั รออมทรัพย 2,111,516,979.75 (657,825,787.50)
8. รายได
9. คา ใชจา ย 2,968,000.00 242,000.00 3,210,000.00 300,000.00 3,510,000.00
10. กาํ ไรสุทธิ 200,000.00 - 200,000.00 0.00 200,000.00
11. สนิ ทรพั ยรวม
1,630,000,000.00 380,000,000.00 2,010,000,000.00 605,000,000.00 2,615,000,000.00
50,000,000.00 - 50,000,000.00 15,000,000.00 65,000,000.00
404,224,806.39 437,972,557.43 24,942,474.49 462,915,031.92
150,780,670.24 33,747,751.04 167,552,706.44 12,034,045.85 179,586,752.29
253,444,136.15 16,772,036.20 270,419,850.99 12,908,428.64 283,328,279.63
16,975,714.84 903,018,158.14 11,495,991,330.43
9,086,650,158.68 1,506,323,013.61 10,592,973,172.29

18 สราหยกงราณนกอิจอกมาทรรปพั รยะจม ําหปา‚ว2ิท5ย6า3ลัยเชยี งใหม‹ จํากดั

จาํ นวนสมาชกิ
ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2563 จํานวนสมาชิกของสหกรณฯ มที ั้งสิ้น 12,092 คน เพมิ่ ข้นึ จาก

วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2562 จํานวน 296 คน หรือคิดเปน รอ ยละ 2.51 ตามรายละเอียด ดงั น้ี

ประเภทสมาชกิ ยกมา เพิ่ม ลด 31 ธ.ค. 2563

สมาชิกสามญั 31 ธ.ค. 2562 เชาใหม เปลี่ยนจากสมาชกิ สมทบ ออก เปลยี่ นจากสมาชกิ สมทบ 10,913
(คน) (คน) เปนสมาชกิ สามัญ เปน สมาชกิ สามัญ 1,179
12,092
10,628 334 273 322 -

สมาชิกสมทบ 1,168 439 - 155 273
รวม 11,796 773 273 477 273

รายได คาใชจ า ย กาํ ไรสุทธิ
1) รายไดของสหกรณ
การดําเนินกิจการของ สอ.มช. มีรายไดจากการใหสมาชิกกูยืม ใหสหกรณออมทรัพยอ่ืนกูยืม

และการนําเงินไปฝากหรือลงทุนในสถาบันการเงินอื่น ๆ ตามพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ.2542
ในป 2563 สอ.มช. มรี ายไดจ ากแหลงตา งๆ รวมเปน เงิน 462,915,031.92 บาท ดังมีรายละเอียดดงั น้ี

(1) รายไดจากการทําธุรกรรมของสมาชิก

ประเภทรายได จาํ นวนเงนิ (บาท) คิดเปนรอ ยละ
รายไดจ ากดอกเบ้ยี เงนิ กูย ืม 252,514,440.64 54.55
รายไดจากคาธรรมเนียมแรกเขา สมาชกิ 73,300.00 0.02
รายไดจ ากการประเมนิ หลกั ทรัพย 137,200.00 0.03
รายไดจ ากคา ธรรมเนียมถอนเงนิ ฝากออมทรัพยพิเศษ 58,746.85 0.01
รายไดเบด็ เตล็ด/อนื่ ๆ 549,380.02 0.12
253,333,067.51 54.73
รวม

19สหกรณอ อมทรัพยรมายหงาาวนทิ กยจิ ากลาัยรเชปียรงะจใหํามป‹‚จ2าํ5ก6ดั3

(2) รายไดจากการทําธุรกรรมที่ไมไดมาจากสมาชิก

ประเภทรายได จาํ นวนเงิน (บาท) คดิ เปน รอยละ
นําเงนิ ไปฝากสหกรณอ น่ื 123,835,315.04 26.75
รายไดจ ากดอกเบ้ยี เงนิ ฝากธนาคาร 4,025,008.53 0.87
รายไดจ ากผลตอบแทนจากการลงทุน 81,721,640.84 17.65
209,581,964.41 45.27
รวม

จากยอดรายไดดังกลาว ในป 2563 สอ.มช. มียอดรายไดเพิ่มขึ้นจากป 2562 จํานวน
24,942,474.49 บาท คิดเปนรอยละ 5.69

2) คาใชจายของสหกรณ
ในป 2563 สอ.มช. มคี า ใชจ า ยทง้ั สน้ิ 179,586,752.29 บาท คดิ เปน รอ ยละ 38.79 ของรายได

ซึ่งแบงเปนคาใชจายดอกเบี้ยจาย และคาใชจายในการบริหาร ดังนี้

คา ใชจ า ย จํานวนเงนิ (บาท) คดิ เปนรอ ยละของคา ใชจา ยท้ังหมด

ดอกเบ้ียจา ย 130,445,729.68 72.64

การบรหิ าร 49,141,022.61 27.36

จากยอดคาใชจายดังกลาว ในป 2563 สอ.มช. มีคาใชจายเพิ่มขึ้น จากป 2562 จํานวน

12,034,045.85 บาท คิดเปนรอยละ 7.18

3) กําไรสุทธิ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 สอ.มช. มีกําไรสุทธิ จํานวน 283,328,279.63 บาท คิดเปน

รอยละ 61.21 ของรายได ซึ่งเพิ่มขึ้นจากป 2562 จํานวน 12,908,428.64 บาท คิดเปนรอยละ 4.77

20 สราหยกงราณนกอิจอกมาทรรปัพรยะจมําหปา‚ว2ทิ 5ย6า3ลัยเชียงใหม‹ จํากดั

4) การจําแนกประโยชนจากกําไรสุทธิ
(1) กลับคืนสูสมาชิกโดยตรง
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 สอ.มช. มกี าํ ไรสุทธิ จํานวน 283,328,279.63 บาท จา ยเปน

เงนิ ปนผลและเงินเฉลี่ยคนื สสู มาชกิ โดยตรง จาํ นวน 235,000,000.00 บาท คดิ เปน รอ ยละ 82.94 ของ
กาํ ไรสทุ ธิ ดังนี้

ผลตอบแทน จํานวนเงนิ (บาท)
เงนิ ปน ผล (5.80%) 211,000,000.00
เงินเฉล่ยี คืน (12.00%) 24,000,000.00

(2) จัดเปนประโยชนและสวัสดิการแกสมาชิก
จากกําไรสุทธิดังกลาวขางตน สอ.มช. ไดนํามาจัดสรรเปนสวัสดิการตางๆ ใหแกสมาชิก

โดยทางออมจํานวน 41,215,072.64 บาท คิดเปนรอยละ 14.55 ของกําไรสุทธิ ดังนี้

จดั สรรเปน จาํ นวนเงิน (บาท)
ทุนสาํ รอง 37,215,072.64
ทุนรกั ษาระดบั เงนิ ปนผล 500,000.00
ทุนสงเสรมิ การศกึ ษา 1,500,000.00
ทนุ สาธารณประโยชน 500,000.00
กองทนุ รวมใจชว ยเหลอื สมาชิก 500,000.00
ทนุ สวัสดิการสมาชกิ 500,000.00
กองทุนเล้ียงชีพสมาชิกสงู อายุ 500,000.00

(3) จัดเปนประโยชนอื่นๆ
นํามาจัดสรรเปนคาบํารุงสันนิบาตสหกรณซึ่งเปนไปตามกฎหมายและเปนสวัสดิการให

กับคณะกรรมการและเจาหนาที่ จํานวน 7,113,206.99 บาท คิดเปนรอยละ 2.50 ของกําไรสุทธิ

จัดสรรเปน จํานวนเงนิ (บาท)
สนั นบิ าตสหกรณ 30,000.00
โบนัสกรรมการ
โบนัสเจาหนาที่ 2,833,282.80
4,249,924.19

21สหกรณออมทรพั ยรมายหงาาวนิทกยจิ ากลายั รเชปยีรงะจใหํามป‹‚จ2าํ5ก6ดั3

ผลการดําเนินงานตามแผน/โครงการ
ก.แผนงานบริหาร

1. งานบริหารงานทั่วไป

1.1 การปรับปรุงแกไขขอบังคับ ระเบียบ และหลักเกณฑตาง ๆ
ในป 2563 สอ.มช. ไดดําเนินการปรับปรุง แกไขขอบังคับ ระเบียบ หลักเกณฑตาง ๆ ของ

สหกรณ เพื่อใหเกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติมากขึ้น ตลอดจนเพื่อใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติ
สหกรณ พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติสหกรณ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2562 ดังตอไปนี้

(1) การปรับปรุงแกไขขอบังคับ
ในการประชุมใหญสามัญ ประจําป 2562 เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ 2563 สอ.มช. แกไข

ขอบังคับ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2563 โดยไดสงใหนายทะเบียนสหกรณใหความเห็นชอบ ซึ่ง
นายทะเบียนสหกรณไดใหความเห็นชอบการแกไขขอบังคับแลวเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2563 ซึ่งได
แกไขขอบังคับ ขอ 8 และขอ 19 โดยในขอ 8 ไดแกไขเพิ่มเติมขอความใน (8) กําหนดให สอ.มช.
สามารถรับฝากเงินจากนิติบุคคล (มหาวิทยาลัยเชียงใหม) ได เนื่องจากมีสมาชิกที่เปนบุคลากรหรือ
ลกู จางไมนอยกวากึ่งหนึ่งของนิติบุคคลนั้นเปนสมาชิกของสหกรณ และแกไขเพิ่มเติมในขอ 19
กําหนดใหสหกรณสามารถรับฝากเงินจากสมาคมฌาปนกิจสงเคราะหสหกรณออมทรัพย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม หรือนิติบุคคล ซึ่งมีบุคลากรหรือลูกจางไมนอยกวากึ่งหนึ่งของนิติบุคคลนั้น
เปนสมาชิกสหกรณ

(2) การปรบั ปรงุ แกไ ขเพม่ิ เตมิ ระเบยี บ การยกเลกิ ระเบยี บ และการกาํ หนดระเบยี บขน้ึ ใหม
(2.1) ระเบียบวาดวยการสรรหาเพื่อเลือกตั้งกรรมการดําเนินการ
ในการประชุมใหญสามัญ ประจําป 2562 ที่ประชุมไดมีมติใหแกไขเพิ่มเติม

ระเบียบวาดวยการสรรหาเพื่อเลือกตั้งกรรมการดําเนินการ โดยกําหนดใหสมาชิกสมทบพนักงาน
มหาวิทยาลยั ชว่ั คราวท่คี งสมาชกิ ภาพตดิ ตอ กนั ไมน อ ยกวา 3 ป จะเปลีย่ นสถานภาพเปนสมาชิกสามัญ
ซึ่งตามขอ 52 แหง ขอ บังคับ สอ.มช.กาํ หนดใหสมาชกิ สามญั มสี ทิ ธิล์ งคะแนนเสียงสรรหากรรมการ
ดําเนินการ โดยไดแกไ ขในขอ 4 กําหนดความหมายของคาํ วา “พนกั งานมหาวทิ ยาลยั ช่ัวคราว” และ
ขอ 9 เพิม่ คําวา “พนกั งานมหาวิทยาลยั ชว่ั คราว”

22 สราหยกงราณนกอิจอกมาทรรปัพรยะจม ําหปา‚ว2ทิ 5ย6า3ลัยเชยี งใหม‹ จาํ กดั

(2.2) ระเบียบวาดวยการเงินและการบัญชี พ.ศ. 2563
ในป 2563 สอ.มช.ไดแกไขระเบียบวาดวยการเงินและการบัญชี จํานวน 2 ครั้ง ดังนี้
- แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2563 : เนื่องจาก สอ.มช. กําหนดโครงการไลนออฟ
ฟเชี่ยลแอคเคานต หรือไลนโอเอ (LINE Official Account/LINE OA) เพื่อประชาสัมพันธเรื่องตาง ๆ
ใหสมาชิกทราบผานชองทางไลน ซึ่งในการดําเนินการดังกลาวจะตองมีคาใชจาย และในการจายเงิน
จะตองจายผานบัตรเครดิต ซึ่งคณะกรรมการดําเนินการในคราวประชุมครั้งที่ 5/2563 ไดมีมติอนุมัติ
ให สอ.มช.จัดทําบัตรเครดิต ดังนั้น เพื่อให สอ.มช.สามารถดําเนินการดังกลาวได จะตองแกไข
ระเบียบวาดวยการเงินและการบัญชีของสหกรณ จึงขอเสนอแกไขระเบียบ ดังนี้
ขอ 6 กําหนดใหผูจัดการเปนผูรับผิดชอบในการเก็บรักษาเงิน บัตรเครดิต และควบคุม
ดูแลการรับ-การจายเงินของสหกรณ
ขอ 26 ใหเพิ่มเติมวรรคทาย ขอความวา
“การจา ยเงินโดยใชบัตรเครดิต เพื่อชําระคาบริการและสินคา วงเงินไมเกิน 50,000.00
บาท ใหป ระธานกรรมการดาํ เนนิ การเปนผูอนุมัติ ในกรณีวงเงินเกิน 50,000.00 บาท ใหคณะกรรมการ
อํานวยการ
โดยใหแจงตอธนาคารเพื่อกําหนดวงเงินการใชครั้งละไมเกิน 50,000.00 บาท กรณีจะ
ใชเงินเกิน 50,000.00 บาท จะตองโทรศัพทไปขอขยายวงเงินเปนครั้ง ๆ ไป
- แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2563 : เพอ่ื ใหเ หมาะสมกบั สภาวการณป จ จบุ นั โดย
แกไ ขในขอ 26 ซง่ึ กาํ หนดวา การจา ยเงนิ ของสหกรณใ หจ า ยเปน เชค็ ยกเวน กรณตี อ ไปน้ี ใหจ า ยเปน เงนิ สด
คอื การจา ยเงนิ ใหแ กผ ซู อ้ื หรอื ผรู บั จา งไดไ มเ กนิ 10,000.00 บาท สอ.มช.ไดแ กไ ขวงเงนิ เปน 20,000.00
บาท และการจา ยเงนิ ใหแ กส มาชกิ ผถู อนเงนิ ฝาก เดมิ ใหจ า ยไดไ มเ กนิ 400,000.00 บาท แกไ ขเปน ไมเ กนิ
600,000.00 บาท รวมทง้ั ไดเ พม่ิ ขอ ความเพอ่ื ใหจ า ยเงนิ สดกรณจี า ยเงนิ กสู ามญั ประเภทเงนิ เบกิ เกนิ บญั ชี
ได สว นเนอ้ื หาอน่ื ๆ ยงั คงเดมิ

23สหกรณออมทรัพยรมายหงาาวนทิ กยจิ ากลายั รเชปยีรงะจใหํามป‹‚จ2าํ5ก6ัด3

(2.3) ระเบียบวาดวยการใหเงินกูและดอกเบี้ยเงินกู
ในป 2563 สอ.มช.ไดทําการแกไขระเบียบวาดวยการใหเงินกูและดอกเบี้ยเงินกู

จํานวน 2 ครั้ง เปนการแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2563 และ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 6) พ.ศ.
2563 ดังนี้

- การแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2563 แกไขในขอ 11 ขอ 11.1.4 และ
ขอ 25.1 ดังนี้

ขอ 11 แกไขโดยขยายวงเงินกูสามัญ จากเดิมใหกูไดไมเกิน 2,000,000.00 บาท
เปนใหกูไดไมเกิน 2,500,000.00 บาท

ขอ 12.1.4 เพิ่มขึ้นมาเพื่อกําหนดใหสมาชิกที่กูเงินเกินกวา 2,000,000.00 บาท
จะตองมีผูคํ้าประกัน 4 คนขึ้นไป และกําหนดวา สมาชิก 1 คน จะคํ้าประกันมากกวา 4 คนในเวลา
เดียวกันไมได

ขอ 25.1 แกไขใหสมาชิกที่กูเพื่อเหตุฉุกเฉิน สามารถชําระเฉพาะดอกเบี้ยได
เพื่อรองรับการออกหลักเกณฑเงินกูเพื่อเหตุฉุกเฉินโอดี

- การแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2563 แกไขในขอ 25.2 เพื่อรองรับการ
ใหสมาชิกกูสามัญประเภทเงินเบิกเกินบัญชี โดยสมาชิกทําสัญญาวงเงินกูไว หากประสงคจะใชเงิน
สามารถมาถอนเงินไดไมเกินวงเงินกูที่ไดทําสัญญาไว เงินกูประเภทนี้ผูกูสามารถสงคืนเงินตนพรอม
ดอกเบี้ย หรือประสงคจะสงคืนเฉพาะดอกเบี้ยก็ได การเรียกเก็บเงินรายเดือน จะเรียกเก็บเฉพาะ
ดอกเบี้ย

(2.4) ระเบียบวาดวยการประชุมคณะกรรมการดําเนินการ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2563

สอ.มช.ไดแกไขระเบียบวาดวยการประชุมคณะกรรมการดําเนินการ โดยแกไข
ในขอ 10 ซึ่งกําหนดใหกรณีมีเรื่องเรงดวนที่ไมสามารถเรียกประชุมได ซึ่งถาลาชาจะกอใหเกิดความ
เสียหายแกสหกรณ ใหประธานกรรมการดําเนินการขอมติคณะกรรมการดําเนินการดวยวิธีการใช
หนังสือเวียน เวนแตเปนการพิจารณาเพื่อการลงทุนของสหกรณ ดังตอไปนี้

24 สราหยกงราณนกอจิอกมาทรรปัพรยะจม าํหปา‚ว2ทิ 5ย6า3ลยั เชยี งใหม‹ จาํ กดั

1) การใหสหกรณอื่นกูที่ไมอยูในอํานาจของคณะกรรมการอํานวยการ ตามระเบียบวา
ดวยการใหสหกรณอื่นกูยืมเงิน

2) การฝากหรือการลงทุน ตามมาตรา 62 แหงพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. 2542
ดังตอไปนี้

1) ฝากในชุมนุมสหกรณหรือสหกรณอื่น
2) ฝากในธนาคารหรือฝากในสถาบันการเงินที่มีวัตถุประสงคเพื่อใหความชวยเหลือ
ทางการเงินแกสหกรณ
3) ซื้อหลักทรัพยของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ
4) ซื้อหุนของธนาคารที่มีวัตถุประสงคเพื่อใหความชวยเหลือทางการเงินแกสหกรณ

5) ซื้อหุนของชุมนุมสหกรณหรือสหกรณอื่น
6) ซื้อหุนของสถาบันที่ประกอบธุรกิจอันทําใหเกิดความสะดวกหรือสงเสริมความ
เจริญแกกิจการของสหกรณโดยไดรับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ
7) ฝากหรือลงทุนอยางอื่นตามที่คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณแหงชาติกําหนด
10.3.3 การนําเงินไปฝากกับชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จํากัด หรือสหกรณอื่น หรือ
สถาบันการเงินอื่น

(2.5) ระเบยี บวา ดว ยกองทนุ 40 ป สมาชกิ ผสู งู อายุ แกไ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2563
ในป 2563 สอ.มช. ไดดําเนินการแกไขระเบียบวาดวยกองทุน 40 ป สมาชิก

ผูสูงอายุ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 โดยแกไขในขอ 10 กําหนดวา “สหกรณจะจายเงิน
กองทุนนี้ใหแกผูเปนสมาชิกเปนรายป โดยจายใหสมาชิกปละไมเกิน 3,000.00 บาท ตลอดการเปน
สมาชิกสหกรณ”

(2.6) ระเบยี บวา ดว ยการพสั ดุ พ.ศ. 2563
สอ.มช. ไดแ กไ ขระเบยี บวา ดว ยการพสั ดุ พ.ศ.2563 เพอ่ื ใหป รบั วงเงนิ ในการจดั ซอ้ื

จดั จา งใหเ หมาะสมกบั สภาวการณป จ จบุ นั ดงั น้ี
1) วิธีตกลงราคา เดิม วงเงินไมเกิน 50,000.00 บาท แกไขเปน ไมเกิน

500,000.00 บาท

25สหกรณอ อมทรพั ยรมายหงาาวนิทกยิจากลายั รเชปียรงะจใหํามป‹‚จ2ํา5ก6ัด3

การซื้อหรือจางโดยวิธีตกลงราคา ใหผูจัดการรวมกับเจาหนาที่พัสดุตอรอง
ราคาและตกลงราคากับผูขายหรือผูรับจางไดในวงเงินไมเกิน 50,000.00 บาท

กรณีการจัดซื้อหรือจัดจางเกิน 50,000.00 บาท ใหประธานกรรมการ
ดําเนินการเปนผูอนุมัติ

2) วิธีสอบราคา เดิม วงเงินไมเกิน 500,000.00 บาท แกไขเปน ไมเกิน
5,000,000.00 บาท

3) วิธีพิเศษ เดิม วงเงิน 50,000.00 บาท แกไขเปนไมเกิน 500,000.00 บาท
4) วธิ ปี ระกวดราคา เดมิ วงเงินเกนิ 500,000.00 บาท แกไขเปน วงเงินเกนิ
5,000,000.00 บาท

(2.7) ระเบยี บวา ดว ยการบรหิ ารงานบคุ คล พ.ศ. 2563
สอ.มช.ไดแกไขระเบียบวาดวยการบริหารงานบุคคล แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 6)

พ.ศ. 2563 ในขอ 15 เปลย่ี นขอ ความวา “ลกู จา ง” เปน “เจา หนา ทบ่ี รกิ าร” เพอ่ื ใหส อดคลอ งกบั ขอ อน่ื ๆ
ในระเบยี บวา ดว ยการบรหิ ารงานบคุ คลทไ่ี ดแ กไ ขมาแลว กอ นหนา น้ี

(2.8) ระเบยี บวา ดว ยผจู ดั การ พ.ศ. 2563
เนอ่ื งจากระเบยี บวา ดว ยผจู ดั การ จะอา งองิ ถงึ ระเบยี บวา ดว ยการบรหิ ารงานบคุ คล

ดงั น้นั จงึ ไดทาํ การแกไขระเบียบวา ดวยผูจัดการ ใหอ างองิ ระเบียบวาดว ยการบริหารงานบคุ คล โดยไม
กาํ หนด พ.ศ. นอกจากน้ี ยงั ไดแ กไ ขในขอ 8 กาํ หนดใหใ นการประเมนิ ตอ สญั ญาจา งผจู ดั การ ผลการ
ประเมนิ จะตอ งไดร บั การประเมนิ ในระดบั ดขี น้ึ ไป สว นเนอ้ื หาอน่ื ๆ ยงั คงเดมิ

(2.9) ระเบยี บวา ดว ยการควบคมุ ภายในและการรกั ษาความปลอดภยั ดา นสารสนเทศ
ป 2563 สอ.มช.ไดก าํ หนดระเบยี บวา ดว ยการควบคมุ ภายในและการรกั ษาความ

ปลอดภยั ดานสารสนเทศขึ้น ซึ่งเปน ระเบยี บที่กาํ หนดขึ้นใหม เพอ่ื ใหการบรหิ ารจดั การและการพฒั นา
ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศของ สอ.มช.มปี ระสทิ ธภิ าพ มคี วามมน่ั คงปลอดภยั เชอ่ื ถอื ได และสามารถให
บรกิ ารไดอ ยา งตอ เนื่อง รวมทง้ั สามารถปองกันปญหาทอ่ี าจจะเกดิ ข้ึนจากการใชงานระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศในลกั ษณะทไ่ี มถ กู ตอ งและการถกู คกุ คามจากภยั ตา ง ๆ ซง่ึ อาจกอ ใหเ กดิ ความเสยี หายแก

26 สราหยกงราณนกอ ิจอกมาทรรปัพรยะจม าํหปา‚ว2ิท5ย6า3ลัยเชยี งใหม‹ จํากัด

สหกรณไ ด อกี ทง้ั เปน การดาํ เนนิ การใหส อดคลอ งกบั ระเบยี บนายทะเบยี นสหกรณว า ดว ยมาตรฐานขน้ั ตา่ํ
ในการควบคมุ ภายในและการรกั ษาความปลอดภยั สาํ หรบั สหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรทใ่ี ชโ ปรแกรมระบบ
บญั ชีคอมพิวเตอรประมวลผลขอมลู พ.ศ. 2553 และกาํ หนดหลักเกณฑและวิธกี ารในการทําธุรกรรม
ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สภ าครฐั พ.ศ. 2549

(2.10) ยกเลิกระเบียบวาดวยขอกําหนดการฝากหรือลงทุนของสหกรณ พ.ศ. 2554
ในป 2563 คณะกรรมการดําเนินการไดเห็นชอบใหยกเลิกระเบียบวาดวยขอ

กําหนดการฝากหรือลงทุนของสหกรณ พ.ศ. 2554 เนื่องจากมีขอความที่ขัดกับระเบียบวาดวยการ
ประชุมคณะกรรมการดําเนินการ

(3) กําหนดและแกไขหลักเกณฑการใหเงินกู รับฝากเงิน และอื่น ๆ
(3.1) แกไขประกาศเรื่องหลักเกณฑการใหเงินกูสามัญโครงการพิเศษเพื่อเปน

สวัสดิการแกสมาชิก
สอ.มช. ไดกําหนดหลักเกณฑการใหเงินกูสามัญโครงการพิเศษเพื่อเปนสวัสดิการ

แกสมาชิก พ.ศ. 2560 ลงวันที่ 2 พฤษภาคม 2560 โดยหลักเกณฑเงินกูดังกลาว เปนการใหกูเพื่อซื้อ
รถจักรยานยนต ซื้อคอมพิวเตอร ซื้อเครื่องใชในครัวเรือน เพื่อทัศนศึกษา เพื่อซื้อเครื่องมือประกอบ
ธุรกิจ เปนตน ใหกูวงเงินกูไมเกิน 500,000.00 บาท การคิดดอกเบี้ยในเดือนที่ 1-3 สอ.มช.ไมคิด
ดอกเบี้ย เรียกเก็บเฉพาะเงินตน ในเดือนที่ 4-6 อัตราดอกเบี้ย 5.75 ปรากฏวา สมาชิกมากูใหมโดย
หักกลบลบหนี้เงินกูเดิม การกูจึงเริ่มใหม ในเดือนที่ 1-3 จะไมคิดดอกเบี้ย สอ.มช.จึงไดแกไขหลัก
เกณฑเงินกูดังกลาว โดยสมาชิกที่มากูตามหลักเกณฑนี้ หากกูใหมจะไมใหหักกลบลบหนี้เดิม แตจะ
ใหเปนสัญญาที่สอง ซึ่งแกไขในขอ 3(2) สําหรับเนื้อหาอื่น ๆ ยังคงเดิม

(3.2) แกไขประกาศหลักเกณฑการใหเงินกูสามัญ พ.ศ. 2563
สอ.มช.ไดทําการแกไขประกาศหลักเกณฑการใหเงินกูสามัญ พ.ศ. 2563 จํานวน

2 ครั้ง เพื่อแกไขขยายจํานวนเทาของเงินไดรายเดือนของสมาชิก และขยายวงเงินกู รวมทั้งแกไขขอ
2.3 ใหสอดคลองกับคําแนะนําของนายทะเบียนสหกรณ ดังนี้

ขอ 2.1 เพื่อขยายวงเงินกู จากเดิมวงเงินกูสูงสุดไมเกิน 2,000,000.00 บาท เปน
สูงสุดไมเกิน 2,500,000.00 บาท

27สหกรณอ อมทรัพยรมายหงาาวนทิ กยิจากลายั รเชปยีรงะจใหํามป‹‚จ2ํา5ก6ัด3

ขอ 2.2 เพ่ือขยายจํานวนเทา ของการใหเ งินกูแกสมาชกิ จากเดิมใหสมาชิกกไู ดไ ม
เกิน 50 เทาของเงินไดรายเดือน แกไขเปนกูไดไมเกิน 60 เทาของเงินไดรายเดือน เพื่อเปนการชวย
เหลือสมาชิกที่ประสงคจะลดภาระการชําระหนี้รายเดือนในเจาหนี้อื่น ๆ

ขอ 2.3 เดมิ สอ.มช.ไดก าํ หนดใหส มาชกิ ทจ่ี ะกเู งนิ สามญั โดยใชบ คุ คลคา้ํ ประกนั จะ
ตองเปน สมาชกิ สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห สอ.มช. เพอื่ สามารถนําเงินดงั กลา วมาชําระหนไ้ี ด กรณีที่
สมาชิกเสียชีวิต แตเนื่องจากการกําหนดดังกลาวขัดกับแนวทางปฏิบัติในการกําหนดหลักประกันฯ
ของกรมสงเสริมสหกรณ จึงขอตัดขอความดังกลาวออก และใหกําหนดเปนวิธีปฏิบตั ิเกีย่ วกบั กรณี
สมาชิกกูส ามัญโดยใชบุคคลคํ้าประกันนั้นจะตองมีหลักประกันที่เห็นวาเหมาะสม ซึ่งรวมถึงการเปน
สมาชิกสมาคมฌาปนกจิ สงเคราะหด วย

ขอ 3.5.3 ผูคํ้าประกันหนึ่งคนจะคํ้าประกันบุคคลอื่นไดไมเกิน 4 คน (เดิมกําหนด
ไวไมเกิน 3 คน)

สําหรับเนื้อหาในขออื่น ๆ ยังคงเดิม
(3.3) แกไขประกาศเร่ืองหลักเกณฑการใหเงินกูพิเศษเพื่อการเคหะสงเคราะหสาํ หรับ
สมาชิกพนักงานมหาวิทยาลัยช่วั คราว (พนกั งานสวนงาน) พ.ศ. 2563 เพ่ือกสู ัญญาท่สี อง

สอ.มช. ไดแ กไ ขประกาศหลกั เกณฑก ารใหเ งนิ กพู เิ ศษเพอ่ื การเคหะสงเคราะหส าํ หรบั
สมาชิกพนักงานมหาวทิ ยาลัยชวั่ คราว (พนกั งานสวนงาน) โดยแกไ ขในขอ 10 ซ่งึ เดิมกําหนดวา กรณที ี่
ผกู มู หี น้ีเงินกูสามัญ หรือเงินกูตามหลักเกณฑนี้เดิมเหลืออยู จะขอกูเงินเพิ่มเติมอีกไมได แตหากมี
ความประสงคจะขอกูเงินเพิ่มเติมอีก สหกรณจะจายเงินใหโดยวิธีการหักกลบลบหนี้ใหเ หลอื เพยี ง
สัญญาเดียว ดังนั้น เพื่อใหสมาชิกที่เปนพนักงานมหาวิทยาลัยชั่วคราว สามารถกูเพื่อการเคหะ
สงเคราะหเปนสัญญาที่สอง จึงไดแกไขขอ 10 เปน “ในกรณีที่ผูกูมีหนี้เงินกูสามัญเดิมเหลืออยู แตมี
ความประสงคจะขอกูเงินพเิ ศษเพอ่ื การเคหะสงเคราะหเ พิ่มเติมอกี สามารถกเู งนิ ไดโ ดยทําเปน สัญญา
ท่ีสอง”

28 สราหยกงราณนกอจิอกมาทรรปัพรยะจมาํหปา‚ว2ิท5ย6า3ลยั เชียงใหม‹ จาํ กดั

(3.4) กําหนดหลักเกณฑการใหเงินกูสามัญเบิกเกินบัญชี พ.ศ. 2563
สอ.มช. ไดกําหนดประกาศหลักเกณฑการใหเงินกูสามัญเบิกเกินบัญชี พ.ศ. 2563 ซึ่ง

เปนการใหกูสามัญแบบใหม สมาชกิ สามญั ทม่ี อี ายกุ ารเปน สมาชกิ ไมน อ ยกวา 6 เดอื น กไู ดไ มเ กนิ 5 เทา
ของเงนิ ไดร ายเดอื น แตไ มเ กนิ 100,000.00 บาท และไมเ กนิ จาํ นวนเงนิ หนุ ทม่ี อี ยใู นสหกรณ สามารถยน่ื กู
และทําสัญญากูไวกับสหกรณ เมื่อประสงคจะใชเงินจะสามารถมาเบิกถอนเงินไดท ี่สหกรณท ้ังจํานวน
หรือบางสวนของวงเงินที่ทําสัญญาเงินกูไว การชําระหนี้สหกรณจะเรียกเก็บเงินกูรายเดือนของเงินกู
ประเภทนี้ โดยเก็บเฉเพาะดอกเบี้ยเงินกูเทานั้น สวนเงินตน สมาชิกสามารถนําเงินมาชําระไดตาม
ความประสงค สมาชิกที่มีภาระหนี้เงินกูเต็มตามจํานวนทุนเรือนหุนแลว ไมสามารถกูเงินประเภทนี้
ไดอีก

(3.5) ยกเลิกประกาศการพิมพใบเสร็จรับเงิน
เมื่อป 2562 สอ.มช.ไดยกเลิกการพิมพใบเสร็จรับเงินประจําเดือนสําหรับสมาชิก

ที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยเชียงใหม (สมาชิกที่ปฏิบัติงานคณะ/สถาบัน/สํานักตาง ๆ) แตยังคงพิมพ
ใบเสร็จรับเงินใหแกสมาชิกเดิม คือสมาชิกที่ไมไดปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยเชียงใหมแลว แตยังคง
สมาชิกภาพอยูนั้น ในป 2563 สอ.มช.ไดประกาศยกเลิกการพิมพใบเสร็จรับเงินที่เปนกระดาษ แตให
จัดเก็บหลักฐานใบเสร็จรับเงินในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส เนื่องจากปจ จุบัน สอ.มช. ไดม ี Application
ซง่ึ สมาชกิ สามารถดยู อดเงนิ ฝาก เงนิ กู จาํ นวนหนุ ขา วสารสหกรณ ตลอดจนดใู บเสรจ็ ประจาํ เดอื นของ
ตนเองได ดงั นน้ั เพอ่ื ใหก ารพมิ พใ บเสรจ็ รบั เงนิ ประจาํ เดอื นของสมาชกิ เหมาะสมกบั สภาวการณป จ จบุ นั
และเปน การลดคา ใชจ า ยคา แบบพมิ พ

(3.6) แกไขประกาศหลักเกณฑการจายเงินกองทุนรวมใจชวยเหลือสมาชิก พ.ศ. 2563
ตามที่ สอ.มช.ไดกําหนดจายเงินสวัสดิการกองทุนรวมใจชวยเหลือสมาชิกและสมาชิก

สมทบ โดยจายสมาชิกตามขอ 34(1.1) - (1.6) ที่มีอายุ 61 บริบูรณขึ้นไปและเปนสมาชิกกองทุนฯ
ครบ 8 ป มีสิทธิ์รับเงินกองทุนรวมใจชวยเหลือสมาชิก โดยสหกรณจะจายเงินใหดังนี้

ปที่ 1 ไดรับเงิน 1,000.- บาท
ปที่ 2 ไดรับเงิน 2,000.- บาท
ปที่ 3 ไดรับเงิน 3,000.- บาท
ปที่ 4 ไดรับเงิน 4,000.- บาท
ปที่ 5 ขึ้นไป ไดรับเงินปละ 5,000.- บาท

29สหกรณออมทรพั ยรมายหงาาวนิทกยจิ ากลายั รเชปยีรงะจใหาํ มป‹‚จ2าํ5ก6ัด3

ทั้งนี้การรับเงินดังกลาว สมาชิกกองทุนฯ จะไดรับเงินรวมกันแลวไมเกิน 100,000.00 บาท
และ ขอ 34 (1.7) - (1.8) เกี่ยวกับสมาชิกสมทบ (ยกเวนคูสมรส) ที่มีอายุ 61 ป บริบูรณขึ้นไปและ
เปนสมาชิกกองทุนฯ ครบ 16 ป และมีหุนสหกรณไมตํ่ากวา 80,000.- บาท เมื่อมีคุณสมบัติครบแลว
มีสิทธิ์รับเงินกองทุนรวมใจชวยเหลือสมาชิก โดยสหกรณจะจายเงินใหดังนี้

ปที่ 1 ไดรับเงิน 1,000.- บาท
ปที่ 2 ไดรับเงิน 1,500.- บาท
ปที่ 3 ไดรับเงิน 2,500.- บาท
ปที่ 4 ไดรับเงิน 3,000.- บาท
ปที่ 5 ขึ้นไป ไดรับเงินปละ 4,000.- บาท
ท้งั นี้ การรบั เงนิ ดังกลาว สมาชิกกองทนุ ฯ จะไดรับเงนิ รวมกนั แลว ไมเกนิ 80,000.00 บาท
น้ัน โดยในประกาศกําหนดโอนเงินเขาบัญชีสมาชิกในวันทําการถัดไปในวันคลายวันเกิดของสมาชิก
ในป 2563 สอ.มช. ไดเปลี่ยนแปลงการจายเงินดังกลาว เปนโอนเงินเขาบัญชีสมาชิกที่มีอยูในสหกรณ
ดังนี้
1) สมาชิกที่มีวันคลายวันเกิด ระหวางวันที่ 1 - 15 สหกรณโอนเงินกองทุนรวมใจเขาบัญชี
สมาชิก ในวนั ท่ี 15 ของเดอื น แตห ากตรงกบั วนั หยดุ สหกรณจ ะโอนในวนั ทาํ การสดุ ทา ยกอ นวนั ท่ี 15
2) สมาชิกที่มีวันคลายวันเกิดระหวางวันที่ 16 - 31 สหกรณโอนเงินกองทุนรวมใจเขาบัญชี
สมาชิก ในวันทําการสุดทายของเดือน
กรณีสมาชิกมีหนี้สินคงคางกับสหกรณ สหกรณจะนําเงินกองทุนรวมใจที่พึงไดรับนี้
ไปชําระหนี้ที่คางอยูทั้งหมดกอน หากมีเงินเหลือจึงจะจายใหแกสมาชิกตอไป

(3.7) ประกาศเร่ืองนโยบายการควบคุมภายในและการรักษาความมั่นคงปลอดภัยดาน
สารสนเทศ

สอ.มช. ไดก ําหนดนโยบายควบคุมภายในและการรกั ษาความปลอดภยั ดานสารสนเทศ
เพื่อใหการบริหารจัดการและการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของ สอ.มช.มีประสิทธิภาพ มี
ความมั่นคงปลอดภัยเชื่อถือได และสามารถใหบริการไดอยางตอเนื่อง รวมทั้งสามารถปองกันปญหา
ที่อาจจะเกิดขึ้นจากการใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในลักษณะที่ไมถูกตองและการถูกคุกคาม
จากภัยตาง ๆ ซึ่งอาจกอใหเกิดความเสียหายแกสหกรณได อีกทั้งเปนการดําเนินการใหสอดคลองกับ
ระเบียบนายทะเบียนสหกรณวาดวยมาตรฐานขั้นตํ่าในการควบคุมภายในและการรักษาความ
ปลอดภัยสําหรับสหกรณและกลุมเกษตรกรที่ใชโปรแกรมระบบบัญชีคอมพิวเตอรประมวลผลขอมูล
พ.ศ. 2553

30 สราหยกงราณนกอ ิจอกมาทรรปพั รยะจม าํหปา‚ว2ิท5ย6า3ลยั เชยี งใหม‹ จาํ กดั

1.2 การปรับโครงสรางหนี้ และการผอนผันการชําระหนี้ของสมาชิก และสหกรณอื่นกู
ในตนป 2563 ไดเกิดกรณีแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งสง

ผลกระทบตอหลายภาคสวนรวมถึงสมาชิก สอ.มช. ดว ย เนอ่ื งจากสมาชกิ ไมไ ดท าํ งานเสรมิ และสมาชกิ
บางครอบครวั ไมสามารถคา ขายได สอ.มช.เห็นวา เพอ่ื ชว ยเหลือและบรรเทาความเดอื ดรอ นของสมาชกิ
จงึ มมี ตผิ อ นผนั การชําระหนี้ จึงไดอ อกมาตรการใหก ารชว ยเหลอื สมาชกิ โดยสมาชิกสามารถแจง ความ
จาํ นงขอลดการชาํ ระหนไ้ี ด แตท ง้ั น้ี ไมเ กนิ 6 เดอื น เพอ่ื บรรเทาความเดอื ดรอ นทส่ี มาชกิ ไดร บั มสี มาชกิ
แจง เรอ่ื งขอผอ นผนั การชาํ ระในกรณนี ร้ี วม 94 คน

นอกจากนี้ ในระหวางป สอ.มช. ไดปรับโครงสรางหนี้ และผอนผันการชําระหนี้ ใหกับ
สมาชิกและอดีตสมาชิก เนอ่ื งจากมปี ญหาการชําระหนี้ เชน ลาออกจากราชการ รบั ชําระหนแ้ี ทนใน
ฐานะผคู า้ํ ประกนั เปนตน ซึ่งคณะกรรมการดําเนินการไดพิจารณาปรับโครงสรางหนี้ และผอนผันการ
ชําระหนี้แกสมาชิกเปนรายๆไป ตามความเหมาะสม เพื่อเปนการบรรเทาความเดือดรอนของสมาชิก
โดยในป 2563 ไดพิจารณาปรับโครงสรางหนี้สมาชิก จํานวน 4 ราย และผอนผันการชําระหนี้สมาชิก
จํานวน 7 ราย นอกจากน้ี ยงั ไดผ อนผนั การชําระหน้ขี องสหกรณลูกหนี้ จํานวน 1 ราย

1.3 การรับโอนสมาชิกจากสหกรณออมทรัพยอื่น และสมาชิก สอ.มช. โอนไปยังสหกรณอื่น
ในระหวา งป 2563 สอ.มช. รับโอนสมาชิกจากสหกรณออมทรพั ยอ่นื จาํ นวน 3 ราย เนอ่ื งจาก

สมาชิกไดยายมาปฏบิ ตั ิงานท่มี หาวทิ ยาลยั เชียงใหม ซึ่งการโอนยา ยจะโอนทุนเรือนหุนและหน้ี (ถาม)ี
มายงั สอ.มช. นอกจากนี้ มีสมาชิก สอ.มช.ไดย ายไปปฏิบตั งิ านท่ีอน่ื จึงโอนสมาชิกภาพไปยังสหกรณ
ออมทรัพยน้ัน ๆ อีกจาํ นวน 2 ราย

1.4 การกูเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร และตั๋วสัญญาใชเงิน

ในป 2563 ทป่ี ระชมุ ใหญส ามญั ประจาํ ป 2562 ไดม มี ตกิ าํ หนดวงเงนิ ซง่ึ สหกรณอ าจกยู มื และคา้ํ

ประกนั จาํ นวน 1,000,000,000.00 บาท เพอ่ื รกั ษาสภาพคลอ งในการทาํ ธรุ กรรมทางการเงนิ ซง่ึ สอ.มช.

ไดท าํ สญั ญาวงเงนิ เบกิ เกนิ บญั ชแี ละตว๋ั สญั ญาใชเ งนิ กบั ธนาคารตา งๆ รวมเปน เงนิ 1,000,000,000.00 บาท

โดยใช เงนิ ฝาก ตว๋ั แลกเงนิ หรอื หนุ กู คาํ ป ระกนั ดงั น้ี

วงเงนิ เบกิ เกนิ บญั ชี

(1) ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) สาขาคณะแพทยศาสตร 1,000,000.00 บาท

(2) ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) สาขาโรงพยาบาลมหาราช 3,000,000.00 บาท

(3) ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) สาขาถนนสุเทพ 2,000,000.00 บาท

(4) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) สาขาเมญา 50,000,000.00 บาท

(5) ธนาคารไอซีบีซี จํากัด (มหาชน) สาขาเชียงใหม 149,000,000.00 บาท

รวม 205,000,000.00 บาท

31สหกรณออมทรัพยรมายหงาาวนทิ กยจิ ากลาัยรเชปยีรงะจใหาํ มป‹‚จ2าํ5ก6ัด3

วงเงินตั๋วสัญญาใชเงิน

(1) ธนาคารไทยพาณชิ ย จาํ กดั (มหาชน) สาขา มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม 335,000,000.00 บาท

(2) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) สาขาเมญา 310,000,000.00 บาท

(3) ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) สาขาถนนสุเทพ 150,000,000.00 บาท

รวม 795,000,000.00 บาท

1.5 การจัดงานทําบุญในโอกาสครบรอบวันคลายวันสถาปนา
เนื่องในวันที่ 27 เมษายน ของทกุ ๆ ป เปน วันครบรอบวันคลายวนั สถาปนา ซึ่งในป 2563

สอ.มช. ครบรอบ 44 ป ดงั นัน้ ในวนั ท่ี 25 เมษายน 2563 จึงไดน มิ นตพ ระมาทาํ บญุ สบื ชะตา (ชว งเชา)
เพื่อเปน สิรมิ งคล แก สอ.มช. รวมทัง้ อทุ ศิ สว นกุศลไปยงั สมาชกิ และเจา หนา ท่ีทล่ี ว งลับ ปน้ี มอบเงนิ
โดยโอนเงนิ ใหแ กห นว ยงานท่ใี หการชวยเหลือผดู อยโอกาสในจงั หวัดเชียงใหม และไดทําพิธรี ดนา้ํ ดาํ หวั
อดีตประธานกรรมการ กรรมการ และสมาชกิ อาวโุ ส ณ หอ งประชุมช้นั 3 สอ.มช.

1.6 การสรรหากรรมการดําเนินการ
ในปบ ญั ชี 2563 กรรมการดาํ เนนิ การ สอ.มช. ชดุ ท่ี 46 จะครบวาระในวนั ท่ี 12 กมุ ภาพนั ธ

2564 ซึง่ กรรมการบางทานจะอยูตอ ในชุดท่ี 47 และมีบางทา นครบวาระแลว ซงึ่ กรรมการทค่ี รบวาระ
มีดังนี้

กรรมการผแู ทนผบู รหิ ารมหาวทิ ยาลยั
1) รองศาสตราจารย นายแพทยอํานาจ อยสู ุข รองอธกิ ารบดฝี า ยพฒั นาคณุ ภาพนกั ศกึ ษา

และกิจการพเิ ศษ (ครบ 2 วาระ)
2) ผชู ว ยศาสตราจารย ทนั ตแพทย ดร.นฤมนสั คอวนชิ คณบดคี ณะทันตแพทยศาสตร

(ครบ 1 วาระ)
กรรมการผูทรงคณุ วฒุ ิ
1) ผชู วยศาสตราจารยชาตรี เรืองเดชณรงค สังกัดคณะนิติศาสตร

ผทู รงคณุ วฒุ ดิ า นสหกรณ (ครบ 2 วาระ)
2) รองศาสตราจารย ดร.จริ าวรรณ ฉายสวุ รรณ สังกัดคณะบรหิ ารธุรกจิ

ผูทรงคุณวฒุ ดิ า นบัญชี (ครบ 2 วาระ)

32 สราหยกงราณนกอจิอกมาทรรปัพรยะจม ําหปา‚ว2ิท5ย6า3ลัยเชยี งใหม‹ จาํ กัด

กรรมการผแู ทนกลมุ งาน
1) รองศาสตราจารย ดร.ธเนศ ศรีวิชัยลําพันธ กรรมการผแู ทนกลมุ งานท่ี 1 (ครบ 2 วาระ)
2) นายเดชา พรึงลําภู กรรมการผแู ทนกลุมงานท่ี 2 (ครบ 2 วาระ)
3) ดร.สมทบ พาจรทศิ กรรมการผูแ ทนกลมุ งานที่ 2 (ครบ 1 วาระ)

การสรรหากรรมการดาํ เนนิ การ ประจาํ ป 2563 สอ.มช. ไดข อความอนเุ คราะหใ หม หาวทิ ยาลยั

เชียงใหม เสนอชอ่ื กรรมการผแู ทนผบู รหิ ารมหาวทิ ยาลยั และกรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิ เพอ่ื รบั การเลอื กตง้ั

และรวมเปน กรรมการดาํ เนินการ สอ.มช. ชุดที่ 47 จํานวน 4 ทา น ซึ่งมหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดใหการ

สนับสนุนเปนอยางดีมาโดยตลอด โดยสงผูทรงคุณวุฒิ ดังนี้

กรรมการผูแทนผูบ รหิ ารมหาวทิ ยาลยั

(1) รองศาสตราจารยโ รม จิรานกุ รม รองอธกิ ารบดี ฝา ยวเิ ทศสมั พนั ธ

สอ่ื สารองคก ร นกั ศกึ ษาเกา สมั พนั ธ

ประชาสมั พนั ธ (วาระท่ี 1 ปท ่ี 1)

(2) ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ทนั ตแพทยน ฤมนสั คอวนชิ คณบดีคณะทันตแพทยศาสตร

(วาระท่ี 2 ปท ี่ 1)

กรรมการผูทรงคณุ วุฒิ สงั กดั คณะนิตศิ าสตร
(1) ผูชวยศาสตราจารยศกั ดชิ์ าย จินะวงค ผูทรงคณุ วฒุ ิดา นสหกรณ
(วาระที่ 1 ปท ี่ 1)
(2) รองศาสตราจารย ดร.นฤนาถ ศราภัยวานชิ สังกัดคณะบริหารธรุ กิจ
ผทู รงคณุ วฒุ ดิ า นบญั ชี (วาระท่ี 1 ปท ่ี 1)

สําหรับกรรมการผูแทนกลุมงาน หนวยงานตางๆ ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดสงผูแทนมา

รวมเปนคณะกรรมการสรรหา รวมจํานวน 32 คน โดยมี นายวราวุธ อภิวงศ เปนประธานกรรมการ

สรรหา และ นางสาวฐิติรัตน ตันติวัฒน เปนกรรมการและเลขานุการ ไดดําเนินการสรรหากรรมการ

จากการออกเสียงของสมาชิกเดิม โดยทางไปรษณยี  การสรรหาลว งหนา ระหวา งวนั ท่ี 12 - 13 พฤศจกิ ายน

2563 และการสรรหาตามหนวยงานท่ีสมาชกิ สงั กัด วันที่ 18 พฤศจิกายน 2563 ไดก รรมการผูแทน

กลมุ งาน จํานวน 3 ทาน เพอ่ื เสนอชอื่ ตอ ทีป่ ระชุมใหญส ามญั ประจําป 2563 ดังมรี ายชอื่ ตอ ไปน้ี

1) ผชู ว ยศาสตราจารยป ฐม ปฐมธนพงศ ผแู ทนกลมุ งานท่ี 1 สงั กดั สมาชกิ เดมิ (คณะเทคนคิ การแพทย)

2) ดร.สมทบ พาจรทิศ ผแู ทนกลมุ งานท่ี 2 สงั กดั สมาชกิ เดมิ (คณะเทคนคิ การแพทย)

3) นายพงศพันธ รตั นะ ผแู ทนกลมุ งานท่ี 2 สงั กดั สมาชกิ เดิม (คณะแพทยศาสตร)

33สหกรณออมทรพั ยรมายหงาาวนิทกยจิ ากลายั รเชปียรงะจใหํามป‹‚จ2าํ5ก6ัด3

1.7 การแสดงความขอบคุณเจาหนาที่รับ – สง หนังสือ
ตลอดระยะเวลาที่ดําเนินกิจการมา สอ.มช. จะไดรับความรวมมือ และชวยเหลือจาก

เจาหนาที่รับ-สงหนังสือของหนวยงานตางๆ ในสังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม ในการจัดสงหนังสือ
หรือขาวสารประชาสัมพันธของ สอ.มช. ไปยังสมาชิกในสังกัดตาง ๆ ไดรับทราบโดยทั่วถึงกัน
เพื่อแทนความขอบคุณในความรวมมือดวยดีตลอดมา สอ.มช. จึงไดมอบของที่ระลึกเปนของขวัญ
ปใหมใหแกเจาหนาที่รับ - สง หนังสือของหนวยงานตาง ๆ

2. งานสนับสนุนงานบริหาร

2.1 การบริหารความเสี่ยง
ในป 2563 สอ.มช. ไดแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพื่อจัดทําแนวทาง กําหนดขอบเขต
และทบทวนกระบวนการบริหารความเสี่ยงในการดําเนินงานตางๆ ของสหกรณ ซึ่งคณะกรรมการ
บริหารความเสี่ยงได กําหนดกรอบ ขอบเขต และแนวทางการบริหารความเสี่ยง โดยยึดเกณฑของ
ชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทยมาปรับใช และประเมิน กับ สอ.มช. ประกอบดวย 5 ดาน
ไดแก ดานกลยุทธ ดานเครดิต ดานการตลาด ดานสภาพคลอง และดานปฏิบัติการ ผลการประเมิน

ไดคะแนน 87.51 ระดับ A+ ดีเยี่ยมเกินความคาดหมาย รายละเอียดดังนี้

1. ความเสีย่ งดานกลยทุ ธ ผลประเมินความเสยี่ ง
ระดับคะแนน
หัวขอ
012 3 4
1. มกี ระบวนการจัดทำแผนกลยทุ ธอ ยางชัดเจน และถูกนำไปใช /
2. มีการตดิ ตาม ประเมนิ ผลงาน และทบทวนแผนรายปอ ยางเปน ระบบ /
3. กอนออกผลิตภัณฑทางการเงิน หรือสวัสดิการ ไดมีการกำหนดกลุมเปาหมายที่ชัดเจน และมีการ
วเิ คราะหข อ มลู ท่เี กย่ี วของ เชน การวิเคราะหโครงสรา งทางการเงิน ตนทุนและผลตอบแทนทางการเงินของ /
สหกรณ การวิเคราะหโครงสรา งอายขุ องสมาชิก อัตราการเสียชีวติ ฯลฯ เปนตน
4. มีการเตรียมสรา งกรรมการทดแทนเพ่อื ความตอเน่ืองในการดำเนินธุรกจิ /
5. มีการเตรยี มสรา งผจู ัดการ รองผจู ดั การ ผจู ดั การฝาย หรอื หวั หนาฝา ยทดแทน เพือ่ ความตอเนื่องในการ /
ดำเนินธุรกจิ
16
รวม

34 สราหยกงราณนกอ ิจอกมาทรรปัพรยะจมําหปา‚ว2ทิ 5ย6า3ลัยเชยี งใหม‹ จํากดั

2. ความเส่ยี งดานเครดติ ผลประเมินความเสย่ี ง
ระดับคะแนน
หัวขอ
012 3 4
1. มีการกำหนดระเบียบของคณะกรรมการดำเนินการเกีย่ วกบั การใหเ งินกูแ กส มาชกิ และสหกรณอื่น และถือ /
ใชอยางเครงครัด
2. สหกรณมีฐานขอมลู ที่มีประสิทธิภาพ ถูกตอง ครบถวน ทนั เวลา และนำมาใชใ นการบริหารลกู หน้ี /
3. การใหเ งินกอู ยูบนฐานของความสามารถในการชำระหนี้ โดยพิจารณาจากรายไดป ระจำ (รายไดป ระจำ = /
เงินเดอื นรวมกับเงนิ ประจำตำแหนง) /
4. สหกรณก ำหนดวงเงนิ กตู ามประเภทของสมาชกิ /
5. ระยะเวลาการคนื เงนิ กขู องสมาชิก เปนไปตามคำแนะนำของกรมสง เสริมสหกรณ ทั้งเงินกูเพ่ือเหตุฉุกเฉิน /
เงินกูสามัญ เงนิ กูพเิ ศษ /
6. สมาชกิ ผูกมู ีรายไดประจำคงเหลอื เปน ไปตามคำแนะนำของกรมสง เสริมสหกรณ
7. สหกรณมกี ลไกในการประสานงานกบั หนวยงานตนสงั กดั หกั เงนิ ใหก ับสหกรณไ ดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ /
/
8. สหกรณมีการบริหารลูกหนี้ กับลูกหนี้ที่จัดชั้นต่ำกวาคุณภาพ ลูกหนี้ระหวางดำเนินคดี ลูกหนี้ตามคำ /
พิพากษาอยางมปี ระสิทธภิ าพ 37

- สมาชกิ สหกรณ
- สหกรณอ ่นื
9. การนำเงินของสหกรณไปฝากและ/หรือลงทุนไดคำนึงถึงความมั่นคง และความสามารถในการชำระคืน
ขององคกรนนั้

รวม

3. ความเส่ียงดา นการตลาด ผลประเมนิ ความเสย่ี ง
ระดบั คะแนน
หวั ขอ
012 3 4
1. มีการกำหนดเปาหมายเงนิ ปน ผลในระดบั ทส่ี อดคลองกับตลาดการเงิน /
2. มีการรายงานตนทนุ และผลตอบแทนเปนประจำทุกเดือน /
3. มีการฝากและลงทุนโดยเปรยี บเทียบอันดับความนา เชือ่ ถือ อัตราผลตอบแทน และอายุของตราสารของ
หลักทรัพยตาง ๆ /
4. มกี ารกำหนดระเบียบขัน้ ตอนในการอนมุ ตั ิการฝาก หรอื การลงทุนท่ชี ัดเจน ไมข ัดตอ กฎหมาย
/
รวม 15

35สหกรณออมทรัพยรมายหงาาวนิทกยิจากลายั รเชปยีรงะจใหํามป‹‚จ2ํา5ก6ัด3

4. ความเสีย่ งดานสภาพคลอง ผลประเมินความเสย่ี ง
ระดับคะแนน
หัวขอ
012 3 4
1. มีการจัดทำประมาณการเงินสดรับจาย (Cash Flow Projection) รายป รายเดือน รายสัปดาห รายวนั /
ใหค ณะกรรมการดำเนนิ การ หรอื คณะกรรมการอำนวยการแลวแตก รณไี ดทราบ /
2. มีแผนระดมเงินฝาก และ/หรอื คาหนุ ท่สี อดคลอ งกับแผนการฝากและ/หรือการลงทุนประจำป
/
3. สหกรณจัดสรรเงินกใู หไ ดตามแผนการใหเ งนิ กู (สมาชิกหรือสหกรณอ ื่น) เปน รายเดือน /

4. มีการศึกษา วิเคราะห และประมวลผลขอมูลเงินฝาก/ทนุ เรือนหุนแยกตามขนาดของเงินฝาก/ทุนเรือน /
หนุ (จำนวนเงินฝาก/ทุนเรอื นหุน และจำนวนเงนิ ) และพฤติกรรมการฝาก/ถอนเงิน การถือหุน/การถอนหนุ
คนื ของสมาชิกและสมาชิกสมทบ และนำไปใชในการบริหารจดั การสภาพคลอง /
5. มีแผนในการจัดการสภาพคลองในสถานการณฉุกเฉินหรือวิกฤต เชน การจัดทำรายการและจัดลำดับ 23
หลักทรัพยที่เปลี่ยนเปนเงินสดโดยจัดเรียงตามความคลองตัว และเพื่อองคกรไดรับผลประโยชนสูงสุด มี
แหลง เงนิ ทส่ี หกรณสามารถกยู ืมไดอยางเรงดว น มกี ลยทุ ธใ นการชะลอการถอนเงินฝาก
6. มแี ผนในการจัดหาสภาพคลอ งเพอ่ื จา ยเงินปน ผลใหไดทนั ที เมอื่ ทีป่ ระชมุ ใหญไ ดอ นุมัติในการจัดสรรกำไร
สทุ ธปิ ระจำป

รวม

5. ความเสี่ยงดานการปฏบิ ัติการ ผลประเมนิ ความเสยี่ ง
ระดับคะแนน
หวั ขอ
012 3 4
1. มีการจัดทำโครงสรางองคกรของฝายจัดการ พรอมระบุคุณลักษณะตำแหนงงาน และงานที่มอบหมาย /
อยางครบถวน /
2. มกี ารจัดทำขนั้ ตอนการปฏิบตั ิงาน /
3. มีการจัดการความเสี่ยงอยางมีประสิทธิภาพ ไดแก การมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง แผนบริหาร
ความเส่ียง และปลูกฝง จิตสำนกึ ทกุ ฝายจนเปน วัฒนธรรมขององคก รในการบรหิ ารความเสีย่ ง /
4. มีการจัดทำขอมูลความเสียหาย (Incidents report) ที่รวบรวมขึ้นจากที่เกิดขึ้นจริง และรายงานให
คณะกรรมการดำเนินการสหกรณพ ิจารณาทกุ เดือน /
5. มีการนำกิจกรรมควบคุมมาปรับปรุงขั้นตอนการปฏิบัติงานหรือผังกระบวนการทำงาน รวมทั้งคูมือการ
ปฏบิ ตั ิงานอยูเสมอ ๆ /
6. ผลการประเมินคุณภาพการควบคุมภายในโดยกรมตรวจบัญชีสหกรณ (กตส.) ถูกนำมาแจงให
คณะกรรมการดำเนินการสหกรณไดพิจารณาอยางจรงิ จัง /
7. มีการจัดทำแผนสำรองระบบขอมูล และระบบงานขอมูลสำรอง เพื่อความปลอดภัย รองรับกรณี 21
ระบบงานขดั ของ และแผนรองรบั การดำเนนิ งานธรุ กจิ ตอเนอ่ื ง

รวม

36 สราหยกงราณนกอ ิจอกมาทรรปัพรยะจมําหปา‚ว2ิท5ย6า3ลยั เชียงใหม‹ จํากัด

สรปุ ผลการประเมนิ การบริหารความเสี่ยงของสหกรณอ อมทรัพยมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม จำกัด คะแนนดบิ ท่ี คะแนนถว งน้ำหนกั
การบรหิ ารความเสี่ยงของสหกรณออม จำนวนขอ คะแนนดบิ ขอ ละ คะแนนเตม็ ประเมนิ ได (รวม 100 คะแนน)
ทรพั ย ในการ 4 คะแนน (รวม (100
โดยคณู คา ถวง
ประเมนิ 128 คะแนน) คะแนน) น้ำหนักขอ ละ

1. ความเสีย่ งดานกลยุทธ 5 20 15.63 16 0.7813
2. ความเสี่ยงดา นเครดิต 10 40 31.25 37 12.50
3. ความเสี่ยงดา นการตลาด 4 16 12.50 15
4. ความเสี่ยงดานสภาพคลอง 6 24 18.75 23 28.91
5. ความเส่ียงดานปฏิบัติการ 7 28 21.88 21
รวม 32 128 100.00 112 11.72

17.97

16.41

87.51

หมายเหตุ ชนั้ คณุ ภาพ
þ ดีเยี่ยมเกินความคาดหมาย (A+), ดเี ยย่ี ม(A), ดี (B+), คอนขา งดี (B) ดเี ยย่ี มเกนิ ความคาดหมาย

37สหกรณอ อมทรพั ยรมายหงาาวนิทกยจิ ากลาัยรเชปียรงะจใหาํ มป‹‚จ2าํ5ก6ัด3

คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมขี อ เสนอแนะดงั น้ี

สอ.มช. โดยคณะกรรมการและฝา ยจดั การทเี่ กยี่ วขอ งกบั ความเสยี่ งแตล ะดา น ไดน ําขอ เสนอแนะ
ขา งตน ไปดาํ เนินการในสว นทสี่ ามารถจัดทาํ ไดแ ละบรรจไุ วในแผนงานโครงการประจําป 2564

3. แผนงานบริหารงานบุคคล

3.1 การเวียนงานของเจาหนาที่
เพอ่ื ใหเ จา หนา ทที่ กุ คนไดม โี อกาสเรยี นรงู าน พฒั นาตนเอง และสามารถปฏบิ ตั งิ านทดแทนกนั ได

จึงไดมีการเวยี นงานในงานธรุ การ โดยไดมอบหมายให นางรมิดา อนิ ทรปรชี า ตาํ แหนงเจาหนาที่บริหาร
งานท่ัวไปอาวุโส จากเดิมปฏิบัติงานดานธุรการ ไปปฏิบัติงานประชาสัมพันธ และใหนางสาวนนทลี
ศรีสวา ง เจาหนาทปี่ ระชาสัมพนั ธม าปฏิบตั ิงานดา นธรุ การ

38 สราหยกงราณนกอ จิอกมาทรรปัพรยะจม าํหปา‚ว2ิท5ย6า3ลัยเชยี งใหม‹ จํากดั

ข. แผนงานธุรกิจ

1. งานธุรกิจ

1.1 ทุนเรือนหุน
ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2563 สมาชกิ ไดอ อมเงนิ เปน ทนุ เรอื นหนุ จาํ นวนทง้ั สน้ิ 378,705,094 หนุ

หรือมูลคาเทากับ 3,787,050,940.00 บาท เพิ่มขึ้นสุทธิจากป 2562 เทากับ 294,863,550.00 บาท
คิดเปนรอยละ 8.44 เพิ่มขึ้นเฉลี่ยเดือนละ 24,571,962.50 บาท

1.2 เงินรับฝาก
(1) จํานวนบัญชีและเงินรับฝาก
ในป 2563 มีบัญชีเงินฝาก จํานวน 20,828 บัญชี เปนเงิน 6,558,582,022.15 บาท

ดังมีรายละเอียดดังนี้

ประเภทเงนิ ฝาก ป 2562 ป 2563

ออมทรัพย จํานวน (บญั ชี) จาํ นวนเงิน (บาท) จาํ นวน (บญั ชี) จํานวนเงิน (บาท)
ออมทรพั ยพิเศษ
ประจํา 3,6,12 เดอื น 12,021 244,577,581.75 12,398 305,495,820.83
ประจํา 36 เดือน
สะสมทรพั ย 5,693 2,754,343,028.78 5,551 2,763,440,539.49

รวม 1,029 2,212,763,954.41 1,167 2,700,845,698.79

22 626,142,434.40 21 620,981,763.04

1,714 176,825,100.00 1,691 167,818,200.00

20,479 6,014,652,099.34 20,828 6,558,582,022.15

39สหกรณอ อมทรพั ยรมายหงาาวนทิ กยิจากลาัยรเชปียรงะจใหํามป‹‚จ2าํ5ก6ดั3

(2) อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก
ป 2563 เศรษฐกจิ ไทยเปดศักราชใหมดว ยความหวงั วาจะกลบั มาขยายตวั ดีกวาป 2562

แตเ มอ่ื มกี ารระบาดของเช้ือไวรัสโควดิ -19 ตั้งแตช ว งตนป สงผลใหป น ้เี ปนปท่เี กดิ ความผนั ผวน ความ
ไมแนนอนอยา งเห็นไดชดั ภาวะเศรษฐกิจเขา สภู าวะขาลง การบริโภคของภาคครัวเรอื นลดลงตามราย
ไดข องครัวเรอื น คณะกรรมการนโนบายการเงิน (กนง.) มีการปรับอตั ราดอกเบ้ียนโยบายลงหลายครั้ง
ดงั นน้ั เพอ่ื ใหสอดคลองกับภาวะตลาดการเงิน สอ.มช. จงึ ไดป รับลดอัตราดอกเบ้ียเงนิ ฝาก ดังนี้

อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประเภทตางๆ ในป 2562 และ 2563

ประเภทเงนิ ฝาก วงเงินฝาก อัตราดอกเบ้ยี

26 พ.ย. 62 20 ม.ค. 63 23 ม.ี ค. 63 22 พ.ค. 63 15 ธ.ค. 63

ออมทรพั ย ทกุ วงเงนิ 1.00 1.00 1.00 1.00 0.85

ไมเกนิ 1 ลานบาท 1.65 1.65 1.50 1.25 1.10

ออมทรัพยพ เิ ศษ ต้ังแต 1 ลา นบาท แตไมเ กิน 3 ลา นบาท 1.70 1.70 1.55 1.30 1.15

ตั้งแต 3 ลา นบาท แตไ มเ กิน 5 ลานบาท 1.75 1.75 1.60 1.35 1.20

ฝากเกิน 5 ลา นบาทข้นึ ไป 1.80 1.80 1.65 1.40 1.25

ประจาํ ไมถ ึง 5 แสนบาท 2.00 2.00 1.85 1.60 1.45

ประจาํ 3 เดอื น ต้ังแต 5 แสนบาท แตไมถ ึง 1 ลานบาท 2.10 2.10 1.95 1.70 1.55

ตั้งแต 1 ลานบาทขึ้นไป 2.20 2.20 2.05 1.80 1.65

ประจํา 6 เดือน ไมถ ึง 5 แสนบาท 2.10 2.10 1.95 1.70 1.55

ตั้งแต 5 แสนบาท แตไมถึง 1 ลานบาท 2.20 2.20 2.05 1.80 1.65

ตัง้ แต 1 ลานบาทขน้ึ ไป 2.30 2.30 2.15 1.90 1.75

ประจาํ 12 เดอื น ไมถ งึ 5 แสนบาท 2.35 2.35 2.05 1.80 1.65

ต้ังแต 5 แสนบาท แตไมถงึ 1 ลานบาท 2.45 2.45 2.15 1.90 1.75

ต้ังแต 1 ลานบาทข้นึ ไป 2.55 2.55 2.25 2.00 1.85

สะสมทรพั ย ไมเกนิ เดือนละ 25,000.00 บาท 3.80 3.80 3.80 3.80 3.65

40 สราหยกงราณนกอ ิจอกมาทรรปัพรยะจมําหปา‚ว2ทิ 5ย6า3ลยั เชียงใหม‹ จํากัด

1.3 การใหบริการเงินกูแกสมาชิก
(1) จํานวนเงินกู
ในป 2563 สมาชิกมาใชบริการดานสินเชื่อประเภทตางๆ จํานวน 9,939 สัญญา เปน

เงินจํานวน 1,847,672,431.11 บาท ดังรายละเอียดประเภทตาง ๆ แสดงในตารางดังนี้

การใหบริการสินเชื่อประเภทตาง ๆ แกสมาชิก ระหวางป 2562 และป 2563

ประเภทเงินกู ป 2562 ป 2563

เพอ่ื เหตฉุ กุ เฉนิ จาํ นวน จํานวนเงนิ จํานวน จํานวนเงิน
สามัญ (สัญญา) (บาท) (สัญญา) (บาท)
- สามญั ท่วั ไป
- การศึกษาบตุ รของสมาชิก 6,623 199,510,164.00 6,493 214,432,100.00
- อุปกรณการสอ่ื สาร/ทศั นศึกษา
เครือ่ งใชในครวั เรือน 3,263 1,378,162,400.00 3,161 1,385,809,371.11
- ใชอ สงั หารมิ ทรพั ย/ เงนิ ฝากคาํ ป ระกนั 26 2,806,900.00 20 2,169,700.00
พิเศษ 27 1,386,940.00 27 2,881,260.00
- การเคหะสงเคราะห
- การเคหะสงเคราะหโ ครงการพิเศษ 91 45,620,200.00 90 45,320,300.00
- สง เสรมิ ฐานะความมั่นคง
9 9,232,000.00 51 91,386,100.00
รวม 91 80,140,200.00 15 14,272,600.00
96 93,215,000.00 82 91,401,000.00
10,226 1,810,073,804.00 9,939 1,847,672,431.11

41สหกรณอ อมทรพั ยรมายหงาาวนิทกยจิ ากลาัยรเชปยีรงะจใหํามป‹‚จ2าํ5ก6ัด3

(2) อัตราดอกเบี้ยเงินกู
ป 2563 ภาวะอตั ราดอกเบย้ี ในตลาดการเงนิ ลดลง สอ.มช. ไดป รบั ลดอตั ราดอกเบย้ี เงนิ ให

สมาชกิ กลู ง ดังนี้

ประเภทเงินกู 22 พ.ย. 62 อตั ราดอกเบย้ี
6.30 26 ม.ี ค. 63 26 พ.ค. 63 25 ธ.ค. 63
เพื่อเหตุฉกุ เฉิน
สามัญ 6.30 6.15 5.95 5.80
- สามัญทวั่ ไป 4.30
- การศึกษาบตุ รของสมาชิก 6.30 6.15 5.95 5.80
- อปุ กรณการสอ่ื สาร/ทัศนศกึ ษา 6.30 4.15 3.95 3.80
- เคร่ืองใชใ นครัวเรือน 5.80 6.15 5.95 5.80
- ใชอสงั หาริมทรัพยคาํ ป ระกัน 4.65 6.15 5.95 5.80
- ใชเ งินรับฝากคําประกนั 5.90 5.65 5.45 5.30
- ใชทนุ เรือนหุน คาํ ประกนั 4.50 4.30 4.15
พิเศษ 5.25 5.75 5.55 5.40
- เงินกูโครงการพิเศษ (อตั ราดอกเบย้ี คงท่ี 3 ป)
- การเคหะสงเคราะห /สง เสรมิ ฐานะความมนั่ คง 5.80 5.25 5.05 4.90
4.65
กรณีใชอ สงั หารมิ ทรพั ยคาํ ประกนั 5.90 5.65 5.45 5.30
กรณใี ชเงนิ รับฝากคาํ ป ระกนั 4.50 4.30 4.15
กรณีใชท ุนเรือนหุน คาํ ประกัน 5.75 5.55 5.40

42 สราหยกงราณนกอจิอกมาทรรปัพรยะจม ําหปา‚ว2ทิ 5ย6า3ลยั เชยี งใหม‹ จาํ กัด

1.4 การใหบริการเงินกูแกสหกรณออมทรัพยอื่น
การบรหิ ารการเงินของสหกรณ คณะกรรมการดําเนินการจะนําเงินไปฝากหรือลงทุนตาม

กรอบกฎหมายของสหกรณก าํ หนดใหก ระทําไดเทา นั้น ซึง่ ในป 2563 สอ.มช. มีสภาพคลอ งคงเหลอื
หลงั จากใหส มาชกิ กยู ืมแลว จึงนําไปลงทุนในตราสารหนี้ พนั ธบตั รรัฐบาล นาํ ฝากสถาบนั การเงนิ และ
ชมุ นุมสหกรณอ อมทรพั ยแ หงประเทศไทย จาํ กัด และใหสหกรณอ ืน่ กู ซ่ึงจํานวนเงินกทู ี่ใหส หกรณผขู อ
กสู หกรณห น่งึ ๆ ตองไมเกนิ รอ ยละ 10 ของทนุ เรือนหุน รวมกบั ทนุ สาํ รองของ สอ.มช. แตเ มื่อรวมหน้ี
เงินกทู ุกรายของสหกรณผูขอกูแลว จะตองไมเกินวงเงินกูยมื และค้ําประกนั ท่ีไดรบั ความเห็นชอบจาก
นายทะเบียนสหกรณ โดยใหค ณะกรรมการดาํ เนนิ การของสหกรณผ ูข อกเู ปน ผคู า้ํ ประกนั โดยพิจารณา
สถานะการเงินและความมน่ั คงของสหกรณน ้นั ๆเปนหลัก การปลอยสินเช่ือใหแกส หกรณอ ื่น แบงการ
กเู งินระยะตาง ๆ ดังนี้

1) เงินกูระยะสั้น วงเงินกูไมเกิน 50 ลานบาท ผอนชําระไมเกิน 12 เดือน
2) เงินกูระยะปานกลาง วงเงินกูไมเกิน 100 ลานบาท ผอนชําระไมเกิน 36 เดือน
3) เงินกูระยะยาว

(3.1) วงเงินกูไมเกิน 50 ลานบาท ผอนชําระไมเกิน 60 เดือน
(3.2) วงเงินกูไมเกิน 50 ลานบาท แตไมเกิน 75 ลานบาท ผอนชําระไมเกิน 80 เดือน
(3.3) วงเงินกูไมเกิน 75 ลานบาทขึ้นไป แตไมเกิน 100 ลานบาท ผอนชําระไมเกิน

100 เดือน
ในกรณที ว่ี งเงนิ กเู กนิ 100 ลา นบาท ใหค ณะกรรมการดาํ เนนิ การพจิ ารณาเปน ราย ๆ ไป
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 สอ.มช. มียอดเงินใหสหกรณออมทรัพยอื่นกูคงเหลือ จํานวน
1,403,466,397.50 บาท สอ.มช. ไดรับผลตอบแทนจากการใหสหกรณออมทรัพยอื่นกู เปนจํานวน
เงินทั้งสิ้น 53,304,393.09 บาท ดังนี้

43สหกรณออมทรพั ยรมายหงาาวนทิ กยจิ ากลาัยรเชปยีรงะจใหํามป‹‚จ2าํ5ก6ัด3

ยอดเงินคงเหลือใหสหกรณอื่นกูเปรียบเทียบระหวางป 2562 - ป 2563

เงินใหสหกรณอื่นกูระยะสั้น (ผอนชําระ 12 เดือน)

ภาค ป 2562 ป 2563

ภาคเหนอื จาํ นวน จาํ นวนเงนิ จํานวน จํานวนเงิน
ภาคกลาง (สหกรณ) (บาท) (สหกรณ) (บาท)
ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
4 132,487,000.00 8 304,150,894.00
รวม
1 25,000,000.00 1 58,330,000.00

3 170,908,701.00 3 197,496,000.00

8 328,395,701.00 12 559,976,894.00

เงินใหสหกรณอื่นกูระยะปานกลาง (ผอนชําระ 36 เดิือน)

ภาค ป 2562 ป 2563

ภาคเหนอื จํานวน จาํ นวนเงนิ จํานวน จาํ นวนเงนิ
ภาคกลาง (สหกรณ) (บาท) (สหกรณ) (บาท)
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
6 250,563,822.50 3 18,535,511.75
รวม
1 32,223,412.25 - -

9 392,905,028.50 7 343,935,492.75

16 675,692,263.25 10 362,471,004.50

เงินใหสหกรณอื่นกูระยะยาว (ผอนชําระ 60 เดือน)

ภาค ป 2562 ป 2563

ภาคเหนือ จํานวน จํานวนเงนิ จาํ นวน จาํ นวนเงนิ
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ (สหกรณ) (บาท) (สหกรณ) (บาท)
ภาคใต
7 171,560,297.25 5 203,538,666.00
รวม
5 190,278,031.00 2 108,327,000.00

1 87,764,899.75 5 169,152,833.00

13 449,603,228.00 12 481,018,499.00

44 สราหยกงราณนกอ ิจอกมาทรรปพั รยะจม ําหปา‚ว2ิท5ย6า3ลัยเชียงใหม‹ จํากัด

อัตราดอกเบี้ยเงินใหสหกรณอื่นกู
ป 2563 สอ.มช.ไดปรับอัตราดอกเบี้ยเงินใหสหกรณอื่นกู ดังนี้

ประเภทเงนิ กู ป 2562 31 ม.ค. ป 2563 30 ธ.ค.
30 ส.ค. 3.50 28 ก.พ. 31 มี.ค. 3.00
ระยะสนั้ 3.60 3.85 3.40 3.15 3.25
ระยะปานกลาง 3.90 4.30 3.85 3.40 3.80
ระยะยาว 4.40 4.30 3.95

1.5 เงินลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล ตราสารหนี้
คณะกรรมการดาํ เนนิ การมนี โยบายนาํ เงนิ ทเ่ี หลอื จากการปลอ ยเงนิ กใู หแ กส มาชกิ และสหกรณ

ออมทรพั ยอืน่ กยู มื ไปลงทุนเพ่ือบริหารใหเกดิ ประโยชนส รางรายไดใ หแ กส หกรณสูงสดุ โดยนําเงินไป
ลงทนุ ในพนั ธบตั รรฐั บาล และตราสารหน้ี ทไี่ ดรับการจัดอนั ดับความนาเช่ือถอื ตงั้ แตระดับ A- ขนึ้ ไป
วงเงนิ ไมเกินรอ ยละ 25 ของทุนดําเนนิ งาน ในป 2563 มีการลงทุนในพนั ธบัตรรัฐบาล และตราสารหนี้
ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2563 แยกรายละเอยี ดไดดังนี้

การลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล และตราสารหนี้

ท่ี ชื่อสถาบนั ระยะ วันทีฝ่ าก ครบกําหนด อัตรา จาํ นวนเงนิ
เวลา ดอกเบยี้ (บาท)
1 พนั ธบตั รออมทรพั ยพ เิ ศษ รนุ “สขุ กนั เถอะเรา”
2 พนั ธบตั ร รนุ “กา วไปดว ยกนั ” 10 ป 19 ม.ค. 58 19 ม.ค. 68 3/4/5 25,000,000.00
2.20 40,000,000.00
1 หนุ บ.เอ็ม บี เค (หนุ ไมด อยสิทธ) 7 ป 8 ก.ย. 63 26 ส.ค. 70 65,000,000.00
2 หนุ กู บมจ.ทุนธนชาต รวม 30,000,000.00
3 หุนกู บ.ซีพอี อลล จาํ กัด(มหาชน) ชุดที่ 2 10 ป 24 ก.ค. 55 24 ก.ค. 65 30,000,000.00
4 หุนกู บ.ซพี อี อลล จาํ กดั (มหาชน) ชดุ ท่ี 3 10 ป 22 ต.ค. 56 22 ต.ค. 66 4.93 50,000,000.00
5 หนุ กู บ.ซพี ีเอฟ (ประเทศไทย) จํากดั (มหาชน) 7 ป 18 มี.ค. 59 18 ม.ี ค. 66 5.00 50,000,000.00
6 หนุ กู บมจ.เบอรล ่ี ยคุ เกอร จาํ กดั ชดุ ท่ี 4 10 ป 18 ม.ี ค. 59 18 ม.ี ค. 69 3.40 100,000,000.00
7 หนุ กู บมจ.เบอรล่ี ยุคเกอร จํากัด(มหาชน) ชดุ ท่5ี 7 ป 15 ก.ค. 59 15 ก.ค. 66 4.00 100,000,000.00
8 หุนกู บมจ.บัตรกรุงไทย จํากดั (มหาชน) ชดุ ท่ี 5 10 ป 7 ก.ย. 59 7 ก.ย. 69 3.09 100,000,000.00
9 หุนกู บมจ.กรงุ เทพดุสิตเวชการ ชุดที่ 3 10 ป 8 ธ.ค. 59 8 ธ.ค. 69 3.80 180,000,000.00
10 หุนกู บมจ.เบอรล ่ี ยคุ เกอร จาํ กัด(มหาชน) ชุดท่ี 5 10 ป 29 ธ.ค. 59 29 ธ.ค. 69 4.27 100,000,000.00
11 หนุ กู บมจ.เบอรล ี่ ยคุ เกอร จาํ กดั (มหาชน) ชุดท่ี 6 7 ป 8 ก.พ. 60 8 ก.พ. 67 4.00 150,000,000.00
12 หุนกู บ.ซพี ีออลล จาํ กัด(มหาชน) ชุดท่ี 1 7 ป 24 มี.ค. 60 24 มี.ค. 67 3.46 150,000,000.00
10 ป 24 มี.ค. 60 24 มี.ค. 70 3.85 100,000,000.00
5 ป 30 พ.ย. 60 30 พ.ย. 65 4.40
3.10

45สหกรณอ อมทรพั ยรมายหงาาวนทิ กยจิ ากลายั รเชปียรงะจใหาํ มป‹‚จ2ํา5ก6ัด3

ที่ ช่ือสถาบัน ระยะ วันทฝี่ าก ครบกาํ หนด อตั รา จาํ นวนเงนิ
เวลา ดอกเบย้ี (บาท)

13 หุนกู บจก.การบนิ ไทย คร้งั ที่ 2/2561 ชดุ ที่ 5 10 ป 16 ส.ค. 61 16 ส.ค. 71 4.04 170,000,000.00
4.16 100,000,000.00
14 หุนกู บมจ.ไทยเบฟเวอเรจ ชุดท่ี 5 10 ป 19 ก.ย. 61 19 ก.ย. 71 4.12 20,000,000.00
3.50 10,000,000.00
15 หนุ กู บ.ซีพอี อลล จาํ กัด(มหาชน) ชดุ ท่ี 3 10 ป 18 ม.ค. 62 18 ม.ค. 72 4.43 35,000,000.00
4.65 100,000,000.00
16 หนุ กู บ.ไมเนอรอนิ เตอรเนชั่นแนล (ชดุ 3) 1/62 5 ป 29 มี.ค. 62 29 ม.ี ค. 67 4.18 190,000,000.00
3.66 50,000,000.00
17 หนุ กู บ.ไมเนอรอินเตอรเ นชัน่ แนล (ชดุ 5) 1/62 12 ป 29 ม.ี ค. 62 29 ม.ี ค. 74 3.58 30,000,000.00
3.32 65,000,000.00
18 หนุ กู บมจ.การบินไทย ชดุ ท่ี 7 1/2562 15 ป 3 พ.ค. 62 3 พ.ค. 77

19 หุน กู บมจ.ซพี เี อฟ ชดุ ท่ี 5 คร้ังท่ี 1/2562 12 ป 30 พ.ค. 62 30 พ.ค. 74

20 หุนกู บมจ. ช.การชา ง 1/2562 ชุดที่ 3 10 ป 8 มิ.ย. 62 8 ม.ิ ย. 72

21 หุนกู บมจ.พลังงานบรสิ ทุ ธ 2/2563 ชดุ ท่3ี 10 ป 15 ส.ค. 62 15 ส.ค. 72

22 หนุ กู บมจ.เบอรล ่ี ยคุ เกอร จาํ กดั (มหาชน) ชดุ ท่ี 5 2/62 10 ป 5 ก.ย. 62 7 ก.ย. 72

23 หนุ กู บมจ.เบอรล ี่ ยคุ เกอร ครัง้ ท่ี 1/2563 ชุดที่ 4 10 ป 20 ม.ี ค. 63 24 ม.ี ค. 73 2.43 100,000,000.00

24 หนุ กู บมจ.พที ที โี กลบอล เคมคิ คอล ครง้ั ท่ี 1/2563 ชดุ ท่ี 4 15 ป 8 เม.ย. 63 8 เม.ย. 78 3.50 290,000,000.00

25 หุน กู บมจ.ไออารพ ีซี ครัง้ ที่ 1/2563 ชดุ ท่ี 5 15 ป 11 ก.ย. 63 11 ก.ย. 78 4.40 45,000,000.00
29 ก.ย. 63
26 หนุ กู บมจ.ซพี อี อลล ครง้ั ท่ี 2/2563 ชดุ ท่ี 1 5 ป 29 ก.ย. 63 30 มิ.ย. 68 3.00 10,000,000.00
6 พ.ย. 63
27 หนุ กู บมจ.ซีพีออลล คร้งั ที่ 3/2563 ชุดท่ี 3 9.7 ป 13 พ.ค. 73 3.40 250,000,000.00

28 หนุ กู บมจ.บที เี อส กรปุ โฮลดง้ิ ครง้ั ท่ี 1/2563 ชดุ ท่ี 5 10 ป 6 พ.ย. 73 3.41 10,000,000.00

รวม 2,615,000,000.00

รวมทัง้ สน้ิ 2,680,000,000.00

46 สราหยกงราณนกอิจอกมาทรรปัพรยะจมาํหปา‚ว2ทิ 5ย6า3ลยั เชยี งใหม‹ จาํ กดั

2. งานประชาสัมพันธ

ในรอบป 2563 สอ.มช. ไดจัดทําสื่อเพื่อการประชาสัมพันธองคกร และสงขอมูลขาวสารใหแก
สมาชิก รวมถึงบุคคลที่สนใจใหทราบถึงความเคลื่อนไหวผานสื่อตางๆ ดังนี้

2.1 ผานสื่อสิ่งพิมพ ไดผลิตและเผยแพรขอมูลขาวสาร และประชาสัมพันธการจัดกิจกรรม
ตางๆ ไปสูสมาชิก และบุคคลภายนอก อาทิ แผนพับ โปสเตอร ขาวสาร สอ.มช. เปนประจําทุกเดือน
และรายงานประจําปเปนตน ซึ่งในปนี้ สอ.มช. ไดยกเลิกการพิมพขาวสารเปนเอกสาร และไดจัดทํา
ขาวสารในรูปแบบ PDF ไฟล สมาชิกสามารถเขาดูไดจากเว็บไซตสหกรณ

2.2 ผานกิจกรรม สอดแทรกขาวสาร และความรูดานสหกรณผานกิจกรรม/โครงการตาง ๆ ที่
สอ.มช. จัด

2.3 ผานระบบ SMS ซึ่งเปนชองทางการสงขอความที่งายและรวดเร็วที่สุดในการเขาถึงสมาชิก
โดยตรง

2.4 ผานสื่อสังคมออนไลน โดยเปดใหสมาชิกสมัครเขามาเปน Facebook Fan page และ
Line Official Account ของสหกรณ ทง้ั น้ี การประชาสมั พนั ธผ า นสอ่ื สงั คมออนไลนจ ะตอ งเนน ทค่ี วาม
สดใหมข องเนอ้ื หา นําเสนออยางโดดเดนชัดเจน งายตอการเขาถึง และเปดโอกาสใหผูรับสารไดมีสวน
รวมเปนสําคัญ

2.5 ผานระบบ Mobile Application ของ สอ.มช. ซึ่งเปนอีกชองทางหนึ่งในการใหบริการ
ระบบขอมูลสมาชิก โดยสมาชิกสามารถ Login ผานเว็บไซตสหกรณและโทรศัพทมือถือเพื่อดูขอมูล
สมาชิกภาพไดทันที

3. การใหความรวมมือกระบวนการสหกรณ

3.1 สอ.มช. ไดใหความรว มมอื กบั หนวยงานอ่นื และบริษทั เอกชน
(1) สอ.มช. ไดอ นญุ าตใหบ รษิ ทั สง เสรมิ ประกนั ภยั จาํ กดั และบรษิ ทั ไทยศรนี ครประกนั ภยั

จาํ กดั เขา มาใชพ น้ื ทใ่ี นการใหบ รกิ ารทาํ ประกนั ชวี ติ และประกนั ภยั ทรพั ยส นิ แกส มาชกิ และครอบครวั
ณ สาํ นกั งาน สอ.มช. เปน ประจาํ

47สหกรณออมทรัพยรมายหงาาวนทิ กยจิ ากลายั รเชปยีรงะจใหํามป‹‚จ2ํา5ก6ดั3

(2) ใหความรวมมือกับสถาบันศึกษา
2.1 นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม
สอ.มช. ไดใหการสนับสนุนนักศึกษาจากภาควิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม ดําเนินโครงการสรางแบบจําลองธรรมาภิบาลเพื่อประเมินวธิ ีการดาํ เนนิ งาน
ของสหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยเชยี งใหม จํากัด ตามรางกฎกระทรวงมาตรา 89/2(9) แหงพระ
ราชาบัญญตั สิ หกรณ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2562 โดยมีผชู วยศาสตราจารย ดร.อรรถพงศ พีระเชือ้ และ
อาจารย ดร.วสิ ุทธร จิตอารี เปน อาจารยทป่ี รึกษาโครงการ รายชือ่ นักศกึ ษาท่ีผรู ับผดิ ชอบโครงการ

ที่ ชือ่ -สกุล รหัสนกั ศึกษา

1 นางสาวณสิตา ด่ังดวงศศธิ ร 591510072
2 นายธนกร อสั สรตั นะสขุ นิ 591510112
3 นางสาวธัญชนก ทานศรชี าติ 591510124
4 นางสาวบวั ชมพู หลนิ 591510146
5 นางสาววรณรั กรกมลบรรณ 591510228
6 นางสาวศานตมล มหาวงศ 591510254
7 นางสาวสปุ รียา อคั รพฒั น 591510279
8 นางสาวสุรภา หอยพิกลุ 591510284

2.2 นักศึกษามหาวิทยาลยั แมโจ
นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั แมโ จเ ขา รว มฝก งานสหกจิ ศกึ ษา ในป 2563 จาํ นวน 6 คน ดงั น้ี

ที่ ระหวางวนั ที่ ชอื่ -สกลุ คณะ/สถาบัน

1 23 พ.ย. 2563 - 14 ม.ี ค. 2564 น.ส.ณัฐธดิ า เตชะเตย คณะบรหิ ารธุรกจิ มหาวิทยาลยั แมโ จ
2 23 พ.ย. 2563 - 14 มี.ค. 2564 นายจิรายุ จนั ทรดี คณะบริหารธุรกจิ มหาวทิ ยาลัยแมโ จ

3 23 พ.ย. 2563 - 14 มี.ค. 2564 น.ส.เรณุกา สวุ ีระ คณะบริหารธรุ กิจ มหาวทิ ยาลยั แมโจ

4 30 พ.ย. 2563 - 19 ม.ี ค. 2564 น.ส.นภิ ารตั น สลอี อน คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลยั แมโ จ

5 30 พ.ย. 2563 - 19 มี.ค. 2564 น.ส.ศิริวรรณ ปาลี คณะเศรษฐศาสตร มหาวทิ ยาลัยแมโ จ

6 1 ธ.ค. 2563 - 19 มี.ค. 2564 น.ส. กานตธดิ า อนิ ตะเมา คณะบรหิ ารธุรกจิ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร

48 สราหยกงราณนกอิจอกมาทรรปพั รยะจมําหปา‚ว2ทิ 5ย6า3ลยั เชียงใหม‹ จํากัด


Click to View FlipBook Version