The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2018-05-31 02:54:17

teacher

teacher

ขอ บังคบั ครุ สุ ภา

วา ดว ยจรรยาบรรณของวิชาชพี พ.ศ. 2556

จรรยาบรรณวชิ าชพี ครมู ี 5 ดา น 9 ขอ

1.จรรยาบรรณตอ ตนเอง
ขอที่ 1 ผูประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตองมวี นิ ยั ในตนเอง พฒั นาตนเองดานวชิ าชพี
บคุ ลกิ ภาพ และวสิ ยั ทัศน ใหทันตอการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สงั คม และ
การเมืองอยเู สมอ

2. จรรยาบรรณตอวิชาชีพ
ขอท่ี 2 ผปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองรกั ศรัทธา ซอ่ื สัตยส จุ ริต รบั ผดิ ชอบตอ
วิชาชพี
และเปน สมาชิกทด่ี ีขององคก รวิชาชีพ

3.จรรยาบรรณตอ ผรู ับบรกิ าร
ขอที่ 3 ผูประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ตองรกั เมตตา เอาใจใส ชวยเหลือ สง เสริม
ใหกําลงั ใจแกศษิ ย และผูร ับบริการ ตามบทบาทหนา ที่โดยเสมอหนา
ขอ ที่ 4 ผปู ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตองสง เสรมิ ใหเ กดิ การเรยี นรู ทักษะ และนสิ ยั
ทถ่ี กู ตองดงี ามแกศิษย และผูร บั บรกิ าร ตามบทบาทหนา ที่อยา งเต็มความสามารถ ดวย
ความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ
ขอ ที่ 5 ผปู ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตอ งประพฤติปฏบิ ัตติ นเปนแบบอยางทด่ี ี ทงั้
ทางกาย
วาจา และจติ ใจ

ขอที่ 6 ผปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอ งไมก ระทาํ ตนเปนปฏิปกษต อ ความเจริญ
ทางกาย
สติปญ ญา จติ ใจ อารมณ และสังคมของศษิ ย และผรู บั บรกิ าร
ขอที่ 7 ผูป ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอ งใหบริการดว ยความจรงิ ใจและเสมอภาค
โดยไมเ รียกรบั หรอื ยอมรบั ผลประโยชนจากการใชต าํ แหนง หนา ทโี่ ดยมชิ อบ

4.จรรยาบรรณตอ ผูรวมประกอบวชิ าชีพ
ขอท่ี 8 ผปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา พึงชว ยเหลอื เกือ้ กูลซง่ึ กันและกันอยาง
สรา งสรรค
โดยยดึ มั่นในระบบคุณธรรม สรา งความสามัคคใี นหมคู ณะ

5.จรรยาบรรณตอ สังคม
ขอ ที่ 9 ผปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา พึงประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นเปน ผนู ําในการอนรุ ักษ
และพฒั นาเศรษฐกิจ สงั คม ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ภมู ิปญ ญา สง่ิ แวดลอม รักษา
ผลประโยชนของสว นรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมขุ

ขอ บังคับครุ สุ ภา

วา ดวยแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชพี พ.ศ. 2550

สวนท่ี 1
จรรยาบรรณตอ ตนเอง
ครตู อ งมวี นิ ยั ในตนเอง พัฒนาตนเองดา นวิชาชีพ บคุ ลิกภาพและวสิ ัยทศั นใ หท นั ตอ การ
พัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกจิ สังคม และการเมืองอยเู สมอ โดยตอ งประพฤตแิ ละละ
เวนการประพฤติตามแบบแผนพฤตกิ รรม ดังตวั อยางตอ ไปนี้

(ก) พฤตกิ รรมที่พงึ ประสงค
1. ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเปน แบบอยา งที่ดี
2. ประพฤตติ นเปน แบบอยางทดี่ ใี นการดาํ เนนิ ชวี ิตตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
3. ปฏิบัตงิ านตามหนาทที่ ่ไี ดร บั มอบหมายใหส าํ เรจ็ อยางมคี ุณภาพ ตามเปา หมายท่ี
กําหนด
4. ศกึ ษา หาความรู วางแผนพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และสะสมผลงานอยางสมาํ่ เสมอ
5. คน ควา แสวงหา และนําเทคนิคดานวิชาชพี ที่พัฒนาและกาวหนาเปนท่ียอมรับมาใช
แกศษิ ยแ ละผูรบั บริการใหเ กิดผลสมั ฤทธท์ิ พ่ี ึงประสงค

(ข) พฤติกรรมที่ไมพึงประสงค
1. เกีย่ วขอ งกบั อบายมขุ หรือเสพสิ่งเสพติดจนขาดสตหิ รอื แสดงกริ ยิ าไมส ุภาพเปนทนี่ า

รังเกยี จในสงั คม
2. ประพฤตผิ ิดทางชูสาวหรอื มพี ฤตกิ รรมลวงละเมิดทางเพศ
3. ขาดความรับผิดชอบ ความกระตอื รอื รน ความเอาใจใส จนเกดิ ความเสียหายในการ
ปฏิบัตงิ านตามหนาท่ี
4. ไมร ับรูหรอื ไมแ สวงหาความรใู หมๆ ในการจัดการเรยี นรู และการปฏบิ ตั หิ นา ที่
5. ขดั ขวางการพัฒนาองคก ารจนเกิดผลเสียหาย

สว นท่ี 2
จรรยาบรรณตอ วชิ าชพี
ครูตอ งรกั ศรัทธา ซือ่ สตั ยสจุ รติ รบั ผิดชอบตอ วชิ าชพี และเปนสมาชกิ ท่ดี ขี ององคก ร
วชิ าชพี โดยตองประพฤตแิ ละละเวนการประพฤตติ ามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอยา ง
ตอ ไปน้ี
(ก) พฤติกรรมท่พี งึ ประสงค
1. แสดงความช่ืนชมและศรัทธาในคณุ คา ของวชิ าชพี
2. รักษาชอื่ เสียงและปกปอ งศกั ดศ์ิ รีแหง วชิ าชพี
3. ยกยองและเชิดชูเกียรตผิ มู ผี ลงานในวชิ าชพี ใหสาธารณชนรบั รู
4. อทุ ศิ ตนเพอ่ื ความกา วหนา ของวิชาชีพ
5. ปฏบิ ัตหิ นา ท่ีดวยความรับผิดชอบ ซอ่ื สตั ยส จุ รติ ตามกฎ ระเบยี บ และแบบแผนของ
ทางราชการ
6. เลอื กใชห ลกั วิชาท่ถี ูกตอง สรา งสรรคเทคนคิ วธิ ีการใหมๆ เพือ่ พัฒนาวชิ าชพี
7. ใชองคความรหู ลากหลายในการปฏบิ ตั หิ นาที่ และแลกเปลีย่ นเรยี นรกู บั สมาชิกใน

องคก าร
8. เขา รว มกิจกรรมของวิชาชีพหรือองคก รวชิ าชีพอยา งสรา งสรรค

(ข) พฤติกรรมทีไ่ มพงึ ประสงค
1. ไมแสดงความภาคภมู ใิ จในการประกอบวชิ าชีพ
2. ดูหมนิ่ เหยียดหยาม ใหรายผรู ว มประกอบวชิ าชพี ศาสตรในวชิ าชีพ หรอื องคกร
วิชาชีพ
3. ประกอบการงานอื่นทไ่ี มเ หมาะสมกบั การเปนผปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา
4. ไมซ ่ือสัตยสจุ รติ ไมรบั ผิดชอบ หรอื ไมปฏิบัตติ ามกฎ ระเบียบ หรือแบบแผนของทาง
ราชการจนกอ ใหเ กิดความเสยี หาย
5. คัดลอกหรอื นาํ ผลงานของผอู น่ื มาเปน ของตน
6. ใชห ลักวชิ าการที่ไมถ ูกตองในการปฏิบตั วิ ิชาชีพ สง ผลใหศิษยหรอื ผรู ับบรกิ ารเกิด
ความเสียหาย
7. ใชค วามรูท างวชิ าการ วชิ าชพี หรอื อาศัยองคก รวชิ าชพี แสวงหาประโยชนเ พ่อื ตนเอง
หรือผูอ ่นื โดยมชิ อบ

สวนท่ี 3
จรรยาบรรณตอ ผูรับบรกิ าร
ครตู อ งรกั เมตตา เอาใจใส ชวยเหลอื สง เสริมใหกาํ ลังใจแกศ ิษย และผรู บั บริการตาม
บทบาทหนา ท่ีโดยเสมอหนา ครตู อ งสง เสรมิ ใหเกดิ การเรียนรู ทกั ษะ และนิสยั ทถ่ี กู ตอง
ดงี ามแกศิษยและผรู บั บรกิ ารตามบทบาทหนา ที่อยา งเตม็ ความสามารถดวยความบริสทุ ธ์ิ
ใจ ครูตอ งประพฤติปฏิบัตติ นเปน แบบอยา งท่ีดี ทงั้ ทางกาย วาจา และจิตใจ ครูตอ งไม
กระทาํ ตนเปน ปฏปิ ก ษต อ ความเจริญทางกาย สตปิ ญ ญา จติ ใจ อารมณและสงั คมของ

ศิษยและผรู ับบรกิ าร และครูตอ งใหบ รกิ ารดว ยความจรงิ ใจและเสมอภาค โดยไมเรยี กรับ
หรอื ยอมรับผลประโยชนจากการใชตาํ แหนงหนาท่ีโดยมชิ อบโดยตอ งประพฤติและละ
เวนการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตวั อยางตอ ไปน้ี

(ก) พฤติกรรมท่ีพงึ ประสงค
1. ใหค าํ ปรึกษาหรอื ชวยเหลอื ศิษยแ ละผรู ับบรกิ ารดว ยความเมตตากรุณาอยางเตม็ กาํ ลัง
ความสามารถและเสมอภาค
2. สนบั สนนุ การดาํ เนนิ งานเพือ่ ปกปอ งสทิ ธิเดก็ เยาวชน และผูด อ ยโอกาส
3. ต้ังใจ เสยี สละ และอทุ ศิ ตนในการปฏบิ ัตหิ นา ที่ เพื่อใหศ ษิ ยแ ละผูร ับบรกิ ารไดร บั การ
พฒั นาตามความสามารถ ความถนดั และความสนใจของแตล ะบคุ คล
4. สง เสรมิ ใหศิษยแ ละผรู ับบริการสามารถแสวงหาความรไู ดด ว ยตนเองจากสือ่ อุปกรณ
และแหลงเรยี นรอู ยา งหลากหลาย
5. ใหศิษยแ ละผูรบั บรกิ าร มีสว นรวมวางแผนการเรียนรู และเลอื กวธิ กี ารปฏบิ ัติท่ี
เหมาะสมกับตนเอง
6. เสรมิ สรา งความภาคภูมิใจใหแ กศ ษิ ยและผรู ับบริการดวยการรบั ฟงความคดิ เหน็ ยก
ยอง ชมเชย และใหก าํ ลงั ใจอยา งกัลยาณมติ ร

(ข) พฤตกิ รรมทีไ่ มพงึ ประสงค
1. ลงโทษศษิ ยอ ยางไมเหมาะสม
2. ไมใ สใจหรอื ไมร ับรปู ญ หาของศิษยหรือผรู บั บรกิ าร จนเกิดผลเสยี หายตอศษิ ยห รอื
ผรู บั บรกิ าร
3. ดหู ม่ินเหยียดหยามศษิ ยห รอื ผูรบั บริการ
4. เปด เผยความลบั ของศษิ ยหรอื ผรู ับบรกิ าร เปนผลใหไ ดรับความอบั อายหรือเส่อื มเสยี
ชือ่ เสียง
5. จูงใจ โนม นาว ยยุ งสง เสรมิ ใหศิษยห รือผูรบั บรกิ ารปฏิบัตขิ ดั ตอ ศีลธรรมหรอื
กฎระเบยี บ
6. ชกั ชวน ใช จาง วานศษิ ยห รอื ผรู บั บริการใหจัดซ้อื จัดหาสิง่ เสพติด หรอื เขา ไป

เกี่ยวขอ งกบั อบายมุข
7. เรียกรองผลตอบแทนจากศิษยหรือผูรบั บริการในงานตามหนาท่ีท่ีตองใหบริการ

สวนที่ 4
จรรยาบรรณตอ ผูรวมประกอบวชิ าชีพ
ครพู ึงชว ยเหลอื เก้อื กูลซง่ึ กันและกนั อยา งสรา งสรรค โดยยดึ มัน่ ในระบบคณุ ธรรมสรา ง
ความสามัคคใี นหมูคณะ โดยพงึ ประพฤตแิ ละละเวน การประพฤติตามแบบแผน
พฤตกิ รรมดงั ตวั อยา งตอ ไปน้ี

(ก) พฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงค
1. เสียสละ เออ้ื อาทร และใหความชวยเหลอื ผูร ว มประกอบวชิ าชพี
2. มคี วามรกั ความสามคั คี และรว มใจกันผนกึ กําลงั ในการพฒั นาการศกึ ษา

(ข) พฤติกรรมที่ไมพึงประสงค
1. ปด บังขอ มูลขาวสารในการปฏบิ ตั งิ าน จนทาํ ใหเ กดิ ความเสยี หายตอ งานหรอื ผูร วม
ประกอบวชิ าชพี
2. ปฏิเสธความรับผิดชอบ โดยตาํ หนิ ใหร า ยผอู ื่นในความบกพรองทเ่ี กดิ ข้ึน
3. สรางกลมุ อทิ ธพิ ลภายในองคก ารหรือกล่ันแกลงผรู วมประกอบวชิ าชีพใหเกิดความ
เสียหาย
4. เจตนาใหข อ มูลเทจ็ ทาํ ใหเกิดความเขาใจผิดหรือเกดิ ความเสียหายตอผรู ว มประกอบ
วิชาชีพ
5. วิพากษ วจิ ารณผ รู วมประกอบวชิ าชีพในเร่ืองท่ีกอ ใหเ กดิ ความเสียหายหรือแตกความ
สามคั คี

สวนที่ 5
จรรยาบรรณตอ สงั คม

ครพู งึ ประพฤติปฏิบตั ติ นเปน ผนู าํ ในการอนุรกั ษแ ละพัฒนาเศรษฐกจิ สงั คม ศาสนา
ศิลปวฒั นธรรม ภมู ิปญ ญา สิ่งแวดลอ ม รักษาผลประโยชนข องสวนรวม และยดึ มน่ั ใน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมขุ โดยพงึ ประพฤติ
และละเวน การประพฤตติ ามแบบแผนพฤตกิ รรม ดังตวั อยา งตอไปนี้

(ก) พฤติกรรมทพี่ งึ ประสงค
1. ยึดม่ัน สนบั สนนุ และสงเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ 
ทรงเปน ประมุข
2. นําภูมิปญญาทอ งถิน่ และศิลปวฒั นธรรมมาเปน ปจ จัยในการจัดการศกึ ษาใหเปน
ประโยชนต อสว นรวม
3. จดั กิจกรรมสงเสริมใหศษิ ยเ กิดการเรยี นรแู ละสามารถดําเนินชีวติ ตามหลักเศรษฐกิจ
พอเพียง
4. เปน ผนู าํ ในการวางแผนและดําเนินการเพื่ออนุรกั ษส ง่ิ แวดลอ มพัฒนาเศรษฐกิจภูมิ
ปญ ญาทองถ่นิ และศลิ ปวฒั นธรรม

(ข) พฤตกิ รรมที่ไมพึงประสงค
1. ไมใ หค วามรว มมอื หรอื สนบั สนนุ กิจกรรมของชมุ ชนท่จี ดั เพือ่ ประโยชนต อ การศกึ ษาท้ัง
ทางตรงหรือทางออม
2. ไมแ สดงความเปน ผนู าํ ในการอนุรกั ษห รือพัฒนาเศรษฐกิจ สงั คม ศาสนา
ศลิ ปวัฒนธรรม ภมู ิปญ ญาหรอื สง่ิ แวดลอ ม
3. ไมป ระพฤติตนเปน แบบอยา งทีด่ ใี นการอนรุ กั ษห รอื พัฒนาสงิ่ แวดลอ ม
4. ปฏิบตั ิตนเปนปฏปิ กษตอวัฒนธรรมอันดีงามของชุมชนหรอื สังคม


Click to View FlipBook Version