The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by samofdark14, 2022-05-23 03:46:26

เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

อย่างงั้นแหล่ะ

เรื่อง ความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์

จดั ทาโดย
นาย ฎเี ทพภูมิ โพนคาหล ระดบั การศึกา ปวช. 1/1

ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

คอมพวิ เตอร์ (Computer) หมายถึง อปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์อย่างหน่งึ ทสี่ ามารถรับ
โปรแกรมและข้อมูล ประมวลผล สือ่ สารเคลือ่ นยา้ ยขอ้ มูลและแสดงผลลพั ธไ์ ด้

เทคโนโลยี (technology) หมายถึง การนาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์หรือความรูด้ ้าน
อน่ื ๆ มาประยุกต์ใชง้ านดา้ นใดดา้ นหน่งึ เพอ่ื ใหงานน้นั มคี วามสามารถและมี ประสิทธภิ าพเพิม่ ข้นึ

สารสนเทศ (Information) หมายถงึ ข้อมลู ทผ่ี า่ นกระบวนการเก็บรวบรวม และเรียบ
เรียง ท่ีเป็นประโยชนต์ ่อผใู้ ช้

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology : IT ) หมายถงึ การนา
เทคโนโลยีมาใชง้ านทีเ่ กย่ี วกบั การประมวลผลข้อมูลเพ่ือให้ไดเ้ ป็นสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีท่ใี ชเ้ ป็น
การผสมผสานระหว่างเทคโนโลยที างคอมพิวเตอรก์ บั เทคโนโลยีการส่อื สารเพอ่ื ชว่ ยในการ
ตดิ ต่อสอ่ื สารและการส่งผ่านข้อมูลและสารสนเทศ ให้สะดวกรวดเร็วมากข้นึ

องคป์ ระกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ มีส่วนประกอบดังน้ี

1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถงึ เคร่ืองคอมพิวเตอร์และอปุ กรณต์ อ่
พว่ ง เช่น แป้นพมิ พ์ เมาส์ หน่วยประมวล ผลกลาง จอภาพ เคร่ืองพมิ พ์ และอปุ กรณอ์ ่นื ๆ ฮารด์ แวร์
จะทางานตามโปรแกรมหรือซอฟตแ์ วรท์ ่เี ขียนข้นึ

2. ซอฟตแ์ วร์ (Software) บางคร้งั เรียกว่าโปรแกรม หรือชดุ คาสง่ั วตั ถปุ ระสงค์
หลกั ของซอฟตแ์ วร์ทีส่ ัง่ ให้ฮารด์ แวรท์ างาน คอื การประมวลผลข้อมูล (Data) ให้เป็น
สารสนเทศ (Information)

3. เครือข่ายคอมพวิ เตอร์และการติดต่อสอื่ สาร (Computer network and
communication)

4. ขอ้ มลู และฐานข้อมลู (Data and database) ในการประมวลผล
ข้อมลู คอมพิวเตอร์จะประมวลผลตามขอ้ มลู ที่ป้อนเขา้ สู่หนว่ ยรบั ขอ้ มลู ดังน้นั ข้อมูลจึงเป็นส่วนสาคญั
อย่างหน่งึ ในการประมวลผลเพือ่ ให้ได้สารสนเทศเพอื่ การตดั สินใจ

วงจรการทางานของคอมพวิ เตอร์

ในการทางานของคอมพิวเตอร์ จะมขี ั้นตอนการทางานพื้นฐาน 4 ขน้ั ตอน

1. รับขอ้ มูล (Input) คอมพวิ เตอร์จะทาหน้าทร่ี บั ขอ้ มูลเพอื่ นาไป
ประมวล อปุ กรณท์ ่ีทาหน้าท่รี บั ข้อมลู ทนี่ ิยมใชใ้ นปจั จุบัน ได้แก่ แปน้ พิมพ์ (Keyboard) และ
เมาส์ (Mouse) เป็นตน้

2. ประมวลผล (Process) เม่ือคอมพิวเตอรร์ บั ขอ้ มลู เข้าส่รู ะบบแล้ว จะทาการ
ประมวลผลตามโปรแกรมหรือคาสัง่ ท่กี าหนด เช่น การคานวณภาษี การคานวณเกรดเฉลีย่ เป็นตน้

3. แสดงผล (Output) คอมพวิ เตอร์จะแสดงผลลัพธ์ทไี่ ด้จากดการประมวลผล
ไปยงั หน่วยแสดงผล อุปกรณท์ าหน้าทีแ่ สดงท่ใี ชแ้ พร่หลายใน
ปจั จุบัน ไดแ้ ก่ จอภาพ (Monitor)และเคร่ืองพมิ พ์ (Printer) เป็นต้น

4. จัดเกบ็ ขอ้ มลู (Storage) คอมพวิ เตอรจ์ ะทาการจัดเกบ็ ข้อมูลลงในอปุ กรณ์
เก็บขอ้ มูล เชน่ ฮารด์ ดสิ ก์ (Hard Disk)แผน่ ฟลอบปีดสิ ก์ (Floppy Disk)เป็นต้น

ประเภทของคอมพวิ เตอร์

1. ซูเปอรค์ อมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็นคอมพวิ เตอร์ท่ีมีขนาดใหญ่
ทส่ี ดุ และมีประสทิ ธภิ าพในการทางานสูงสดุ สามาถประมวลผลคาสั่งได้ 100 ลา้ นคาสง่ั ตอ่
นาที เหมาะกบั งานท่ีตอ้ งใช้ความละเอยี ด มีการคานวณซบั ซอ้ น และต้องการความถูกต้อง
แมน่ ยา เชน่ การพยากรณอ์ ากาศ การทดสอบทางอวกาศ งานสือ่ สารดาวเทียม งานวจิ ัยพลังงาน
นิวเคลยี ร์ งานวิจยั ขปี นาวธุ งานวจิ ยั วทิ ยาศาสตร์ เป็นตน้

2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe computer) เป็นคอมพวิ เตอรท์ ม่ี ี
ประสิทธภิ าพรองจากซูเปอรค์ อมพวิ เตอร์ สามารถรองรับการทางานจากผใู้ ชไ้ ดห้ ลายรอ้ ย
คน ประมวลผลด้วยความเรว็ สูง มีหน่วยความจาขนาดใหญ่ การจดั เก็บข้อมลู ไดเ้ ป็นจานวนมากใช้กับ
องคก์ ารขนาดใหญ่ เชน่ งานธนาคาร การจองตวั๋ เคร่ืองบิน การลงทะเบยี นและการตรวจสอบผลการ
เรียนของนักศกึ ษา งานสามะโนประชากรของรฐั บาล ประกันชวี ติ เป็นต้น

3. มนิ คิ อมพวิ เตอร์ (Minicomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ท่มี ีประสิทธภิ าพในการทางาน
น้อยกวา่ เมนเฟรมแตส่ งู กวา่ ไมโครคอมพวิ เตอร์ เหมาะกบั งานท่ีมีขอ้ มูลจานวนมาก สามารถรับรองการ
ทางานจากผใู้ ชไ้ ดห้ ลายคนในการทางานทแ่ี ตกตา่ งกนั เช่น การคานวณทางด้านวิศวกรรม ทาใหก้ าร
พฒั นามนิ ิคอมพิวเตอรเ์ จริญอย่างรวดเรว็ การจองหอ้ งโรงแรม การทางานดา้ นบญั ชีขององคก์ าร
ธุรกจิ เป็นต้น

4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เป็นคอมพวิ เตอร์ส่วนบุคคลทมี่ ผี นู้ ยิ มใช้
แพร่หลายมาก ที่สดุ มีขนาดเล็กและราคาถูก เคล่ือนยา้ ยไดส้ ะดวก สามารถใชง้ านโดยผใู้ ชค้ น
เดียว (Stand alone) เหมาะกับงาน Word Precessing, Speead sheet,
Accorting จดั ทาสงิ่ พมิ พ์ แบง่ ไดด้ งั น้ี

1. แบบตดิ ตงั้ ใช้งานอยู่กบั ทีบ่ นโต๊ะทางาน (Desktop Computer)

2. คอมพิวเตอร์ แลป็ ทอ็ ป (Notebook) พกพาสะดวก

3. คอมพิวเตอร์ แทปเลท (Tablet Computer) มีลกั ษณะคลา้ ยโนต๊ บคุ๊ แต่มี
ความแตกต่าง คือ สามารถปอ้ นข้อมลู ทางจอภาพได้ (ใช้ปากกาชนดิ พิเศษ)

4. คอมพิวเตอรข์ นาดพกพา(Handheld Computer) มีขนาดเท่าฝ่า
มือ เชน่ Palmtop, PDA (Personal Digital Assistant)

รูปแบบการประมวลผลของคอมพวิ เตอร์

1. การประมวลผลส่วนบุคคล (Personal Computing : PC) งานเกย่ี วกับการ
ประมวลผลคา, งานดา้ นกราฟฟิก ตารางจดั การ การเขยี นโปรแกรม

2. การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized Computing) มีเครื่องแม่ขา่ ย
เท่าน้ัน ทที่ าการประมวลผลและจัดเกบ็ ขอ้ มูลทกุ สว่ น

3. การประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Computing) คอมพิวเตอร์ทกุ
เครื่องตอ้ งเชอ่ื มตอ่ กนั เป็นเครือขา่ ย โดยมีเครื่องแม่ข่าย (Server) ทาการแจกจ่ายหนา้ ท่กี าร
ทางาน โดยเครื่องลูกข่ายมคี วามสามารถในการจดั เก็บและทาหนา้ ท่บี างสว่ นไดโ้ ดยไมต่ ้องพึง่ พาเครื่อง
แม่ขา่ ย

โครงสร้างขอ้ มูล (Data Structure)

บติ (Bit) คอื ข้อมลู ที่มขี นาดเล็กท่ีสุด เป็นขอ้ มูลทเ่ี คร่ืองคอมพิวเตอรส์ ามารถเข้าใจและ
นาไปใชง้ านได้ ซ่งึ ได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่าน้ัน

ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตวั เลข หรือ ตัวอักษร หรือ สญั ลกั ษณ์
พเิ ศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายตา่ งๆ ซ่งึ 1 ไบตจ์ ะ
เทา่ กับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น

ฟิ ลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวข้นึ ไปรวมกนั เป็นฟิลด์ เชน่ เลข
ประจาตวั ช่อื พนกั งาน เป็นตน้

เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลดต์ ้ังแต่ 1 ฟิลด์ ข้นึ ไป ท่มี คี วามสัมพนั ธเ์ กีย่ วขอ้ งรวมกัน
เป็นเรคคอร์ด เช่น ชอ่ื นามสกุล เลขประจาตวั ยอดขาย ขอ้ มลู ของพนกั งาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด

ไฟล์ (Files) หรือ แฟม้ ขอ้ มูล ได้แก่ เรคคอรด์ หลายๆ เรคคอรด์ รวมกนั ซ่งึ เป็นเร่ือง
เดยี วกนั
เช่น ข้อมูลของประวตั ิพนักงานแต่ละคนรวมกนั ทั้งหมดเป็นไฟลห์ รือแฟ้มข้อมลู เกีย่ วกบั ประวตั ิ
พนกั งานของบริษทั เป็นต้น

ฐานขอ้ มลู (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมลู หลายๆ ไฟล์ท่เี กย่ี วข้องกันมา
รวมเขา้ ดว้ ยกนั เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกนั เป็นฐานข้อมูลของบริษัท เป็นตน้

การวดั ขนาดขอ้ มลู

ในการพิจารณาว่าข้อมลู ใดมีขนาดมากนอ้ ยเพียงไร เรามหี นว่ ยในการวดั ขนาดของ
ขอ้ มลู ดงั ต่อไปน้ี

8 Bit = 1 Byte
1,024 = 1 KB (กโิ ลไบต์)
Byte = 1 MB (เมกกะไบต์)
1,024 = 1 GB (กกิ ะไบต์)
KB = 1TB (เทระไบต์)
1,024
MB
1,024
GB

อินเตอร์เนตเบ้ืองต้น

อินเทอร์เนตคืออะไร
อินเทอร์เนต (Internet) คือ เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ท่ใี หญท่ ี่สุดในโลก เกิดข้นึ จากระบบ

เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์เล็ก ๆ รวมกนั เป็นระบบเครือข่ายใหญ่ เพอื่ ใช้ในการติดตอ่ สอ่ื สาร แลกเปลยี่ น
ข้อมูลกนั ทว่ั โลก

อนิ เทอร์เนตเกิดข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร
รากฐานของอินเทอร์เนต เกดิ ข้นึ เม่ือประมาณ 20 ปีมาแล้ว โดยเริ่มจาก

เครือขา่ ย ARPANET ของกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา ซ่งึ มคี วามประสงคท์ จี่ ะ

แลกเปล่ียนขอ้ มูลวิจยั ทางการทหาร หลกั จากน้ันระบบเครือข่ายย่อยอ่นื ๆ กไ็ ดท้ าการต่อเชอื่ มและ
ขยายแวดวงออกไปทั่วโลก ดังน้ันอินเทอร์เนตจงึ ไมไ่ ด้เป็นของใครหรือของกลุ่มใดโดยเฉพาะ

อนิ เทอร์เนตทาอะไรไดบ้ า้ ง ?
เดมิ ทกี ารใชบ้ ริการจากดั ใหใ้ ช้ในดา้ นการศึกษาวิจยั และอยใู นแวดวงการศึกษาเทา่ น้ัน ต่อมาได้

มีการขยายในเชิงธรุ กจิ มากข้นึ ทาให้ขอบขา่ ยการใช้ Internet มีมากมาย เช่น
1. สามารถตดิ ตอ่ กับคนไดท้ ัว่ โลก
2. สามารถใชเ้ พอ่ื แลกเปลี่ยนข้อมลู , ความคดิ เห็น
3. สามารถใชช้ ่วยในการคน้ หาและโอนยา้ ย Software ต่าง ๆ มาได้ฟรี
4. สามารถค้นควา้ วิจัย เปรียบเหมอื นคุณเข้าหอ้ งสมุดไปศึกษาคน้ ควา้ หนงั สือ
ต่าง ๆ โดยที่ตัวคนเองไมต่ ้องไปยงั หอ้ งสมุดน้นั
5. สามารถอ่านขา่ วสารของกลุ่มสนทนาต่าง ๆ
6. สามารถท่องเที่ยวไปยงั สถานทีต่ ่าง ๆ ไดท้ ั่วโลก เช่น พพิ ิธภัณฑ์ , สวนสตั ว์ เป็น
ต้น


Click to View FlipBook Version