The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ไฟล์สูจิบัตร-ข้อมูล 18.2.67-ฉบับสมบูรณ์จริง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prakoabkiat.t, 2024-02-18 06:02:56

ไฟล์สูจิบัตร-ข้อมูล 18.2.67-ฉบับสมบูรณ์จริง

ไฟล์สูจิบัตร-ข้อมูล 18.2.67-ฉบับสมบูรณ์จริง

๑ โอวาท ฯพณฯ พลเอกดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ ประธานพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้ส าเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น เมื่อวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ณ หอประชุมกองทัพอากาศ ถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร ขอแสดงความชื่นชมยินดีในความวิริยะอุตสาหะของบัณฑิต มหาบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทุกท่านที่ส าเร็จการศึกษาและได้เข้ารับปริญญาบัตรในวันนี้ การศึกษาเป็นหนทางหนึ่งที่ก่อให้เกิดความเป็นบัณฑิตที่แท้จริง นั่นคือ การเป็นผู้ที่มีความรู้ มีปัญญา และมีศีลธรรมอันดีงาม เพื่อยังประโยชน์ให้เกิดขึ้นกับตนเอง ผู้อื่น และเป็นที่พึ่งพิงของ สังคม โดยเป็นที่ทราบกันดีว่าโลกปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เทคโนโลยี สารสนเทศเข้ามามีบทบาทส าคัญในการด าเนินชีวิตเป็นอันมาก ดังนั้นบัณฑิตทุกท่านจ าเป็นต้องเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้น ด้วยการพัฒนาตนเองอย่างสม ่าเสมอเพื่อให้มีความรอบรู้และสร้างสรรค์สิ่งดีงามต่อ ตนเองและสังคม ด าเนินชีวิตด้วยความไม่ประมาท มีสติ ใช้ปัญญา และยึดมั่นอยู่ในศีลธรรมอันดี ให้สมกับการเป็นบัณฑิตที่แท้จริง ดังพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวความว่า การศึกษาคือความมั่นคงของประเทศ การศึกษาต้องสร้างให้คนไทยมี ทัศนคติที่ดีและถูกต้อง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง มีอาชีพมีงานท า และเป็นพลเมืองดีมี ระเบียบวินัย ท้ายนี้ ขอคุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์ทั้งหลาย โปรดดลบันดาลให้บัณฑิต มหาบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ทุกท่าน ประสพความสุข ความเจริญ และประสพความส าเร็จในชีวิตสืบไป


๒ สีฟ้าและสีเหลือง สีประจ า มหาวิทยาลยั ต้นราชพฤกษ์ ต้นไม้ ประจา มหาวิทยาลยั มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น ได้รับการสถาปนาขึ้นในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าสถาปนาพระอิสริยศักดิ์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา เจ้าฟ้าต่างกรมฝ่ายใน เฉลิมพระนามเป็นสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เมื่อ วันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ อันเป็นวาระดิถีที่ทรงเจริญพระชนมายุครบ ๖ รอบ มหาวิทยาลัยได้ ถือก าเนิดขึ้นในวันอันเป็นมงคลนี้ เพื่อเฉลิมพระเกียรติคุณและน้อมร าลึกในพระกรุณาธิคุณที่ทรงมีต่อ การศึกษาของชาติ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์นในสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม หรือชื่อเดิมคือส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้รับการพิจารณาจัดตั้งขึ้นเป็นมหา วิทยาลัยในภูมิภาคแห่งแรกของภาคกลาง เพื่อรองรับการเจริญเติบโตของจังหวัดในบริเวณ ภาคกลาง และสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๘ ในการขยายการศึกษา และส่งเสริมการพัฒนาด้านทรัพยากรมนุษย์ ตัวอักษรภาษาอังกฤษดับเบิ้ลยู(W) แทน ความเป็นหนึ่ง เดียวของมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น ที่มีความพร้อมที่จะผลิต บัณฑิตให้เป็นผู้มีปัญญาและเป็นที่ยอมรับในระดับสากล วงแหวน แทน ความแข็งแกร่งภายในทั้งด้านวิชาการ ด้าน การวิจัย ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม และด้านการท านุ บ ารุงศิลปวัฒนธรรมรองรับการเปลี่ยนแปลง ก่อให้เกิดการ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง สีเหลืองในเครื่องหมาย แทน ความสว่างสดใส อนาคต จินตนาการ และน าไปสู่ความส าเร็จ สีฟ้ าในเครื่องหมาย แทน ผู้มีปัญญา ความรู้ ความศรัทธา ความจริงจังพร้อมด้วยแรงบันดาลใจ ดังนั้นสีในเครื่องหมายจึงมีความหมายที่เป็นสื่อกลางในการ สร้างจิตวิญญาณของผู้บริหารคณาจารย์ บุคลากร และนิสิต ของมหาวิทยาลัยให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อการพัฒนา สู่ความเจริญรุ่งเรืองต่อไปในอนาคต ประวตัิ มหาว ิ ทยาลยัเวสเท ิ รน ์ เครื่องหมายของมหาวิทยาลัย


๓ อัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น (IDWTU : Identity of Western University) มหาวิทยาลัยเวสเทิร์นมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาบุคลากร ระบบ การศึกษา และสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง มุ่งเน้นสู่ความเป็นเลิศทาง คุณภาพการศึกษา สร้างคลังแห่งขุมปัญญาที่จะพัฒนาบุคคลให้เป็น ศึกษิต คือ บัณฑิตที่เป็นปัญญาชน มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล เพื่อน าไปสู่การพัฒนาตน สังคม ประเทศชาติ และมนุษยชาติในที่สุด ด้วยอุดมการณ์แห่งความร่วมมือยิ่งกว่าการแข่งขัน มหาวิทยาลัยเวสเทิร์นมีพันธกิจหลักเช่นเดียวกับสถาบันอุดมศึกษา และมหาวิทยาลัยอื่นในด้านการสอน การผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม และจริยธรรมที่พึงประสงค์ การวิจัย การให้บริการทางวิชาการแก่ สังคม และการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมของชาติแต่มีเอกลักษณ์เฉพาะคือ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์นจะ มุ่งมั่นในการพัฒนาภาวะผู้น า และปลูกจิตส านึกในเรื่องการใฝ่การศึกษาทั้งตามรูปแบบการศึกษาใน สถาบัน และการศึกษาด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต พันธกิจที่ส าคัญคือ การอบรมบ่มนิสัยนิสิต แต่ละคนให้เจริญเติบโตเป็นผู้มีวินัย ซื่อสัตย์ ยึดมั่นในรากฐานการด าเนินชีวิตที่ดีงาม รู้จักตนเอง และ รู้จักผู้อื่น ด าเนินชีวิตอย่างมีคุณค่าและเสียสละรับผิดชอบต่อสังคม มีพลานามัยสมบูรณ์ เคารพกฎหมาย และเป็นศึกษิตที่มีความสามารถ พร้อมที่จะประกอบกรรมดีที่จะช่วยสร้างสังคมและประเทศชาติให้มี ความมั่นคงและเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงสู่อุดมคติที่พึงประสงค์ได้ อัตลักษณ์ (Identity) : คุณสมบัติที่เป็นตัวตนใน ผลผลิตของผู้เรียนตามปรัชญา ปณิธาน เอกลักษณ์ (Uniqueness) หมายถึงความส าเร็จตาม จุดเน้นและจุดเด่นที่สะท้อนให้เห็นเป็นลักษณะที่โดดเด่นของมหาวิทยาลัย คณะวิชา ปณิธาน พนัธกิจ อัตลักษณ์และเอกลักษณ์ Intellectual : เป็นปัญญาชน United Creative : ร่วมมือกันสร้างสรรค์ Development : พัฒนาการดี Wisdom : ชั้นน าทางปัญญา Work Ability : ปฎิบัติงานมีทักษะ Technology : พัฒนาด้วยเทคโนโลยี Talent : มีสมรรถนะพิเศษ Universality : ผลิตบัณฑิตดีสู่ระดับสากล Unity : ร่วมมือ สามัคคี มีความรู้กว้างขวาง


๔ หน้า โอวาท ฯพณฯ พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ ๑ ประวัติมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น ปณิธาน พันธกิจ อัตลักษณ์และเอกลักษณ์ ๒ ก าหนดการ ๕ คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น ๗ สารจากนายกสภา ๘ สารจากอธิการบดี ๙ ค ารายงานของนายกสภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น ๑๐ รายชื่อดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ๑๒ ค าประกาศเกียรติคุณของผู้ได้รับดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ๑๔ ศิษย์เก่าดีเด่น ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖๖ ๒๕ รายชื่อผู้ส าเร็จการศึกษา ระดับปริญญาเอก ๒๙ - หลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต ๓๐ - บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต ๓๐ - หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน) ๓๐ - หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (บริหารการศึกษา) ๓๑ - หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) ๓๑ - หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) ๓๑ - หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) ๓๑ รายชื่อผู้ส าเร็จการศึกษา ระดับปริญญาโท ๓๒ - หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต ๓๓ - หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ๓๓ - หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ๓๔ - หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ๓๖ - หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ๓๗ รายชื่อผู้ส าเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรี ๓๙ - หลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต ๔๐ - หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ๔๑ - หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต ๔๒ - หลักสูตรบัญชีบัณฑิต ๔๗ - หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ๔๘ - หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ๕๑ - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคนิคการแพทย์) ๕๒ - หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมส ารวจ) ๕๓ - หลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต ๕๓ - หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ๕๓ - ค าสั่งมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น ที่ ๑๒/๒๕๖๗ เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการจัดเตรียมพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้ส าเร็จ การศึกษา ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖๕-๒๕๖๖ ๕๖ - ค าปฏิญาณของบัณฑิตผู้ที่ได้รับประสาทปริญญาบัตร ๗๙ สารบัญ


๕ ก าหนดการ พิธีประสาทปริญญาบตัรแก่ผ้สูา เรจ็การศึกษาประจา ปีการศึกษา ๒๕๖๕ – ๒๕๖๖ โดย ฯพณฯ พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี ณ อาคารหอประชุมกองทัพอากาศ แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร วันพุธที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ เวลา ๐๖.๐๐ น. • ดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต บัณฑิต รายงานตัว ตรวจเครื่องแต่งกายและตั้งแถวเข้าหอประชุม เวลา ๐๗.๓๐ น. •บัณฑิตเดินแถว และรายงานตัวเข้าห้องประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน เวลา ๐๘.๐๐ น. •ดุษฎีบัณฑิด มหาบัณฑิต บัณฑิต ทุกคนพร้อมกันในห้องประชุม •ซักซ้อมพิธีการ เวลา ๐๙.๔๕ น. •ฯพณฯ พลเอกดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี ประธานฯ เดินทางถึงอาคารหอประชุมกองทัพอากาศ • นายกสภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น อธิการบดี และคณาจารย์มหาวิทยาลัยเวสเทิร์นให้การต้อนรับประธานฯ •ประธานฯ ไปยังห้องรับรอง และสวมครุยวิทยฐานะ •ออกจากห้องรับรอง •ประธานถ่ายรูปร่วมกับคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์คณะผู้บริหาร และศิษย์เก่าดีเด่นมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น (จ านวน ๔ ชุด) เวลา ๑๐.๑๕ น. •ประธานฯ เข้าห้องประชุมและจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย •นั่งเก้าอี้ที่จัดไว้ •พลตรีหญิงพันธ์ทิพย์ คติภักดีธรรม กรรมการสภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มอบสูจิบัตรให้ประธาน •นายประภากร สมิติ นายกสภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น รายงานกิจการของมหาวิทยาลัย •อธิการบดี เบิกพระภิกษุที่ส าเร็จการศึกษา เข้ารับปริญญาบัตร •ประธานฯ มอบปริญญาบัตรแก่พระภิกษุที่ส าเร็จการศึกษาตามล าดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) •นั่งเก้าอี้ ณ ที่เดิม •อธิการบดี เบิกผู้ทรงคุณวุฒิเข้ารับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (จ านวน ๑๐ ราย) •ประธานฯ มอบปริญญาบัตรแก่ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ตามล าดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) • อธิการบดี เบิกศิษย์เก่าดีเด่นเข้ารับเกียรติบัตร (จ านวน ๑๖ ราย) • ประธานฯ มอบเกียรติบัตรแก่ศิษย์เก่าดีเด่น


๖ • ผู้แทนคณบดี เบิกผู้ส าเร็จการศึกษาเข้ารับปริญญาบัตร (จ านวน ๑,๒๑๓ ราย) •ประธานฯ มอบปริญญาบัตรแก่ผู้ส าเร็จการศึกษาตามล าดับ (ขณะนี้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา) •ผู้ได้รับปริญญาบัตร กล่าวค าปฏิญาณ •ประธานฯ ให้โอวาท •กราบพระรัตนตรัย และออกจากห้องประชุมไปยังห้องรับรอง เพื่อถอดครุยวิทยฐานะ •ทุกท่านออกจากห้องประชุม •ประธานฯ เดินทางกลับ •เสร็จพิธี


๗ กรรมการสภามหาว ิ ทยาลย ั เวสเท ิ รน ์ ๑. ดร.ประภากร สมิติ นายกสภามหาวิทยาลัย ๒. รองศาสตราจารย์พรชัย เทพปัญญา อุปนายกสภามหาวิทยาลัย ๓. ศาสตราจารย์(กิตติคุณ) ทันตแพทย์วินัย ศิริจิตร กรรมการสภามหาวิทยาลัย ๔. ศาสตราจารย์ดร.อุดม ทุมโฆสิต กรรมการสภามหาวิทยาลัย ๕. ศาสตราจารย์จรัญ โฆษณานันท์ กรรมการสภามหาวิทยาลัย ๖. รองศาสตราจารย์ดวงสุดา เตโชติรส กรรมการสภามหาวิทยาลัย ๗. รองศาสตราจารย์ดร.พรเพ็ญ เพชรสุขศิริ กรรมการสภามหาวิทยาลัย ๘. รองศาสตราจารย์จรินทร์ เทศวานิช กรรมการสภามหาวิทยาลัย ๙ รองศาสตราจารย์ดร.เอกพร รักความสุข กรรมการสภามหาวิทยาลัย ๑๐. รองศาสตราจารย์ดร.จิรศักดิ์ จิยะจันทน์ กรรมการสภามหาวิทยาลัย ๑๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.กุสุมา ผลาพรม กรรมการสภามหาวิทยาลัย ๑๒. พลตรีหญิงพันธ์ทิพย์ คติภักดีธรรม กรรมการสภามหาวิทยาลัย ๑๓. ดร.จรูญ อินทจาร กรรมการสภามหาวิทยาลัย ๑๔. ดร.แสงศรี จิยะจันทน์ กรรมการสภามหาวิทยาลัย ๑๕. ดร.จุรีวรรณ มณีแสง กรรมการสภามหาวิทยาลัย ๑๖. ดร.นายแพทย์ พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ กรรมการสภามหาวิทยาลัย ๑๗. ดร.เจตต์ชัญญา บุญเฉลียว กรรมการสภามหาวิทยาลัย ๑๘. นางสาวนุจรินทร์ ลภัณฑกุล เลขานุการสภามหาวิทยาลัย


๘ ในนามของสภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น ขอแสดงความชื่นชมยินดีกับบัณฑิต มหาบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทุกท่านที่ได้เข้ารับปริญญาบัตรใน ปีการศึกษา ๒๕๖๕-๒๕๖๖ การส าเร็จการศึกษาในครั้งนี้ ได้แสดงให้เห็นถึงความวิริยะอุตสาหะของท่านที่ ควรค่าแก่การภาคภูมิใจ นับเป็นเกียรติอันสูงสุดแก่ครอบครัวและวงศ์ตระกูล หวังเป็น อย่างยิ่งว่าองค์ความรู้และทักษะวิชาชีพที่ท่านได้รับจากสถาบันแห่งนี้ จะได้น าพาให้ท่าน ด าเนินชีวิตด้วยสติปัญญาควบคู่กับการมีคุณธรรมจริยธรรม และเป็นทรัพยากรบุคคลที่มี คุณค่า ให้สมกับที่ได้ชื่อว่าเป็น “บัณฑิต ซึ่งหมายถึงผู้มีปัญญา” อันก่อให้เกิดคุณประโยชน์ต่อ ตนเอง ครอบครัว หน่วยงานที่สังกัด ชุมชน สังคม และประเทศชาติสืบไป ในโอกาสนี้ ขออ านวยพรให้บัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิตใหม่ทุกท่านมี ก าลังกาย ก าลังใจ และก าลังสติปัญญาในการประกอบคุณงามความดี ที่จะส่งผลให้ประสพ แต่ความสุขความเจริญ มีสุขภาพแข็งแรง มีจิตใจแจ่มใส และประสพผลส าเร็จในการด าเนินชีวิต ครอบครัว และประกอบกิจการงาน สัมฤทธิ์ผลในสิ่งที่ดีงามตามที่ท่านปรารถนาตลอดไป ดร.ประภากร สมิติ นายกสภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น สารจากนายกสภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น


๙ ขอแสดงความยินดีกับดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต และบัณฑิตทุกท่านที่ได้ทุ่มเททั้ง ก าลังกาย ก าลังใจ ก าลังสติปัญญา และเวลาในการศึกษาหาความรู้ และประสบการณ์จนส าเร็จ การศึกษาและได้เข้าปริญญาบัตรในครั้งนี้ การส าเร็จการศึกษาถือเป็นจุดเริ่มต้นของการด าเนินชีวิตต่อไปในอนาคต เป็นรางวัล แห่งความขยันหมั่นเพียร อดทน และเป็นทรัพย์สมบัติอันล ้าค่าที่จะน ามาซึ่งความสุข ความ เจริญ ความภาคภูมิใจให้แก่ตนเองและครอบครัว มหาวิทยาลัยเวสเทิร์นหวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะได้เห็นบัณฑิตที่ได้รับการหล่อหลอมให้มีศักยภาพรอบด้านจากมหาวิทยาลัยในการพัฒนา ตนเองในทุกๆด้านอย่างสม ่าเสมอ และตระหนักรู้ในหน้าที่และความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ ด้วยการน าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจาก มหาวิทยาลัยเวสเทิร์นแห่งนี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการด าเนินชีวิตของตนเอง อันเป็น คุณประโยชน์ต่อประเทศชาติและในโอกาสอันเป็นมงคลนี้ ขออ านวยพรให้ดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต และบัณฑิตใหม่ทุกท่าน ประสพแต่ความสุข ความเจริญ และความส าเร็จในชีวิต และหน้าที่การงานทุกประการ รวมทั้งคงไว้ซึ่งศึกษิตแห่งความเป็นบัณฑิตของมหาวิทยาลัย เวสเทิร์น รองศาสตราจารย์ ดร.จิรศักดิ์ จิยะจันทน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น สารจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น


๑๐ ค ารายงานของนายกสภามหาวิทยาลยัเวสเทิรน์ ดร.ประภากร สมิติ ในพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้ส าเร็จการศึกษา ประจ าาปีการศึกษา ๒๕๖๕ - ๒๕๖๖ ณ หอประชุมกองทัพอากาศ แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร วันพุธที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ กระผม ดร.ประภากร สมิติ นายกสภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น ขอรายงานความเป็นมา และกิจการของมหาวิทยาลัย พอสังเขปดังนี้ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่จัดตั้งขึ้น เพื่อรองรับการ เจริญเติบโตของภูมิภาค และเป็นการกระจายโอกาสทางการศึกษาสู่ภูมิภาคของประเทศ โดย ได้เปิดด าเนินการเรียนการสอนเมื่อปีการศึกษา ๒๕๔๑ จนถึงปัจจุบัน นับเป็นเวลา ๒๖ ปี ได้ ผลิตบัณฑิตออกไปรับใช้สังคมทั้งในประเทศและต่างประเทศมากกว่า ๑๕,๐๐๐ คน โดยมี ปณิธานที่ร่วมมือกันสร้างสรรค์ มุ่งมั่นในการพัฒนาบุคลากรให้เป็นผู้น าทางปัญญา พัฒนาระบบ การศึกษาด้วยเทคโนโลยี และพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ เพื่อผลิตบัณฑิตดีสู่ระดับสากล เป็นปัญญาชน เป็นนักคิด นักสื่อสาร นักประสานงาน และ นักสร้างนวัตกรรม ซึ่งถือเป็น Soft Skill ในศตวรรษที่ ๒๑ มีการพัฒนาตนดี ปฏิบัติงานอย่างมี ทักษะ มีสมรรถนะพิเศษ รู้รักสามัคคี และสามารถท างานเป็นทีมได้ มีทักษะสูงในการประกอบ อาชีพ ด้วยความมีคุณธรรม จริยธรรม ประพฤติตนในกรอบจรรยาบรรณวิชาชีพ เป็นพลเมืองดี ของประเทศและประชาคมโลก มีศักยภาพในการสร้างความเจริญให้แก่ประเทศชาติต่อไป มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น ได้เปิดด าเนินการสอน ๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตกาญจนบุรี วิทยาเขตวัชรพล และวิทยาเขตบุรีรัมย์ ในกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ และกลุ่ม สาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดย มีการเรียนการสอนในระบบปกติ และระบบทางไกล รวมทั้งสิ้น ๓๙ หลักสูตร ๑๑ คณะวิชา ได้แก่ คณะพยาบาลศาสตร์ ๓ คณะ คือ คณะพยาบาลศาสตร์ กาญจนบุรีวัชรพล และบุรีรัมย์ และอีก ๘ คณะ ได้แก่ บัณฑิตวิทยาลัย คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ คณะ แพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและรัฐประศาสนศาสตร์ คณะนิติศาสตร์และ หมวดวิชาศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ที่ให้การสนับสนุนด้านการเรียนการสอน ด้านการวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรมนั้น มหาวิทยาลัยได้ให้การสนับสนุนและส่งเสริมให้อาจารย์ท าวิจัยควบคู่ไปกับการให้การบริการ วิชาการแก่สังคม เพื่อน ามาบูรณาการกับการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น มหาวิทยาลัยได้ให้ความส าคัญต่อการพัฒนาบุคลากร โดยจัดสรรทุนการศึกษาให้แก่อาจารย์ได้


๑๑ ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก จัดให้มีการประชุมวิชาการระดับชาติเพื่อเผยแพร่ ผลงานวิจัย รวมทั้งให้การสนับสนุนอาจารย์ในการแสวงหาความรู้เพิ่มเติม ทั้งด้านวิชาการและ วิชาชีพ ศึกษาดูงานในสถาบันของภาครัฐและภาคเอกชน นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยได้จัด กิจกรรมอนุรักษ์สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย จัดกิจกรรมพัฒนา นิสิตในด้านต่างๆ เพื่อสร้างเสริมให้นิสิตมีอัตลักษณ์ตามที่มหาวิทยาลัยได้ตั้งปณิธานไว้ รวมทั้ง ให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานอุดมศึกษา มีการท าความร่วมมือกับหน่วยงาน ภายนอก เพื่อช่วยส่งเสริมให้บัณฑิตมีอาชีพที่เป็นที่ต้องการของสังคม ได้มีการเชิญวิทยากร ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้มีคุณธรรมในสังคมมาเป็นผู้ให้ความรู้ ชี้แนะแนวทางที่ถูกต้องและสิ่งดีงาม แก่นิสิตอยู่เป็นประจ า ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มีนิสิตที่ก าลังศึกษารวมจ านวน ๗,๓๖๙ คน แบ่งเป็น ระดับปริญญาเอก ๓๒๓ คน ระดับปริญญาโท ๑,๒๖๕ คน ระดับปริญญาตรี ๕,๓๗๓ คน และ ระดับประกาศนียบัตร ๔๐๘ คน มีบุคลากรประจ าประกอบด้วยคณาจารย์และเจ้าหน้าที่รวม ๖๗๕ คน มีผู้ส าเร็จการศึกษาที่จะเข้ารับปริญญาบัตรครั้งนี้ เป็นผู้ส าเร็จการศึกษาจาก ปีการศึกษา ๒๕๖๕ - ๒๕๖๖ รวมทั้งสิ้น ๑,๒๑๓ คน แบ่งเป็นระดับปริญญาตรี ๘๑๐ คน ระดับ ปริญญาโท ๓๐๙ คน และระดับปริญญาเอก ๙๔ คน ล าดับต่อไป ขออนุญาตให้ รองศาสตราจารย์ ดร.จิรศักดิ์ จิยะจันทน์ อธิการบดี เบิกตัวผู้ทรงคุณวุฒิที่สภามหาวิทยาลัยมีมติเอกฉันท์มอบปริญญากิตติมศักดิ์ ศิษย์เก่าดีเด่น และบัณฑิตที่ส าเร็จการศึกษา เข้ารับปริญญาบัตร


๑๒ รายชื่อดษุ ฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ ประจ าปี การศึกษา ๒๕๖๕ – ๒๕๖๖ -- ------------------------ นายสมศกัด์ิเทพสุทิน ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชารฐัประศาสนศาสตร์ --------------------- นายชาดา ไทยเศรษฐ์ ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชารฐัประศาสนศาสตร์ ---------------------นายสุทธิพงษ์จุลเจริญ ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชารฐัประศาสนศาสตร์ ------------------- นายแพทยโ์อภาส การยก์วินพงศ์ ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชาแพทยศาสตร์ ----------------------รองศาสตราจารย์นายแพทยอ์นันต์มโนมยัพิบูลย์ ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ๑ ๒ ๓ ๔ ๕


๑๓ รายชื่อดษุ ฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ ประจ าปี การศึกษา ๒๕๖๕ – ๒๕๖๖ ------------------------ นางอรวรรณ อุทัยเสน ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -------------------------- นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชาบริหารธุรกิจ -------------------------นายเกียรติสกลุเกจ็มะยูร ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชาบริหารธุรกิจ ----------------------------- นายยุรนันท์ ภมรมนตรี ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชาบริหารธุรกิจ ---------------------นายฉาย บุนนาค ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชาบริหารธุรกิจ ---------------------------นายฉัตรชยันิติภกัด์ิ ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชานิติศาสตร์ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑


๑๔ ๑๔ คา ประกาศเกียรติคุณ นายสมศกัด์ิเทพสุทิน ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชารฐัประศาสนศาสตร์ นายสมศักดิ์ เทพสุทิน รองนายกรัฐมนตรี เกิดเมื่อวันที่ ๑๓ มกราคม ๒๔๙๘ ที่จังหวัดสุโขทัย เป็น ผู้มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์รอบด้านในการบริหารงานภาครัฐและเอกชน ปฏิบัติภารกิจด้วยการ ค านึงถึงความยุติธรรมและประโยชน์ของประชาชน สังคม และประเทศชาติเป็นส าคัญ นายสมศักดิ์ เทพสุทิน ได้ ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง ระดับปริญญาโท สาขาวิชาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายสมศักดิ์ เทพสุทิน เมื่อส าเร็จการศึกษาได้เริ่มท างานในธุรกิจของครอบครัวในจังหวัดสุโขทัย ต่อมาได้เริ่มเข้าสู่เส้นทางการเมือง โดยในปี พ.ศ.๒๕๒๔ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกผู้แทนราษฎรจังหวัด สุโขทัย และในปี พ.ศ.๒๕๓๕ ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเป็นครั้งแรก ต่อมาได้รับ การแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอีกหลายกระทรวง เช่น เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวง คมนาคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีว่าการท่องเที่ยว และกีฬา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นต้น จนในปี พ.ศ.๒๕๖๖ ท่าน ได้รับการแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งรองนายกรัฐมนตรีที่ก ากับดูแลกระทรวงสาธารณสุข ตลอดระยะเวลาของการ ท างานที่ผ่านมา นายสมศักดิ์ เทพสุทิน ได้ใช้ความรู้ความสามารถในการช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้น อาทิเช่น จัดตั้งบริษัทส่งเสริมธุรกิจเกษตรกรไทยจ ากัด เพื่อแจกโคให้แก่เกษตรกร ภายใต้โครงการ โคล้านตัว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยพลิกชีวิตของเกษตรกรให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ผลักดันนโยบายและ ทิศทางของกระทรวงยุติธรรมให้เกิดความเป็นธรรมต่อประชาชนและผู้ได้รับผลกระทบจากอาชญกรรมได้อย่าง เท่าเทียม ลดจ านวนผู้ต้องขัง ด้วยการใช้เทคโนโลยีในการควบคุมความประพฤติของผู้ต้องขังแทนการคุมขัง เพื่อ ลดความแออัดในทัณฑสถาน เป็นต้น ด้วยเกียรติคุณและผลงานดังกล่าวข้างต้นเป็นที่ประจักษ์ว่า นายสมศักดิ์เทพสุทิน เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถในด้านการบริหารงานภาครัฐ อีกทั้งยังเป็นผู้มีความมุ่งมั่น ทุ่มเท และอุทิศตนเพื่อประโยชน์ของ สังคม และประเทศชาติมาอย่างต่อเนื่องจวบจนปัจจุบัน สภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น จึงมีมติให้ นายสมศักดิ์ เทพสุทิน เป็นผู้สมควรได้รับปริญญาปรัชญา ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ เพื่อเป็นการประกาศเกียรติคุณสืบไป


๑๕ ๑๕ คา ประกาศเกียรติคุณ นายชาดา ไทยเศรษฐ์ ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชารฐัประศาสนศาสตร์ นายชาดา ไทยเศรษฐ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เกิดวันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๐๔ ใน ครอบครัวมุสลิมที่ท าธุรกิจส่งออกเนื้อสัตว์ไปต่างประเทศ เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการบริหารงานภาครัฐ มีภาวะผู้น า ยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรม อีกทั้งท่านยังเป็นผู้ท าคุณประโยชน์ต่อประเทศชาติอย่างอเนกอนันต์ นายชาดา ไทยเศรษฐ์ ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท สาขาวิชารัฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยรามค าแหง นอกจากนี้ยังได้ส าเร็จการศึกษาในหลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการบริหารงาน ภาครัฐและกฎหมายมหาชน จากสถาบันพระปกเกล้า และหลักสูตรประกาศนียบัตรนักบริหารยุทธศาสตร์การ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตระดับสูง สถาบันการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ สัญญา ธรรมศักดิ์ อีกด้วย นายชาดา ไทยเศรษฐ์ ได้เริ่มเข้าสู่เส้นทางการเมืองระดับท้องถิ่น โดยในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้รับการ เลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลจังหวัดอุทัยธานี และในปี พ.ศ.๒๕๓๘ ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกเทศมนตรี เมืองอุทัยธานีต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๔๓ ได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกพรรคถิ่นไทย จนในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ได้รับการ เลือกตั้งเป็นสมาชิกผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานีในนามพรรคชาติไทย และในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ในนาม พรรคชาติไทยพัฒนา ระหว่างด ารงต าแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นายชาดา ไทยเศรษฐ์ได้ด ารงต าแหน่ง ประธานกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์สภาผู้แทนราษฎร และกรรมาธิการงบประมาณ จนในปี พ.ศ.๒๕๖๑ ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกพรรคภูมิใจไทย และได้รับการแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งรองหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานี พร้อมทั้งได้รับการแต่งตั้งให้ด ารง ต าแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย โดยมีหน้าที่คัดกรองบุคคลที่จะได้รับการแต่งตั้งให้ด ารง ต าแหน่งในส่วนท้องถิ่น การปราบปรามผู้มีอิทธิพล นอกจากนี้นายชาดา ไทยเศรษฐยังได้ท าหน้าที่เป็นอุปนายก สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทยที่มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมความร่วมมือและความสัมพันธ์อันดี ระหว่างหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะในระดับท้องถิ่นอีกด้วย ด้วยเกียรติคุณและผลงานดังกล่าวข้างต้นเป็นที่ประจักษ์ว่า นายชาดา ไทยเศรษฐ์ เป็นผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในการบริหารงานภาครัฐ มีภาวะผู้น า ยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรม อีกทั้งยังเป็นผู้มีความมุ่งมั่น ทุ่มเท และอุทิศตนเพื่อประโยชน์ของสังคมและประเทศชาติมาอย่างต่อเนื่องจวบจนปัจจุบัน สภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น จึงมีมติให้ นายชาดา ไทยเศรษฐ์ เป็นผู้สมควรได้รับปริญญาปรัชญาดุษฎี บัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ เพื่อเป็นการประกาศเกียรติคุณสืบไป


๑๖ ๑๖ คา ประกาศเกียรติคุณ นายสุทธิพงษ์จุลเจริญ ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชารฐัประศาสนศาสตร์ นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นข้าราชการที่ปฏิบัติงานโดยค านึงถึงประโยชน์ ของประชาชนเป็นส าคัญ โดยน าหลักเกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคกหนองนา” ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว และแนวพระราชด าริเรื่องความมั่นคงทางอาหารของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการผลิตผ้าไทยของชาวบ้านโดยเฉพาะผ้าลายขอของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้า สิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญาเพื่อการจัดจ าหน่ายอย่างกว้างขวาง นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท สาขาวิชารัฐศาสตร์ จากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ เริ่มเข้ารับราชการครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๑ ในต าแหน่งปลัดอ าเภอ วังเหนือ จังหวัดล าปาง จากนั้นได้รับการพิจารณาและเลื่อนต าแหน่งสูงขึ้นเรื่อยมา จนกระทั่งได้เลื่อนต าแหน่ง เป็นรองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาครและรองผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก ในปี พ.ศ.๒๕๕๓ ได้ด ารงต าแหน่ง ผู้ว่าราชการจังหวัดสระบุรี ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย และผู้ว่าราชการจังหวัดชัยนาท ในปี พ.ศ.๒๕๕๘ ได้ด ารงต าแหน่งรองปลัดกระทรวงมหาดไทย และอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครอง จากนั้น ในปี พ.ศ.๒๕๖๐ ได้ ด ารงต าแหน่งอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน และในปี พ.ศ.๒๕๖๒ ได้ด ารงต าแหน่งปลัดกระทรวงมหาดไทย นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ เป็นผู้ที่มีผลงานโดดเด่นในการบริหารจัดการงาน โดยเน้นให้ข้าราชการในหน่วยงานมี ส่วนร่วมในการด าเนินงานจนได้รับรางวัลเลิศรัฐ ปี พ.ศ.๒๕๖๔ ถึง ๖ สาขา อาทิเช่น สาขาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ สาขาบริการภาครัฐ สาขาบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม เป็นต้น ด้วยเกียรติคุณและผลงานดังกล่าวข้างต้นเป็นที่ประจักษ์ได้ว่า นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ เป็นผู้มี ความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ทางด้านการบริหารองค์กรภาครัฐ อีกทั้งยังเป็นข้าราชการกระทรวง มหาดไทยที่ปฏิบัติงานด้วยความส านึกในหน้าที่ และค านึงถึงความเดือดร้อนของประชาชนเป็นส าคัญ มีความ วิริยะ อุตสาหะ เสียสละ ทุ่มเท อุทิศตน และเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม อันก่อให้ประโยชน์สังคมและประเทศชาติ โดยรวมอย่างต่อเนื่องจวบจนปัจจุบัน สภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น จึงมีมติให้ นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ เป็นผู้สมควรได้รับปริญญาปรัชญา ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ เพื่อเป็นการประกาศเกียรติคุณสืบไป


๑๗ ๑๗ คา ประกาศเกียรติคุณ นายแพทยโ์อภาส การยก์วินพงศ์ ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชาแพทยศาสตร์ นายแพทย์โอภาส การย์กวินพงศ์ เกิดเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๐๗ จบการศึกษาปริญญาแพทยศาสตร บัณฑิตมหาวิทยาลัยมหิดล มีความช านาญพิเศษในสาขาวิชาเวชศาสตร์ป้องกันด้านระบาดวิทยา ผ่านการอบรม หลักสูตรนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ ๖๓ ส านักงานคณะกรรมข้าราชการพลเรือน และการอบรมหลักสูตร Public Health Emergency Response Management US - CDC สหรัฐอเมริกา รวมถึงการอบรมหลักสูตรวิทยาลัย ป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๖๐ ได้รับการยกย่องชูเกียรติวุฒิบัตรแสดงความรู้ความช านาญในการประกอบ วิชาชีพเวชกรรม สาขาอายุรศาสตร์จากแพทยสภา อนุมัติบัตรแสดงความรู้ความช านาญในการประกอบวิชาชีพ เวชกรรม สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงระบาดวิทยา แขนงเวชศาสตร์การเดินทางและการท่องเที่ยวจาก แพทยสภา นายแพทย์โอกาส การย์กวินพงศ์ ได้เข้ารับราชการหลังส าเร็จการศึกษา โดยได้ด ารงต าแหน่งเป็น ผู้อ านวยการโรงพยาบาลหลายแห่ง รับผิดชอบภารกิจการควบคุมโรคติดต่อมายาวนานกว่า ๑๐ ปี เป็นผู้ร่วม ก าหนดนโยบาย เป้าหมาย และมาตรการจัดการกับโรคติดต่อ ทั้งโรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคติดต่อทางเดินอาหาร และจากน ้า โรคติดต่อป้องกันด้วยวัคซีน และสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนการด าเนินงานในพื้นที่เพื่อแก้ปัญหา สาธารณสุข เป็นผู้บุกเบิกและสนับสนุนการพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข ภายในกรมควบคุมโรคอย่างจริงจัง ในเดือนตุลาคม ๒๕๖๓ นายแพทย์โอภาสได้รับการแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่ง อธิบดีกรมควบคุมโรค ระหว่างที่มีวิกฤติการระบาดของโควิด ๑๙ ทั่วโลก ตั้งแต่เดือนมกราคม ๒๕๖๓ ถึงเดือนธันวาคม ๒๕๖๕ ตลอดระยะเวลา ๓ ปีเศษ นายแพทย์โอภาสเป็นผู้บริหารสาธารณสุขที่มีบทบาทอย่างสูงตั้งแต่เริ่มต้น ทั้ง ในฐานะขุนพลเอกและเสนาธิการของกระทรวงสาธารณสุขที่ยืดหยัดสู้กับโควิดอย่างมุ่งมั่นและทุ่มเทเสียสละ ซึ่ง ท่านได้น าก าลังของกรมควบคุมโรคร่วมปฏิบัติการกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกกระทรวง สาธารณสุข อาทิ EOC กระทรวงสาธารณสุข และศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (ศบค.) อีกทั้งวางแผนการด าเนินงานอย่างมีกลยุทธ์ เป็นผู้บริหารที่ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีการตัดสินใจที่ยอดเยี่ยมในการจัดการกับสถานการณ์ ด้วยวิสัยทัศน์และสายตาที่แหลมคม ส่งผลให้ประเทศ ไทยมีความครอบคลุมของวัคซีนมากกว่าร้อยละ ๘๒ และเป็นการช่วยให้ผู้คนในประเทศไทยรอดพันจากการป่วย เสียชีวิตจากโควิด ๑๙ เป็นจ านวนกว่า ๕ แสนรายซึ่งเป็นการป้องกันการป่วยเข้าโรงพยาบาลได้อีกจ านวนมาก ต่อมาได้รับการแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งปลัดกระทรวงสาธารณสุขในวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๕ ด้วยเกียรติคุณและผลงานดังกล่าวข้างต้นเป็นที่ประจักษ์ว่า นายแพทย์โอภาส การย์กวินพงศ์ เป็น แพทย์เวชศาสตร์ป้องกันด้านระบาดวิทยาที่มีความรอบรู้และเชี่ยวชาญทั้งด้านการแพทย์และการสาธารณสุข เป็นนักบริหารการสาธารณสุขทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤติ และเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการบริหารจัดการ โรคติดต่อต่างๆ ในประเทศไทยเป็นอย่างดีอีกทั้งยังเป็นผู้มีความมุ่งมั่น ทุ่มเท เสียสละ และอุทิศตนเพื่อ ประโยชน์ของสังคมและประเทศชาติมาอย่างต่อเนื่องจวบจนปัจจุบัน สภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น จึงมีมติให้ นายแพทย์โอกาส การย์กวินพงศ์ เป็นผู้สมควรได้รับปริญญา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาวิชาแพทยศาสตร์ เพื่อเป็นการประกาศเกียรติคุณสืบไป


๑๘ ๑๘ คา ประกาศเกียรติคุณ รองศาสตราจารย์นายแพทยอ์นันต์มโนมยัพิบูลย์ ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชาการบริหารการศึกษา รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อนันต์ มโนมัยพิบูลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช นายแพทย์ผู้ที่มีความรู้ความสามารถและเชี่ยวชาญในการบริหารการศึกษาเพื่อสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ ให้ความส าคัญกับการให้ความรู้แก่ผู้บริหารหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในการเป็นผู้น า ด้วยศาสตร์เขตเมือง ตามวิสัยทัศน์และเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อนันต์ มโนมัยพิบูลย์ ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาแพทยศาสตร์จากมหาวิทยาลัยมหิดล ระดับปริญญาโท สาขาวิชาการ พัฒนาสุขภาพจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวุฒิบัตรด้านศัลยแพทย์จากแพทยสภา รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อนันต์ มโนมัยพิบูลย์ เริ่มปฏิบัติงานเป็นนายแพทย์ที่โรงพยาบาล ศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๓๕ ได้ย้ายมาปฏิบัติเป็นอาจารย์แพทย์ กลุ่มศัลยแพทย์ที่ โรงพยาบาลวชิรพยาบาล ส านักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร และในปี พ.ศ.๒๕๔๑ได้รับการแต่งตั้งเป็นอาจารย์ แพทย์ของวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล จนในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ เมื่อมหาวิทยาลัย นวมินทราธิราชได้จัดตั้งขึ้น รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อนันต์มโนมัยพิบูลย์ จึงได้รับการแต่งตั้งให้ด ารง ต าแหน่งอธิการบดีจนถึงปัจจุบัน ตลอดระยะเวลาของการด ารงต าแหน่งอธิการบดี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ อนันต์ มโนมัยพิบูลย์ ได้พัฒนามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชเพื่อให้เป็นมหาวิทยาลัยที่ตอบสนองต่อความ ต้องการของชุมชนเมืองมาอย่างต่อเนื่อง มีการจัดการศึกษาทั้งหลักสูตรระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับ วุฒิบัตรของแพทยสภา และระดับประกาศนียบัตร อาทิเช่น หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการพัฒนาผู้น าเมือง หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการพัฒนาผู้น ามหานคร เป็นต้น เพื่อสร้างทรัพยากรมนุษย์อันเป็นทรัพยากรที่ ส าคัญของประเทศอย่างมีคุณภาพ และสร้างเครือข่ายที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม นอกจากนี้ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อนันต์ มโนมัยพิบูลย์ยังได้ให้การสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาอื่นมีการผลิตบุคลากรทางการแพทย์ และวิทยาศาสตร์สุขภาพให้แก่ประเทศอีกด้วย ด้วยเกียรติคุณและผลงานดังกล่าวข้างต้นเป็นที่ประจักษ์ว่า รองศาสตราจารย์นายแพทย์อนันต์ มโนมัยพิบูลย์ เป็นผู้บริหารที่มีความรู้ความสามารถและเชี่ยวชาญในการบริหารการศึกษา เพื่อสร้างทรัพยากร มนุษย์ที่มีคุณภาพ อีกทั้งยังเป็นผู้มีความมุ่งมั่น วิริยะ อุตสาหะ เสียสละ ทุ่มเท มีคุณธรรม จริยธรรม อุทิศตนโดย ค านึงถึงประโยชน์ของสังคมและประเทศชาติโดยรวมเป็นส าคัญอย่างต่อเนื่องจวบจนปัจจุบัน สภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น จึงมีมติให้ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อนันต์มโนมัยพิบูลย์ เป็น ผู้สมควรได้รับปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เพื่อเป็นการประกาศ เกียรติคุณสืบไป


๑๙ ๑๙ คา ประกาศเกียรติคุณ นางอรวรรณ อุทัยเสน ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ นางอรวรรณ อุทัยเสน อดีตคณบดีสถาบันการศึกษาพยาบาลหลายสถาบัน พยาบาลผู้เสียสละ ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ จนได้รับเหรียญ ฟลอเรนซ์ไนติงเกล ซึ่งเป็นรางวัลเกียรติยศที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ นางอรวรรณ อุทัยเสนส าเร็จ การศึกษาระดับประกาศนียบัตรการพยาบาลและการผดุงครรภ์ วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย ระดับ ปริญญาตรี สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ จาก Columbia Union College และระดับปริญญาโท สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ ด้วยทุนขององค์การอนามัยโลก จาก Indiana University ประเทศสหรัฐอเมริกา นางอรวรรณ อุทัยเสน ได้ปฏิบัติงานเป็นพยาบาลประจ าการหลังส าเร็จการศึกษา ณ St. Alfege’s Hospital St. Helier Hospital และ St. Ann’s Hospital ประเทศอังกฤษ ต่อมาในปี๒๕๐๐ ได้ปฏิบัติหน้าที่เป็น หัวหน้าพยาบาล ณ Washington Sanitorium Hospital รัฐแมรี่แลนด์ ประเทศสหรัฐอเมริกา และ Glendale Sanitorium Hospital รัฐแคลิฟอเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี๒๕๐๔ ได้กลับมาประเทศไทยและได้เข้ารับ ราชการเป็นอาจารย์ประจ าวิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย ในปี ๒๕๒๕ได้เกิดสงครามภายในประเทศกัมพูชา และประเทศเวียดนาม ประเทศไทยจึงได้จัดตั้งศูนย์อพยพผู้ลี้ภัยสงครามในแถบจังหวัดชายแดน ตั้งแต่จังหวัด อุบลราชธานี จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด เพื่อให้ความช่วยเหลือด้าน มนุษยธรรมแก่ผู้ลี้ภัย จึงได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นหัวหน้าพยาบาลสนามสภากาชาดไทย ท าหน้าที่ ประสานงานและปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้อพยพชาวกัมพูชาและเวียดนามในศูนย์อพยพ ในปี๒๕๒๘ ได้รับการ แต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งผู้อ านวยการวิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย เมื่อเกษียณอายุราชการ ในปี ๒๕๓๔ ได้รับการแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต และภายหลังได้รับการแต่งตั้ง ให้ด ารงต าแหน่งคณบดีสถาบันการศึกษาพยาบาลอีกหลายแห่ง ตลอดระยะเวลาการท างานของนางอรวรรณ อุทัยเสนยังได้ช่วยพัฒนาวิชาชีพการพยาบาล ด้วยการเป็นกรรมการสภาการพยาบาล ประธานอนุกรรมการ ร่างข้อบังคับและระเบียบฯของสภาการพยาบาล กรรมการพิจารณาการขอเปิดด าเนินการหลักสูตรและการ รับรองมาตรฐานการศึกษาสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน กรรมการชุดอื่น ๆของ ทบวงมหาวิทยาลัย และกรรมการในชุดต่างๆของสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย จนได้รับรางวัลมากมายจาก หน่วยงานต่างๆ อาทิเช่น เหรียญกาชาดสมนาคุณชั้น ๓ เหรียญกาชาดสรรเสริญ เหรียญฟลอเรนซ์ไนติงเกล รางวัลอาจารย์ดีเด่นสาขาบริการสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต และรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น สาขาเกียรติคุณ สมาคม ศิษย์เก่าพยาบาลสภากาชาดไทย ด้วยเกียรติคุณและผลงานดังกล่าวข้างต้นเป็นที่ประจักษ์ว่า นางอรวรรณ อุทัยเสน เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ มีภาวะผู้น า เสียสละ ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ อันเป็นคุณประโยชน์ต่อประเทศชาติอย่างอเนกอนันต์ และอุทิศตนเพื่อประโยชน์ของสังคมและประเทศชาติมาอย่างต่อเนื่องจวบจนปัจจุบัน สภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น จึงมีมติให้ นางอรวรรณ อุทัยเสน เป็นผู้สมควรได้รับปริญญาปรัชญา ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ เพื่อเป็นการประกาศเกียรติคุณสืบไป


๒๐ ๒๐ คา ประกาศเกียรติคุณ นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชาบริหารธุรกิจ นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ผู้อ านวยการบริหารด้านการลงทุนและกรรมการบริษัทของบริษัททรู คอร์ปอเรชั่น จ ากัด (มหาชน) เป็นนักธุรกิจผู้มีความรู้ความสามารถรอบด้าน และมีประสบการณ์โดยเฉพาะด้าน การค้าและการลงทุน ด้านสื่อธุรกิจ และด้านพลังงาน ให้ความส าคัญกับการบริหารงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ภายใต้หลักธรรมาภิบาล นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ส าเร็จการศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชาบริหารธุรกิจจาก University of Southern California สหรัฐอเมริกา นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ เริ่มเข้าสู่วงการธุรกิจในต าแหน่งผู้อ านวยการบริหารด้านการลงทุนและ กรรมการของบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จ ากัด (มหาชน) ซึ่งเป็นธุรกิจของครอบครัว ต่อมาได้เป็นผู้ริเริ่มให้บริษัท มีการขยายธุรกิจทั้งในด้านการค้าการลงทุน ด้านสินเชื่อ และด้านการเงินระหว่างประเทศ โดยในปี พ.ศ.๒๕๖๒ ได้เข้าด าเนินกิจการของบริษัท ไลท์เน็ท (ไทยแลนด์) จ ากัด ที่ให้บริการแก่ธนาคาร ผู้ให้บริการโอนเงินระหว่าง ประเทศ และลูกค้ารายย่อย ธุรกิจกระเป๋ าเงินอิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจการให้บริการช าระเงินและโอนเงินด้วยวิธีการ ทางอิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจศูนย์ซื้อขายและนายหน้าสินทรัพย์ดิจิทัล และธุรกิจรับช าระและแปลงสกุลเงินดิจิทัล ทั้ง ในเอเชีย ตะวันออกกลาง และยุโรป นอกจากนี้ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้เริ่มเข้าสู่ธุรกิจด้านพลังงานในบริษัท ดับบลิวพี เอ็นเนอร์ยี่ จ ากัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทที่ผลิตแก๊สที่ใช้ในครัวเรือน และธุรกิจการผลิตและจ าหน่าย ไฟฟ้าในบริษัท เรเดียนท์ เพาเวอร์ จ ากัด และในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ได้เข้าซื้อหุ้นในบริษัท Fortune Group ซึ่งเป็น สื่อธุรกิจระดับโลกที่สะท้อนชีวิตของธุรกิจและอุตสาหกรรมผ่านภาพถ่ายโดยเป็นนิตยสารมีเนื้อหาที่มีคุณภาพ มุ่งเน้นผู้อ่านที่มีฐานะและเป็นผู้มีอิทธิพล มีเป้าหมายในการน าเสนอเนื้อหาที่เน้นให้ความส าคัญและความถูกต้อง แม่นย า ตลอดระยะเวลาการท างานของนายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ ยังได้ให้การสนับสนุนให้บริษัทเหล่านั้นได้ท า กิจกรรมเพื่อตอบแทนสังคม อาทิเช่น กิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตรทางการศึกษาร่วมกับสถาบัน อุดมศึกษาชั้นน าของประเทศ กิจกรรมการมอบทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษา กิจกรรมการเดินวิ่งการกุศลเพื่อ สร้างอาคารโรงพยาบาลและจัดหาเครื่องมือทางการแพทย์แก่โรงพยาบาลจ านวน ๑๙ แห่ง เป็นต้น ด้วยเกียรติคุณและผลงานดังกล่าวข้างต้นเป็นที่ประจักษ์ว่า นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ เป็นผู้มีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารธุรกิจที่หลากหลาย มีวิสัยทัศน์กว้างไกล ประกอบธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ยึดมั่น ในหลักธรรมาภิบาล ค านึงถึงประโยชน์สูงสุดของสังคมและประเทศชาติมาอย่างต่อเนื่องจวบจนปัจจุบัน สภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น จึงมีมติให้ นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ เป็นผู้สมควรได้รับปริญญาปรัชญา ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ เพื่อเป็นการประกาศเกียรติคุณสืบไป


๒๑ ๒๑ คา ประกาศเกียรติคุณ นายเกียรติสกลุเกจ็มะยูร ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชาบริหารธุรกิจ นายเกียรติสกุล เก็จมะยูร ประธานบริหารบริษัท ดีไซน์ คอนเซป จ ากัด สถาปนิกผู้ออกแบบอาคาร สถานีรถไฟฟ้ากรุงเทพอภิวัฒน์ รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิช่วงพญาไท-มักกะสัน/อโศก-สุวรรณภูมิ รวมทั้งสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง รถไฟฟ้าสายสีม่วงบางใหญ่-ราษฎร์บูรณะช่วงบางใหญ่-บางซื่อ รถไฟความเร็วสูงเพื่อเชื่อมโยงภูมิภาคช่วงกรุงเทพมหานคร-หนองคาย รถไฟสายแม่สอด-ตาก-ก าแพงเพชรนครสวรรค์ และ รถไฟทางคู่ช่วงขอนแก่น-หนองคาย เป็นต้น นายเกียรติสกุล เก็จมะยูร ส าเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาวิชาสถาปัตยกรรม จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และระดับปริญญาโท สาขาวิชาสถาปัตยกรรม จากสถาบัน Georgia Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา ศึกษาเพิ่มเติมด้านหลักสูตร Urban Design จากมหาวิทยาลัย Harvard ประเทศสหรัฐอเมริกา นายเกียรติสกุล เก็จมะยูร เริ่มท างานในต าแหน่ง Project design ที่บริษัท Robert and Company และบริษัท Atlanta Airport Group ประเทศสหรัฐอเมริกา ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ ได้เข้ารับหน้าที่เป็น สถาปนิกผู้ออกแบบ(Design Architect) ของบริษัท Cooper Carry & Associate ซึ่งเป็นบริษัทด้านการออกแบบ ที่มีขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีประสบการณ์การก่อสร้างอาคารที่หลากหลายรูปแบบ และในปี พ.ศ.๒๕๓๓ นายเกียรติสกุล เก็จมะยูร ได้เปิดบริษัท ดีไซน์ คอนเซป จ ากัด เพื่อด าเนินธุรกิจด้านในการ ออกแบบสถาปัตยกรรม จนเป็นที่ยอมรับและได้รับความไว้วางใจให้เป็นผู้ออกแบบอาคารสถานีรถไฟฟ้ากรุงเทพ อภิวัฒน์ ซึ่งเป็นสถานีรถไฟกลางที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสถานีรถไฟความเร็วสูงอีกหลายแห่ง ด้วยการน าเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการออกแบบและก่อสร้างอาคาร เพื่อลดการใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม เช่น อาคารส านักงานโครงการศูนย์พลังงานแห่งชาติ (Energy Complex) และโรงเรียนวิทยาศาสตร์ (โรงเรียนก าเนิดวิทย์ : KVIS) ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ EEC วังจันทร์ จังหวัดระยอง ซึ่งเป็นต้นแบบอาคาร ประหยัดพลังงานแห่งแรกในประเทศไทย ด้วยเกียรติคุณและผลงานอันเป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศนับว่า นายเกียรติสกุล เก็จมะยูร เป็นผู้มีความรู้ความสามารถและวิสัยทัศน์ในการบริหารธุรกิจด้านการออกแบบสถาปัตยกรรม เป็นผู้น าทางธุรกิจ ในการออกแบบสถาปัตยกรรม ด้วยการน าเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการออกแบบและก่อสร้างอาคารที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประกอบธุรกิจด้วยหลักธรรมาภิบาล และค านึงถึงประโยชน์ของสังคมและประเทศชาติ โดยรวมเป็นส าคัญอย่างต่อเนื่องจวบจนปัจจุบัน สภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น จึงมีมติให้มอบปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชา บริหารธุรกิจแก่ นายเกียรติสกุล เก็จมะยูร ไว้เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป


๒๒ ๒๒ คา ประกาศเกียรติคุณ นายยุรนันท์ ภมรมนตรี ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชาบริหารธุรกิจ นายยุรนันท์ภมรมนตรี ประธานที่ปรึกษา บริษัท พาราซี กรุ๊ป จ ากัด นักร้อง นักแสดงและ นักการเมือง ผู้มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในการด าเนินธุรกิจตามหลักธรรมาภิบาล จนประสพ ความส าเร็จ โดยเฉพาะธุรกิจให้บริการด้านสุขภาพอนามัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะท าให้ทุกคนมีภาวะสุขภาพ ดี ไม่เจ็บป่วยตลอดชีวิต และด าเนินชีวิตด้วยความไม่ประมาท นายยุรนันท์ ภมรมนตรีส าเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรี สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค าแหง และระดับปริญญาโท สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ (Anti-Aging and Regenerative Science) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง นายยุรนันท์ ภมรมนตรี ได้เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๔ โดยเป็นทั้งนักร้อง นักแสดง ผู้ประกาศข่าว และพิธีกรที่มีความสามารถจนได้รับรางวัลจากสถาบันต่างๆ เช่น รางวัลเมขลา เป็นจ านวนถึง ๖ ครั้ง ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ได้เปิดบริษัท ยุรการ จ ากัด และบริษัท ยุรริษา จ ากัด เพื่อประกอบธุรกิจด้านการบันเทิง และในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ มีความสนใจเกี่ยวกับเวชศาสตร์ชะลอวัยจึงได้ท าธุรกิจเกี่ยวกับสุขภาพ โดยเป็นกรรมการ บริษัทพานาซี เมดิคอล เซ็นเตอร์ จ ากัด ซึ่งเป็นธุรกิจเกี่ยวกับอาหารเสริมชะลอวัยและให้บริการด้านสุขภาพ ในรูปของโรงพยาบาล มีการขยายธุรกิจไปต่างประเทศในรูปแบบของโรงแรมที่ประเทศเยอรมัน ซึ่งเป็นที่น่า ภาคภูมิใจ โดยได้น าเอาวัฒนธรรมของไทยไปใช้ในการให้บริการ ทั้งการไหว้ หรือให้บริการอาหารไทยภายใน โรงแรม จนได้รับความชื่นชมเป็นอย่างมาก ซึ่งถือเป็น Soft power ที่น าความเป็นไทยสู่ระดับสากล และในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้รับแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ด้วยเกียรติคุณและผลงานดังกล่าวข้างต้นเป็นที่ประจักษ์ว่า นายยุรนันท์ ภมรมนตรี เป็นผู้มีความรู้ และประสบการณ์ในการบริหารธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจด้านเวชศาสตร์ชะลอวัย มีวิสัยทัศน์กว้างไกล ประกอบ อาชีพด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ค านึงถึงประโยชน์สูงสุดของสังคมและประเทศชาติมาอย่างต่อเนื่องจวบจน ปัจจุบัน สภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น จึงมีมติให้ นายยุรนันท์ ภมรมนตรีเป็นผู้สมควรได้รับปริญญาปรัชญา ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ เพื่อเป็นการประกาศเกียรติคุณสืบไป


๒๓ ๒๓ คา ประกาศเกียรติคุณ นายฉาย บุนนาค ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชาบริหารธุรกิจ นายฉาย บุนนาค ประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จ ากัด (มหาชน) นักธุรกิจ ด้านสื่อสารมวลชน และยึดมั่นในความเป็นสื่อสารมวลชนที่มีคุณภาพและคุณธรรมจริยธรรม ส าเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชีและการเงิน จาก The London School of Economics and Political Science และระดับปริญญาโท สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย นายฉาย บุนนาค เริ่มมีความสนใจในการท าธุรกิจด้านการสื่อสารมวลชน จากการเป็นผู้ผลิตรายการ ให้กับสถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง ๕ จนในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท ประธาน กรรมการบริษัทและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท นิวส์ เน็ตเวิร์ค มัลติมีเดีย จ ากัด บริษัท สปริงนิวส์ คอร์ปอเรชั่น จ ากัด บริษัท ฐานเศรษฐกิจ มัลติมีเดีย จ ากัด และได้มีการขยายธุรกิจด้านสื่อสารมวลชน โดยเข้า ด ารงต าแหน่งเป็นกรรมการบริษัท รองประธานกรรมการ และประธานกรรมการบริหารของบริษัท เนชั่น กรุ๊ป (ไทยแลนด์) จ ากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จ ากัด (มหาชน) จนปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้รับ การแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการบริหารและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร นอกจากนี้นายฉาย บุนนาคยังได้เคยด ารง ต าแหน่งกรรมการบริษัท ประธานกรรมการบริษัทในบริษัทด้านสื่อสารมวลชนอีกหลายบริษัท ตลอดระยะเวลา การท างานที่ผ่านมานายฉาย บุนนาค ได้ให้การสนับสนุนในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนในช่วงที่ประเทศเกิดภัยพิบัติขึ้นผ่านมูลนิธิเนชั่นอย่างต่อเนื่อง อาทิ เช่น โครงการ “น้องอิ่ม พี่สุข” โครงการเนชั่นปันน ้าใจช่วยเหลือผู้ประสบภัยโควิด ๑๙ โครงการรวมน ้าใจสู้ภัย ธรรมชาติเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยน ้าท่วม เป็นต้น ด้วยเกียรติคุณและผลงานดังกล่าวข้างต้นเป็นที่ประจักษ์ว่า นายฉาย บุนนาค เป็นผู้มีความรู้ความ เข้าใจในการบริหารธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจสื่อสารมวลชน มีวิสัยทัศน์กว้างไกลในการประกอบอาชีพด้วยความ ซื่อสัตย์ สุจริต ยึดมั่นในความเป็นสื่อสารมวลชนที่มีคุณภาพและคุณธรรมจริยธรรม ค านึงถึงประโยชน์สูงสุดของ สังคมและประเทศชาติมาอย่างต่อเนื่องจวบจนปัจจุบัน สภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์น จึงมีมติให้ นายฉาย บุนนาค เป็นผู้สมควรได้รับปริญญาปรัชญาดุษฎี บัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ เพื่อเป็นการประกาศเกียรติคุณสืบไป


๒๔ ๒๔ คา ประกาศเกียรติคุณ นายฉัตรชัย นิติภกัด์ิ ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิสาขาวิชานิติศาสตร ์ นายฉัตรชัย นิติภักดิ์ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ผู้เปี่ยมไปด้วยความยุติธรรม ค านึงถึง ประโยชน์ของประชาชน สังคมและประเทศชาติโดยรวมอย่างแท้จริงเป็นส าคัญ มองเห็นถึงความส าคัญ ของการเผยแพร่ความรู้ด้านกฎหมายแก่ประชาชน ส่งเสริมการสร้างบุคลากรด้านกฎหมายที่มีความรู้ ความสามารถ โดยการจัดโครงการอบรมให้ความรู้ เป็นวิทยาบรรยาย หรืออาจารย์พิเศษในสถาบัน อุดมศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน อาทิเช่น เป็นประธานโครงการเสริมสร้างหลักปฏิบัติราชการที่ดีจาก ค าวินิจฉัยของศาลปกครองให้แก่ประชาชน หน่วยงานทางปกครอง และเจ้าหน้าที่ของรัฐของส านักงาน ศาลปกครองเพชรบุรี เป็นอาจารย์พิเศษของหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา เป็นต้น นายฉัตรชัย นิติภักดิ์ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขานิติศาสตร์และสาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค าแหง และส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทสาขานิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (การปกครอง) โดยเริ่มปฏิบัติหน้าที่เป็นตุลาการ ศาลปกครองกลาง เมื่อปี พ .ศ.๒๕๔๕ และได้ด ารงต าแหน่งตุลาการศาลปกครองในหลายแห่ง ในปี พ .ศ. ๒๕๕๔ ได้รับการแต่งตั้งเป็นตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองอุบลราชธานี ต่อมาได้รับการแต่งตั้งเป็น ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองกลาง รองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นประจ าศาลปกครองกลาง รองอธิบดี ศาลปกครองยะลา อธิบดีศาลปกครองเพชรบุรี และตุลาการศาลปกครองสูงสุดมาโดยล าดับ ตลอด ระยะเวลาของการปฏิบัติหน้าที่ยังได้เป็นอาจารย์พิเศษผู้ถ่ายทอดความรู้ของตนและเป็นแบบอย่างแก่ นิสิตนักศึกษาในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาเพื่อเสริมสร้างบุคลากรด้านกฎหมายที่ยึดมั่นใน จรรยาบรรณวิชาชีพ จากผลการปฏิบัติงานจึงถือได้ว่า นายฉัตรชัย นิติภักดิ์ ได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรู้ ความสามารถตามหลักกฎหมาย ยึดมั่นในความถูกต้องและความยุติธรรม ค านึงถึงประโยชน์ของ ประชาชน สังคม และประเทศชาติโดยรวมอย่างแท้จริงเป็นส าคัญอย่างต่อเนื่องจวบจนปัจจุบัน สภามหาวิทยาลัยเวสเทิร์นจึงมีมติให้ นายฉัตรชัย นิติภักดิ์ เป็นผู้สมควรได้รับปริญญา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชานิติศาสตร์ เพื่อเป็นการประกาศเกียรติคุณสืบไป


๒๕ ศิษยเ์ก่าดีเด่น ประจา ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ประเภทผู้ท าคุณประโยชน์แก่สังคม สถาบัน และประเทศชาติ พระครูวรวรรณวิวฒัน์(นพบุรี( มหาวรรณ์ ดร.ธนกร วังบุญคงชนะ พล.ต.ท. ดร.ชัยวัฒน์ อุ้ยค า ดร.เลิศฤทธ์ิเรือนละหงษ์ ดร.ประเสริฐ เลก็สรรเสริญ นางนิชาภา ตงั้ถิ่น


๒๖ ศิษยเ์ก่าดีเด่น ประจา ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ประเภทผ้ทูา คุณประโยชน์แก่สงัคม สถาบนัและประเทศชาติ นายพิมพ์คงขาว นางสาวก าไร ศรีบุญเพ็ง นางสาวนรินทรพ์ร แก้วเพช็รมะดนั นายพฤหัส ปานรัตน์


๒๗ ศิษยเ์ก่าดีเด่น ประจา ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ประเภทผู้ประสบความเร็จด้านวิชาการ และวิชาชีพ นายกฤษฎา รัตนมงคลกูร ดร.อนันตพร วงศ์ค า ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัฐชฎา ฤาแรง ผชู้่วยศาสตราจารย์ดร.กิตติศกัด์ิฤาแรง ดร.เกียรติก้อง มูลเมือง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐกฤษ น้อยก้อน


๒๘ รายชื่อผู้ส าเร็จการศึกษา ประจ าปี การศึกษา ๒๕๖๕ – ๒๕๖๖ - ระดับปริญญาเอก - ระดับปริญญาโท - ระดับปริญญาตรี


๒๙ - - ผู้ส าเร็จการศึกษา ระดบ ัปร ิ ญญาเอก ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖๕ - ๒๕๖๖


๓๐ ปริญญานิติศาสตรดุษฎีบณัฑิต ๑ นายจักรวาล สุธรรม ๖ นายณัฐวัตร ตันศิริเสถียร ๒ นายชูเดช พันทวี ๗ นายพร้อมพล พระพรหม ๓ นางสาวณัฏฐ์พิชา วโรดมอธิพัฒน์ ๘ นางสาวพัฒนี พ่วงสมุทร์ ๔ นางสาวณัฐนันท์ ทองทรัพย์ ๙ นายวรุตม์ จันทร์ทอง ๕ นายณัฐนันณ์ สุวรรณมณี ๑๐ นายเอกพงศ์ คลังกรณ์ ปริญญาบริหารธรุกิจดุษฎีบณัฑิต ๑ นางสาวกัลยา จันทร์สาย ๑๔ นาวาโทภณ ทัพพินท์กร ร.น. ๒ นางสาวจิราภรณ์ แกนุ ๑๕ นายมนตรี อินทร์สุข ๓ นายเจนวิทย์ ข้าวทวี ๑๖ นาง วัชรินทร์ อุ่นใจ ๔ นางสาวณัฐชุนันท์ สิริพรวุฒิ ๑๗ นายศรวัสย์ ไพศาลศรวัส ๕ นางสาวณิชชา จิราพัชรสิน ๑๘ นางสาวศรินนา แก้วสีเคน ๖ นายดนัย อินทรพยุง ๑๙ นายศักดิ์สิทธิ์ คูณรัตนศิริ ๗ นายธนเดช สงวนพันธุ์ ๒๐ นางสาวศาตนันท์ วินิชวงศ์ ๘ นายธนะพัฒน์ วิริต ๒๑ นางสาวศิราณี เมฆลอย ๙ นายธนิตพงศ์ มัลลิจารุพงศ์ ๒๒ นายสายัณ สวนยา ๑๐ นางสาวนภาศิริ เล็ดรอด ๒๓ นายเสฎฐวุฒิ มัชฌิมารัตน์ ๑๑ นายนันทศิริ ทองบูรณศิริ ๒๔ นางสาวอรอนงค์ ต่ายทอง ๑๒ นางสาวบุษรา นาวกรด ๒๕ นายโอริสสา ดิถีเพ็ญ ๑๓ นางปริตตา สมานชื่น ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิต (การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน( ๑ นายกิตตินันท์ ข าดี ๑๐ นายมานัด แซ่โหงว ๒ นายโชติศักดิ์ นาคคง ๑๑ นางสาวรัฐธีร์ มีชาติ ๓ นายณรงค์ บุญรักษา ๑๒ นายลักษณ์ณภัทร บุญมี ๔ นายณัฐนันท์ ข าดี ๑๓ นายวรนันท์ ถาวรนันท์ ๕ นางตรีพิพัฒน์ ศิลปการสกุล ๑๔ นางสาวศุภพานี โพธิ์สุ ๖ นางสาวตาณ คงทน ๑๕ นายสนั่น ธัญรัตน์ศรีสกุล ๗ นายธนบวร สิริคุณากรกุล ๑๖ นายสุธี โนวาง ๘ นางสาวธมนวรรณ เสมี ๑๗ นางสาวอุมาพร โวลา ๙ ว่าที่ร้อยตรีหญิงพัชรินทร์ สมบูรณ์


๓๑ ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิต (การบริหารการศึกษา( ๑ นางสาวกัญญารัตน์ ธรรมาวุฒิ ๕ นายพรรธน์สพล ปฐมนรวรรณ ๒ นายธีรศักดิ์ จ านงค์เนียร ๖ นางระวิวรรณ พรหมวรรณ ๓ นายบุณยภู ภูติรัตน์ ๗ นายวีระศักดิ์ สนสูงเนิน ๔ นางสาวพรพรรณ ชาวลุ่มบัว ๘ นางอมรรัตน์ ชีพนุรัตน์ ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์( ๑ นางสาวขวัญณพัทสร ชาญทะเล ๑๒ นายไพวรรณ ศรีสารคาม ๒ นายฉลวย ขันจ านงค์ ๑๓ ดาบต ารวจภัคจิรโชติ สมหน่อ ๓ นายฉัตรแก้ว โพธิ์ทองนาค ๑๔ นางสาวมนัญญา เสนชัย ๔ นายชิษณุชา หมั่นถนอม ๑๕ นายมานิตย์ พรหมการีย์กุล ๕ นางฐนิตนันท์ ธรรมพลบุรี ๑๖ นายวีระ สระทองแก่น ๖ นางสาวฐิตินันท์ ภควัตตระการ ๑๗ นางศรีพนม โควสุรัตน์ ๗ นางสาวดวงกมล ก๊กอึ้ง ๑๘ ดาบต ารวจสนธยา คงสนิท ๘ พันเอกธนกฤต นพคุณวิจัย ๑๙ นายสนอง ทองมา ๙ นายธนวัฒน์ สิทธิใหญ่ ๒๐ นางสมหวัง โชติการ ๑๐ นายพรเทพ พงศ์เจนธรรม ๒๑ นายสรวิศทชากร เลขานุกิจ ๑๑ นางสาวเพชรนภา พรธรรมรักษ์ ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิต (สาธารณสุขศาสตร์( ๑ นางสาวค าพอง ค านนท์ ๕ นางภัทรวลัญช์ รัตนสิริอ าไพ ๒ นางสาวเฌอลินญ์ สิริเศรษฐ์ภพ ๖ นางศิริวรรณ วิเศษแก้ว ๓ นางสาวเพชรประทุมมาพร ทองอุ่นเกตุมณีศา ๗ นายสรรเพชญ เรืองอร่าม ๔ นางเพียงใจ บุญสุข ๘ นางอัมพร สัจจวีรวรรณ ปริญญาปรชัญาดุษฎีบณัฑิต (หลักสูตรและการสอน( ๑ นางสาวจิรภา ศรีนวล ๔ นางวิภารัตน์ แสงแก้ว ๒ นางสาวภัทรานิษฐ์ พรหมสุรินทร์ ๕ นายอรรถวุฒิ มุขมา ๓ นายรุจน์ เฉลยไตร


๓๒ ผ ้ ู ส าเร ็ จการศ ึ กษา ระดับปริญญาโท ประจ ำปี กำรศึกษำ๒๕๖๕ - ๒๕๖๖


๓๓ ปริญญานิติศาสตรมหาบณัฑิต ๑ นายจิตรพงษ์ สิทธิวงศ์ ๖ นายพงศธร ทินโนรส ๒ สิบเอกณัฐพล แปงมาลัย ๗ ร้อยต ารวจเอกหญิง พิมพ์มาดา มั่งมีสิทธิฤทธิ์ ๓ นายปกรณ์ แดงมณี ๘ นางสาววิจิตรา ใจท าดี ๔ นายปัญพิสิษฐ์ มิ่งเมือง ๙ พันตรีสังวรณ์ จอมดวง ๕ นายไผ่แดง อุตรักษ์ ๑๐ นางสุจิรา พรรคพิบูลย์ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบณัฑิต ๑ นางสาวกชกร แก้วประดิษฐ์ ๓๐ นายบรรเทิง มหาวงศ์ ๒ นางสาวกชพร วรรณโภชน์ ๓๑ นางสาวบุญญ์ปภัสสร เบ็ญจศิริวรรณ ๓ นางสาวกรรณิการ์ โยรภัตร ๓๒ นายปฐมพร บุญโห้ ๔ นางสาวกาญจนา วงวันศรี ๓๓ นายประสิทธิ์ เชื้อหงษ์ ๕ นางสาวกิ่งแก้ว บัวมาศ ๓๔ นางสาวปันฐิตา สุวรรณหงษ์ ๖ นางสาวเกสิณี หนูยศ ๓๕ ร้อยต ารวจเอกหญิงปางทิพย์ ปุราเท ๗ นายขัติยะ พานิชโปรยโสภา ๓๖ นายปิติวัฒน์ ยิ่งสกุล ๘ นายจตุรนต์ แดงขนิษฐ์ ๓๗ นางสาวปิยภรณ์ ขนิษฐ์น้อย ๙ นางสาวจิตร์ชนามนต์ สุทธิจ านงค์ ๓๘ นางสาวพจนาพร ใจผ่อง ๑๐ นางสาวชนิดา ประทุมเดช ๓๙ นายพรสวัสดิ์ ล ้าลอง ๑๑ นางสาวชไมพร หนูเล็ก ๔๐ นายพศิน อินต๊ะกัน ๑๒ นางชาญมณี ฮาเซนแบร์เกอร์ ๔๑ นายพิชญา ไชยบุตร ๑๓ นางสาวณัชชา เปี้ยสืบ ๔๒ นางสาว พิมพ์ณดา อาสว่าง ๑๔ นางสาวณัฏฐพัชร์ ชุมภูราษฎร์ ๔๓ นางเพ็ญณี หวังนิเวศน์กุล ๑๕ นางสาวณัฐวดี แก้วคงดล ๔๔ นายภาณุเดช เวียงเก่า ๑๖ นางสาวดวงพร เมตตากิจไพศาล ๔๕ นางสาวมณี กระแสร์ ๑๗ นายดิฐวัฒน์ บุญช่วย ๔๖ นางสาวมัทนา ใจค า ๑๘ นายทวีศักดิ์ คล้ายรักษา ๔๗ นางรสสุคนธ์ ชมเจริญ ๑๙ นางสาวทับทิม กวินภพ ๔๘ นางสาววรรณภา แยกผิวผ่อง ๒๐ นางสาวธณัฐดา หอมจันทร์ ๔๙ นางสาววรรณา กล่อมปัญญา ๒๑ นายธนัญชกร ตอบกลาง ๕๐ นางวรรัตน์ ทวีการไถ ๒๒ นางธีรกานต์ ธนะ ๕๑ นายวรวรรธน์ ธัญรัตน์ศรีสกุล ๒๓ นายนพปฎล ชายทวีป ๕๒ นางสาววรางคณา นนทิการ ๒๔ นางสาวนฤมล เที่ยงธรรม ๕๓ นายวัชรินทร์ เมตตากิจไพศาล ๒๕ นายนันท์นภัส ใจวัง ๕๔ นายวัลลภ กัณฑะพงศ์ ๒๖ พันเอกนันทภพ ไชยสงค์ ๕๕ นางสาววิชญาพร วังกาวรรณ ๒๗ นางสาวนันทวัน บุญยะวุฒิ ๕๖ นางวินีตา กัลยาณมิตร


๓๔ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบณัฑิต ๒๘ นางสาวนันทิกา รัตนพิทย์ ๕๗ นางศิริพร แก้วค าสอน ๒๙ นายนารงค์ แก้วสวัสดิ์ ๕๘ นางสาวศิริพร ประยูรหาร ๕๙ นางสมพิต เชื้อกาวี แคมเบล ๖๘ นางสาวอนงค์ ผ่องแผ้ว ๖๐ นางสาวสิริกร ศรีวิชัย ๖๙ นางสาวอนงค์นาถ วิบูลย์ศิริชัย ๖๑ นางสิริพร เจริญถิรวัฒน์ ๗๐ นายอนุสรณ์ ป้อมลอย ๖๒ นางสาว สุดารัตน์ พุทธา ๗๑ นายอภิรักษ์ชัยชนะ ปันยารชุน ๖๓ นายสุพจน์ มากปรุง ๗๒ นางสาวอรอุมา มาเพชร ๖๔ นางสาวสุพนิตา ริดจันดี ๗๓ นางสาวอุฬารินทร์ ธนันฐ์กิตติกุล ๖๕ นางสุภาวรรณ เฮอร์ลี่ ๗๔ นายเอกชัย บุญรอด ๖๖ นางสาว สุรีรัตน์ ใจอ่อน ๗๕ นางสาวไอศวรรยา พงษ์พิทักษ์ ๖๗ นางสุวิชชา อ่อนศรี ปริญญารฐัประศาสนศาสตรมหาบณัฑิต ๑ นางสาวกชนิภา ขยายศรี ๑๙ นางซูไวดา มะแซ ๒ นางสาวกชามาศ มากสุวรรณ ๒๐ นางสาวณฐมน อุปพงษ์ ๓ นางกมลทิพย์ ค าวงค์ ๒๑ นางสาวณัฏสิมา สุวรรณโชติ ๔ นางสาวกมลลักษณ์ ประทุมทา ๒๒ นายณัฐวุธ สุพรรณ ๕ นางสาวกรกช พรหมแก้ว ๒๓ นายแดนชัย บุลมาก ๖ นางสาวกรรณิกา โพธินันทวงศ์ ๒๔ นาย ทนงศักดิ์ ทองเจริญ ๗ นายกฤษณะพงษ์ คล้ายเคลื่อน ๒๕ นางสาวทิพย์มณี เมฆพะโยม ๘ นายก่อเกียรติ ตักกศิลาพันธุ์ ๒๖ นายธนกฤต สาวงษ์นาม ๙ นางสาวกาญจนาพร รุ่งเรือง ๒๗ นายนที บุญส่ง ๑๐ นายกุลศุภณัช พรมมา ๒๘ นายนนท์ชัย ขาวผิว ๑๑ นายคมศักดิ์ ยงกสิกรรม ๒๙ นายนพดล ฤกษ์สง่า ๑๒ นางสาวจงกลรัตน์ มุสิกสูตร ๓๐ นายนาคร รัตนอาภากุล ๑๓ นางสาวจิรัชญา กุญแจทอง ๓๑ นายนิติรุ่ง กุลาหงษ์ ๑๔ นายจีรพงศ์ ปภาสกุลวงศ์ ๓๒ นายนิธิชา พลพิลา ๑๕ นางสาวจุฑารัตน์ ศรีนาค ๓๓ พันต ารวจตรีนิธิภัทร์ บุลมาก ๑๖ นายเจนยุทธ พ่วงดี ๓๔ นางสาวปติมา สมจิต ๑๗ นายฉัตรชัย นิมสุวรรณ์ ๓๕ นายประมุข ชูสงค์ ๑๘ นายชวลิต ซื่อสัตย์ ๓๖ นายประวิทย์ ระถะการ


๓๕ ปริญญารฐัประศาสนศาสตรมหาบณัฑิต ๓๗ นายป้องชาติ สิทธิสาท ๖๖ นางวีระวัลย์ บัตรประโคน ๓๘ นางสาวพันธิวา แก้วสีไว ๖๗ นายศิรวิทย์ บางพิเชษฐ์ ๓๙ นางสาวพัลลภา แพงวงษ์ ๖๘ นายศุภกร หงษ์เงิน ๔๐ นายพิชิตพล ยานะกุล ๖๙ นายสถาพร สมุทรน้อย ๔๑ นางสาวพิมพ์พิมล สัตราศรี ๗๐ นางสาวสนธยา ละอองนวล ๔๒ นายไพโรจน์ เพชรตีบ ๗๑ นางสาวสมฤทัย เกตุเทศ ๔๓ นางสาวภัทรียา หนูจู ๗๒ นางสาวสาวิตรี วงค์ษา ๔๔ นายภาณุมาศ อ าคา ๗๓ นายส าเริง คณโฑเงิน ๔๕ นางสาวภาวดี ทะปะละ ๗๔ นางสาวสุธิวา พรมสวัสดิ์ ๔๖ นางสาวภิสรา แสงหัวช้าง ๗๕ นางสาวสุนันทา รัตนเลิศ ๔๗ นายมงคลชัย นุชชาติ ๗๖ นางสาวสุภัสรา หิรัญ ๔๘ นายมนตรี หงษ์พินิจ ๗๗ นางสาวสุภาพร วรลักษณ์ ๔๙ นางรสสุคนธ์ ผาสุกโก ๗๘ นางสาวสุภาพรรณ ทองด า ๕๐ นางสาวระภีภรณ์ ชูทรัพย์ ๗๙ นางสุภาวดี ใจกลม ๕๑ นางสาวรัชนก ชมภูวงค์ ๘๐ นายสุรศักดิ์ หมวกชัยภูมิ ๕๒ นางสาวรัตนวลี เลื่อนแก้ว ๘๑ นางสาวสุริยันจันทรา จันทคนธ์ ๕๓ นาวาเอกฤทธิ์ นาทวงศ์ ๘๒ นายโสภณ พานสัมฤทธิ์ ๕๔ นางสาวลักษิกา อ้นวงค์ ๘๓ นางสาวโสมวิการ์ ศิริสมพล ๕๕ นายวรกานต์ การุญ ๘๔ พันจ่าเอกโสรส ฤทธิ์ก าลัง ๕๖ นางสาววรพิมพ์ ศรีบุญเรือง ๘๕ นายอนุสรณ์ โปธาตุ ๕๗ นายวรวุฒิ สุ่มมาตย์ ๘๖ นายอภิเชษฐ์ ราชมนตรี ๕๘ นางสาววรัญญา อโนทัย ๘๗ นางสาวอภิญญา สีนา ๕๙ นางสาววราภรณ์ บุตรเนียม ๘๘ นางสาวอริสรา ชัยเทพ ๖๐ นางสาววรารักษ์ ศรีชลา ๘๙ นายอรุทัย รัตนโอภาส ๖๑ นายวริทธินันท์ บุญเลา ๙๐ นายอัติกรณ์ จูมวงค์ ๖๒ นายวัชเรนทร์ ยอดค าปา ๙๑ นายอ านาจ โชติช่วง ๖๓ นายวันชนะ เปรมปรีดิ์ ๙๒ นายอินทัช ศรีละพันธ์ ๖๔ นางสาววันทนีย์ หนูปราง ๙๓ นางอุบล ค านวน จันนะ ๖๕ นางสาววิสสุตา อ้นวงค์ ๙๔ นายไอศูรย์ ลิมปิวรรณ


๓๖ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต (การบริหารการศึกษา( ๑ นางสาวกมลพัฒน์ ทองธิราช ๓๑ นายพานุเกียรติ ยอดค า ๒ นางสาวจรัสพร ไชยเครื่อง ๓๒ นางสาวพิมลรตา สุริยวงศ์ ๓ นางสาวจิรลักษณ์ กัลหะ ๓๓ นางสาวพิราวรรณ ปามาละ ๔ นายจิรศักดิ์ สิทธิยะ ๓๔ นางสาวเพ็ญจันทร์ มีนะจรัส ๕ นายจิรัตทิพย์ประเสริฐ ๓๕ นางสาวแพรวตะวัน ธีระอนันท์วดี ๖ นายจีระศักดิ์ บัวเนี่ยว ๓๖ ว่าที่ร้อยตรีไพศาล แสวงหา ๗ นางฉลวย อนุเคราะห์ ๓๗ นางสาวภณิชชา กาบเครือ ๘ นางสาวเฉลิมขวัญ กุศลสุข ๓๘ นายภัทรพงษ์ ไตรโยธี ๙ นายชนาธิป เหมือนโพธิ์ ๓๙ นายภาณุพงศ์ ทาจ๋อย ๑๐ นายชานนท์ โตอิ่ม ๔๐ นางสาวภูษณิศา กาบเครือ ๑๑ นายณัฐพงษ์ ยะปะนันท์ ๔๑ นายมนตรีเบ้าค า ๑๒ นางสาวตินันภรณ์ ทนันชัย ๔๒ นางสาวมยุรี บุญอุ้ย ๑๓ นายทนงศักดิ์ บิโข่ ๔๓ นายมังกร นภาทอง ๑๔ นางสาวธนัฏฐา พิญญะศาสน์ ๔๔ นายรุฒธิพงษ์ อภัย ๑๕ นางสาวธนิตานันท์ มาดีกุล ๔๕ นางสาว วรรณวิสาข์ ศักดิ์พิมล ๑๖ นางสาวธิดารัตน์ โฆษิอาภา ๔๖ นางสาว วารี นนท์แก้ว ๑๗ นางสาวนภัสรา นัดดากุล ๔๗ นางสาววารุณี แดงเพชร ๑๗ นางสาว นรีกานต์ บุญราศรี ๔๘ นางสาววิภาวดี สีบัว ๑๙ นายนันทพัทธ์ กันทะราช ๔๙ นายวีรชาติ วรรณมณี ๒๐ นางนิรสา อีแวนส์ ๕๐ นายวุฒิชัย ไพบูลย์เจริญลาภ ๒๑ นางนูรีซัน ยาโกะ ๕๑ นายศรัณญ์ สุทธิพันธ์ ๒๒ นายบรรจง สระทอง ๕๒ นายศราวุธ สุดหอม ๒๓ นางสาวประนอม ปัญจรักษ์ ๕๓ นายศักดิ์สิทธิ์ แก้วสระแสน ๒๔ นางสาวปราณี ก าพุฒ ๕๔ นายศุภชาติ ขมหวาน ๒๕ นางสาวปิยนุช เชื่อมกลาง ๕๕ นางสาวศุภพร ใจปินตา ๒๖ นางเปมิกา ฤกษ์จันทร์ ๕๖ นางศุภรินทร์ สุดหอม ๒๗ นางสาวพนาพันธ์ วิชญพันธ์ ๕๗ นายสมโภช นิยมคง ๒๘ นางสาวพรทิพย์ ปามี ๕๘ นายสมยศ เรือนค ามูล ๒๙ นายพลวัฒน์ ชัยชนะ ๕๙ นายสาริกา วิเศษดี ๓๐ นางสาวพัณณพรรษ วงศ์ทวีทรัพย์ ๖๐ นางสาวสารีนา แวสาแล


๓๗ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต (การบริหารการศึกษา( ๖๑ นางสาวสิริรัตนาณ์ สุริยะมณี ๖๘ นายอนุวัฒน์ หรุ่นเลิศ ๖๒ นางสาวสุทัตตา กุลธราดล ๖๙ นายอภินันท์ อุทัยแสนปรีดา ๖๓ นายสุธน พึ่งกิจ ๗๐ นางสาวอริญญา ปิ่นแก้วกาญจน์ ๖๔ นางสาวสุนันทา ชมภูพาล ๗๑ นางสาวอังคณา ปานธรรม ๖๕ นางสาวสุปราณี พนาสุขสันต์ ๗๒ นางอาภรณ์ ช่างเรือนกุล ๖๖ นายสุริยา อินปัญญา ๗๓ นางสาวอุษณีย์ ทาทอง ๖๗ นางเสาวณีย์ นภาทอง ๗๔ นางแอนนา ผลไสว ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต (หลักสูตรและการสอน( ๑ นางสาวกุลณัฐนันท์ พันสุไพร ๙ นายปณิธาน ศรีประเสริฐ ๒ นางสาวจิราภรณ์ แจ้งมรคา ๑๐ นางสาวพรพิมล ปิ่นหย่า ๓ นางสาวจุรีรัตน์ ศิริมนูญ ๑๑ นางสาวพิกุล สาต๊ะ ๔ นางสาวชลลดา ภูมิสถาน ๑๒ นายวุฒิชัย แสนเสนาะ ๕ นางสาวชัญญานุช วงค์ปัญญา ๑๓ นางสาวศิริพร ลายคล้ายดอก ๖ นางสาวฑิตณัชกานต์ บุญครอง ๑๔ นายศุภศิษฏ์ ทองค า ๗ นางสาวทสมา รัตนะ ๑๕ นายอภิวุฒิ มินาลัย ๘ นางสาวนิตยา บัวทอง ๑๖ นางอาซีเยาะห์ ปริงทอง ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบณัฑิต ๑ นางสาวกัญญาพร นุ่มวัด ๑๑ นายธนัตถ์ภัทร์ ภู่โพธิ์ ๒ นายกิตติภัทร อบอุ่น ๑๒ นายธภัทร ธนรัชเดชานนท์ ๓ นาย คมกริช พรหมวงศา ๑๓ นางสาวธัญวรรณ เกิดดอนทราย ๔ นางสาวจันทร์เพ็ญ จันราสี ๑๔ นางสาวนวลจันทร์ ไหลสุพรรณวงศ์ ๕ นางสาวจิราพร กันณิกา ๑๕ ว่าที่ร้อยตรีหญิงนัยนา อินโคกสูง ๖ นายจีรพงษ์ เมฆชัยภักดิ์ ๑๖ นางเนตรณพิศ มณีโชติ ๗ นางสาวฉัตรฑรินทร์ เที่ยงตรง ๑๗ นางสาวเบญจวรรณ สุขใจ ๘ นางสาวชนันฐพัทธ์ เรณู ๑๘ นางเบญญาภา ผัดผ่อง ๙ นางชุติภา แก้วลือ ๑๙ นายประจักร นนท์ศิริ ๑๐ นางสาวดริญญา บัวใหญ่ ๒๐ นางปรัชพร สมธง


๓๘ ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบณัฑิต ๒๑ นางสาวปวีณา มะลิงาม ๓๐ นางสาวศันศนีย์ สิทธิจันทร์ ๒๒ นางสาวพิมลกานต์ ติ๊บบุญศรี ๓๑ นางสาวศิริภา ทุมมานอก ๒๓ นางสาวพิระภรณ์ ชมชื่น ๓๒ นางสาวสาวิตรี พันชะโก ๒๔ นางสาวพิศชนก สีนุย ๓๓ นางสาวสิริพร ณรัฐกิจ ๒๕ นายมานะชัย ฟักแก้ว ๓๔ นางสาวสุจิตตรา อุดามาร ๒๖ นางสาววันวรินทร์ แสนเสนยา ๓๕ นางสาวอรจิรา แยกผิวผ่อง ๒๗ นางสาววิระดา เสือมาก ๓๖ นางสาวอักษราพร อุตศาสตร์ ๒๘ นายวุฒิชัย พันสุกาง ๓๗ นางสาว อาริยา แสงสุวรรณโชติ ๒๙ นางสาวศรินประภา โคตรสมบัติ


๓๙ ผู้ส าเร็จการศึกษา ระดบ ัปร ิ ญญาตร ี ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖๕ - ๒๕๖๖


๔๐ ปริญญาทนัตแพทยศาสตรบณัฑิต (เกียรตินิยมอนัดบั๒( ๑ นายอยุทธ์ เต็มรัก ปริญญาทนัตแพทยศาสตรบณัฑิต ๑ นางสาวกรหทัย มหาผลศิริกุล ๒๙ นางสาวปวีณา วรรณภักดี ๒ นายกวินพัฒน์ อัครด ารงค์สกุล ๓๐ นางสาวปัณญภัค ธรรมวงศ์ ๓ นางสาวกิ่งกาญจน์ สนทนา ๓๑ นางสาวปุณฑริกา ไกรรณภูมิ ๔ นายกิตติภูมิ แสงสุวรรณ ๓๒ นางสาวปูริดา ศรีตงกิม ๕ นางสาวกิฟตี้ ตีมุง ๓๓ นางสาวผกามาศ บุญมี ๖ นางสาวกีนันฐกานต์ สัสดีเดช ๓๔ นางสาวพรนภา ก้อนสุรินทร์ ๗ นายกุลธวัช โคตรพิศาล ๓๕ นางสาวพิชชานันท์ ปานนาค ๘ นางสาวขวัญดาว พันธ์หมุด ๓๖ นางสาวพิมพ์ชนก แสนศิริพงษ์ ๙ นางสาวชนันกานต์ ไชยวินิจ ๓๗ นางสาวเพ็ญพร ศิริพานิชย์ ๑๐ นางสาวชัชชญา เกษมอ าไพพรรณ ๓๘ นางสาวเพลงขวัญ หูแก้ว ๑๑ นางสาวชิชาณา เลิศทิวากร ๓๙ นางสาวไพลิน โภคชัชวาล ๑๒ นายซาการียา ภูยุทธานนท์ ๔๐ นางสาวฟาตีมะฮ์ แวววรรณจิตต์ ๑๓ นายญาณวุฒิ ยุทธชาวิทย์ ๔๑ นางสาวมาศสุดา เพชรฉาย ๑๔ นางสาวณัชณิชา บางเขม็ด ๔๒ นางสาวรวิสรา เชื้อสีดา ๑๕ นางสาวณัฐชพรรณ สุขเกษม ๔๓ นางสาวรักรชยา กวินฉัตร์ ๑๖ นางสาวณัฐณิชา งามมี ๔๔ นางสาวรัชดาพร รุ่งรัชตไพโรจน์ ๑๗ นางสาวณัฐธินี คล ่าดิษฐ์ ๔๕ นางสาวลักษมี พัฒนพันธ์ชัย ๑๘ นางสาวดนยา อินนา ๔๖ นางสาวลัลน์ลลิต องอาจ ๑๙ นายธนวันต์ มีมา ๔๗ นางสาววชิรญาณ์ ไตรเมธาวี ๒๐ นายธนวิชญ์ จิตเจือจุน ๔๘ นางสาววรรณกมล ขวัญยืน ๒๑ นางสาวธนัชพร กลัดสุข ๔๙ นางสาววราภรณ์ ถาพยอม ๒๒ นางสาวธวลัญ ศันสนียวรรธน์ ๕๐ นางสาววารุณี วิภูสันติ ๒๓ นางสาวธัญญลักษณ์ ศิริโสภณา ๕๑ นายวิรวรรธน์ ศรีสุทธิ์ ๒๔ นางสาวธัญลักษณ์ พันธุสุนทร ๕๒ นายวิริทธินันท์ พรหมจักร ๒๕ นายธาดิน แก้วโอภาส ๕๓ นางสาวสิรีธร สายทอง ๒๖ นาย นราภัทร์ กลิ่นหอม ๕๔ นายสุทธินันท์ อินทร์แก้ว ๒๗ นางสาวปภัสรา ธีระรัตนานนท์ ๕๕ นางสาวสุทธิลักษณ์ มิ่งไทยสงค์ ๒๘ นางสาวปวรวรรณ แสงสุวรรณ ๕๖ นางสาวสุนีย์ หมูนวล


๔๑ ปริญญาทนัตแพทยศาสตรบณัฑิต ๕๗ นางสาวสุภัสสรา ยุพาวัฒนะ ๖๐ นางสาวอฏิภร เฉลิมวรรณ ๕๘ นายเสฏฐวุฒิ ดุรงค์พงศ์เกษม ๖๑ นางสาวอนุธิดา โสภัย ๕๙ นางสาวแสงสิรี มณฑีรรัตน์ ๖๒ นายอันฟาล วังทอง ปริญญานิติศาสตรบณัฑิต ๑ นายกษิดิ์เดช มัชฌิมา ๒๕ นายภานุวัฒน์ แก้วดวงศรี ๒ ดาบต ารวจกิตติศักดิ์ ทองประดิษฐ์ ๒๖ นายมงคล มีหวัง ๓ นายจตุพร เตี๊ยะตาช้าง ๒๗ นายยศธนา มูลอุดม ๔ นายจักรพงศ์ ชาวงษ์ ๒๘ นายยุทธชัย ศรีพรม ๕ นายจิรานุวัฒน์ แม่นสกุล ๒๙ นายยุทธศาสตร์ อุดมศรี ๖ นายชนาธิป แจ่มรัตน์ ๓๐ นางสาวรวินท์นิภา มนทนม ๗ นายชัพวิชญ์ นะราวัง ๓๑ ร้อยต ารวจเอกหญิงรัชนี สอนคูณ ๘ นายเชาว์วัฒน์ นาทอง ๓๒ นายวริทธิ์ สารพัฒน์ ๙ นายณฐพลษ์ ปันแก้ว ๓๓ นางสาววลัยรัตน์ บุญสุวรรณ ๑๐ นายณัฏฐกิตติ์ จิรจ ารัสกุล ๓๔ พลตรีวัลลภ มณีเชษฐา ๑๑ นายณัฐพล สายแขก ๓๕ สิบเอกวิรัตน์ ศรีผาย ๑๒ นายเทพพิทักษ์ เทพปิยวงศ์ ๓๖ สิบต ารวจเอกวุฒิพงษ์ ประจวบสุข ๑๓ นายธนกร สีลาพัฒน์ ๓๗ ดาบต ารวจศราวุธ ใจทา ๑๔ นายธนยศ เบญพาด ๓๘ นายศุภโชค ศรีอินทร์ ๑๕ นายนพคุณ ตุลยาทิตย์ ๓๙ นายศุภร ภาวมิ่งมงคล ๑๖ สิบต ารวจเอกนิรันดร์ เนียมไหม ๔๐ นางสาวสุชานาถ ทรัพย์มุสิก ๑๗ นางสาวปราณี แจ่มแจ้ง ๔๑ สิบต ารวจเอกอนุพงษ์ กิมาคม ๑๘ นายปิติณัฐ รัตนตรัยวงศ์ ๔๒ สิบต ารวจเอกอภิรักษ์ เลไธสง ๑๙ นายพลเดช คราพันธุ์ ๔๓ นายอภิสิทธิ์ พิเมย ๒๐ สิบต ารวจเอกพิเชษฐ์ วงค์เขื่อนแก้ว ๔๔ สิบต ารวจเอกอาคม สัจจะศักดิ์สิริ ๒๑ นางสาวพิมพิกา เวียงนนท์ ๔๕ นางสาวอารียา นามโพธิ์ชัย ๒๒ นายไพโรจน์ ศรีไชย ๔๖ นายอิทธิกร ดวงทิพย์ ๒๓ นายภัทรพงศ์ พรหมพันห้าว ๔๗ นายโอริสสา ดิถีเพ็ญ ๒๔ นายภาคภูมิ ไข่แก้ว


๔๒ ปริญญาบริหารธุรกิจบณัฑิต (การจดัการทวั่ ไป( เกยีรตินิยมอนัดบั๑ ๑ นางสาวพวิชญา วงศ์สุวรรณ ๒ นางสาววนิดา ชุมนุม ปริญญาบริหารธรุกิจบณัฑิต (การจดัการทวั่ ไป( เกยีรตินิยมอนัดบั๒ ๑ นายชรัสชัย จินดา ๕ นายยุทธพล โภคา ๒ นายชรินทร์ อากรเจริญ ๖ นางสาวรวีวรรณ บูรณกิตติ ๓ นางสาวประกายศรี แซ่อึ้ง ๗ นางสาววนิดา เชยเพชร ๔ นายไพโรจน์ ด่านสาคร ๘ นางอังสนา ตรึงจิตรารัชต์ ปริญญาบริหารธรุกิจบณัฑิต (การจดัการทวั่ ไป( ๑ นางสาวกชณัช สุวกุลอริยา ๒๓ นางสาวจุฑาภรณ์ บุษกร ๒ นางสาวกชพร กลิ่นสุคนธ์ ๒๔ นายเจริญ แซ่หยี ๓ นางสาวกชพร ขันติโก ๒๕ นายชนายุทธ เงินพล ๔ นายกชภัท ปานรัตน์ ๒๖ นายชลัช ลิ่วธ ารงกุล ๕ นางสาวกนิษฐา ยุนิลา ๒๗ นางสาวชลิตา พิกุลทอง ๖ นางสาวกมลพร สุบุตรดี ๒๘ นายชาญณรงค์ วีระพันธุ์ ๗ นางสาวกรรณิการ์ เฟสูงเนิน ๒๙ นางสาวชุติกาญจน์ ดาวเรือง ๘ นายกฤษณะ ค าวงษ์ ๓๐ นางสาวชุลีภรณ์ ดวงสุริยะ ๙ นางสาวกันตนา ดอกสันเทียะ ๓๑ นางสาวณปภัช เห็นวงศ์ประเสริฐ ๑๐ นางสาวกัลย์วรส ดาวรัตน์ ๓๒ นางสาวณปภัช อินทรกุล ๑๑ นายกุลบุรุษ แก้วกุล ๓๓ นายณรงค์ศักดิ์ กาญจนปัญญานนท์ ๑๒ นายแก้วขวัญ จิยะจันทน์ ๓๔ นางสาวณัฏฐ์ฎาพร ศรีแป๊ ะบัว ๑๓ นายขวัญแก้ว จิยะจันทน์ ๓๕ นายณัฏฐ์ณธกฤษ์ สุนารักษ์ ๑๔ นางสาวขวัญใจ นุ่มคล้าย ๓๖ นายณัฐกวิน ปรีดาสุทธิจิตต์ ๑๕ นายคินทร์ วนาคินทร์ ๓๗ นายณัฐฐิญา บุญปัญญา ๑๖ นางสาวจนัญญา โภคินธนวุฒิ ๓๘ นายณัฐพงศ์ กิจวาท ๑๗ นายจรัญ หุมวังลี้ ๓๙ นายณัฐพงษ์ เข็ญค า ๑๘ นายจักรวาล แจ่มใส ๔๐ นางสาวณัฐสุดา สุค าชา ๑๙ นายจาตุรงค์ ศรีละม้าย ๔๑ นางสาวดวงใจ ทวีชาติ ๒๐ นายจ าเนียร แก้วอุไร ๔๒ นางสาวดวงสมร น าภา ๒๑ นางสาวจิราพร ศรชัย ๔๓ นางดาริกา ดลชัย รูส ๒๒ นางสาวจิราพร สินสมบัติ ๔๔ นายทรงวุฒิ ประกอบการ


๔๓ ปริญญาบริหารธุรกิจบณัฑิต (การจดัการทวั่ ไป( ๔๕ นางสาวทวีพร บุญปก ๗๖ นายประเวท เล็กอ่อน ๔๖ นายทศชยันต์ กาญจนวณิชย์ ๗๗ นางสาวปราญชลี น้อยมุ้ง ๔๗ นายธนกร อุไรรัตน์ ๗๘ นางสาวปรียาพร โกกิจ ๔๘ นายธนกฤต ประดุจแก้วกุล ๗๙ นางสาวปะณิดา บัวทอง ๔๙ นายธนกฤต อัครธีรภพ ๘๐ นายปัญญา หลังสันติ์ ๕๐ นายธนพงษ์ สุขบรรจง ๘๑ นางสาวปาริฉัตร เครื่องพันธ์ ๕๑ นายธนพนธ์ สุนีวงค์ ๘๒ นางสาวปาริตา เสาธง ๕๒ นายธนากร หมั่นมั่ง ๘๓ นางสาวปิฏิวรรณ โรจนาภรณ์ ๕๓ นางสาวธนิดา ศรีมณี ๘๔ นางสาวปิยนันท์ วงศ์รัตน์ ๕๔ นางสาวธนุตรา พรหมสกุล ๘๕ นายพนมกร ใบกระเบา ๕๕ นางธัญญาภรณ์ ฟาน โอส ๘๖ นางสาวพรนิภา เพ็ชรแสง ๕๖ นางสาวธารารัตน์ พลาจีน ๘๗ นางสาวพรพิไล กิมิบัติ ๕๗ นายธีระพล จิรภาพงพันธ์ ๘๘ นางสาวพรไพริน จันทร์เศรษฐา ๕๘ นายธีระพล ภควิกรัย ๘๙ นางสาวพรรณภา พุทธิบุตร ๕๙ นางสาวนงค์นุช รินทร ๙๐ นางสาวพราวภัสสร รัตนาบุญญเศรษฐ์ ๖๐ นางสาวนธวรรณ ศรีพันธ์ ๙๑ นายพลวัฒน์ บุญเดช ๖๑ ว่าที่ร้อยตรีหญิงนภาพร ยังแก้ว ๙๒ นางสาวพลอยไพลิน ชื่นช่วย ๖๒ นางสาวนรินธร สังขะโห ๙๓ นายพัชท์สรุฐ เกตุยาโพธิ์ ๖๓ นางสาวนวลตา ลุงหลู่ ๙๔ นางสาวพัชรินทร์ ว่องทวี ๖๔ นางสาวนันทนา ทองสันทัต ๙๕ นางสาวพัชรีภรณ์ ฐานียะกรณ์ ๖๕ นางสาวน ้าผึ้ง แสงพโยม ๙๖ นางสาวพิชญาภา สุทธากร ๖๖ นางสาวน ้าเพชร งามนิตยาหงส์ ๙๗ นายพิชาติ รัตนวงค์ ๖๗ นางสาวนิชดาภา สกุลแก้ว ๙๘ นางสาวพิมพ์นารา เสนหล้า ๖๘ นางสาวนิตยา ปิ่นแก้ว ๙๙ นางสาวพิมลพรรณ สุขลิ้ม ๖๙ นายนิติธร สายด้วง ๑๐๐ นางสาวพีรยา หล่อยดา ๗๐ นางสาวนิรมล วรรณหนองคู ๑๐๑ นายไพบูลย์ ปัญญา ๗๑ นางสาวนิศาชล ไกรอ่อน ๑๐๒ นายภวัต พันธุราษฎร์ ๗๒ นายบรรพต ปัญญาทา ๑๐๓ นางสาวภัครชฎาษ์ ศรีปฐมสายชล ๗๓ นางสาวเบญจพร สะอาดยิ่ง ๑๐๔ นางสาวภัสสร กอศักดิ์ ๗๔ นายปรณัฐ ศรีทองเพิง ๑๐๕ นางสาวภาวินี บุญเพ็ชร ๗๕ นายประจักร ไชยศรี ๑๐๖ นายภาสกร อินทรสัตยพงษ์


๔๔ ปริญญาบริหารธุรกิจบณัฑิต (การจดัการทวั่ ไป( ๑๐๗ นางรติกัลย์ โบรสแทร์น ๑๓๘ นางสาวศิริวรรณ วิลาบุตร ๑๐๘ นายรังสรรค์ สนองพงษ์ ๑๓๙ นางสาวศุภรดา ทองทิพย์ ๑๐๙ นางสาวรัตติกาล สุจริต ๑๔๐ นางศุภนิดา สุดสายเนตร ๑๑๐ นางสาวรุ่งทิวา เกตุกอ ๑๔๑ นายสมภพ พลอยประดับ ๑๑๑ นายรุ่งโรจน์ นพตะลุง ๑๔๒ นายสรานนท์ อุ่นกาย ๑๑๒ นางสาวลดารินทร์ หมวกใหม่ ๑๔๓ นางสัตตบงกช สึจิ ๑๑๓ นางสาวลีดา เสือสภาพ ๑๔๔ นางสาวสุณี หอมเสียน ๑๑๔ นางสาวเล็ก แรงครุฑ ๑๔๕ นายสุทธิศักดิ์ สายสกุล ๑๑๕ นายวรพล นามสุวรรณ์ ๑๔๖ นางสาวสุทัตตา วงศ์รัตน์วิจิตต์ ๑๑๖ นางสาววรรณภา รัตนมณี ๑๔๗ นางสาวสุนิสา ชัยพรม ๑๑๗ นางสาววรัลชญาน์ เนติจริยาพัทธ์ ๑๔๘ นางสาวสุพรรษา สาตรบุญสร้าง ๑๑๘ นางสาววราภรณ์ ทัศวานนท์ ๑๔๙ นางสาวสุภาพร บัวสด ๑๑๙ นางสาววศิณี สีสังข์ ๑๕๐ นางสาวสุภาพร บุริมสิทธิ์ ๑๒๐ นายวัชรพล แดงประเสริฐ ๑๕๑ นางสาวสุภาพร สะแกซึง ๑๒๑ นางสาววันณี แสงสุข ๑๕๒ นางสาวสุภาภรณ์ หนองแบก ๑๒๒ นางสาววันวิสาข์ สมตน ๑๕๓ นางสาวสุมาภรณ์ ฮายจิมา ๑๒๓ นางวาสนา แก้วกล้า ๑๕๔ นายสุมิตร สนทนา ๑๒๔ นางสาววิชชุดา สุขพุ่ม ๑๕๕ นางสาวสุมินตรา หงษ์ประสิทธิ์ ๑๒๕ นางสาววิมลรัตน์ ยิ้มมา ๑๕๖ นายสุรศักดิ์ ยอดอ่อน ๑๒๖ นางสาววิยาดา หยังดี ๑๕๗ นางสาวสุวรรณา ศรีแก้ว ๑๒๗ นางสาววิลาสินี วินิจสร ๑๕๘ นางสาวสุศรี เจ้าวัฒนพงศ์ ๑๒๘ นางสาววิไลรักษ์ แสงวิเชียร ๑๕๙ นางสาวเสาวลักษณ์ วงค์ตันฮวด ๑๒๙ นางสาววีรพา ตาเตอะ ๑๖๐ นางสาวหทัยรัตน์ อนุรักษ์ ๑๓๐ นายวุฒิกร นุศิษย์ภาพ ๑๖๑ นายเหมวัต เกษสังข์ ๑๓๑ นายวุฒิคุณ จิตผ่อง ๑๖๒ นางสาวอชิรญา เล็กฉลาด ๑๓๒ นายศรัณยู นุ้ยแก้ว ๑๖๓ นายอดิศักดิ์ อินต๊ะ ๑๓๓ นางสาวศศิธร แสงแดง ๑๖๔ นายอนุกูล แสงสวย ๑๓๔ นายศักดิ์ชัย มิ่งเมือง ๑๖๕ นายอนุพงศ์ บุตรช่าง ๑๓๕ นายศักดิ์สิทธิ์ สายบัณฑิต ๑๖๖ นายอภิสิทธิ์ ชัยลา ๑๓๖ นางสาวศิรินุช สุทธิจิตรานนท์ ๑๖๗ นางสาวอมลระวี สุขพร ๑๓๗ นายศิริพงษ์ บ้งนาง ๑๖๘ นางสาวอลิชา ขวาดก


๔๕ ปริญญาบริหารธุรกิจบณัฑิต (การจดัการทวั่ ไป( ๑๖๙ นายอัครพล เดชอุบล ๑๗๓ นายอิศรา หาญยุทธ ๑๗๐ นางสาวอัญญรัชย์ ศรีประจันต์ ๑๗๔ นางสาวอุมาพร สุนทรพงศ์ ๑๗๑ นางสาวอาทิตยา ชอบสว่าง ๑๗๕ นางสาวเอมิกา พูลเจริญ ๑๗๒ นายอ านาจ กงเพชร ปริญญาบริหารธุรกิจบณัฑิต (การตลาด( (เกียรตินิยมอนัดบั๑) ๑ นายจรินทร์ รัตนมณี ๓ นายธนานันต์ ธนาวุฒิรุจนันท์ ๒ นางสาวทิพย์รัตน์ เกตุสุข า ปริญญาบริหารธุรกิจบณัฑิต (การตลาด( ๑ นางสาวกชกร กาด่านจาก ๑๘ นายพสิษฐ์ นามบุญเลี้ยง ๒ นายกฤษณ์นรินทร์ บัวรอด ๑๙ นางสาวพัชราภรณ์ เธียรธนวรากุล ๓ นางสาวกีรติกา ประสมกิจ ๒๐ นางสาวพัชราภรณ์ สุดสิ้น ๔ นางสาวเกสสุดา น ้าก้อ ๒๑ นางสาวพัชราวรินทร์ บุญอินทร์ ๕ นางสาวจันทร์จิรา มาลา ๒๒ นายพิธพรพรหม เชื่อมไพบูลย์ ๖ นายจารุวิทย์ อติสุธาโภชน์ ๒๓ นายภาณุวัฒน์ สุวินัยโรจน์ ๗ นางสาวชลิตา ทิ้งอีด ๒๔ นายรณนาท เพชรทองไทย ๘ นายชัยยุทธ ไชยรัตน์ ๒๕ นางสาววันวชิรา จันทรานุตร ๙ นางสาวชูวา พะเลนอย ๒๖ นางสาววิชุดา ทองแกม ๑๐ นางสาวฑิฆัมพร เดือนฉาย ๒๗ นางสาววิราวรรณ์ วงษาอาจ ๑๑ นางสาวณิชาภา บุญเรือง ๒๘ นายวิสุทธินันท์ แผนบัว ๑๒ นางสาวทัศนี วัฒนา ๒๙ นายศักรินทร์ บรรจงกุล ๑๓ นางธนัชชนันท์ ทไวนิ่ง ๓๐ นางสาวศิรประภา มหาค า ๑๔ นางสาวธิดาพร บุญภาย ๓๑ นายศุภธัช ศรีสัตยาชน ๑๕ นายนิธิ พิมสาร ๓๒ นางสาวสิริยากร เพ็งสลุง ๑๖ นายประสิทธิ์ พรมสิงห์ ๓๓ นางสาวเสาวลักษณ์ ทอนจรุง ๑๗ นางสาวพระคุณ สนิท ๓๔ นายอานนท์ สบาย


๔๖ ปริญญาบริหารธุรกิจบณัฑิต (คอมพิวเตอรธ์ุรกิจ( (เกียรตินิยมอนัดบั๑) ๑ นายอัศวิน วิเชียรศรี ปริญญาบริหารธุรกิจบณัฑิต (คอมพิวเตอรธ์ุรกิจ( ๑ นางสาวกมลวรรณ ชูเอี่ยม ๒๒ นายพาคินทร์ ประเสริฐเจริญอาชา ๒ นายกวินท์ โคตรวันทา ๒๓ นายพิชพงศ์ แก้วปัชฌาย์ ๓ นายกัณณพงศ์ ขันทะรักษ์ ๒๔ นายพีรวุธ ข านิล ๔ นางสาวเกวลี วิชัย ๒๕ นายภมรฉัตร ชูพงษ์ ๕ นายคมกฤช หมอนวดดี ๒๖ นางสาวภัทรา บ าเพ็ญบุญ ๖ นายจตุภูมิ จันทกุล ๒๗ นายภูชิต วรกา ๗ นางสาวจันทร์ทิพย์ เรืองน้อย ๒๘ นายมงคล ภูบุญคง ๘ นายจิติศักดิ์ นิติพิสานนท์ ๒๙ นางสาวยุวดี กุลวงษ์ ๙ นางชบาไพร แก้วกงพาน ๓๐ นางสาวรุ่งนภา ขุนดีคล้าย ๑๐ นายชัชชาญ นรจีน ๓๑ นางสาววนิดา บรรลือทรัพย์ ๑๑ นายชัชพุฒิพงศ์ ดิเรกวิวรรธน์ ๓๒ นายวรากร ดีน ้าจืด ๑๒ นายณัฐกร รังสิมันตุ์วงศ์ ๓๓ นายวราวุฒิ ชุ่มมงคล ๑๓ นายณัฐวัฒน์ สินปรุ ๓๔ นางสาววาสินี ประดิษฐ์ชัยชนะ ๑๔ นายธวัชชัย เดชวงษา ๓๕ นางสาวศุทรา มะโนศรี ๑๕ นายนนน์นนันน์ รอดทุกข์ ๓๖ นางสาวสกุลตลา คุปรัตน์ ๑๖ นายนัฐพล ดีจิตรวศิน ๓๗ นางสุนิตธินันท์ ทาคาบะทาเกะ ๑๗ จ่าอากาศเอกนันทวัฒน์ หลวงยศ ๓๘ นายสุพัฒน์ ทาลาว ๑๘ นายเบญจรงค์ สุดประเสริฐ ๓๙ นางสาวสุพัตรา ศิริสุทธิ์ ๑๙ นายประทีป มีหวัง ๔๐ นายสุวิทย์ กุลสุวรรณ ๒๐ นายปรัชญา บุญฤทธิ์ ๔๑ นายอาณัติ สินบวรวงษ์ ๒๑ นายปิยะชาติ ชอบค้า ปริญญาบริหารธุรกิจบณัฑิต (อุตสาหกรรมบริการ( ๑ นายชวลิตร ปิยะศรี ๖ นายประสิทธิพงษ์ เพ็งภาค ๒ นายชุมพล จันทะลุน ๗ นายภัคพล บัวทอง ๓ สิบเอกทรงธรรม ศรีสร้างคอม ๘ นางสาวศรุดา โรจนาอนุวัต ๔ นายบริวัตร เพ็ญปัญญา ๙ นายสักนรินทร์ พิทยานุกูล ๕ นายบัญยัติ ค าศรี ๑๐ นายอรรถพล เมืองมนต์


๔๗ ปริญญาบญัชีบณัฑิต (เกียรตินิยมอนัดบั๑( ๑ นายชนาธิป แก้วประสงค์ ๒ นางสาวสุวิชาดา จอมพล ปริญญาบญัชีบณัฑิต ๑ นางสาวกฤตพร พูลประสงค์ ๒๖ นางสาวบรรณสรณ์ ทองพุ่ม ๒ นางสาวกัญญารัตน์ ขันลา ๒๗ นางสาวบุณยนุช วัชรอุดมทรัพย์ ๓ นายกันต์ธร ศรียา ๒๘ สิบเอกปฏิภาณ ลาดจันทึก ๔ นายกิตติ โคตะวีระ ๒๙ นางสาวปทิตตา อิ่มใจ ๕ นางสาวเกล็ดทราย จันทร์แก้ว ๓๐ สิบเอกหญิงปวิสรา พันธุ์ไพโรจน์ ๖ นางสาวเกศณีย์ จินดาไพศาลกุล ๓๑ นางสาวปิยะมาศ อ่อนสา ๗ นายไกรสร ด้วงตะกั่ว ๓๒ นางสาวพรพรรณ พลวิชัย ๘ นางสาวจันทกานต์ สิงห์ลี ๓๓ นางสาวพรพิมล โพธิ์ทอง ๙ นางสาวจีรวรรณ ทรายมูล ๓๔ นางสาวแพ๊ท นามจุมจัง ๑๐ นางสาวเจนจิรา มีฮิ่น ๓๕ นางมณฑิรา บุญน า ๑๑ นางสาวณภัทร ศรีทอง ๓๖ นางมลฤดี ษมาจิตสวยงาม ๑๒ นางสาวณัชชา ทองดี ๓๘ นางสาวรัตนาภรณ์ อุทอน ๑๓ นายณัฐิวุฒิ เจียวท่าไม้ ๓๙ จ่าเอกวชิรวิทย์ พรหมเพชร ๑๔ นางสาวดวงฤทัย หลวงชัย ๔๐ นางสาววรัญชญา มูลฟอง ๑๕ นางสาวตรีชฎา สุขสะอาด ๔๑ นางวราภรณ์ จ าปาจันทร์ ๑๖ นายธนเดช บุญนาค ๔๒ นางสาววรารัตน์ สนธิ์น้อย ๑๗ นายธนพล ชั้นวิริยะกุล ๔๓ นางสาววิไลวรรณ แก้วพิพรรณพร ๑๘ นางสาวธนัญญา รุ่งเรือง ๔๔ นางสาววิศณี เนียมน้อย ๑๙ นายธีระศักดิ์ สร้อยทอง ๔๕ นางสาววีณา เอี่ยมสอาด ๒๐ นางสาวนรินทิพย์ แก่นสา ๔๖ นางสาวศิริพร ศรีนาเมือง ๒๑ นางสาวนริศา ศิลป์วาณิช ๔๗ นางสาวศิริรัตน์ จันอรัญ ๒๒ นางสาวนลินนิภา แซ่เล่า ๔๘ นายสมชาย ฟักชื่น ๒๓ นางสาวนันทวัน กันเกตุ ๔๙ นางสาวสริญญา หลักฐาน ๒๔ นางนันทิยา ค าทุม ๕๐ นางสาวสาลินี รัตนาวุธ ๒๕ นางสาวน ้าเพชร ปาลวัฒน์ ๕๑ นางสาวสิริรัตน์ เตส่วน


๔๘ ปริญญาบญัชีบณัฑิต ๕๒ นางสาวสุจันญา ใยหงษ์ ๕๖ นางสาวอารีรัตน์ ฤทธิ์ประเสริฐ ๕๓ นางสาวสุธาภรณ์ สิกขา ๕๗ นายอิทธิพล ฉัตรากุล ๕๔ นางสาวสุมลทิพ สุขเกษม ๕๘ นางสาวอิสรีย์ นาควิสุทธิ์ ๕๕ นางสาวอรุณี ทองมา ๕๙ นางสาวอุลัยพร คงระวี ปริญญาพยาบาลศาสตรบณัฑิต (เกียรตินิยมอนัดบั๑) ๑ นางสาวชัชฎาพร หงษ์ค า ๔ นางสาววรินทร บุญลา ๒ นางสาวณกัญญา ฉัตรทัน ๕ นางสาวศิโรรัตน์ เพชรรัตน์ ๓ นางสาวพัชรา พันสาย ๖ นางสาวอภิญญา ทีทา ปริญญาพยาบาลศาสตรบณัฑิต (เกียรตินิยมอนัดบั๒) ๑ นางสาวกนกวรรณ ทองเตจา ๘ นางสาวเพ็ญนภา สมภิพงษ์ ๒ นางสาวกาญจนา เขียวเขตร ๙ นางสาวสายธาร เทียนแพร ๓ นางสาวทิพปภา พลขันธ์ ๑๐ นางสาวสุวนันท์ จันทร์ศรี ๔ นางสาวธนัญญา สิทธิเจริญ ๑๑ นางสาวอรัญญา กุลวงศ์ ๕ นางสาวธัญญเรศ อินทร์จันทร์ ๑๒ นางสาวอุมาพร ค าจันทร์ดี ๖ นางสาวธันยมัย พิมศร ๑๓ นางสาวไอยลดา อัมระรงค์ ๗ นายบัณฑิต สินปรุ ปริญญาพยาบาลศาสตรบณัฑิต ๑ นางสาวกนกกร อิ่มจิตร์ ๑๐ นางสาวกิตติยาณี อุดมดัน ๒ นางสาวกนิษฐา พรหมมี ๑๑ นางสาวกุลนิดา หงษ์หา ๓ นางสาวกรชรีย์ วิกุล ๑๒ นางสาวกุสุมา อุนาสิงห์ ๔ นางสาวกรวิกา พิมพ์เพ็ง ๑๓ นางสาวเกตกนก นวนทองหลาง ๕ นางสาวกฤษณา พลไชย ๑๔ นางสาวขวัญดาว บุษมงคล ๖ นายกฤษดา โธผาวงษ์ ๑๕ นางสาวขวัญภิรมย์ ลาลุน ๗ นางสาวกันต์ฤทัย บามา ๑๖ นางสาวเขมิกา มูลวงษ์ ๘ นางสาวกัลย์สุดา ท าดี ๑๗ นางสาวจริญา ไชยแสง ๙ นางสาวกัลยาณี ศรีสมบุตร ๑๘ นางสาวจารุกร ญาติปลื้ม


Click to View FlipBook Version