The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลการดำเนินงานขยะต้นทาง อบต.เมืองน้อย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สรุปผลการดำเนินงานขยะต้นทาง อบต.เมืองน้อย

สรุปผลการดำเนินงานขยะต้นทาง อบต.เมืองน้อย

เอกสารประกอบการดาเนินงาน

โครงการสง่ เสรมิ การมีสว่ นร่วม
ของชมุ ชนในการคดั แยกขยะ
ท่ีตน้ ทาง ชดุ ท่ี 3

คำนำ

รายงานผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคดั แยกขยะท่ีต้นทางฉบับนี้
ได้จัดทำขึ้นหลังจากที่มีการดำเนินโครงการเสร็จสิ้น ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อม
จำนวน 400,000 บาท โดยมกี ารดำเนนิ กจิ กรรมตามแผนงาน 4 แผนงาน ได้แก่ แผนงานท่ี 1 การอบรมใหค้ วามรู้การ
คัดแยกขยะมูลฝอย แผนงานที่ 2 การคัดแยกขยะอินทรยี ์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป แผนงานที่ 3 การ
จัดการขยะแต่ละประเภท (เก็บรวบรวม บำบัดหรือกำจัดหรือนำไปใช้ประโยชน์) และแผนงานที่ 4 การติดตาม
ประเมนิ ผล และการถอดบทเรยี น ซึง่ ได้มกี ารดำเนนิ แล้วเสรจ็ ทงั้ 4 แผนงาน

ดงั นน้ั เพ่ือให้การดำเนินการเปน็ ไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพสงู สุด สามารถ ตดิ ตาม และ
ประเมินผลได้เชิงประจักษ์ จึงได้สรุปผลการดำเนินโครงการดังกล่าวเพื่อประเมินและรายงานต่อสำนักงานกองทุน
ส่งิ แวดลอ้ มและเปน็ แนวทางใหก้ บั องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลเมอื งน้อยในการพัฒนางานต่อไป

องค์การบริหารสว่ นตำบลเมืองนอ้ ย

สารบญั หนา้

คำนำ 1
สารบัญ 2
1. ชอื่ โครงการ 2
2. วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 4
3. พ้ืนทีด่ ำเนินโครงการ และกลุ่มเปา้ หมาย 10
4. แผนงาน/กิจกรรมการดำเนนิ งาน 11
5. ผลประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ 16
6. วงเงินงบประมาณในการดำเนินโครงการ 17
7. ตัวชวี้ ัดผลสำเร็จของโครงการ 19
8. โครงสรา้ งการบริหารโครงการ 32
9. ผลการดำเนนิ โครงการ 32
10. ผลลพั ธข์ องโครงการ 33
11. ผลกระทบของโครงการ 33
12. ความต่อเนื่องภายหลงั ส้ินสุดโครงการ 34
13. ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข
14. ขอ้ คิดเห็นและขอ้ เสนอแนะ

1

ชอ่ื โครงการ สง่ เสริมการมีส่วนรว่ มของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ตน้ ทาง ชดุ ที่ 3
ดำเนินการโดย องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลเมืองน้อย อำเภอกนั ทรารมย์ จังหวัดศรสี ะเกษ

1. หลักการและเหตุผล
1.1 ลกั ษณะทางกายภาพและสังคมของพืน้ ท่ี
องค์การบริหารส่วนตำบลเมอื งน้อย ประกอบดว้ ย 10 หมบู่ ้านจำนวนครัวเรอื น 1,085 ครวั เรือน

จำนวนประชากร 4,479 คน แยกเป็นชาย 2,275 คน หญิง 2,204 มีพื้นที่ทั้งหมด 57 ตารางกิโลเมตร ทิศ
เหนอื ตดิ เขต ตำบลทาม ทิศใต้ ติดเขต ตำบลหนองบัว ทศิ ตะวนั ออก ตดิ เขต ตำบลละทาย ทิศตะวันตก ตดิ เขต ตำบล
อีปาด (รายละเอยี ดตามท่ีแผนที่ที่แนบมาพร้อมน้ี) ภูมปิ ระเทศในภาพรวมของตำบลเมืองน้อยมสี ภาพทางกายภาพเป็น
ที่ราบลุ่มเหมาะสำหรับการทำการเกษตร เช่น ทำนา ทำไร่ และเลี้ยงสัตว์ มีแหล่งน้ำธรรมชาติ สามารถใช้เพื่อ
การเกษตรได้ทั้งปี รายได้ส่วนใหญ่มาจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีขนบธรรมเนียมที่เป็นอัตลักษณ์เป็นของ
ตนเอง ประชาชนนบั ถอื ศาสนาพุทธ มีความสมคั รสมานสามคั คตี ่อกนั

ด้วยเหตุทีพ่ ้ืนทอ่ี งคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลเมืองน้อย ประกอบด้วย 10 หมู่บา้ น มจี ำนวนประชากร
4,479 คน และมสี ถานประกอบการประเภทตา่ งๆ เช่น โรงเรียน โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพประจำตำบลและชุมชน
จึงส่งผลให้เกดิ ขยะมูลฝอยจากการประกอบกิจวัตรต่างๆ ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลเมอื งน้อยประมาณ 261.57
ตนั /ปี หรอื 725 กิโลกรัมต่อวัน

2

1.2 สภาพปัญหาในพน้ื ที่ดำเนนิ โครงการ
1.2.1 องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลเมืองน้อย มีปรมิ าณขยะมูลฝอยทเ่ี กิดขน้ึ 261.57 ตนั /ปี หรือ 725

กก. ต่อวัน การจัดการขยะที่เกิดขึ้น องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองนอ้ ยได้ขดุ บ่อขยะไว้ให้ประชาชนได้นำขยะไปทิ้งจำนวน
1 แห่ง ขนาดพื้นที่ 1 งาน พร้อมกับใช้มาตรการรณรงค์ให้มีการคัดแยกขยะที่ต้นทางควบคูก่ ันไปเพื่อลดปริมาณขยะท่ี
เกิดขึ้น แต่ก็มีขยะส่วนหนึ่งที่ไม่มีการคัดแยกและตกค้างตามสถานที่ต่างๆ โดยพื้นที่ดำเนินโครงการที่คัดเลือกเป็นชุมชน
เป้าหมาย มปี ริมาณขยะมลู ฝอยเกิดขึน้ เฉลยี่ ประมาณ 49.6 กโิ ลกรมั ต่อวนั

1.2.2 ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ประชาชนและเยาวชนขาดจิตสำนึก ยังไม่มี
การคัดแยกขยะมูลฝอยแต่ละประเภทภายในชุมชน การบริหารจัดการขยะมูลฝอยขององค์การบริหารส่วนตำบลเมือง
น้อย ขาดประสิทธภิ าพ เนอ่ื งจากอุปกรณ์ไมม่ ีประสทิ ธภิ าพ หรือขาดบคุ ลากรในการดำเนนิ การ การกำจดั มูลฝอย ไม่มีท่ี
ฝังกลบเพยี งพอ การเทกองเกิดปญั หาร้องเรยี น เปน็ ตน้

1.3 เหตผุ ลความจำเปน็ ที่ต้องจดั ทำโครงการ
องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลเมืองน้อย มคี วามจำเป็นตอ้ งดำเนนิ โครงการส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชน

ในการคดั แยกขยะทตี่ น้ ทาง เพ่ือแก้ไขปัญหาการจดั การขยะมลู ฝอยในพื้นทีช่ ุมชน สถานศึกษา อาคารหน่วยงานภาครัฐ
เป็นต้น ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองน้อยเพื่อรณรงค์ ส่งเสริมให้ประชาชน เยาวชน เข้ามามีส่วนร่วมในการ
จัดการขยะมูลฝอย โดยการคัดแยกและจัดการประเภทขยะมูลฝอย (ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป) ท่ี
เกิดขึ้นจากแหลง่ กำเนดิ ภายในชุมชนของตนเองได้ และสามารถเปน็ ตน้ แบบให้แก่ชมุ ชนอืน่ ๆ ภายในเขตพ้นื ที่

2. วัตถปุ ระสงค์
2.1 ใหค้ วามรูก้ ารคัดแยกประเภทขยะมลู ฝอยกับชมุ ชน หมูบ่ า้ น สถานศึกษา ตลาดสด ฯลฯ
2.2 ให้มีการคัดแยกและกระบวนการจดั การขยะอนิ ทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป เพื่อลดปริมาณ

ขยะในชุมชนเป้าหมาย
2.3 ให้มีชุมชน/กลุม่ เปา้ หมายนำร่อง ในการคดั แยกขยะจากตน้ ทาง เพ่ือใช้เป็นตน้ แบบในการขยายผลสู่ชุมชน

อ่นื ๆ ต่อไป
2.4 ให้ชุมชนต้นแบบสามารถลดปริมาณขยะที่ต้องนำไปกำจัดลงได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 ของปริมาณขยะที่

เกดิ ขึ้นกอ่ นเร่มิ ดำเนนิ โครงการ

3. พ้ืนท่ดี ำเนินโครงการและกลมุ่ เป้าหมาย
3.1 พื้นท่ีดำเนนิ โครงการ
3.1.1 จำนวนชุมชน 1 ชุมชน (บ้านหนองมขุ หมู่ที่ 5 ตำบลเมอื งน้อย อำเภอกันทรารมย์ จงั หวัด

ศรีสะเกษ จำนวนครวั เรือนที่เขา้ รว่ มโครงการ 66 ครวั เรือน จำนวนประชากร 310 คน)
3.1.2 จำนวนสถาบันการศึกษา 3 แหง่
1) โรงเรยี นบ้านเมอื งน้อยหนองมขุ จำนวนนักเรียน 118 คน อาจารย์ 18 คน

3

ปริมาณขยะทเ่ี กิดขึน้ 50 กโิ ลกรมั ตอ่ วนั
2.โรงเรียนบา้ นหนองนำ้ เต้าโนนสวน จำนวนนกั เรียน 74 คน อาจารย์ 8 คน

ปรมิ าณขยะทเ่ี กิดข้ึน 30 กโิ ลกรัมต่อวนั
3.โรงเรยี นบ้านหนองเทา จำนวนนักเรยี น 63 คน อาจารย์ 7 คน

ปริมาณขยะทเ่ี กิดขนึ้ 30 กโิ ลกรมั ตอ่ วัน

3.2 แผนท่ีแสดงพื้นท่ดี ำเนินโครงการ

3.3 กลมุ่ เป้าหมาย
- กลมุ่ เป้าหมาย คอื บา้ นหนองมขุ หมูท่ ี่ 5 ตัวแทนครวั เรอื น จำนวน 66 ครวั เรอื น
- คร/ู นักเรยี น จำนวน 288 คน
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 18 เดอื น

4

4. แผนงาน/กิจกรรมการดำเนินงาน

4.1 ตารางเวลาการทำงาน

แผนงาน /กจิ กรรม ระยะเวลาดำเนนิ งาน (๑๘ เดอื น)
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘

แผนงานที่ ๑ การอบรมใหค้ วามรกู้ ารคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย

๑.๑ การอบรมให้ความรเู้ ร่อื ง

การคัดแยกขยะ

๑.๒ การจดั ทำส่อื

ประชาสมั พันธ์

๑.๓ การศกึ ษาดูงานในพน้ื ที/่

ชมุ ชนใกล้เคียง

แผนงานท่ี ๒ การคดั แยกขยะอนิ ทรีย์ ขยะรไี ซเคิล ขยะอนั ตราย และขยะทัว่ ไป

๒.๑ การคดั แยกขยะอนิ ทรีย์

๒.๒ การคดั แยกขยะรไี ซเคลิ

๒.๓ การคดั แยกขยะอันตราย

๒.๔ การคัดแยกขยะทัว่ ไป

แผนงานท่ี ๓ การจดั การขยะแตล่ ะประเภท (เกบ็ รวมรวบ กำจัด หรือนำไปใช้ประโยชน์)

๓.๑ การจดั การขยะอินทรยี ์

๓.๒ การจัดการขยะรีไซเคิล

๓.๓ การจดั การขยะอันตราย

๓.๔ การจดั การขยะทว่ั ไป

แผนงานที่ ๔ การติดตาม ประเมินผล และการถอดบทเรียน

๔.๑ การตดิ ตาม ประเมนิ ผล

๔.๒ การถอดบทเรยี น

สรปุ ผล และการจดั ทำ

รายงาน

4.2 ตารางแผนงาน/กจิ กรรมการดำเนินงาน

แผนงาน/กจิ กรรม วิธกี ารดำเนินงาน
(ทำอะไร) (โดยใคร อยา่ งไร ท่ีไหน)

แผนงานที่ 1 การอบรมใหค้ วามรู้การคัดแยกประเภทขยะมูลฝอย

1.1 การอบรมให้ความรเู้ รื่องการคัดแยก -การบรรยาย -ต

ขยะ -เลือกประธาน คณะกรรมการ จำน

แกนนำด้านการจัดการขยะใน - ค

ชมุ ชน เมื

-การอภิปรายและแบ่งกลุ่มฝึก หน

ปฏิบตั ิ หน

1.2 การจดั ทำสอื่ ประชาสัมพันธ์ - จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์พร้อม -หม
ติดตั้ง รณรงค์การบริหารจัดการ หม
1.3 การศึกษาดงู านในพน้ื ท่ี/ชุมชน ขยะ การคัดแยกขยะที่ต้นทาง
ใกลเ้ คียง โดยชุมชน

- ศึกษาดูงานด้านการบริหาร - ค
จัดการขยะชุมชนพื้นที่ใกล้เคียง จ
เพอ่ื สรา้ งความตื่นตัวและการรับรู้
ที่เพิ่มมากขึ้นตลอดจนสร้างแรง
ขับเคลื่อนที่จะดำเนินกิจกรรม

5

กลุ่มเปา้ หมาย/พนื้ ที่เป้าหมาย ผลผลติ ท่ไี ดจ้ ากการดำเนนิ งาน
(เพ่ือใคร/ระบุจำนวนหรอื
ดำเนนิ การในพ้ืนที่ไหน)

ัวแทนครัวเรือนบ้านหนองมุข -ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ เกิดกระบวนการ

นวน 66 คน เรียนรู้ และสามารถบริหารจัดการขยะที่เกิดขึ้นใน

ครู/นักเรียน โรงเรียนบ้าน ชีวิตประจำวันได้ ด้วยการคัดแยกขยะได้อย่างถูกวิธี

องน้อยหนองมุข โรงเรียนบ้าน และสามารถนำขยะมาใช้ประโยชน์ สร้างรายได้ ให้แก่

นองน้ำเต้าโนนสวน โรงเรียนบ้าน ครัวเรือนได้

นองเทา จำนวน 84 คน - แกนนำหมู่บ้าน นำความรู้ไปขยายต่อเพิ่มเครือข่าย

ในการบริหารจัดการขยะภายในหม่บู า้ น ชุมชนเพม่ิ ขึน้

มูบ่ า้ นกลมุ่ เปา้ หมาย จำนวน 1 -กลุ่มเป้าหมายได้ความรู้จากสื่อประชาสัมพันธ์
มู่บา้ น โรงเรียน จำนวน 3 โรงเรียน สามารถนำความรู้จากสื่อประชาสัมพันธ์นำไปคัดแยก

ขยะไดอ้ ยา่ งถกู วธิ ี

คดั เลือกจากกล่มุ เปา้ หมาย - กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้ที่ไดจ้ ากการศึกษาดู

จำนวน 100 คน เขา้ ร่วมศึกษางาน งานการบริหารจัดการชุมชนต้นแบบ นำความรู้ทีไ่ ด้ไป

ปฏบิ ัติและเผยแพรแ่ ก่ประชาชนในหม่บู ้าน

แผนงาน/กิจกรรม วธิ กี ารดำเนินงาน
(ทำอะไร) (โดยใคร อยา่ งไร ท่ีไหน)

การลดขยะให้เกิดผลสัมฤทธิ์ของ

โครงการ

แผนงานท่ี ๒ กจิ กรรมการคดั แยกขยะอนิ ทรยี ์ ขยะรไี ซเคิล ขยะอันตราย และขย

2.1 การคัดแยกขยะอนิ ทรีย์ -กิจกรรมการคัดแยกขยะอินทรีย์ -ต

ของพื้นที่เป้าหมาย จำนวน จำน

1 หมูบ่ ้าน และโรงเรยี น จำนวน - ค

3 แห่ง โดยมีถังหมักอินทรีย์ เมื

ชีวภาพ ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย หน

จำนวน 66 ถังและโรงเรียนที่เข้า หน

รว่ มโครงการโรงเรียนละ 3 ถงั

2.2 การคัดแยกขยะรีไซเคลิ -กิจกรรมการคัดแยกขยะรีไซเคิล -ต

ของพื้นที่เป้าหมายจำนวน 1 จำน

หมู่บ้าน และโรงเรียนที่เข้าร่วม - ค

โครงการจำนวน 3 โรง น้อ

น้ำ

เทา

2.3 การคดั แยกขยะอันตราย -จัดกิจกรรมณรงค์การคัดแยก -ต

ขยะอันตรายของพื้นที่เป้าหมาย จำน

จำนวน 1 หม่บู ้าน และโรงเรียน - ค

ท่ีเขา้ รว่ มโครงการจำนวน 3 โรง เมื

กลุ่มเป้าหมาย/พื้นท่ีเป้าหมาย ผลผลติ ที่ไดจ้ ากการดำเนินงาน
(เพ่ือใคร/ระบุจำนวนหรอื
ดำเนนิ การในพืน้ ท่ีไหน)

ยะท่วั ไป โดยชมุ ชน สถานประกอบการ หรอื สถาบนั การศกึ ษา/โรงเรียน
ัวแทนครัวเรือนบ้านหนองมุข สามารถลดปรมิ าณขยะลงได้มากกว่า 35 % ต่อวนั
นวน 66 คน
ครู/นกั เรียน โรงเรียนบ้าน
องน้อยหนองมุข โรงเรียนบ้าน
นองน้ำเต้าโนนสวน โรงเรียนบ้าน
นองเทา จำนวน 84 คน

ัวแทนครัวเรือนบ้านหนองมุข สามารถลดปริมาณขยะลงไดม้ ากกว่า 35 % ตอ่ วนั
นวน 66 คน
ครู/นักเรียน โรงเรียนบ้านเมือง
อยหนองมุข โรงเรียนบ้านหนอง
ำเต้าโนนสวน โรงเรียนบ้านหนอง
า จำนวน 84 คน
ัวแทนครัวเรือนบ้านหนองมุข สามารถลดปรมิ าณขยะลงไดม้ ากกวา่ 35 % ตอ่ วัน
นวน 66 คน
ครู/นักเรียน โรงเรียนบ้าน
องน้อยหนองมุข โรงเรียนบ้าน

แผนงาน/กิจกรรม วธิ ีการดำเนินงาน
(ทำอะไร) (โดยใคร อยา่ งไร ที่ไหน)

หน

หน

2.4 การคัดแยกขยะทัว่ ไป -กิจกรรมการคัดแยกขยะทั่วไป -ต

ของพื้นที่เป้าหมายจำนวน 1 จำน

หมู่บ้าน และโรงเรียนที่เข้าร่วม - ค

โครงการจำนวน 3 โรง เมื

หน

หน

แผนงานท่ี 3 การจดั การขยะแตล่ ะประเภท (เก็บรวบรวม บำบดั หรอื กำจดั หรอื

3.1 การจัดการขยะอนิ ทรยี ์ - กิจกรรมการจัดการขยะอินทรีย์ -ต

ในครัวเรือน ทำปุ๋ยน้ำบำรุงผัก จำน

และบำบดั นำ้ เสียในครวั เรอื น - ค

-จัดทำปุ๋ยหมักจากเศษใบไม้ เศษ เมื

หญ้าและเศษอาหาร เป็นปุ๋ยปลูก หน

ผกั และเพาะกลา้ ไมใ้ นครวั เรอื น หน

3.2 การจดั การขยะรีไซเคิล -กิจกรรมนำขยะรีไซเคิลที่ได้จาก -ต

การคัดแยกนำมาประดิษฐ์ แปร จำน

รปู เพอื่ ใชใ้ นครวั เรอื น -ค

น้อ

น้ำ

เทา

กลมุ่ เป้าหมาย/พ้นื ท่เี ปา้ หมาย

(เพื่อใคร/ระบุจำนวนหรอื ผลผลติ ทไี่ ดจ้ ากการดำเนนิ งาน

ดำเนนิ การในพ้ืนที่ไหน)

นองน้ำเต้าโนนสวน โรงเรียนบ้าน

นองเทา จำนวน 84 คน

ัวแทนครัวเรือนบ้านหนองมุข สามารถลดปริมาณขยะลงไดม้ ากกวา่ 35 % ต่อวัน

นวน 66 คน

ครู/นักเรียน โรงเรียนบ้าน

องน้อยหนองมุข โรงเรียนบ้าน

นองน้ำเต้าโนนสวน โรงเรียนบ้าน

นองเทา จำนวน 84 คน

อนำไปใชป้ ระโยชน์)

ัวแทนครัวเรือนบ้านหนองมุข สามารถลดปริมาณขยะลงไดม้ ากกวา่ ๓๕ % ต่อวนั

นวน 66 คน

ครู/นักเรียน โรงเรียนบ้าน

องน้อยหนองมุข โรงเรียนบ้าน

นองน้ำเต้าโนนสวน โรงเรียนบ้าน

นองเทา จำนวน 84 คน

ัวแทนครัวเรือนบ้านหนองมุข สามารถลดปรมิ าณขยะลงได้มากกว่า 35 % ต่อวัน

นวน 66 คน

ครู/นักเรียน โรงเรียนบ้านเมือง

อยหนองมุข โรงเรียนบ้านหนอง

ำเต้าโนนสวน โรงเรียนบ้านหนอง

า จำนวน 84 คน

แผนงาน/กิจกรรม วิธกี ารดำเนินงาน
(ทำอะไร) (โดยใคร อยา่ งไร ที่ไหน)

3.3 การจดั การขยะอนั ตราย - จัดกิจกรรมณรงค์การคัดแยก -ต

3.4 การจัดการขยะทัว่ ไป ขยะอันตราย เพื่อรวบรวมขยะ จำน

อนั ตรายไปนำไปกำจดั อย่างถูกวิธี - ค

น้อ

น้ำ

เทา

- ขยะที่เหลือจากการคัดแยกขยะ -ต

ที่ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ จำน

อย่างอื่นได้อีก จะถูกนำทิ้งยังบ่อ - ค

ขยะองค์การบริหารส่วนตำบล น้อ

เมืองนอ้ ย น้ำ

เทา

แผนงานที่ 4 การตดิ ตาม ประเมนิ ผล และการถอดบทเรียน

4.1 การติดตาม ประเมนิ ผล - เจา้ หน้าท่ีร่วมกบั ชมุ ชน -ค

กล่มุ แกนนำหมูบ่ า้ นรว่ ม ชุม

ประเมนิ ปริมาณขยะก่อนและ ตำบ

หลังดำเนนิ การคัดแยกขยะต้น

ทางเพื่อประเมนิ โครงการ

- จัดประชมุ คณะกรรมการ

ติดตามผลการดำเนินงานเพ่ือ

กลุ่มเปา้ หมาย/พนื้ ทเ่ี ป้าหมาย

(เพ่ือใคร/ระบจุ ำนวนหรอื ผลผลิตท่ไี ด้จากการดำเนนิ งาน

ดำเนนิ การในพื้นท่ีไหน)

ัวแทนครัวเรือนบ้านหนองมุข สามารถลดปริมาณขยะลงไดม้ ากกว่า 35 % ต่อวัน

นวน 66 คน

ครู/นักเรียน โรงเรียนบ้านเมือง

อยหนองมุข โรงเรียนบ้านหนอง

ำเต้าโนนสวน โรงเรียนบ้านหนอง

า จำนวน 84 คน

ัวแทนครัวเรือนบ้านหนองมุข สามารถลดปรมิ าณขยะลงไดม้ ากกว่า 35 % ตอ่ วัน

นวน 66 คน

ครู/นักเรียน โรงเรียนบ้านเมือง

อยหนองมุข โรงเรียนบ้านหนอง

ำเต้าโนนสวน โรงเรียนบ้านหนอง

า จำนวน 84 คน

คณะกรรมการ การจัดการขยะโดย - สามารถประเมินคุณภาพการบริการจัดการขยะต้น
มชน/เจ้าหน้าที่องค์การบริหารสว่ น ทางได้
บล

แผนงาน/กิจกรรม วิธีการดำเนนิ งาน
(ทำอะไร) (โดยใคร อยา่ งไร ท่ีไหน)

4.2 การถอดบทเรียน สรุปผล และการ สรุปผลการดำเนนิ งานใน
จดั ทำรายงาน ภาพรวมอย่างนอ้ ยปลี ะ 1 คร้งั

กลมุ่ เป้าหมาย/พ้นื ท่ีเป้าหมาย ผลผลิตท่ไี ด้จากการดำเนนิ งาน
(เพ่ือใคร/ระบุจำนวนหรอื
ดำเนินการในพนื้ ท่ีไหน)

10

5. ผลประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รบั
ผลประโยชน์ตอ่ ประชาชนและชุมชน
1. ประชาชนมีความรู้ และทักษะ สามารถคัดแยกและจดั การขยะแตล่ ะประเภทได้อยา่ งเหมาะสม
2. ช่วยลดปัญหาปริมาณขยะ ปญั หาไมม่ ที ่ีกำจดั ขยะ และปญั หาเกีย่ วกับสุขภาวะของประชาชน
ในพนื้ ที่
3.เกิดชมุ ชนตน้ แบบทส่ี ามารถถา่ ยทอดความรู้ และทักษะในการคัดแยกประเภทขยะสชู่ ุมชนอ่ืน ๆ

ผลประโยชน์ต่อทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1. สภาพแวดล้อมในพน้ื ท่ีชุมชนตน้ แบบมีความสะอาดปราศจากขยะมลู ฝอย
2. ลดการทำลายทรัพยากรดินในพ้ืนท่ีจากการกำจัดขยะดว้ ยวิธีการเผา
3. ลดการปนเป้ือนสงิ่ สกปรกลงสทู่ รัพยากรนำ้ ในพื้นท่จี ากนำ้ ชะขยะที่ไม่ไดก้ ำจัดอย่างเหมาะสม

11

6. วงเงนิ งบประมาณ จำนวนไม่เกิน 400,000 บาท
ตารางวงเงินงบประมาณ (ค่าใช้จ่ายสำหรับดำเนินโครงการเป็นไปตามเนื้องาน/กิจกรรมที่กำหนด โดยไม่

สนับสนุนงบบริหารโครงการในส่วนของค่าจ้างตอบแทนผู้ประสานงานโครงการ ทั้งนี้ ค่าใช้จ่ายต่างๆ ต้องเป็นไปตาม
ระเบยี บและหลักเกณฑข์ องทางราชการ)

งบประมาณ/แผนงาน/กิจกรรม งบกองทนุ ฯ (บาท) งบสมทบ(ถ้ามี) รวมงบ
ปที ี่ 1 ปที ี่ 2 รวม (บาท) ทงั้ โครงการ

แผนงานท่ี 1 การอบรมใหค้ วามรูก้ ารคดั แยกประเภทขยะมูลฝอย

1.1 การอบรมใหค้ วามรเู้ ร่อื งการคัดแยกขยะแกผ่ เู้ ขา้ ร่วมโครงการในชมุ ชนพ้นื ทเ่ี ป้าหมาย

- คา่ เอกสารคมู่ อื ( 150 คน x 50 บาท ) 7,500 - 7,500
- คา่ อาหารกลางวัน อาหารวา่ ง/เครอื่ งดืม่ 22,500 - 22,500

( 150 คน x 150 บาท 1 วัน ) 3,600 - 3,600
- ค่าวทิ ยากร ( 3 คน x 2 ชั่วโมง x (600 บาท ) 3,750 - 3,750
- คา่ วัสดุ อุปกรณ์ เคร่อื งเขยี น ( 150 หน่วยนับ x 25 บาท ) 9,000 - 9,000
- ค่าถุงผ้าใสเ่ อกสาร 150 ใบ ใบละ 50 บาท 1,200 1,200
- คา่ อนื่ ๆ ระบุ ป้ายโครงการ ( 1 ป้าย x 1,200บาท)

รวม 47,550 - 47,550
1.2 การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์
- ปา้ ยไวนลิ รณรงค์ คัดแยกขยะพร้อมโครงไม้ จำนวน 20 ชดุ 15,000 - 15,000

ชดุ ละ 1,000 บาท 3,000 - 3,000
- โบวช์ วั ร์/แผน่ พบั จำนวน 150 แผน่ แผน่ ละ 15 บาท 12,000 - 12,000
- ชุดนิทรรศการใหค้ วามรกู้ ารคดั แยกขยะ (Roll up)
3,065 - 3,065
พรอ้ มภาพ จำนวน 6 ชุด ชุดละ 1,500 บาท
- ป้ายเหล็กฐานการเรียนร้คู รวั เรอื น

รวม 33,065 - 33,065

1.3 การศกึ ษาดงู านในพนื้ ท่/ี ชมุ ชนใกลเ้ คยี ง (จัดใหก้ ับผู้เข้ารว่ มโครงการในชุมชนพ้ืนทเี่ ปา้ หมาย)

- ประชาชนผเู้ ขา้ ร่วมโครงการจำนวน 100 คน

- คา่ จ้างเหมายานพาหนะรถทวั รป์ รับอากาศ ( 2 คนั 15,000 บาท ) 30,000 - 30,000

- ค่าของท่ีระลึก 1,500 - 1,500

- ค่าวิทยากร 6 ชว่ั โมง ช่วั โมงละ 600 บาท 3,600 - 3,600

- คา่ อาหารกลางวนั อาหารวา่ ง/เครอ่ื งดม่ื 25,000 - 25,000

(100 คน x 250บาท 1 วัน )

รวม 58,300 - 58,300
รวมงบแผนงานท่ี 1 138,915 -
1138,915

งบประมาณ/แผนงาน/กจิ กรรม งบกองทนุ ฯ (บาท) งบสมทบ(ถา้ มี) รวมงบ
ปีท่ี 1 ปที ี่ 2 รวม (บาท) ทัง้ โครงการ

แผนงานท่ี 2 การคดั แยกขยะอินทรยี ์ ขยะรีไซเคลิ ขยะอันตราย และขยะทั่วไป โดยชุมชน สถานประกอบการ หรอื สถาบันการศึกษา/

โรงเรยี น

2.1 การคดั แยกขยะอินทรีย์

- ค่าจัดทำถังขยะเปยี กแบบมีฝาปดิ ขนาด 10 - 20 ลิตร

จำนวน 3 โรงเรยี นท่เี ข้าร่วมโครงการ โรงเรยี นละ 3 ถงั รวม 9 ถังๆ

ละ 100 บาท 900 - 900

- ค่าจัดทำเสวยี นรอบต้นไม้ 80 ชุด ชุดละ 300 บาท สำหรบั รองรับ

ขยะอินทรีย์(ใบไม้ กิ่งไม้ หญ้า) สำหรับ วัดครัวเรือนที่เข้าร่วม 24,000 - 24,000
โครงการ 9,000 - 9,000
- ค่าจัดทำเสวยี นรอบต้นไม้ 30 ชดุ ชุดละ 300 บาท สำหรับรองรับ
ขยะอินทรีย์ (ใบไม้ กิ่งไม้หญ้า) ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ
จำนวน 3 โรงเรยี น

รวม 33,900 - 33,900
2.2 การคัดแยกขยะรีไซเคลิ
- จดั ทำชุดคัดแยกขยะทำดว้ ยเหล็ก แยกขยะ 20,100 - 20,100
แต่ละประเภท เช่น แก้ว พลาสติก กระดาษ อลูมิเนียม เป็นต้น -
จำนวน 67 ชุด รองรับการคัดแยกขยะรีไซเคิลของ วัด และ 1,608 - 1,608
ครัวเรือนที่เขา้ ร่วมโครงการ ชดุ ละ 300 บาท 6,700 6,700
- กระสอบใสข่ ยะแต่ละประเภท จำนวน 201 ใบ ใบละ 8 บาท 2,700 - 2,700
- ปา้ ยแสดงขยะแตป่ ระเภท จำนวน 67 แผ่นละ 100 บาท -
- จัดทำชุดคัดแยกขยะทำด้วยเหล็ก แยกขยะแต่ละประเภท เช่น 648 - 648
แก้ว พลาสติก กระดาษ อลูมิเนียม เปน็ ต้น จำนวน 9 ชุด รองรับ 900 900
การคัดแยกขยะรีไซเคิลของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 3 32,656 32,656
โรงเรียน ชดุ ละ 300 บาท 15,001 15,001
- กระสอบใส่ขยะแตล่ ะประเภท จำนวน 81 ใบ ใบละ 8 บาท 43,979 43,979
- ป้ายแสดงขยะแต่ประเภท จำนวน 9 แผน่ ละ 100 บาท

รวม
2.3 การคดั แยกขยะอนั ตราย
- จัดทำตูร้ วบรวมขยะอันตราย พรอ้ มขอ้ ความ จำนวน 4 ชุด
ชดุ ละ 3,750 บาท
- ก่อสรา้ งโรงเรอื นเก็บขยะอนั ตราย ชุดละ 43,979 บาท

รวม 58,979 - 58,979

งบประมาณ/แผนงาน/กจิ กรรม งบกองทนุ ฯ (บาท) งบสมทบ(ถา้ มี) รวมงบ
ปที ี่ 1 ปีท่ี 2 รวม (บาท) ทัง้ โครงการ
2.4 การคัดแยกขยะทวั่ ไป
- กิจกรรมรณรงค์ 17,250 17,250
4,025 4,025
- ค่าจัดทำเสอื้ รณรงค์ จำนวน 115 ตัวๆละ 150 บาท 3,200 3,200
- ค่าอาหารวา่ งและเครอ่ื งดมื่ จำนวน 115 คนๆละ 35 บาท 3,000 3,000
- คา่ ป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 4 ปา้ ยๆ ละ 800 บาท
- คา่ เครอื่ งขยายเสียง

รวม 27,475 - 27,475

รวมงบแผนงานท่ี 2 153,010 - 153,010

แผนงานที่ 3 การจัดการขยะแตล่ ะประเภท (เกบ็ รวบรวม บำบัด หรือกำจดั หรอื นำไปใช้ประโยชน)์

3.1 การจดั การขยะอนิ ทรยี ์

- การอบรมให้ความร้เู ร่อื งการทำนำ้ หมักชวี ภาพแกผ่ ู้เข้ารว่ ม

โครงการในชุมชนพ้ืนทเี่ ป้าหมาย

- คา่ เอกสารคมู่ อื (150 คน x 30 บาท) 4,500 - 4,500

- คา่ อาหารว่าง/เครอ่ื งดม่ื (150 คน x 35บาท ) 5,250 - 5,250

- ค่าวิทยากร (2 คน x 3 ชัว่ โมง x (600 บาท ) 1,800 - 1,800

- ค่าวัสดุ อปุ กรณ์ เชน่ เครอ่ื งสบั วสั ดุ ผกั ผลไม้ 12,950 - 12,950

- คา่ ถงั พลาสตกิ แบบมฝี าปดิ ขนาด 10 - 20 ลิตร X 67 ถัง X

100 บาท เปน็ เงนิ 6,700 บาท 6,700 - 6,700

- ค่าถงั พลาสติกแบบมฝี าปิด ขนาด 10 - 20 ลิตร X 9 ถงั

X100 บาท เป็นเงนิ 900 บาท ( โรงเรยี นจำนวน 3 โรงเรียน) 900 - 900

- คา่ กากนำ้ ตาลจำนวน 540 กิโลกรัม ๆ ละ 15 บาท

เป็นเงิน 8,100 บาท 8,100 - 8,100

- ค่าหัวเชือ้ EM จำนวน 180 ลติ รๆละ 100 บาท

เปน็ เงนิ 18,000 บาท 18,000 - 18,000

รวม 58,200 - 58,200

3.2 การจัดการขยะรีไซเคลิ

- คา่ วสั ดุ อุปกรณก์ ารฝึกอบรม เชน่ เคร่อื งทอ่ ผา้ เชด็ เท้า 12,575 - 12,575
จำนวน 1 เครื่อง พรอ้ มวสั ดุ

- คา่ อาหาร อาหารว่างและเครือ่ งดื่ม 9,900 - 9,900
(66 คน x 150บาท 1 วนั ) 3,600 - 3,600
- คา่ วิทยากร ( 2 คน x 6 ช่ัวโมง x 600 บาท )

3.3 การจดั การขยะอนั ตราย รวม 26,075 - 26,075
- รวบรวมขยะอนั ตราย 2 เดอื นต่อคร้งั - -
-

งบประมาณ/แผนงาน/กจิ กรรม งบกองทนุ ฯ (บาท) งบสมทบ(ถา้ มี) รวมงบ
ปที ี่ 1 ปีที่ 2 รวม (บาท) ทั้งโครงการ
- ขนสง่ ขยะอนั ตรายไปกำจัดท่ีองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดโดย
องค์การบริหารส่วนตำบลเมอื งนอ้ ย -- -

รวม - - -

3.4 การจดั การขยะทัว่ ไป 3,000 - 3,000
- จัดประกวดโครงการหนา้ บา้ นนา่ มอง 3,000 - 3,000

- รางวลั ชนะเลิศ 1500 บาท,
รางวลั รองชนะเลิศอันดบั 1 1000 บาท,
รางวลั รองชนะเลิศอนั ดบั 2 500 บาท
รวมเป็นเงิน 3000 บาท

- คา่ อาหาร อาหารว่างและเครือ่ งดม่ื คณะกรรมการ
จำนวน 20 คน X 150 บาท

รวม 6,000 - 6,000
รวมงบแผนงานที่ 3 90,275 90,275
แผนงานที่ 4 การติดตาม ประเมินผล และการถอดบทเรียน 4,000
4.1 การติดตาม ประเมินผล 14,000 700 12,000
- ค่าเอกสารเก็บขอ้ มลู สมุ่ สำรวจทกุ 3 เดือน 1,400 2,100
( 4,000 บาท X 3 ครงั้ )
- ค่าอาหารวา่ งและน้ำดมื่ คณะกรรมการจำนวน 20 คน
( 20 คน X 35 บาท X 3 ครง้ั )

4.2 การถอดบทเรยี น สรุปผล และการจดั ทำรายงาน 1,000 1,000
- ค่าเอกสารคณะกรรมการประชมุ (20 คน X 50 บาท X 1 ครง้ั ) 700 700
- คา่ อาหารวา่ งและน้ำดื่ม คณะกรรมการจำนวน 20 คน
2,000 2,000
( 20 คน X 35 บาท X 1 คร้งั )
- ค่าถ่ายเอกสารเขา้ เล่ม

รวมงบแผนงานที่ 4 4,400 8,400 17,800
รวมงบประมาณทั้งโครงการ 391,600 8,400 400,000 - 400,000

15

ตารางแสดงค่าใช้จ่ายจริงตามโครงการส่งเสริมการมีสว่ นรว่ มของชุมชนในการคดั แยกขยะท่ีตน้ ทาง
ชุดท่ี 3 )

งบประมาณ/แผนงาน งบประมาณ ค่าใช้จ่าย งบประมาณคงเหลือ

แผนงานท่ี ๑ การอบรมใหค้ วามรกู้ ารคดั แยกประเภทขยะมูลฝอย

๑.๑ การอบรมให้ความรเู้ ร่ืองการคัดแยกขยะ 47,550 41,600 5,950
๑.๒ การจดั ทำส่อื ประชาสัมพันธ์ 33,065 31,100 1,965
7,500
๑.๓ การศึกษาดูงานในพื้นท่/ี ชมุ ชนใกล้เคยี ง 58,300 50,800 15,415
รวมงบแผนงานท่ี 1 138,915 123,500
-
แผนงานที่ ๒ การคดั แยกขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคลิ ขยะอันตราย และขยะทว่ั ไป 846
79
๒.๑ การคดั แยกขยะอนิ ทรีย์ 33,900 33,900 2500
๒.๒ การคดั แยกขยะรีไซเคิล 32,656 31,810 4,325

๒.๓ การคดั แยกขยะอันตราย 58,979 58,900 10,156
๒.๔ การคัดแยกขยะท่ัวไป 27,475 24,975 2,103
รวมงบแผนงานท่ี 2 153,010 149,585
-
แผนงานที่ ๓ การจดั การขยะแตล่ ะประเภท (เกบ็ รวมรวบ กำจดั หรือนำไปใช้ประโยชน์) 1,260
13,519
๓.๑ การจดั การขยะอนิ ทรยี ์ 58,200 48,044
๓.๒ การจัดการขยะรไี ซเคิล 26,075 23,972 8,510
๓.๓ การจดั การขยะอันตราย 3,000
๓.๔ การจัดการขยะท่วั ไป - - 17,100
6,000 4,740

รวมงบแผนงานที่ 3 90,275 76,756

แผนงานท่ี ๔ การติดตาม ประเมนิ ผล และการถอดบทเรียน

๔.๑ การตดิ ตาม ประเมนิ ผล 14,100 5,590
3,700 700
๔.๒ การถอดบทเรยี น สรุปผล และการจัดทำ 17,800 6,290
รายงาน

รวมงบแผนงานที่ 4

รวมงบประมาณท้งั โครงการ 400,000 356,131 43,869

16

7. ตวั ช้วี ดั ผลสำเร็จของโครงการ

ตัวชวี้ ัดเชิงคุณภาพ วธิ ีการวัด เกณฑก์ ารประเมนิ

วัตถปุ ระสงค์ข้อท่ี 1 ให้ความร้กู ารคัดแยกประเภทขยะมูลฝอยกบั ชุมชน สถานศกึ ษา

ตัวชี้วัดที่ 1 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ทำแบบทดสอบความรู้ อย่างน้อยรอ้ ยละ 80 ของกลุม่ เป้าหมาย

ความเข้าใจในเรื่องการคัดแยกขยะ ความเข้าใจหลังการ มีคะแนนผา่ นเกณฑ์การทดสอบ

แต่ละประเภทได้ถูกตอ้ ง ฝึกอบรม

วตั ถุประสงคข์ ้อท่ี 2 ใหม้ ีการคัดแยกขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคลิ ขยะอันตราย ขยะทวั่ ไป เพอื่ ลดปริมาณขยะในพนื้ ที่

ตัวชี้วัดที่ 1 กลุ่มเป้าหมายมีการคัด 1.สำรวจครัวเรือนที่เข้า อยา่ งน้อยร้อยละ 80 ของกลมุ่ เปา้ หมาย มกี าร

แยกขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะ ร่วมโครงการ คดั แยกขยะมูลฝอยประเภทขยะอนิ ทรยี ์

อันตราย ขยะท่วั ไป มกี ารคดั แยกขยะ ขยะรีไซเคลิ ขยะอันตราย และขยะทวั่ ไป

2.เกบ็ ขอ้ มลู ปริมาณขยะ ปริมาณขยะที่ต้องนำไปกำจัดหลังจากดำเนินโครงการ

อินทรีย์ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้น

ขยะรไี ซเคิล กอ่ นเรมิ่ ดำเนนิ โครงการ

ขยะอันตราย และขยะ (วธิ คี ิด : ช่ังปรมิ าณขยะทตี่ อ้ งนำไปกำจัด)

ท่วั ไป

วตั ถุประสงคข์ อ้ ที่ 3 การถ่ายทอดองคค์ วามร้จู ากชุมชนต้นแบบให้แกช่ ุมชนอนื่ ๆ

ตัวชี้วัดที่ 1 มีฐานการเรียนรู้ เก็บข้อมูลจำนวนครั้งใน มีผู้เข้าศึกษาดูงานฐานการเรียนรู้ครัวเรือนต้นแบบ

ครัวเรือนต้นแบบ การจัดการขยะ การถ่ายทอดองค์ความรู้ หรือศนู ยถ์ ่ายทอดองคค์ วามรู้อยา่ งน้อย 100 คน

อินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ของฐานการเรียนรู้ หรือ

ขยะท่วั ไป จำนวนผู้เข้ามาศึกษาดู

งานฐานการเรียนรู้ ณ

ฐานเรียนรู้ครัวเรือน

ตน้ แบบ

8. การบรหิ ารโครงการ 17
8.1 โครงสร้างการบริหารโครงการ
8.1.1 คณะกรรมการบริหารโครงการ หรือดำเนนิ โครงการ สถานท่ีติดต่อ/เบอร์
โทรศัพท์
ลำดับท่ี ชอ่ื -สกุล ตำแหน่ง หน่วยงานต้นสังกดั
0853125210
1 นายไพบูลย์ คำศรี ประธานโครงการ องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองน้อย 0652960879
0973233796
2 นายสมาน สบื เสน รองประธานโครงการ องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลเมืองน้อย 0973436513
0810649777
3 นายไพรัช เหมือนมาตย์ รองประธานโครงการ องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลเมืองน้อย 0819678756
0804808721
4 นายสมบูรณ์ ประจันทร์ คณะกรรมการโครงการ กำนันตำบลเมืองน้อย 0878757730
0981737824
5 นายสังเวยี น สงู โฮง คณะกรรมการโครงการ โรงเรียนบ้านเมืองน้อยหนองมุข 0837246661
0906092675
6 นายกรวัฒนา นาคา คณะกรรมการโครงการ โรงเรียนบ้านหนองเทา 0868766390
0814700909
7 นายเอกวิทย์ น้อยม่ิง คณะกรรมการโครงการ โรงเรียนบ้านหนองนำ้ เต้าโนนสวน 0898468993
0616934664
8 พ.จ.ต.ประทวน วราพฒุ คณะกรรมการโครงการ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลเมืองน้อย 0933201185
0872613355
9 นางพัชราวดี ปักโคทะกัง คณะกรรมการโครงการ องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลเมืองน้อย 0854979693
0625390999
10 นายบัญชา เอกศิริ คณะกรรมการโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

11 นายบญุ เท่ียง เกษศรีรัตน์ คณะกรรมการโครงการ ประธาน อ.ส.ม.ตำบลเมืองน้อย

12 นายวัชรินทร์ บุญเร่มิ คณะกรรมการโครงการ องค์การบรหิ ารส่วนตำบลเมืองน้อย

13 นายโยธิน บัวทอง คณะกรรมการโครงการ องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองน้อย

14 นายอภิชาติ บวั แก้ว คณะกรรมการโครงการ องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลเมืองน้อย

14 นางสาวจิรพรรณ บุษบงก์ คณะกรรมการโครงการ องคก์ ารบริหารส่วนตำบลเมืองน้อย

16 นางทัศนีย์ จนั ทร์แจม่ คณะกรรมการโครงการ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลเมืองน้อย

17 นายสรุ พงษ์ อุทยั เลขานุการโครงการ องค์การบริหารสว่ นตำบลเมืองน้อย

18 นางสาวนิพัชรนิ ทร์ ทานะ ผู้ช่วยเลขานุการโครงการ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลเมืองน้อย

19 นางสาวณัฐธดิ า เหรียญตะคุ ผู้ช่วยเลขานุการโครงการ องค์การบรหิ ารส่วนตำบลเมืองน้อย

บทบาทและหนา้ ท่ี
1. วางแผนการดำเนนิ งาน และควบคุมกำกับใหก้ ารดำเนินงานโครงการมีประสิทธิภาพ
2. ดำเนนิ กจิ กรรมใหเ้ ป็นไปตามแผนด้วยความเรียบรอ้ ย และบรรลวุ ัตถุประสงค์ของโครงการ
3. ติดตามนเิ ทศโครงการ

8.1.2 ผปู้ ระสานงานโครงการ (เจ้าหนา้ ท่เี ทศบาล/องค์การบริหารส่วนตำบล)

ชอ่ื -สกลุ วุฒกิ ารศกึ ษา ประสบการณก์ ารทำงานด้านสง่ิ แวดล้อม เบอร์โทรศัพท์

นายสรุ พงษ์ อุทยั นติ ิศาสตรบัณฑิต รบั ผดิ ชอบงานดา้ นส่งิ แวดล้อมขององค์กร 10 ปี 0872613355

บทบาทและหน้าท่ี
1. ติดตอ่ ประสานงานโครงการ ให้มีการดำเนินงานเปน็ ไปตามแผนงานโครงการดว้ ยความเรียบรอ้ ย

18

8.2 แนวทางการบริหารโครงการเพอื่ ใหเ้ กิดความต่อเนอื่ งย่งั ยืนของโครงการ
แนวทางการบริหารโครงการเพือ่ ใหเ้ กิดความต่อเน่อื งย่งั ยืนของโครงการ หลงั จากโครงการสิน้ สุดแล้ว จะมี

การถ่ายทอดงาน ขับเคลื่อนโครงการต่อเนื่อง โดยกำหนดให้หมู่บ้าน/ชุมชน/โรงเรียน เป็นพื้นที่เรียนรู้และเป็น
ต้นแบบการคดั แยกขยะจากตน้ ทาง และขยายผลไปยังหมบู่ า้ น/ชุมชนอน่ื

19

9. ผลการดำเนินงานโครงการ
จากปัญหาขยะในพื้นที่ ที่เริ่มจะมีปัญหามากขึ้นตามการขยายตัวของชุมชน องค์การบริหารส่วน

ตำบลเมืองน้อยได้พยายามดำเนินกิจกรรมหลายๆอย่าง เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น แต่ก็ไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เนื่องจากขาดการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชน องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองน้อยจึงมีความ
จำเป็นต้องดำเนินโครงการเชงิ รุกส่งเสรมิ การมสี ว่ นร่วมของหมู่บ้านในการคดั แยกขยะทตี่ ้นทาง เพ่ือแก้ไขปัญหาการ
จัดการขยะมูลฝอยในพ้ืนท่ีบ้านหนองมุขและขยายผลไปยงั หมู่บ้านอืน่ ๆ อีก 10 หมู่บ้านรวมท้ังโรงเรยี นในพน้ื ทตี่ ำบล
เมอื งน้อย เพื่อรณรงค์ ส่งเสรมิ ให้ประชาชนและเยาวชน เข้ามามสี ่วนรว่ มในการจดั การขยะมูลฝอย โดยการคัดแยก
และจัดการประเภทขยะมูลฝอย (ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป) ที่เกิดขึ้นจากแหล่งกำเนิด
ภายในหมู่บ้านของตนเองได้ และสามารถเป็นต้นแบบให้แก่หมู่บ้านอื่นๆ ภายในเขตพื้นที่ โดยองค์การบริหารส่วน
ตำบลเมอื งนอ้ ย ไดร้ บั งบประมาณในการดำเนินโครงการส่งเสริมการมสี ่วนร่วมของชมุ ชนในการคดั แยกขยะที่ต้นทาง
จำนวน 400,000 บาท โดยแยกดำเนนิ การตามแผนงานดังน้ี

แผนงานท่ี 1 การอบรมให้ความรูก้ ารคดั แยกประเภทขยะมูลฝอย
1.1 การอบรมใหค้ วามรู้เรื่องการคดั แยกขยะ
- เพ่อื ให้ผ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรมได้รับความรู้ เกิดกระบวนการเรียนรู้ และสามารถบรหิ ารจัดการขยะ

ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้ ด้วยการคัดแยกขยะได้อย่างถูกวิธี และสามารถนำขยะมาใช้ประโยชน์ สร้างรายได้
ให้แก่ครัวเรือนได้ และเพื่อให้แกนนำหมู่บ้าน นำความรู้ไปขยายต่อเพิ่มเครือข่ายในการบริหารจัดการขยะภายใน
หมบู่ า้ น ชุมชนเพ่มิ ขน้ึ

20

ผ ู ้ เ ข ้ า ร ั บ ก า ร ฝ ึ ก อ บ ร ม ไ ด ้ ร ั บ ค ว า ม รู้
เกิดกระบวนการเรียนรู้ และสามารถ
บริหารจัดการขยะที่เกิดขึ้นใน
ชีวิตประจำวันได้ ด้วยการคัดแยกขยะ
ได้อย่างถูกวธิ ี

แกนนำหมู่บ้าน นำความรู้ไปขยายต่อ
เพิ่มเครือข่ายในการบริหารจัดการขยะ
ภายในหมู่บา้ น ชมุ ชนเพมิ่ ขนึ้

รณรงค์ ส่งเสริมให้ประชาชนและ
เยาวชน เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ
ขยะมูลฝอย โดยการคัดแยกและจัดการ
ประเภทขยะมลู ฝอย

21
1.2 การจดั ทำสื่อประชาสมั พนั ธ์
- จัดทำป้ายประชาสัมพันธพ์ ร้อมตดิ ตั้ง รณรงค์การบริหารจัดการขยะ การคัดแยกขยะทต่ี ้นทางโดยชุมชน
เพือ่ ให้กล่มุ เปา้ หมายได้ความรจู้ ากสอ่ื ประชาสมั พันธ์ สามารถนำความรจู้ ากส่ือประชาสัมพันธ์นำไปคัดแยกขยะได้
อย่างถูกวิธี

จัดทำป้ายประชาสมั พนั ธ์ตดิ ต้ังในชมุ ชน

เพ่อื ใหก้ ลุ่มเป้าหมายไดค้ วามรจู้ ากสื่อ
ประชาสมั พันธ์ สามารถนำความรูจ้ าก
สอื่ ประชาสัมพันธ์นำไปคดั แยกขยะได้
อย่างถูกวิธี

จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ติดต้ัง
ในสถานศึกษาในพ้ืนท่ี

22
1.3 การศกึ ษาดูงานในพื้นท/ี่ ชมุ ชนใกล้เคยี ง
- จดั กจิ กรรมศกึ ษาดูงานดา้ นการบริหารจัดการขยะชุมชนพ้ืนท่ใี กลเ้ คยี งเพ่อื สร้างความต่ืนตวั และการรับรู้
ท่ีเพิ่มมากขึน้ ตลอดจนสร้างแรงขับเคลื่อนท่ีจะดำเนนิ กจิ กรรมการลดขยะใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธข์ิ องโครงการ เพ่ือให้
กลุ่มเปา้ หมายสามารถนำความรทู้ ่ไี ด้จากการศกึ ษาดงู านการบรหิ ารจัดการชมุ ชนตน้ แบบ นำความรู้ทีไ่ ด้ไปปฏบิ ตั ิ
และเผยแพร่แกป่ ระชาชนในหมู่บ้าน

จดั โครงการศกึ ษาดูงานด้านการบรหิ ารจดั การขยะ

ศึกษาดา้ นการจดั การขยะแต่ละประเภท

เพ่อื เปน็ แนวทางในการพัฒนาชมุ ชนให้มี
ประสทิ ธภิ าพ

23
แผนงานท่ี 2 กจิ กรรมการคัดแยกขยะอนิ ทรีย์ ขยะรไี ซเคลิ ขยะอันตราย และขยะทั่วไป โดยชุมชน

สถานประกอบการ หรือ สถาบันการศึกษา/โรงเรยี น
2.1 การคัดแยกขยะอินทรยี ์
- กจิ กรรมการคดั แยกขยะอนิ ทรยี ข์ องพืน้ ทเ่ี ปา้ หมายจำนวน 1 หม่บู ้าน และโรงเรียน จำนวน 3 แห่ง
โดยมีถงั หมกั อนิ ทรียช์ วี ภาพ ให้แกก่ ลุ่มเป้าหมาย จำนวน 66 ถงั และโรงเรียนท่ีเขา้ ร่วมโครงการโรงเรียนละ 3 ถงั

ทุกครวั เรอื นมกี ารจัดทำถังขยะเปยี ก
ไวค้ ดั แยกขยะ

ทุกครวั เรือนมกี ารจัดทำถังขยะเปียก
ไว้คัดแยกขยะ

24
2.2 การคดั แยกขยะรไี ซเคิล

- จดั ทำชุดคดั แยกขยะแต่ละประเภทให้แก่พ้นื ท่ีเป้าหมาย จำนวน 1 หม่บู ้าน และโรงเรียนทเี่ ขา้
รว่ มโครงการจำนวน 3 โรง

จดั ทำชดุ คัดแยกขยะแต่ละประเภท

มกี ารจัดทำชดุ คดั แยกขยะ
ไว้ใชใ้ นครวั เรอื น

มกี ารจัดทำชดุ คดั แยกขยะ
ไว้ใช้ในโรงเรียน

25

2.3 การคัดแยกขยะอนั ตราย
- จัดทำตู้คดั แยกขยะอันตราย และโรงเรอื นเก็บขยะอันตราย

การจัดทำตรู้ วบรวมขยะอันตราย

การก่อสร้างโรงเรือนเก็บขยะอันตราย

26

2.4 การคัดแยกขยะทว่ั ไป
- จัดกิจกรรมเดินรณรงค์การคัดแยกขยะของพื้นที่เป้าหมายจำนวน 1 หมู่บ้าน และโรงเรียนที่เข้า

รว่ มโครงการจำนวน 3 โรง

27
แผนงานท่ี 3 การจดั การขยะแตล่ ะประเภท (เกบ็ รวบรวม บำบัด หรือกำจดั หรือนำไปใช้ประโยชน์)

3.1 การจดั การขยะอนิ ทรีย์
- จัดกิจกรรมการอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน โดยการทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากขยะใน

ครัวเรือน เพื่อใช้บำรุงผัก และบำบัดน้ำเสียในครัวเรือน เป็นการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในครัวเรือน และจัดทำปุ๋ยหมัก
จากเศษใบไม้ เศษหญ้าและเศษอาหาร เพื่อเป็นปุ๋ยปลูกผกั และเพาะกล้าไม้ในครวั เรือน

อบรมให้ความรู้เรอ่ื งการจัดการขยะอนิ ทรีย์
ในครัวเรอื น

เพอ่ื ใช้บำรุงผกั และบำบัดน้ำเสียในครัวเรอื น
เปน็ การลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในครัวเรอื น

จดั ทำเสวียนรอบตน้ ไม้ เพ่ือใชเ้ กบ็ เศษใบไม้
เศษหญา้ และเศษอาหาร เพื่อเป็นปุ๋ยปลกู ผัก

และเพาะกลา้ ไม้ในครัวเรือน

28
3.1 การจดั การขยะรไี ซเคิล

- กิจกรรมนำขยะรีไซเคิลท่ีได้จากการคัดแยกนำมาประดษิ ฐ์ แปรรูปเพือ่ ใช้ในครวั เรอื น เปน็ การ
ดำเนินกิจกรรมอบรมการนำเศษผา้ มาทอเปน็ พรมเชด็ เท้า เพื่อเป็นการส่งเสรมิ ใหช้ ุมชนนำเศษวสั ดจุ ากครวั เรือนมา
สร้างรายไดใ้ ห้แกค่ รอบครัว

จัดอบรมการจดั การขยะรีไซเคิล

การนำเศษผ้าจากครวั เรอื น
นำมาทอเปน็ พรมเช็ดเท้า

เปน็ การส่งเสรมิ สร้างรายได้จากขยะใน
ครวั เรอื น

29

3.3 การจัดการขยะอนั ตราย
- องค์การบริหารสว่ นตำบลเมืองน้อย ดำเนนิ การรวบรวมขยะอันตรายจากชมุ ชน ทุกวนั พธุ ท่ี 2

ของเดือน และขนสง่ ขยะอันตรายไปกำจดั ท่อี งคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั

30
3.4 การจดั การขยะทั่วไป

- องค์การบริหารสว่ นตำบลเมืองน้อยดำเนนิ การจัดกจิ กรรมการประกวดโครงการหน้าบา้ นน่ามอง
โดยให้ครัวเรอื นกลมุ่ เปา้ หมายเขา้ ร่วมประกวดกิจกรรม และมอบรางวลั พร้อมใบประกาศแก่ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม

ครัวเรือนกลมุ่ เปา้ หมาย เข้าร่วมกจิ กรรม
ประกวกโครงการหน้าบ้านน่ามอง

ส่งเสรมิ ให้ครวั เรือนมีความกระตือรอื ร้นใน
การบรหิ ารจัดการขยะในครวั เรือน

สามารถเปน็ ชุมชนต้นแบบในดา้ นบรหิ าร
จดั การขยะให้แกช่ ุมชนอืน่ ได้

31

แผนงานท่ี 4 การตดิ ตาม ประเมนิ ผล และการถอดบทเรียน
- ประชุมสรุปผลการดำเนนิ โครงการ

32
10. ผลลัพธ์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการพบว่า ครัวเรือนทั้ง 66 ครัวเรือน ที่เข้าร่วมโครงการ มีการบริหารและ
จัดการขยะแต่ละประเภทได้ดียิ่งขึ้น โดยเฉพาะขยะอินทรีย์ที่เคยเป็นปัญหาในการจัดการ ปัจจุบันได้นำไปใช้
ประโยชน์ โดยการทำน้ำหมักชีวภาพซึ่งสามารถนำไปบำรุงพืชผักสวนครัว ตลอดจนข้าว ยางพารา และมัน
สำปะหลงั ส่งผลทำให้ปริมาณขยะทจี่ ะต้องกำจัดภายในครัวเรือนลดลง

ประชาชนนำวสั ดทุ ไี่ ม่ใชแ้ ล้วมาใช้
ใหป้ ระโยชน์แก่ชุมชน

ประชาชนนำวสั ดุทไ่ี มใ่ ชแ้ ล้วมาใช้
ให้ประโยชน์

11. ผลกระทบของโครงการ
เนื่องจากจำนวนเป้าหมายครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีจำนวนจำกัด คือ 66 ครัวเรือน และ

สถานศึกษา 3 แห่ง จึงสามารถดำเนินการได้เพียงหนึ่งหมู่บ้าน ทำให้ยังเหลืออีก 9 หมู่บ้านที่ยังไม่ได้เข้าร่วม
โครงการ ทำให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลเมืองน้อยยังไม่ได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องการบริหารจัดการขยะ และ
การคัดแยกขยะที่ถูกวิธี รวมทั้งการนำขยะในครัวเรือนกลับมาใช้ประโยชน์ ทำให้ยังเกิดปัญหาในการเพิ่มขึ้นของ
ปรมิ าณขยะในพ้นื ท่ี ท่ยี ังไมไ่ ด้ดำเนนิ โครงการ

33
12. ความต่อเนื่องภายหลงั สิ้นสุดโครงการ

มีการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้เก่ียวกับการบริหารจัดการขยะ ของหมู่บ้านหนองมุข ซึ่งมีการแต่งตั้ง
คณะกรรมการ รูปแบบวิธกี ารดำเนินงานของกลุ่มไดด้ ำเนินการอย่างต่อเน่ืองมาจนถึงปัจจบุ ัน ตลอดจนทางองค์การ
บริหารส่วนตำบลเมืองน้อย ได้มีการเสนอโครงการเพื่อนำเข้าข้อบัญญัติงบประมาณฯ สำหรับการขยายผลการ
ดำเนนิ งานไปยังอีก 9 หมู่บา้ น โดยมีหม่บู า้ นตน้ แบบ 1 หม่บู า้ นคอื บา้ นหนองมุข

13. ปัญหาอปุ สรรค และแนวทางแกไ้ ข
สภาพปัญหาการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองน้อยใน

ระยะแรกนั้น เป็นการจัดการขยะมูลฝอยที่ประชาชนจัดการกันเอง โดยขาดความรู้และความเข้าใจถึงวิธีการท่ี
ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล และมีการกำจัดขยะไม่ถูกวิธี ประชาชนนำขยะไปทิ้งในที่สาธารณะต่างๆ ทำให้เกิด
มลภาวะทางทัศนียภาพ และเป็นแหล่งเพาะพนั ธ์เชอื้ โรคตา่ งๆ จงึ ทำใหเ้ ป็นปญั หาทีต่ อ้ งแก้ไขรว่ มกนั ระหวา่ งองค์การ
บริหารสว่ นตำบลเมืองน้อยและหมู่บา้ น

เน่ืองจากปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรน่า (COVID-19) ทำให้การดำเนนิ โครงการ
ไม่ได้ดำเนินตามแผนงานที่วางไว้ ขาดความต่อเนื่องในการดำเนินโครงการ เมื่อสถานการณ์คลี่คลายองค์การบริหาร
ส่วนตำบลเมืองน้อยจงึ ได้ดำเนนิ การตามแผนงานท่ีกำหนดไว้

34

14. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

- การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ในการจัดการขยะ และนำเสนอความคิด บทบาทในการ
ดำเนนิ งาน

- คนในชุมชนปฏิบัติตามกฎระเบียบที่ร่วมกันตั้งไว้ ก่อนที่จะมีการดำเนินกิจกรรมได้มีการประชุม
และกำหนดระเบียบหรอื ปฏบิ ตั ริ ว่ มกนั ซ่งึ สมาชกิ ตอ้ งถอื ปฏิบัติโดยเคร่งครดั

- มีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่าง
ทวั่ ถึงทกุ คน

ลงชอ่ื ........................................................ ผู้จัดทำรายงาน
( นายสรุ พงษ์ อทุ ยั )

ตำแหนง่ นิตกิ รชำนาญการ

ลงชื่อ รอ้ ยตำรวจเอก ........................................ ผรู้ ับรอง
( ดำรงค์ เหรยี ญตะคุ )

ตำแหนง่ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเมอื งนอ้ ย


Click to View FlipBook Version