The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

3วิทยาศาสตร์ ม.6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by saobon70946, 2022-05-16 08:33:41

3วิทยาศาสตร์ ม.6

3วิทยาศาสตร์ ม.6

เเผนการจัดการเรยี นรู้

รายวิชาเคมี ๔ (ว๓๓๒๒๔)

ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๖
ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑

นางสาวสาวบน เดน็ หมัด
ตาเเหน่ง ครู
โรงเรยี นเทศบาล ๕ (วดั หวั ปอ้ มนอก)
สังกัดสานักการศกึ ษา เทศบาลนครสงขลา

แผนการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมี 4 (ว33224) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 สารชีวโมเลกลุ เรอื่ งคารโ์ บไฮเดรต : ผลติ ภณั ฑด์ นิ เย่อื กระดาษรีไซเคลิ

เวลา 6 คาบ

สอนช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6/1 วันทส่ี อน 22 สิงหาคม 2561 เวลา 10.30-12.10 น.
สอนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 วันที่สอน 24 สิงหาคม 2561 เวลา 10.30-12.10 น.
สอนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 วนั ที่สอน 29 สิงหาคม 2561 เวลา 10.30-12.10 น.

มาตรฐานการเรียนรชู้ ่วงชัน้
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสาร การเกิด

สารละลาย การเกิดปฏิกริ ิยา มกี ระบวนการสืบเสาะหาความร้แู ละจิตวิทยาศาสตร์ ส่ือสารสิ่งทเี่ รียนรู้
และนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหา
ความรู้ การแก้ปัญหา รู้วา่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติท่ีเกิดขนึ้ ส่วนใหญ่มีรปู แบบท่ีแน่นอน สามารถ
อธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล และเคร่ืองมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมคี วามเกยี่ วข้องสัมพนั ธก์ ัน

ผลการเรียนรู้
1. วทิ ยาศาสตร์
1.1 สืบค้นข้อมูล สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และอธิบายองค์ประกอบ สมบัติและ

ปฏิกิริยาของคารโบไฮเดรตได้
1.2 ต้ังคำถามที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์หรือความสนใจ

หรือจากประเด็นท่ีเกิดข้ึนในขณะนั้นที่สามารถทำการสำรวจตรวจสอบหรือศึ กษาค้นคว้าได้อย่าง
ครอบคลุมและเช่อื ถอื ได้

1.3 นำผลของการสำรวจตรวจสอบที่ไดท้ ั้งวธิ ีการและองคค์ วามรู้ทไ่ี ด้ไปสรา้ งคำถามใหม่
นำไปใชแ้ กป้ ญั หาในสถานการณ์ใหม่และในชีวติ จรงิ

2. คณติ ศาสตร์
2.1 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหา

ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
2.2 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนำความรู้ หลักการกระบวนการทาง

คณิตศาสตรไ์ ปเชอ่ื มโยงกบั ศาสตร์อืน่ ๆ

3. เทคโนโลยี
3.1 เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม และสงิ่ แวดล้อม และมีการจัดการ

เทคโนโลยีดว้ ยการลดใชท้ รัพยากรหรือเลือกใชเ้ ทคโนโลยที ีไ่ ม่มผี ลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ ม
3.2 สร้างหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือวิธีการอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ตามกระบวนการ

เทคโนโลยี โดยถ่ายทอดความคิดเก่ียวกับผลิตภัณฑ์เป็นภาพร่างอย่างง่ายหรือภาพร่าง 3 มิติและ
ภาพฉาย

3.3 เลือกใช้วัสดุโดยวิเคราะห์สมบัติของวัสดุและเลือกใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับ
การสร้างช้ินงานโดยคำนงึ ถึงความปลอดภยั

สาระสำคญั
ผลิตภัณฑ์ดินเยื่อกระดาษรีไซเคิลเป็นนำสมบัติตัวประสานของแป้งและเซลลูโลสมาใช้ใน

การออกแบบผลิตภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์ดนิ เย่ือกระดาษรีไซเคิลเป็นการออกแบบและประดิษฐ์ตามกระบวนการออกแบบ

เชิงวิศวกรรมเป็นการทำงานเพ่ือแก้ปัญหาและสนองความต้องการ โดยใช้ความรู้ทางด้าน
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ดินเยื่อกระดาษรีไซเคิลท่ีออกแบบ
และประดิษฐ์ข้ึนตรงตามเง่ือนไขที่กำหนด นอกจากต้องคำนึงถึงความปลอดภัยแล้วยังต้องคำนึงถึง
การเลือกชนดิ ของวัสดุ อุปกรณ์ เพ่อื การใชง้ านไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและปลอดภัย

สาระการเรยี นรู้
1. วิทยาศาสตร์
คาร์โบไฮเดรตเป็นสารอาหารให้พลังงานแก่ส่ิงมีชีวิต เป็นสารเก็บสะสมพลังงานและเป็น

องคป์ ระกอบของเซลล์ ธาตอุ งค์ประกอบหลักของคาร์โบไฮเดรต คอื คารบ์ อน ไฮโดรเจน ออกซิเจน
สามารถแบ่งตามลักษณะของโมเลกุลได้ 3 ประเภท คือ มอนอแซ็กคาไรด์ (Monosaccharide)
ไดแซก็ คาไรด์ (Disaccharide) และพอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide)

2. คณิตศาสตร์
การคำนวณปริมาณที่เหมาะสมและคำนวณตน้ ทุนในการผลิต
3. เทคโนโลยี

3.1 การสร้างหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีโดยถ่ายทอด
ความคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เป็นภาพร่างอย่างง่ายหรือภาพร่าง 3 มิติ และภาพฉายอาจสร้างแบบจำลอง
ก่อนสร้างชิ้นงาน หรือถ่ายทอดความคิดเก่ียวกับวิธีการเป็นผังงาน ทำให้ผู้เรียนทำงานอย่างเป็น
กระบวนการ

3.2 การเลือกใช้วัสดเุ พ่อื นำมาผลิตชน้ิ งานต้องคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ เช่น วสั ดุท่ีเหมาะสม
ต่อการสร้างแต่ละองค์ประกอบของช้ินงาน วิธีการผลิต ราคา และควรคำนึงถึงผลกระทบต่อผู้ใช้
และส่ิงแวดล้อม

3.3 มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการในงานท่ีผลิตเอง
หรือการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท่ีผู้อ่ืนผลิต

กรอบแนวคิด

S : วิทยาศาสตร์ T : เทคโนโลยี

- องค์ประกอบ สมบตั ิและปฏกิ ริ ยิ าของ - การสรา้ งหรือพฒั นาผลติ ภณั ฑ์
คาร์โบไฮเดรต - การเลอื กใชว้ สั ดุ

ผลิตภัณฑด์ นิ เยื่อกระดาษรีไซเคิล

E : วิศวกรรมศาสตร์ M : คณิตศาสตร์

-กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม - คำนวณปรมิ าณที่เหมาะสม คำนวณ
(ออกแบบและผลติ ภณั ฑ์ดนิ เยื่อกระดาษ ตน้ ทนุ ในการผลิต
รีไซเคิลตามกระบวนการแนวคดิ ทวี่ างแผน
ไว้)

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. ดา้ นความรู้
1.1 ระบุองค์ประกอบและประเภทของคาร์โบไฮเดรตพร้อมทัง้ ยกตัวอย่างได้
1.2 บอกผลติ ภัณฑ์ท่ีเกดิ จากปฏิกิรยิ าไฮโดรลซิ สิ ไดแซ็กคาไรดแ์ ละพอลิแซก็ คาไรด์
1.3 ทดสอบสมบตั ิคาร์โบไฮเดรตประเภทตา่ ง ๆ ได้
1.4 บอกประโยชน์ของคาร์โบไฮเดรตได้

2. ดา้ นทกั ษะกระบวนการและสมรรถนะ
2.1 ทำการทดลอง รวบรวมข้อมูล แปลความหมายของข้อมูล และสรุปผลการทดลอง

เรอ่ื ง ผลิตภัณฑ์ดนิ เยอ่ื กระดาษรีไซเคลิ
2.2 ความสามารถในการแกป้ ัญหา
2.2.1 การระบปุ ญั หา
2.2.2 การวเิ คราะห์ปญั หา
2.2.3 การเสนอวธิ กี ารแกป้ ญั หา
2.2.4 การตรวจสอบผลลัพธ์
2.2.5 การนำไปประยุกต์ใชไ้ ด้

3. ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
3.1 ม่งุ ม่ันในการทำงาน
3.2 ใฝ่เรยี นรู้

การจัดการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา (STEM Education)
1. ขั้นระบปุ ญั หา (Problem Identification)
1.1 ครถู ามความรู้เดิมเกยี่ วกับคาร์โบไฮเดรตด้วยคำถามต่อไปนี้
1.1.1 นักเรยี นคดิ ว่าอาหารหลกั ของคนไทยท่ีรบั ประทานเปน็ ประจำคอื อะไร (ขา้ ว)

เป็นอาหารประเภทใด (คาร์โบไฮเดรต) มีประโยชน์อย่างไร (แหล่งสารอาหารที่ให้พลังงานเป็นแหล่ง
เก็บสะสมพลังงานให้แก่ร่างกาย ) ถ้ากล่าวถึงคาร์โบไฮเดรตนักเรียนนึกถึงอะไรบ้าง (นักเรียนนึกถึง
คาร์โบไฮเดรตท่ีรับประทานอยู่ประจำ เช่น ข้าว แป้ง น้ำตาล ถ้านักเรยี นนึกถึงอาหารฟาสต์ฟู้ดให้ครู
แนะน ำก ารรับ ประท าน อ าห ารเหล่ าน้ั น ให้ ถูกต้องเพ ราะอาห ารเห ล่าน้ั น มีเซล ลูโลส อยู่น้ อยเม่ื อ
รบั ประทานมาก ๆ ทำให้เกดิ โรคอ้วน)

1.2 ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง คาร์โบไฮเดรตเพ่ือตรวจสอบความรู้
พืน้ ฐาน

2. ขน้ั รวบรวมข้อมูลและแนวคิดทเี่ กี่ยวข้องกับปัญหา (Related Information Search)
2.1 ครูนำภาพโครงสร้างของคาร์โบไฮเดรตบางชนิดเพ่ือให้นักเรียนเชื่อมโยงความรู้ไป

สลู่ กั ษณะทวั่ ไปของโครงสร้างคารโ์ บไฮเดรตและองค์ประกอบของคาร์โบไฮเดรตดว้ ยคำถามต่อไปนี้
2.1.1 ธาตุหลักที่พบในคาร์โบไฮเดรตคืออะไร (ไฮโดรเจน คาร์บอน และออกซิเจน)

นักเรียนสามารถแบ่งประเภทของคาร์โบไฮเดรตตามลักษณะโมเลกุลได้อะไรบ้าง (มอนอแซ็กคาไรด์
ไดแซ็กคาไรด์ และพอลิแซ็กคาไรด์) คาร์โบไฮเดรตประเภทใดที่จัดว่ามีโมเลกุลเล็กท่ีสุด

(มอนอแซ็กคาไรด์หรือน้ำตาลโมเลกุลเด่ียว) ตัวอยา่ งมอนอแซ็กคาไรด์ได้แก่ (กลูโคส กาแลกโทสและ
ฟรกั โทส)

2.1.2 ถาพจิ ารณาโครงสร้างโมเลกุลของคารโบไฮเดรตประกอบด้วยหมูฟงกชนั ใดบา้ ง
OO

(คาร์บอกซาลดีไฮด์ ; R - C – H , คาร์บอนิล ; R - C – R/ ; ไฮดรอกซิล ; ROH) น้ำตาลกลูโคส
ประกอบดว้ ยหมูฟงกช์ ันใด (คารบอกซาลดไี ฮดและคารบ์ อกซิล)

2.1.3 นักเรียนทราบหรือไม่ว่าหมูคารบอกซาลดีไฮด์มีสมบัติอย่างไรเม่ือทำปฏิกิริยา
กับคอปเปอร์ (II) ไอออนในสารละลายเบเนดิกส์ (สามารถทำปฏิกิริยากับคอปเปอร (II) ไอออนใน
สารละลายเบเนดิกสใหตะกอนสีแดงอิฐ) ครูอธิบายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับหมู่คารบอนิลในฟรักโทสวา
สารละลายเบเนดิกส์ท่ีมีไฮดรอกไซดไอออนอยู่จะทำปฏกิ ิริยากับฟรักโทสเกิดสารที่มีหมู่คาร์บอกซาล์-
ดไี ฮด จากน้ันจึงคอ่ ยทำปฏกิ ิรยิ ากบั สารละลายเบเนดิกส์เกดิ ตะกอนสแี ดงอิฐ เชนกนั

2.1.4 น้ำตาลโมเลกุลคูหรือไดแซ็กคาไรดมีลักษณะอยางไร (เปนน้ำตาลท่ีประกอบ
ด้วยน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว 2 โมเลกุลมารวมเข้าด้วยกัน ถาไฮโดรไลซ์น้ำตาลซูโครส 1 โมเลกุลอย่าง
สมบูรณ์จะไดผลติ ภัณฑ์ใดบา้ ง (กลโู คส 1 โมเลกลุ และฟรักโทส 1 โมเลกลุ )

2.1.5 น้ำตาลโมเลกุลใหญ่ เช่น แปง เซลลูโลส อะไมโลเพคตินเม่ือไฮโดรไลซแล้ว
ไดโมเลกลุ เล็กทส่ี ดุ คืออะไร (กลูโคส)

2.2 ครูนำสารละลายกลูโคส 1 ซอง ข้าวเหนียว เสนกวยเต๋ียวอย่างละ 1 จานให้
นักเรียนสังเกตลักษณะท่ัวไปแลว้ ซักถามดว้ ยคำถามต่อไปนี้

2.2.1 สารอาหารท้ัง 3 ชนิดเป็นสารชีวโมเลกุลประเภทใด (คารโบไฮเดรต) แล้วให้
ตัวแทนนักเรียน 2 คน รับประทานอาหารทั้ง 3 ชนิด และให้บรรยายรสชาติอาหารแต่ละชนิดให้เพ่ือน
ฟัง (สารละลายกลูโคสมีรสหวานมาก เม่ือรับประทานเข้าไปมีอาการสดชื่น ข้าวเหนียวออมไวนาน ๆ
มรี สหวาน และรสหวานจะเพ่ิมขน้ึ เรื่อยๆ เส้นกว๋ ยเตยี๋ วมรี สจืดแตเ่ มอ่ื อมไวนาน ๆ เรม่ิ มีรสหวาน)

2.2.2 ทำไมอาหารท่ีนำมาให้นักเรียนทดลองชิมจึงมีรสชาติเช่นนั้น (กลูโคสเป็น
น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวสามารถดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดในร่างกายจึงทำให้สดชื่นได้เร็ว ข้าวเหนียวมี
น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวแต่ต้องรอให้โมเลกุลเดี่ยวถูกเอนไซม์ย่อยสลายก่อนจึงรสู้ ึกหวานมากเม่ืออมไว้ใน
ปากนาน ๆ เน่ืองจากในปากมีเอนไซม์อะไมเลส เส้นก๋วยเต๋ียวเป็นแป้งก่อนที่จะเปล่ียนแป้งเป็น
น้ำตาลต้องใช้เอนไซม์เหมือนกับข้าวเหนียวแต่เนื่องจากแป้งผ่านกระบวนการผลิตหลายข้ันตอน
ปรมิ าณโมเลกลุ ของน้ำตาลถูกทำลายไประหว่างการผลิตจึงทำใหม้ รี สหวานนอ้ ยลง)

2.3 นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง คาร์โบไฮเดรต แล้วครูและนักเรียนร่วมกันสรุป
ความหมายของคารโ์ บไฮเดรตจากใบความรู้ เร่ือง คารโ์ บไฮเดรตด้วยคำถามตอ่ ไปน้ี

2.3.1 ประเภทของคาร์โบไฮเดรตแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง (แบ่งได้ 3 ประเภท
คือ มอนอแซ็กคาไรด์ (Monosaccharide) , ไดแซ็กคาไรด์ (Disacraride) และพอลีแซ็กคาไรด์
(Polysaccharide) ความสำคัญของคาร์โบไฮเดรตคอื อะไร (เป็นแหล่งพลังงานเปน็ สารอินเตอร์มีเดียต
(Intermediate) สำคัญในกระบวนเมทแทบอลิซึมต่าง ๆ และยังทำหน้าท่ีเป็นโครงสร้างที่สำคัญของ
อาณาจักรพืช และสตั ว์ ดังต่อไปน้ี แปง้ ในพชื (Starch) และไกลโคเจน (glycogen) ในสตั ว์เป็นพอลิ-
แซ็กคาไรด์ (Polysaccharide) ที่จะถูกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วไปเป็นกลูโคส ซ่ึงเป็นสารเช้ือเพลิง
เริ่มต้นของกระบวนการสร้างพลังงานและแม้แต่ ATP ซึ่งเป็นสารพลังงานเคมีท่ีสำคัญในเซลล์ของ
สิ่งมีชีวิตมคี าร์โบไฮเดรต คือนำ้ ตาลไรโบสเปน็ สว่ นประกอบสำคัญ นำ้ ตาลไรโบส และน้ำตาลดอี อกซี-
ไรโบส (Deoxyribose) เป็นส่วนประกอบสำคัญของ RNA และDNA ตามลำดับ ซ่ึงเปน็ สารพันธกุ รรม
ของสงิ่ มีชีวิต

2.3.2 ถ้าไม่มีน้ำตาลจากธรรมชาตินักเรียนสามารถใช้สารใดทดแทนได้ (สารที่ทดแทน
น้ำตาลจากธรรมชาติ คือ น้ำตาลเทียม ส่วนใหญ่ที่ให้ความหวานแทนกลูโคสสำหรับผู้ป่วยที่เป็น
โรคเบาหวาน เช่น แอสปาร์แทม (Aspartame), แซกคาร์ริน หรือขัณฑสกร (Saccharine), ไซลิทอล
(Xylinol), สตีเวียไซต์ (Steviaside)

3. ขัน้ ออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหา (Solution Design)
3.1 ครหู ยบิ กระดาษชนดิ ต่างๆ ท่พี บในห้องเรยี น เชน่ กระดาษสมดุ หนงั สือพิมพ์

กระดาษสี กระดาษ A4 ฯลฯและภาพขยะจากกระดาษมาแสดง แล้วให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย
เกย่ี วกับทม่ี าของกระดาษและปัญหาหรือผลกระทบจากการใชก้ ระดาษในปริมาณทมี่ ากขึ้นเพ่ือโยงเข้า
สู่ประเด็นเรื่องปัญหาขยะจากกระดาษใช้แล้วและให้นักเรียนเสนอแนวทางการลดปัญหาขยะจาก
กระดาษ

3.2 นักเรยี นร่วมกนั ศึกษาปัญหาและการลดการใชข้ ยะจากยทู บู (youtube) เร่อื ง
ลดขยะจากกระดาษจาก https://www.youtube.com/watch?v=zMm_YJYMyO0

ท่ีมา : ลดขยะกระดาษ (2561). สบื ค้นเม่อื 25 มิถุนายน 2561 , จาก
https://www.youtube.com/watch?v=zMm_YJYMyO0

3.3 จากนน้ั ครนู ำนักเรียนอภิปรายตามประเด็นคำถามดงั นี้
3.3.1 ปัญหาในสถานการณน์ ้คี อื อะไร และนักเรียนต้องทำส่ิงใดเพือ่ แกป้ ญั หาดงั กลา่ ว

“ภารกิจให้นักเรียนนำคุณสมบัติของเซลลูโลสจากกระดาษใชแ้ ลว้ ไปในการสร้างเป็นกระบวนการหรือ
ชิ้นงานสำหรับพัฒนาทักษะของนักเรียนระดับอนุบาลหรือประถมศึกษาในการทำกิจกรรม เร่ือง
ผลติ ภัณฑ์ดนิ เย่อื กระดาษรีไซเคิล”

3.3.2 เงอื่ นไขและข้อจำกัดของการทำกิจกรรมเพ่อื แกป้ ัญหาจากสถานการณม์ ีอะไรบา้ ง
3.3.3 การแก้ปญั หาดังกลา่ วนนี้ กั เรยี นต้องมีองค์ความรู้ ทักษะ หรอื กระบวนการใดบ้าง
4. ขั้นวางแผนและดำเนินการแก้ปญั หา (Planning and Development)
ให้นักเรียนวางแผนการทำงานและลงมือทำเรื่อง ผลิตภัณฑ์ดินเยื่อกระดาษรีไซเคิลตาม
แนวคิดและวธิ ีการทไี่ ดอ้ อกแบบไว้
5. ขนั้ ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรงุ แกไ้ ขวิธกี ารแก้ปญั หาหรอื ช้นิ งาน (Testing,
Evaluation and Design Improvement)
5.1 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเรื่อง ผลิตภัณฑ์ดินเย่ือกระดาษรีไซเคิลท่ีได้ไปทดสอบ
ความสามารถในการทนแรง บันทกึ ผลและสรปุ ปัญหาทเ่ี กดิ ขน้ึ พรอ้ มหาแนวทางการปรบั ปรุงแก้ไข
5.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสรุปปัญหา ปรับปรุงแก้ไข และนำผลิตภัณฑ์ที่แก้ไขแล้ว
ไปทดสอบความสามารถในการทนแรง
6. ข้ันนำเสนอวธิ กี ารแก้ปัญหา ผลการแก้ปญั หาหรือชน้ิ งาน (Presentation)
6.1 นักเรียนนำเสนอผลงานเรอ่ื ง ผลิตภัณฑ์ดนิ เยอ่ื กระดาษรไี ซเคิลและผลการทดลอง
พร้อมข้อเสนอแนะหรอื จดุ ด้อย จดุ เด่นของกิจกรรมของกลุ่มตนเอง
6.2 ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่ม สรุปเนื้อหาเกี่ยวกับคาร์โบไฮเดรต และนักเรียนแต่ละ
กลุ่มประเมินค่าว่าส่ิงท่ีนักเรียนได้ทำการทดลองน้ันสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
หรือไม่ อยา่ งไร
6.3 ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนเร่ือง คาร์โบไฮเดรตเพื่อวัดและประเมินผล
การเรยี นรู้
สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้
1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน เรอ่ื ง คารโ์ บไฮเดรต
2. แบบทดสอบหลังเรยี น เรื่อง คาร์โบไฮเดรต
3. ใบความรู้ เร่ือง คารโ์ บไฮเดรต
4. ใบกิจกรรม เรื่อง ผลติ ภัณฑ์ดนิ เย่ือกระดาษรีไซเคลิ
5. หนังสือเรยี นรายวิชาเพม่ิ เติมเคมี เล่ม 5 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4-6 สสวท.

การวัดผลและประเมนิ ผล

ส่ิงทีต่ ้องการวดั วิธีการวัด เครือ่ งมือวดั เกณฑ์ผา่ น
การประเมนิ
ความรู้ (K) - ตรวจใบกจิ กรรม - แบบประเมนิ ผลงาน คำตอบถูกต้อง
- ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบ รอ้ ยละ 60 ข้ึนไป
กระบวนการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมนิ สมรรถนะ
(P) ผลการประเมนิ
- สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมินคุณลักษณะ อยู่ระดับ 2 ขึ้นไป
เจตคติ (A) อันพงึ ประสงค์ ผลการประเมิน
อย่รู ะดบั 2 ขึ้นไป

ลงชื่อ………….................................ผสู้ อน
(นางสาวสาวบน เดน็ หมัด)
14 สงิ หาคม 2561

ความคิดเหน็ หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้
✓ ใชจ้ ัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้  ปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู้
ลงชื่อ.........................................หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
(นางสุมณฑา เอมเอก)
15 สงิ หาคม 2561

ความคิดเหน็ ฝ่ายวิชาการ
✓ ใช้จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ได้  ปรับปรุงแผนการจัดการเรยี นรู้
ลงช่อื ............ ..................เลขานุการคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รสถานศึกษา
(นางสนธยา สง่ ศรี)
16 สงิ หาคม 2561

บันทกึ ผลหลังจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา
1. การดำเนินการจดั การเรียนรู้
 เป็นไปตามแผน  ไม่เปน็ ไปตามแผนเพราะ.................................................
2. ความเหมาะสมดา้ นเนื้อหา
 ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรุง
3. บรรยากาศการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
 ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรงุ
4. ความเหมาะสมของส่ือ/แหล่งเรียนรู้
 ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง
5. ความเหมาะสมของระยะเวลา
 ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรุง
สรปุ ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6/1 มจี ำนวนนกั เรยี นท้ังหมด 31 คน
1. ดา้ นความรู้
- จำนวนนักเรียนที่ไดผ้ ลการประเมนิ “ผ่าน” จำนวน 31 คน คดิ เป็นร้อยละ 100.00
- จำนวนนักเรียนท่ีไดผ้ ลการประเมนิ “ไม่ผา่ น” จำนวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ -
2. ดา้ นทักษะกระบวนการ
- จำนวนนักเรยี นที่ไดผ้ ลการประเมนิ “ผ่าน” จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00
- จำนวนนกั เรียนทไ่ี ด้ผลการประเมนิ “ไมผ่ า่ น” จำนวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ -
3. ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
- จำนวนนักเรียนที่ไดผ้ ลการประเมนิ “ผ่าน” จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00
- จำนวนนกั เรียนท่ีไดผ้ ลการประเมนิ “ไม่ผา่ น” จำนวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ -
4. ดา้ นสมรรถนะสำคญั
- จำนวนนักเรียนท่ีได้ผลการประเมนิ “ผา่ น” จำนวน 31 คน คดิ เป็นร้อยละ 100.00
- จำนวนนักเรยี นทไ่ี ด้ผลการประเมนิ “ไม่ผ่าน” จำนวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ -

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการพฒั นาการจัดการเรียนรู้ครง้ั ต่อไป
จากการทดลองผลิตภัณฑ์ดินเยื่อกระดาษรีไซเคิล นักเรียนพบว่า น้ำหนักเยื่อกระดาษ
รีไซเคิลเพ่ิมขึ้นดินเย่ือกระดาษรีไซเคิลจากแป้งข้าวเจ้า แป้งข้าวเหนียว แป้งข้าวโพด แป้งมัน
สำปะหลงั มีความเหนียวเพิ่มข้ึน แปง้ สาลีมีความเหนยี วมากที่สุดเพราะแป้งสาลีเป็นแปง้ ท่ีตา่ งจากแป้ง
ชนิดอื่นเพราะประกอบไปด้วยโปรตีน 2 ชนิด คือกลูตานิน (glutanin) และไกลอะดิน (glyadin) เมื่อ
แป้งถูกนวดรวมกับน้ำโปรตีนจะรวมตัวเป็นสารช่ือ กลูเตน (gluten) มีลักษณะเป็นยาง ยืดหยุ่นซึ่ง
นักเรยี นสามารถนำไปคน้ ควา้ และจัดทำโครงงานต่อไป

ลงช่อื .........................................ผสู้ อน ลงชอื่ .........................................ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา
(นางสาวสาวบน เดน็ หมดั ) (นายสมชาติ เหลอื งสะอาด)
29 สิงหาคม 2561 31 สิงหาคม 2561

แบบทดสอบก่อนเรยี น
เรื่อง คารโ์ บไฮเดรต

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 สารชวี โมเลกลุ รายวิชาเคมี 4 (ว33224) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6
คะแนนเต็ม 20 คะแนน
จำนวน 20 ข้อ เวลา 20 นาที

คำสั่ง จงทำเครื่องหมายกากบาท (x) ลงในกระดาษคำตอบสำหรับคำตอบทีถ่ ูกทีส่ ดุ เพียงคำตอบเดยี ว

1. คารโ์ บไฮเดรตในข้อใดมที งั้ มอนอแซ็กคาไรด์และไดแซ็กคาไรด์ (ความเข้าใจ)
ก. แปง้ ซูโครส
ข. ฟรักโทส กลโู คส
ค. ฟรักโทส มอลโทส
ง. กลโู คส กาแลกโทส
(เฉลย ข)

2. ขอ้ ใดกล่าวถงึ คารโ์ บไฮเดรตได้ถกู ต้อง (ความเขา้ ใจ)
ก. มีรสหวานและละลายในน้ำได้
ข. มีสตู รโมเลกุลเปน็ (CHO)n
ค. เม่อื เผาผลาญจะใหพ้ ลังงานมากกวา่ ไขมันประมาณ 2 เทา่
ง. เป็นสารประกอบแอลดไี ฮด์หรือคโี ตนท่ีมีหมู่ไฮดรอกซิลตงั้ แต่ 2 หมู่ขึ้นไป
(เฉลย ข)

3. มอนอแซก็ คาไรด์ชนดิ ใดเกีย่ วข้องกับระบบหมุนเวียนเลือด
ก. ไรโบส
ข. กลโู คส
ค. ฟรักโทส
ง. กาแล็กโทส
(เฉลย ข)

4. น้ำตาลโมเลกุลเด่ียวในข้อใดเกิดปฏิกิริยาใดไม่ถกู ตอ้ ง (ความเข้าใจ)

ก. กลูโคส + กลูโคส ซโู ครส + H2O

ข. กลูโคส + กลูโคส มอลโทส + H2O

ค. กลโู คส + กาแลกโทส แลกโทส + H2O
ง. กลูโคส + ฟรักโทส ซโู ครส + H2O

(เฉลย ก)

5. น้ำตาลชนดิ ใดไมท่ ำปฏิกริ ยิ ากบั สารละลายเบเนดิกต์เมื่อไดร้ บั ความรอ้ น (ความเข้าใจ)
ก. กลูโคส
ข. ซูโครส
ค. แลกโทส
ง. มอลโทส
(เฉลย ข)

6. เสน้ ก๋วยเต๋ียวราดหนา้ มีสูตรน้ำตาลในโมเลกลุ เปน็ สูตรใด (ความเขา้ ใจ)
ก. (CH2O)n
ข. C12H22O11
ค. (C6H10O5)n
ง. C6H12O6
(เฉลย ข)

7. สารชนดิ ใดทำปฏกิ ริ ยิ ากบั ไอโอดนี แลว้ ไดส้ ีน้ำเงิน (กระบวนการแสวงหาความรทู้ าง
วทิ ยาศาสตร)์
ก. น้ำตาลโมเลกลุ เดย่ี ว
ข. นำ้ ตาลโมเลกุลคู่
ค. น้ำตาลโมเลกลุ ใหญ่
ง. ทั้งข้อ ก และ ข
(เฉลย ค)

8. เมอ่ื รา่ งกายต้องการสลายพลังงานจะสลายสารชีวโมเลกุลชนดิ ใดตามลำดับ (ความเข้าใจ)
ก. โปรตีน ลพิ ิด คารโ์ บไฮเดรต
ข. คารโ์ บไฮเดรต ลิพิด โปรตีน
ค. ลิพดิ โปรตนี คารโ์ บไฮเดรต
ง. โปรตนี คาร์โบไฮเดรต ลิพิด
(เฉลย ข)

9. คนทเ่ี ปน็ โรคเบาหวานเกิดจากสาเหตใุ ด (การนำความรู้ทางวิทยาศาสตรไ์ ปใช้)
1. รา่ งกายขาดการสะสมไกลโคเจนแต่ไม่มปี ญั หาภาวะขาดน้ำตาล
2. ร่างกายไม่สามารถสร้างอนิ ซูลินไดต้ ามปกตทิ ำใหร้ ะดับน้ำตาลในเลือดสูง
3. ร่างกายอ่อนเพลยี ไม่มีแรง วิงเวียนศรี ษะเหมือนอาการขาดน้ำตาล
ก. 1 และ 2
ข. 1 และ 3
ค. 2 และ 3
ง. 1 , 2 และ 3
(เฉลย ค)

10. เม่ือนกั เรยี นรบั ประทานทานขา้ วกบั ปลาทเู อนไซม์ในขอ้ ใดยอ่ ยสลายข้าวสวยใหเ้ ป็นกลโู คส
(ความเข้าใจ)
ก. อะไมเลส มอลเทส
ข. มอลเทส ไลเปส
ค. อะไมเลส ไลเปส
ง. ซเู ครส แลกเทส
(เฉลย ก)

11. ข้อใดกลา่ วถึงสมบตั ิของเพคตินที่ไม่ถูกตอ้ ง (ความเข้าใจ)
ก. เปน็ ไฮโดรคอลลอยด์จากธรรมชาติ และกึง่ ธรรมชาติ
ข. เป็นสารทำหนา้ ทส่ี เตบิ ไลเซอร์ และอิมัลซิไฟเออร์
ค. เปน็ สารทท่ี ำใหเ้ กดิ คอลลอยด์ ประเภทเจล
ง. ไม่ละลายน้ำแตล่ ะลายในแอลกอฮอล์
(เฉลย ง)

12. ข้อใดกลา่ วถึงคารโ์ บไฮเดรตไมถ่ ูกต้อง (ความเข้าใจ)
ก. เด็กซต์ รนิ เป็นคารโ์ บไฮเดรตชนดิ หนง่ึ ไดจ้ ากการย่อยสลายแป้ง
ข. ไกลโคเจนสะสมอาหารในคนโดยจะเก็บเอาไว้ท่กี ล้ามเนื้อและตับ
ค. แปง้ ข้าวเจ้าเป็นพอลแิ ซ็กคาไรดท์ ่มี ีขนาดใหญก่ ว่าไกลโคเจนในตบั
ง. เซลลโู ลสเปน็ อาหารสะสมทพ่ี บเฉพาะในพชื คนยอ่ ยเซลลโู ลสไมไ่ ดย้ กเวน้ สัตว์บางชนดิ
(เฉลย ค)

13. ข้อใดกล่าวถึงแป้งไมถ่ ูกต้อง (ความรูค้ วามจำ)
ก. แป้งประกอบดว้ ยพอลแิ ซกคารไรด์ 2 ชนิด คอื อะไมโลส และอะไมโลเพคติน
ข. อะไมโลส มอี ยู่ในเซลลพ์ ชื ร้อยละ 20
ค. อะไมโลเพคตินมีอยูใ่ นเซลล์พืชร้อยละ 20
ง. อะไมโลเพคตนิ พบในสตั วม์ ากกว่าพชื
(เฉลย ง)

14. แปง X มอสโทส Y Z สาร X, Y และ Z ตรงกับสารใด ตามลำดับ
(กระบวนการแสวงหาความรูทางวทิ ยาศาสตร)
ก. อะไมเลส มอลเทส กลโู คส
ข. อะไมเลส กลโู คส มอลเทส
ค. ฟรกั เทส อะไมเลส กลโู คส
ง. ฟรักเทส อะไมเลส กาแลกโทส
(เฉลย ก)

15. ขอ้ ใดไม่ถูกตอ้ งเกย่ี วกบั สมบัตขิ องคาร์โบไฮเดรต (ความเข้าใจ)
ก. ซโู ครสเปน็ มอนอแซ็กคาไรด์
ข. ไดแซ็กคาไรด์เปน็ ของแข็ง ละลายน้ำมีรสหวานสามารถเกิดการไฮโดรลซิ ิสได้
มอนอแซก็ คาไรด์ 2 โมเลกลุ
ค. พอลแิ ซ็กคาไรดเ์ ปน็ ของแข็ง ไมล่ ะลายนำ้ ไมม่ รี สหวานเกิดการไฮโดรลซิ สิ ได้
มอนอแซก็ คาไรด์จำนวนมาก
ง. มอนอแซ็กคาไรด์เป็นของแข็ง ละลายน้ำได้มรี สหวานทำปฏกิ ริ ยิ ากับสารละลาย
เบเนดกิ ต์เกิดตะกอนสีแดงอฐิ
(เฉลย ก)

16. ขอ้ ใดถกู ต้องเก่ยี วกับการระบุโครงสร้างของมอนอแซ็กคาไรด์ A , B , C ตามลำดบั
(ความเข้าใจ)

A B C

ก. กลโู คส ฟรักโทส กาแลกโทส
ข. กลูโคส กาแลกโทส ฟรกั โทส
ค. ไรโบส ฟรกั โทส กาแลกโทส
ง. ไรบโู ลส กาแลกโทส ฟรกั โทส
(เฉลย ก)

17. ข้อความใดถูกต้องเกี่ยวกบั การทดสอบนำ้ ตาลท่ีมหี มู่คารบ์ อกซาลดีไฮด์ (-CHO)
ด้วยสารละลายเบเนดิกตน์ ัน้ (การวิเคราะห์)
ก. Cu2+ ถูกรดี วิ ซ์ไปเป็น Cu+ ให้ตะกอนสแี ดงอฐิ ของ Cu2O
ข. นำ้ ตาลทำหน้าทเี่ ป็นตัวถูกรีดิวซ์และถูกเปลีย่ นไปเป็นแอลกอฮอล์
ค. นำ้ ตาลถูกเปลีย่ นเป็นเกลือของกรดอนิ ทรยี แ์ ละ Cu2+ ให้ตะกอนสีแดงอฐิ ของ CuO
ง. สารละลายเบเนดกิ ต์ทำหน้าท่ีเปน็ ตัวออกซไิ ดส์และน้ำตาลถูกเปลยี่ นไปเปน็ แอลกอฮอล์
(เฉลย ก)

18. ปฏกิ ิริยาใดบ้างที่ไมเ่ กิดการเปลีย่ นแปลง (กระบวนการแสวงหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร)์
ก. น้ำแปง้ + สารละลายไอโอดีน
ข. นำ้ แป้ง + สารละลายเบเนดิกต์
ค. น้ำแป้ง + นำ้ ลาย + สารละลายเบเนดิกต์
ง. สารละลายนำ้ ตาลโมเลกลุ เดีย่ ว + สารละลายเบเนดกิ ต์
(เฉลย ข)

19. สารอนิ ทรียช์ นดิ หน่ึงเมื่อนำมาตม้ กับสารละลายเบเนดกิ ส์ได้ตะกอนสแี ดงอิฐสารอนิ ทรยี ์น้ี
ควรมหี ม่ฟู งั ก์ชันตรงกบั ขอ้ ใด (ความเขา้ ใจ)
ก. -CO-
ข. -CHO
ค. -COO-
ง. -COOH
(เฉลย ก)

20. ขอ้ ใดไม่ถกู ตอ้ ง (กระบวนการแสวงหาความร้ทู างวิทยาศาสตร)์

ข้อ สาร สารละลายไอโอดนี สารละลายเบเนดิกต์
ไม่เปลย่ี นแปลง
ก. แปง้ สีน้ำเงิน ตะกอนสแี ดงอฐิ
ตะกอนสแี ดงอิฐ
ข. แปง้ ต้มกับน้ำลาย สีน้ำเงนิ ตะกอนสแี ดงอฐิ

ค. แป้งทีห่ มักดว้ ยแปง้ ข้าวหมาก สนี ำ้ ตาลแดง

ง. แป้งทตี่ ้มกบั กรด สีน้ำตาลแดง

(เฉลย ค)

ใบความรู้ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6
เร่ือง คาร์โบไฮเดรต

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 3 สารชีวโมเลกลุ รายวิชาเคมี 4 (ว33224)

คาร์โบไฮเดรต

คารโ์ บไฮเดรต (Carbohydrate) เป็นสารอินทรยี ์ทป่ี ระกอบดว้ ยธาตุ C , H และ O โดย
ปกติอัตราส่วนของไฮโดรเจนต่ออะตอมของออกซเิ จนอะตอมเป็น 2 : 1 ดังนั้น คาร์โบไฮเดรตจงึ มสี ตู ร
ทั่วไปเปน็ (CH2O)n หรือ Cn(H2O)m เมอ่ื n และ m คอื จำนวนเต็มใด ๆ เชน่

C6H12O6 - นำ้ ตาลโมเลกุลเดย่ี ว
C12H22O11 - นำ้ ตาลโมเลกุลคู่
(C6H10O5)n - นำ้ ตาลโมเลกุลใหญ่
ลักษณะสำคัญของคาร์โบไฮเดรต คือ โมเลกุลประกอบด้วยหมู่ฟังก์ชันมากกว่า 1 หมู่
โดยทั่วไปในโมเลกุลของคาร์โบไฮเดรตจะมีหมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์ (-CHO) และหมู่คาร์บอนิล (-CO-)
การทำปฏกิ ริ ยิ าของคารโ์ บไฮเดรตจงึ คลา้ ยกบั สารประกอบแอลดีไฮดห์ รอื คีโตน
คาร์โบไฮเดรต คือ สารประกอบอินทรีย์พวกพอลิไฮดรอกซิลแอลดีไฮด์ที่มีหมู่คาร์บอกซาล
ดีไฮด์ (-CHO) และหมูไ่ ฮดรอกซิล (-OH) เป็นหมู่ฟังก์ชันหรอื เรียกว่าน้ำตาลแอลโดส และ
พอลิไฮดรอกซิลคีโตนที่มีหมู่คาร์บอนิล (-CO-) และหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) เป็นหมู่ฟังก์ชันเรียกว่า
น้ำตาลคีโตส
คาร์โบไฮเดรต มาจากคำว่า Hydrates of Carbon คือสารประกอบประเภทแอลดีไฮด์
(-CHO) หรือคีโตน (Ketone) ท่ีมีหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) เกาะอยู่จำนวนมาก คาร์โบไฮเดรตจึงเป็น
สารอนิ ทรีย์ท่ีมีมากที่สุดในโลกมีบทบาทหน้าที่สำคญั ในสิ่งมีชีวิตทกุ ประเภท เช่น เป็นแหล่งพลังงาน
เป็นสารอินเตอร์มีเดียต (Intermediate) สำคัญในกระบวนเมเทบอลิซึมต่าง ๆ และทำหน้าท่ีเป็น
โครงสรา้ งทส่ี ำคัญของอาณาจักรพืชและสัตว์

ประเภทของ คารโ์ บไฮเดรตแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ดงั นี้
คารโ์ บไฮเดรต

1. มอนอแซก็ คาไรด์ (Monosaccharide) หรอื น้ำตาลโมเลกลุ เดย่ี ว คอื คารโ์ บไฮเดรตทีม่ ี

ขนาดโมเลกลุ เล็กท่สี ดุ มีสูตรทวั่ ไปเป็น (CH2O)n ซงึ่ n มคี ่า 3 ถึง 8
ตารางท่ี 1 ตวั อย่างน้ำตาลมอนอแซ็กคาไรด์และชื่อเรียก

จำนวน C อะตอม สตู รโมเลกลุ ช่ือเรยี กนำ้ ตาล ตัวอย่าง

3 อะตอม C3H6O3 ไตรโอส (Triose Sugar) กลีเซอรอลดีไฮด์
4 อะตอม C4H8O4 เทโรส (Tetose Sugar) อีรีโทรส

5 อะตอม C5H10O5 เพนโทส (Pentose Sugar) ไรโบส ไรโบโลส อะราบโิ นส

6 อะตอม C6H12O6 เฮกโซส (Hexose Sugar) กลโู คส กาแลกโทส ฟรักโทส
7 อะตอม C7H14O7 เฮปโทส (Heptose Sugar) ซีเฮปทโู ลส

8 อะตอม C8H16O8 ออกโทส (Octose Sugar)

มอนอแซ็กคาไรด์ที่สำคัญได้แก่ น้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 และ6 อะตอม คือ น้ำตาลเพนโทส
(C5H10O5) และนำ้ ตาลเฮกโซส (C6H12O6) ตามลำดบั เชน่

1. กลูโคส (Glucose) เป็นน้ำตาลท่ีพบมากท่ีสุดในธรรมชาติ พบในผลไม้ เช่น ผลองุ่น
และพบอยู่ในกระแสเลือด คนปกติจะพบกลูโคสประมาณ 100 mg ในเลือด 100 cm3 ถ้ามีกลูโคส
มากกว่า 160 mg ในเลอื ด 100 cm3 จะถกู ขับออกมาทางปสั สาวะซึ่งพบในผปู้ ่วยเปน็ โรคเบาหวาน

ภาพที่ 1 โครงสรา้ งของกลูโคส
http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/1014/glucose-นำ้ ตาลกลโู คส

2. กาแลกโทส (Galactose) เกิดจากการไฮโดรลิซิสแลกโทสซึ่งเป็นไดแซ็กคาไรด์
ประกอบด้วยหน่วยกลูโคสและกาแลกโทสเป็นน้ำตาลชนิดไม่พบอิสระในธรรมชาติ แต่พบใน
สว่ นประกอบของแลกโทสในนำ้ นม ไกลโคลพิ ดิ ของเนื้อเยื่อประสาทและผังผดื

ภาพที่ 2 โครงสรา้ งของกาแลกโทส
http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/1099/galactose-นำ้ ตาลกาแลก็ โทส

3. ฟรักโทส (Fructose) เป็นน้ำตาลท่ีมีหมู่คาร์บอนิลและหมู่ไฮดรอกซิลหลายหมู่ใน
โมเลกลุ พบในผลไม้ นำ้ ผึ้ง สายรกของเดก็ น้ำอสุจิ เป็นนำ้ ตาลทม่ี คี วามหวานมาก

ภาพท่ี 3 โครงสร้างของฟรักโทส
http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/1098/fructose-น้ำตาลฟรกั โทส

2. ไดแซก็ คาไรด์เปน็ คาร์โบไฮเดรตท่ีประกอบดว้ ยมอนอแซ็กคาไรด์ 2 โมเลกุลข้นึ ไปเชอ่ื มกัน
หรอื มอนอแซ็กคาไรดต์ ั้งแต่ 2 - 10 โมเลกลุ ตอ่ กนั ดว้ ยพันธะไกลโคซิดกิ เชน่

ภาพท่ี 4 โครงสรา้ งของไดแซ็กคาไรด์
http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31758-044334
3. พอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide) เกิดจากปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันโดยมีมอนอ
แซก็ คาไรด์หลาย ๆ โมเลกุลมารวมกันและมนี ้ำเกดิ ขน้ึ เช่น แป้ง ไกลโคเจน และเซลลโู ลส

ภาพที่ 4 การต่อกนั ของกลโู คสในโครงสรา้ งเซลลูโลส แป้งและไกลโคเจน

http://119.46.166.126/self_all/selfaccess10/m4/chemical4_1/Chemical/lesson3/lesson3.php

ภาพที่ 5 โครงสรา้ งอะไมโลสและอะไมโลแพคตนิ

https://www.researchgate.net/figure/Chemical-formula-of-starch_fig6_315500698

การทดสอบสาร

ภาพที่ 6 การรดี วิ ซ์ Cu2+ ของ Banadic Test

https://laboratoryinfo.com/benedicts-test-principle-reagent-preparation-procedure-interpretation/

ภาพท่ี 7 ผลการเปล่ียนแปลงสขี อง Banadic Test

https://laboratoryinfo.com/benedicts-test-principle-reagent-preparation-procedure-interpretation/

ภาพที่ 8 ตำแหน่งทีเ่ กดิ รดี วิ ซ์ Cu2+ ของ Banadic Test
https://pantip.com/topic/38260974

ซูโครสมีไม่มีหมู่ -OH เหลือไป reduce (Cu2+) จากภาพจะเห็นว่า ซูโครสนั้น OH ท่ีคาร์บอน 1
(คาร์บอนที่ต่อกับ O ในวงแหวน) ของโมเลกุลกลูโคส สร้างพันธะเช่ือมต่อกับฟรักโตสไปแล้ว
ไม่เหลือใหไ้ ปรดี ิวซ์ (Cu2+) เม่ือซูโครสละลายนำ้ ไม่สามารถเกิดโครงสรา้ งแบบโซเ่ ปดิ ได้นั่นเอง

ภาพที่ 9 การเกดิ Iodine complex
http://chemistry.elmhurst.edu/vchembook/548starchiodine.html
โมเลกุลของแป้งมีโครงสร้างเป็นเกลียวจึงเกิดการเชิงซ้อนกับไอโอดีนเป็นสีน้ำเงินโดยที่
ไอโอดีนแทรกตัวอยู่ในเกลียวโมเลกุลของแป้ง ดังน้ันจึงสามารถใช้สารละลายไอโอดีนสำหรับทดสอบ
แป้งได้ สำหรบั เซลลูโลสซ่งึ มีโครงสร้างเปน็ โซ่ตรงจึงไมเ่ กดิ เปน็ สารเชงิ ซ้อนกับไอโอดนี

ภาพที่ 10-11 การเกิด Iodine complex
http://chemistry.elmhurst.edu/vchembook/548starchiodine.html

https://www.chemistryviews.org/details/education/10128441/Why_Does_Iodine_Turn_Starch_Blue.html

ใบกจิ กรรม

เรอื่ ง ผลิตภณั ฑด์ ินเยอื่ กระดาษรีไซเคิล

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 สารชวี โมเลกลุ รายวิชาเคมี 4 (ว33224) ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6

สมาชกิ ในกลุ่มประกอบด้วยเลขท่ี .......................................................................................ช้ัน ม.6/1
ระบปุ ญั หาหรอื สถานการณ์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..….
………………………………………………………………………………………………………………………………………..…….
……………………………………………………………………………………………………………………………………..……….
ข้อมูลเก่ียวกบั สารทจี่ ะศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..….
………………………………………………………………………………………………………………………………………..…….
……………………………………………………………………………………………………………………………………..……….
…………………………………………………………………………………………………………………………………...…………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..……….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..….
………………………………………………………………………………………………………………………………………..…….
ออกแบบการทดลอง

ภาพร่างการออกแบบชิน้ งาน

วัสดอุ ุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นราคาตน้ ทุน ราคา สาร จำนวน ราคา
สาร จำนวน

ชิ้นงานสำเร็จ

วธิ ีการปรับปรงุ ช้นิ งาน
…………………………………………………………………………………………………………………………………...…………
…………………………………………………………………………………………………………………………………...…………
…………………………………………………………………………………………………………………………………...…………
ประเมินผลชิน้ งาน
………………………………………………………………………………………………………………………………………..…….
……………………………………………………………………………………………………………………………………..……….
…………………………………………………………………………………………………………………………………...…………

คำถามทา้ ยการทดลอง

1. นักเรียนคิดวา่ ผลติ ภัณฑ์ดินเย่อื กระดาษรีไซเคลิ ของนกั เรยี นจะสามารถป้นั ข้ึนรปู ได้ดี
หรือไม่ ถา้ ไม่ดี ควรมีการแก้ไขหรือปรับปรุงอยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..….
………………………………………………………………………………………………………………………………………..…….
…………………………………………………………………………………………………………………………………...…………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..……….

2. นักเรยี นคดิ วา่ จะสามารถเพมิ่ คุณสมบตั ิของผลิตภณั ฑ์ดินเยอ่ื กระดาษรีไซเคลิ ได้หรือไม่
อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..….
………………………………………………………………………………………………………………………………………..…….
…………………………………………………………………………………………………………………………………...…………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..……….
…………………………………………………………………………………………………………………………………...…………

3. นักเรยี นจะนำความรู้เกย่ี วกบั คณุ สมบตั ขิ องผลติ ภัณฑ์ดินเยือ่ กระดาษรีไซเคิลไปใช้
อยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………...…………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..….
………………………………………………………………………………………………………………………………………..…….
…………………………………………………………………………………………………………………………………...…………
…………………………………………………………………………………………………………………………………...…………

เกณฑก์ ารประเมิน

ระดบั 3 (ด)ี 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรงุ )
รายการประเมิน
1. ผลงาน ผ ล ง า น มี ค ว า ม คิ ด ผ ล ง า น มี ค ว า ม คิ ด ผลงานมคี วามสวยงาม

2. เวลาทใ่ี ช้ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ แ ล ะ สรา้ งสรรค์
3. ต้นทนุ การผลิต
4. การนำเสนอช้ินงาน สวยงาม

5. การออกแบบเชงิ ทำผลงานสำเร็จทัน ทำผลงานเลยเวลาท่ี ทำผลงานเลยเวลาท่ี
วิศวกรรม
ตามเวลาท่กี ำหนด กำหนดไม่เกนิ 30 นาที กำหนดเกิน 30 นาที
การบูรณาความรู้
(STEM) ไม่เกิน 70 บาท 71 – 100 บาท มากกวา่ 100 บาท

นำเสนอผลงานน่าสนใจ นำเสนอผลงานน่าสนใจ น ำเส น อ ผ ล งาน ไม่

มีการอธิบายข้ันตอน มีการอธิบายข้ันตอน น่าสนใจ มีการอธิบาย

เหตุผลในเลือกใช้วัสดุ เข้าใจง่าย แต่อธิบาย ขั้น ต อ น เห ตุ ผ ล ใน

และเลือกรูปทรงได้ เหตุผลในเลือกใช้วัสดุ เลอื กใช้วัสดุ และเลือก

เข้าใจง่าย และเลือกรูปทรงไม่ รูปทรงไม่ชัดเจน

ชัดเจน

มีการใช้กระบวนการ มีการใช้กระบวนการ มีการใช้กระบวนการ

ออกแบบเชงิ วิศวกรรม ออกแบบเชงิ วิศวกรรม ออกแบบเชงิ วศิ วกรรม

สืบค้นข้อมูลและใช้ และสืบค้นขอ้ มูล

ข้อมูลเป็นพื้นฐานใน

ก ารตั ด สิ น ใจ ส ร้ าง

ผลงาน

อ ธิบ าย ค ว าม รู้ด้ าน อ ธิบ าย ค ว าม รู้ด้ าน อ ธิบ าย ค ว าม รู้ด้ าน

วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์

เท ค โ น โ ล ยี ที่ ใช้ ใ น เท ค โ น โ ล ยี ท่ี ใช้ ใ น เท ค โ น โ ล ยี ท่ี ใช้ ใ น

การออกแบบผลงาน การออกแบบผลงาน การออกแบบผลงาน

ได้ชัดเจนและถูกต้อง ได้ชัดเจนและถูกต้อง ได้ชัดเจนและถูกต้อง

ครบถว้ น 3 ดา้ น ครบถ้วน 2 ดา้ น ครบถว้ น 1 ดา้ น

แบบทดสอบหลังเรยี น
เรอื่ ง คาร์โบไฮเดรต

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3 สารชวี โมเลกุล รายวิชาเคมี 4 (ว33224) ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6
คะแนนเตม็ 20 คะแนน
จำนวน 20 ข้อ เวลา 20 นาที

คำสั่ง จงทำเคร่ืองหมายกากบาท (x) ลงในกระดาษคำตอบสำหรบั คำตอบทีถ่ ูกทีส่ ุดเพียงคำตอบเดยี ว

1. ข้อใดกลา่ วถงึ คารโ์ บไฮเดรตได้ถกู ต้อง (ความเขา้ ใจ)
ก. มรี สหวานและละลายในน้ำได้
ข. มสี ตู รโมเลกุลเป็น (CHO)n
ค. เม่อื เผาผลาญจะให้พลงั งานมากกวา่ ไขมนั ประมาณ 2 เท่า
ง. เปน็ สารประกอบแอลดีไฮด์หรือคโี ตนทมี่ หี มไู่ ฮดรอกซลิ ต้งั แต่ 2 หมู่ข้นึ ไป
(เฉลย ข)

2. มอนอแซ็กคาไรด์ชนิดใดเกี่ยวขอ้ งกับระบบหมนุ เวียนเลอื ด (ความเข้าใจ)
ก. ไรโบส
ข. กลโู คส
ค. ฟรักโทส
ง. กาแล็กโทส
(เฉลย ข)

3. คาร์โบไฮเดรตในข้อใดมีทั้งมอนอแซ็กคาไรดแ์ ละไดแซ็กคาไรด์ (ความเขา้ ใจ)
ก. แปง้ ซโู ครส
ข. ฟรักโทส กลูโคส
ค. ฟรักโทส มอลโทส
ง. กลโู คส กาแลกโทส
(เฉลย ข)

4. สารชนิดใดทำปฏกิ ิรยิ ากบั ไอโอดีนแลว้ ได้สีน้ำเงิน (กระบวนการแสวงหาความรู้ทาง
วทิ ยาศาสตร์)
ก. นำ้ ตาลโมเลกลุ เด่ียว
ข. นำ้ ตาลโมเลกุลคู่
ค. น้ำตาลโมเลกุลใหญ่
ง. ท้ังข้อ ก และ ข
(เฉลย ค)

5. เม่ือรา่ งกายต้องการสลายพลังงานจะสลายสารชวี โมเลกุลชนิดใดตามลำดบั (ความเข้าใจ)
ก. โปรตนี ลิพิด คารโ์ บไฮเดรต
ข. คาร์โบไฮเดรต ลิพิด โปรตีน
ค. ลิพดิ โปรตนี คารโ์ บไฮเดรต
ง. โปรตนี คาร์โบไฮเดรต ลพิ ดิ
(เฉลย ข)

6. คนทเี่ ป็นโรคเบาหวานเกิดจากสาเหตุใด (การนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปใช้)
1. ร่างกายขาดการสะสมไกลโคเจนแตไ่ ม่มปี ัญหาภาวะขาดนำ้ ตาล
2. ร่างกายไมส่ ามารถสรา้ งอนิ ซูลินได้ตามปกติทำใหร้ ะดบั น้ำตาลในเลอื ดสูง
3. รา่ งกายอ่อนเพลีย ไม่มแี รง วงิ เวียนศีรษะเหมอื นอาการขาดน้ำตาล
ก. 1 และ 2
ข. 1 และ 3
ค. 2 และ 3
ง. 1 , 2 และ 3
(เฉลย ค)

7. เม่อื นกั เรยี นรบั ประทานทานขา้ วกบั ปลาทูเอนไซมใ์ นขอ้ ใดย่อยสลายขา้ วสวยให้เป็นกลโู คส
(ความเขา้ ใจ)
ก. อะไมเลส มอลเทส
ข. มอลเทส ไลเปส
ค. อะไมเลส ไลเปส
ง. ซูเครส แลกเทส
(เฉลย ก)

8. ขอ้ ใดกลา่ วถงึ สมบตั ิของเพคตินท่ีไมถ่ กู ต้อง (ความเข้าใจ)
ก. เป็นไฮโดรคอลลอยดจ์ ากธรรมชาติ และก่งึ ธรรมชาติ
ข. เป็นสารทำหน้าท่สี เติบไลเซอร์ และอมิ ัลซิไฟเออร์
ค. เป็นสารทีท่ ำใหเ้ กิดคอลลอยด์ ประเภทเจล
ง. ไม่ละลายนำ้ แต่ละลายในแอลกอฮอล์
(เฉลย ง)

9. นำ้ ตาลชนดิ ใดไมท่ ำปฏกิ ริ ิยากับสารละลายเบเนดิกต์เมื่อไดร้ ับความร้อน (ความเข้าใจ)
ก. กลูโคส
ข. ซูโครส
ค. แลกโทส
ง. มอลโทส
(เฉลย ข)

10. เส้นก๋วยเต๋ียวราดหนา้ มสี ูตรน้ำตาลในโมเลกุลเปน็ สตู รใด (ความเข้าใจ)
ก. (CH2O)n
ข. C12H22O11
ค. (C6H10O5)n
ง. C6H12O6
(เฉลย ข)

11. นำ้ ตาลโมเลกลุ เดี่ยวในข้อใดเกดิ ปฏิกริ ยิ าใดไม่ถกู ต้อง (ความเข้าใจ)

ก. กลโู คส + กลูโคส ซูโครส + H2O
ข. กลูโคส + กลูโคส มอลโทส + H2O

ค. กลูโคส + กาแลกโทส แลกโทส + H2O

ง. กลูโคส + ฟรักโทส ซโู ครส + H2O
(เฉลย ก)

12. ขอ้ ใดกล่าวถึงคารโ์ บไฮเดรตไม่ถูกต้อง (ความเข้าใจ)
ก. เด็กซต์ รนิ เป็นคาร์โบไฮเดรตชนิดหนึ่งได้จากการย่อยสลายแปง้
ข. ไกลโคเจนสะสมอาหารในคนโดยจะเกบ็ เอาไวท้ ก่ี ลา้ มเนื้อและตับ
ค. แป้งข้าวเจา้ เป็นพอลิแซ็กคาไรด์ท่ีมีขนาดใหญก่ ว่าไกลโคเจนในตับ
ง. เซลลูโลสเปน็ อาหารสะสมทพ่ี บเฉพาะในพืช คนย่อยเซลลูโลสไม่ไดย้ กเวน้ สตั วบ์ างชนิด
(เฉลย ค)

13. แปง X มอสโทส Y Z สาร X, Y และ Z ตรงกบั สารใด ตามลำดบั
(กระบวนการแสวงหาความรูทางวิทยาศาสตร)
ก. อะไมเลส มอลเทส กลโู คส
ข. อะไมเลส กลโู คส มอลเทส
ค. ฟรักเทส อะไมเลส กลูโคส
ง. ฟรักเทส อะไมเลส กาแลกโทส
(เฉลย ก)

14. ขอ้ ใดไมถ่ กู ต้องเกยี่ วกบั สมบัตขิ องคาร์โบไฮเดรต (ความเข้าใจ)
ก. ซโู ครสเป็นมอนอแซ็กคาไรด์
ข. ไดแซ็กคาไรดเ์ ป็นของแขง็ ละลายน้ำมรี สหวานสามารถเกิดการไฮโดรลซิ ิสได้
มอนอแซก็ คาไรด์ 2 โมเลกุล
ค. พอลแิ ซ็กคาไรด์เป็นของแขง็ ไมล่ ะลายน้ำ ไมม่ ีรสหวานเกิดการไฮโดรลิซสิ ได้
มอนอแซก็ คาไรด์จำนวนมาก
ง. มอนอแซ็กคาไรด์เป็นของแขง็ ละลายนำ้ ได้มีรสหวานทำปฏกิ ิรยิ ากับสารละลาย
เบเนดิกต์เกิดตะกอนสีแดงอฐิ
(เฉลย ก)

15. ปฏกิ ริ ยิ าใดบา้ งท่ีไมเ่ กดิ การเปล่ียนแปลง (กระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร)์
ก. นำ้ แปง้ + สารละลายไอโอดีน
ข. น้ำแป้ง + สารละลายเบเนดกิ ต์
ค. นำ้ แปง้ + น้ำลาย + สารละลายเบเนดกิ ต์
ง. สารละลายน้ำตาลโมเลกุลเด่ียว + สารละลายเบเนดิกต์
(เฉลย ข)

16. สารอนิ ทรีย์ชนิดหนง่ึ เมื่อนำมาต้มกบั สารละลายเบเนดิกส์ไดต้ ะกอนสีแดงอิฐสารอินทรีย์น้ี
ควรมีหมู่ฟังกช์ นั ตรงกบั ข้อใด (ความเขา้ ใจ)
ก. -CO-
ข. -CHO
ค. -COO-
ง. -COOH
(เฉลย ก)

17. ขอ้ ใดกลา่ วถึงแป้งไมถ่ ูกต้อง (ความรูค้ วามจำ)
ก. แปง้ ประกอบด้วยพอลิแซกคารไรด์ 2 ชนดิ คือ อะไมโลส และอะไมโลเพคติน
ข. อะไมโลส มีอยใู่ นเซลลพ์ ืชรอ้ ยละ 20
ค. อะไมโลเพคตนิ มีอยใู่ นเซลลพ์ ืชรอ้ ยละ 20
ง. อะไมโลเพคตนิ พบในสตั ว์มากกว่าพชื
(เฉลย ง)

18. ข้อใดไม่ถูกตอ้ ง (กระบวนการแสวงหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร)์

ขอ้ สาร สารละลายไอโอดีน สารละลายเบเนดิกต์
ไม่เปลีย่ นแปลง
ก. แปง้ สีนำ้ เงนิ ตะกอนสีแดงอิฐ
ตะกอนสีแดงอฐิ
ข. แป้งต้มกับนำ้ ลาย สนี ำ้ เงนิ ตะกอนสีแดงอิฐ

ค. แป้งทหี่ มักด้วยแปง้ ข้าวหมาก สีนำ้ ตาลแดง

ง. แปง้ ทีต่ ม้ กับกรด สนี ำ้ ตาลแดง

(เฉลย ค)

19. ข้อความใดถูกต้องเก่ียวกบั การทดสอบนำ้ ตาลที่มหี มู่คารบ์ อกซาลดีไฮด์ (-CHO)
ดว้ ยสารละลายเบเนดกิ ตน์ นั้ (การวิเคราะห์)
ก. Cu2+ ถูกรีดิวซ์ไปเปน็ Cu+ ให้ตะกอนสแี ดงอฐิ ของ Cu2O
ข. น้ำตาลทำหน้าทเี่ ป็นตวั ถูกรดี ิวซแ์ ละถูกเปล่ียนไปเปน็ แอลกอฮอล์
ค. น้ำตาลถูกเปลีย่ นเปน็ เกลอื ของกรดอินทรยี ์และ Cu2+ ใหต้ ะกอนสีแดงอฐิ ของ CuO
ง. สารละลายเบเนดกิ ต์ทำหนา้ ท่ีเปน็ ตัวออกซไิ ดส์และน้ำตาลถูกเปล่ียนไปเป็นแอลกอฮอล์
(เฉลย ก)

20. ขอ้ ใดถูกต้องเกย่ี วกับการระบุโครงสรา้ งของมอนอแซ็กคาไรด์ A , B , C ตามลำดบั
(ความเขา้ ใจ)

A B C

ก. กลูโคส ฟรักโทส กาแลกโทส
ข. กลูโคส กาแลกโทส ฟรักโทส
ค. ไรโบส ฟรกั โทส กาแลกโทส
ง. ไรบโู ลส กาแลกโทส ฟรักโทส
(เฉลย ก)

ผลงานนกั เรียน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
เรือ่ ง คารโ์ บไฮเดรต

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 สารชวี โมเลกุล รายวิชาเคมี 4 (ว33224)

ผลงานนกั เรียน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
เรือ่ ง คารโ์ บไฮเดรต

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 สารชวี โมเลกุล รายวิชาเคมี 4 (ว33224)

ผลงานนกั เรียน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
เรือ่ ง คารโ์ บไฮเดรต

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 สารชวี โมเลกุล รายวิชาเคมี 4 (ว33224)

ผลงานนกั เรียน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
เรือ่ ง คารโ์ บไฮเดรต

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 สารชวี โมเลกุล รายวิชาเคมี 4 (ว33224)

ผลงานนกั เรียน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
เรือ่ ง คารโ์ บไฮเดรต

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 สารชวี โมเลกุล รายวิชาเคมี 4 (ว33224)

ผลงานนกั เรียน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
เรือ่ ง คารโ์ บไฮเดรต

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 สารชวี โมเลกุล รายวิชาเคมี 4 (ว33224)

ผลงานนกั เรียน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
เรือ่ ง คารโ์ บไฮเดรต

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 สารชวี โมเลกุล รายวิชาเคมี 4 (ว33224)


Click to View FlipBook Version