โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภททดลอง
เรือ่ ง ดนิ เย่อื กระดาษรีไซเคิล (Recycled Pulp Clay)
โดย
เดก็ หญงิ ชนญั ชิดา พลธรรม
เด็กหญิงวรรณนสิ า ไฝบุญ
เด็กหญิงอจั จมิ า วรรณเพ็ชชา
ครูทป่ี รกึ ษา
นางสาวสาวบน เด็นหมัด
นางสมุ ณฑา เอมเอก
โรงเรยี นเทศบาล 5 (วัดหวั ปอ้ มนอก) สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 16
รายงานฉบับน้ีเป็นสว่ นประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์
ประเภททดลอง ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้น
เนือ่ งในงานมหกรรมความสามารถทางศิลปหตั ถกรรม วิชาการและเทคโนโลยีของนักเรียน
ปกี ารศกึ ษา 2562 วันที่ 30 เดอื นกันยายน พ.ศ. 2562
2
โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภททดลอง
เรื่อง ดินเยอื่ กระดาษรไี ซเคิล (Recycled Pulp Clay)
โดย
เดก็ หญงิ ชนัญชดิ า พลธรรม
เด็กหญงิ วรรณนิสา ไฝบญุ
เด็กหญงิ อจั จมิ า วรรณเพ็ชชา
ครทู ี่ปรึกษา
นางสาวสาวบน เด็นหมัด
นางสุมณฑา เอมเอก
ชือ่ โครงงาน ดินเยื่อกระดาษรไี ซเคลิ (Recycled Pulp Clay)
ผู้จดั ทำโครงงาน เด็กหญิงชนัญชิดา พลธรรม
เด็กหญิงวรรณนสิ า ไฝบุญ
เด็กหญิงอัจจิมา วรรณเพ็ชชา
ชื่อครูที่ปรกึ ษา นางสาวสาวบน เด็นหมัด
นางสมุ ณฑา เอมเอก
อีเมลล์ครูที่ปรึกษา [email protected] Su [email protected]
โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหวั ป้อมนอก) เทศบาลนครสงขลา อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
ปีการศกึ ษา 2562
บทคดั ย่อ
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง ดินเย่ือกระดาษรีไซเคิลเป็นการนำกระดาษท่ีผ่านการใช้งานแล้ว
ทั้งสองหน้ามาผ่านกระบวนการกระจายเส้นใยและทำความสะอาดเยื่อกระดาษ มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1) ศึกษาและเปรียบเทียบความเหนียวของดินเย่ือกระดาษรีไซเคิลที่ผสมกับเย่ือกระดาษรีไซเคิล
น้ำหนักต่างกัน 2) ศึกษาและเปรียบเทียบความเหนียวดินเย่ือกระดาษรีไซเคิลท่ีใช้แป้งต่างชนิดกัน
3) ศึกษาและเปรียบเทียบความเหนียวของดินเยื่อกระดาษรีไซเคิลท่ีมีอัตราส่วนกาวลาเท็กซ์ต่อครีม
บำรงุ ผิวตา่ งกัน
ผลการศกึ ษา พบว่า
1. น้ำหนกั ของเยอ่ื กระดาษรไี ซเคิลเพ่ิมขึ้นทำให้ดนิ เย่ือกระดาษรีไซเคิลมีความเหนียวเพ่ิมข้นึ
2. เย่ือกระดาษรีไซเคิลที่ผสมกับแป้งชนิดต่างกัน ความเหนียวของดินเย่ือกระดาษรีไซเคิล
ต่างกนั โดยแปง้ สาลีมีความเหนยี วมากท่สี ดุ รองลงมา คอื แป้งข้าวเจ้า
3. อัตราส่วนกาวลาเท็กซ์ต่อครีมบำรุงผิวต่างกัน ความเหนียวของดินเย่ือกระดาษรีไซเคิล
ต่างกันโดยอตั ราสว่ นกาวลาเท็กซต์ ่อครีมบำรงุ ผวิ 4 : 1 เปน็ อตั ราสว่ นที่ดีที่สดุ รองลงมาคือ 2 : 3
4
กิตติกรรมประกาศ
การทำโครงงานวิทยาศาสตร์เร่อื ง ดินเย่ือกระดาษรีไซเคลิ (Recycled Pulp Clay) ครั้งน้ี
สำเร็จลุล่วงด้วยดีเน่ืองจากได้รับความร่วมมือจากนายสมชาติ เหลืองสะอาด ผู้อำนวยการสถานศึกษา
โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) ครูสุมณฑา เอมเอก ครูศักดิ์ดา เอมเอก ครูธนโชติพสิทณ์
จริ ะศักด์ิขี ครูกานต์ชนก กานต์นภัทร และครูสาวบน เด็นหมัด ตลอดจนผู้ปกครอง เพื่อน ๆ พ่ี ๆ ท่ีได้
ให้คำแนะนำ เออื้ เฟือ้ ข้อมูล วัสดุ อุปกรณแ์ ละสถานท่ีในการจดั ทำโครงงาน
คณะผจู้ ัดทำจงึ ใคร่ขอขอบพระคณุ มา ณ โอกาสนด้ี ้วย
คณะผูจ้ ัดทำ
25 กันยายน 2562
สารบัญ 5
เรือ่ ง หน้า
บทคดั ย่อ ก
กติ ตกิ รรมประกาศ ข
บทที่ 1 บทนำ 1
1
- ทม่ี าและความสำคัญของโครงงาน 2
- วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษาค้นควา้ 2
- ขอบเขตของการศึกษาคน้ ควา้ 2
- สมมติฐานของการศกึ ษาค้นคว้า 2
- ตวั แปรทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 3
- ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ บั 3
- นิยามเชงิ ปฏิบัตกิ าร 4
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 11
บทท่ี 3 อุปกรณ์และวธิ ีการทดลอง 11
- อปุ กรณ์และสารเคมี 11
- วิธกี ารทดลอง 13
บทที่ 4 ผลการทดลอง 17
บทท่ี 5 อภิปรายผลและสรปุ ผลการทดลอง 20
บรรณานกุ รม 22
ภาคผนวก
สารบัญตาราง 6
ตารางที่ หน้า
1 คา่ ความเหนย่ี วของดินเย่ือกระดาษรไี ซเคิล 13
2 ค่าความเหนยี วของดนิ เยื่อกระดาษรไี ซเคิลท่ีมีอตั ราสว่ นกาวลาเท็กซต์ ่อ 15
ครมี บำรุงผิวตา่ งกนั
สารบัญกราฟ 7
กราฟท่ี หน้า
1 แสดงความเหนียวของดินเยอื่ กระดาษรีไซเคิลชนดิ ต่างๆ 17
8
บทท่ี 1
บทนำ
ท่มี าและความสำคญั ของโครงงาน
คนไทยใช้กระดาษเฉลี่ยปีละ 3.9 ล้านตันหรือคนละประมาณ 60 กิโลกรัมต่อปีท่ีก่อให้เกิด
ปัญหาขยะปีละ 14.6 ล้านตนั โดยในกองขยะทั่วไปเกือบครึ่งหนึ่งเปน็ ขยะที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้แยกเป็น
กระดาษ 19% พลาสติก 13% แก้ว 8% โลหะ 5% ซ่ึงขยะกระดาษนั้นมีจำนวนมากที่สุดคิดเป็นขยะ
ท่ีเกิดขึ้นทั่วประเทศประมาณ 2.47 ล้านตัน (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
2562) สถานศึกษาเป็นแหล่งหน่ึงที่ใช้กระดาษในปริมาณมากทำให้ปริมาณขยะจากกระดาษน่าจะมี
ไม่ต่ำกว่า 4 หมื่นตันต่อปี กระดาษเหล่าน้ีเม่ือไม่มีวิธีการจัดการอย่างถูกวิธีจะกลายมาเป็นขยะท่ีไม่
กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ใด ๆ (สุรยี ์รัตน์ พิทกั ษ์. 2562)
การรีไซเคิลกระดาษจึงเป็นกระบวนการนำกระดาษเก่าที่ผ่านการใช้งานแล้วมาผ่าน
กระบวนการกระจายเส้นใยและทำความสะอาดเยื่อกระดาษเพื่อนำเย่ือกระดาษท่ีได้มาผลิตเป็ น
กระดาษใหม่อีกคร้ัง เย่ือกระดาษที่ผลิตได้จากกระดาษท่ีผ่านการใช้งานแล้วเรียกว่า เยื่อหมุนเวียน
ทำใหม่หรือเย่ือรีไซเคิล (Secondary Pulp or Recycled Pulp) แต่การนำเย่ือกระดาษรีไซเคิลมาใช้
ในการผลิตกระดาษนั้นมีข้อจำกัดเรื่องคุณภาพของกระดาษที่ผลิตได้ แต่มีข้อดีที่เยื่อกระดาษรีไซเคิล
นั้นมีเซลลูโลสที่มีคุณสมบัติเป็นตัวประสานท่ีดี สอดคล้องกับปัญหาราคาสื่อการเรียนรู้ทาง
วทิ ยาศาสตร์ชนิด 3 มิติที่มีราคาสูง และในท้องตลาดนั้นมีผลิตภัณฑ์ท่ีมีลักษณะคล้ายดินน้ำมันซึ่งทำ
จากแป้งหรือมีส่วนผสมของกาวที่ได้จากแป้งข้าวเจ้า น้ำและสารกันเสีย โดยนำกาวผสมกับแป้งสาลี
หรือแป้งอเนกประสงค์ น้ำมันพืชนวดเป็นเนื้อเดียวกัน เติมทิชชูท่ีฉีกเป็นช้ินเล็ก ๆ นวดให้เข้ากัน
แต่งสีและแต่งกล่ินจะได้ผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะคล้ายดินน้ำมันใช้เล่นได้ประมาณ 1 อาทิตย์แต่ห้ามแช่
ตเู้ ยน็ (พมิ พช์ นก. 2562)
คณะผู้จัดทำจึงนำกระดาษสำนักงานที่ใช้แล้วท้ังสองด้านมาทำเย่ือกระดาษรีไซเคิลที่
สามารถนำมาผสมกับแป้งชนิดต่าง ๆ เพื่อให้มีสมบัติที่ดีและสามารถข้ึนรูปแล้วคงรูปเม่ือวางท้ิงไว้ที่
อุณหภูมิห้อง ดังนั้นจึงสนใจศึกษาและเปรียบเทียบความเหนียวของดินเยื่อกระดาษรีไซเคิลจาก
การนำเย่ือกระดาษรีไซเคิล 1 g , 2 g , 3 g , 4 g และ 5 g มาทำหน้าท่ีเป็นตัวประสานกับแป้งชนิด
ต่าง ๆ เช่น แป้งข้าวเจ้า แป้งข้าวเหนียว แป้งข้าวโพด แป้งมันสำปะหลังที่เติมกาวลาเท็กซ์และ
ครีมบำรุงผิวแล้วนำมาเปรียบเทียบกับดินไม่มีเยื่อกระดาษรีไซเคิลเป็นตัวประสานแล้วจึงทำ
การเปรียบเทียบความเหนียวของดินเย่ือกระดาษรีไซเคิลที่มีอัตราส่วนกาวลาเท็กซ์ต่อครีมบำรุงผิว
ตา่ งกนั
9
วตั ถุประสงคข์ องการศึกษาค้นคว้า
1. เพื่อศกึ ษาและเปรยี บเทยี บความเหนียวของดนิ เยื่อกระดาษรีไซเคลิ ที่มเี ยื่อกระดาษ
รีไซเคิลนำ้ หนกั ต่างกนั
2. เพ่ือศึกษาและเปรียบเทียบความเหนียวของดินเยื่อกระดาษรีไซเคลิ ท่ีใชแ้ ปง้ ตา่ งชนิดกนั
3. เพือ่ ศึกษาและเปรียบเทียบความเหนยี วของดนิ เยอื่ กระดาษรีไซเคิลทีม่ ีอัตราส่วนกาวลาเท็กซ์
ตอ่ ครมี บำรุงผิวตา่ งกนั
ขอบเขตของการศกึ ษาค้นควา้
ศึกษาความเหนียวของดินเยื่อกระดาษรีไซเคิลด้วยการหาค่าระยะเวลาสงู สุดท่ีวงแหวนของ
ดินเยื่อกระดาษรีไซเคิลขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางวงนอก 2 นิ้ว วงใน 1.5 นิ้วสามารถรับแรง 0.2 N
ทง้ั นี้ใช้เย่ือกระดาษรีไซเคิลน้ำหนัก 1 g , 2 g , 3 g , 4 g และ 5 g ผสมกับแป้งต่างชนิดกัน เชน่ แป้ง
ขา้ วเจา้ แป้งขา้ วเหนียว แป้งข้าวโพด แป้งมนั สำปะหลงั แป้งสาลี 20 g กาวลาเท็กซ์ 20 g และครีม
บำรุงผิว 5 g แล้วเปรียบเทียบกับดินเยื่อกระดาษรีไซเคิลท่ีไม่มีเยื่อกระดาษรีไซเคิลเป็นตัวประสาน
แล้วจึงเปรียบเทียบความเหนียวของดนิ เยื่อกระดาษรีไซเคิลท่ีมีอัตราส่วนกาวลาเท็กซ์ตอ่ ครีมบำรุงผิว
ตา่ งกนั
สมมติฐานของการศึกษาคน้ ควา้
1. นำ้ หนกั เยอ่ื กระดาษรไี ซเคลิ ต่างกัน ความเหนียวของดินเย่ือกระดาษรีไซเคิลต่างกัน
2. แป้งชนิดตา่ งกนั ความเหนยี วของดินเย่ือกระดาษรีไซเคลิ ต่างกนั
3. อัตราสว่ นกาวลาเทก็ ซ์ต่อครีมบำรุงผิวต่างกนั ความเหนยี วของดินเยื่อกระดาษรไี ซเคลิ
ต่างกนั
ตวั แปรทเ่ี กย่ี วข้อง
ตอนท่ี 1 ศึกษาน้ำหนักของเย่ือกระดาษรีไซเคลิ
ตวั แปรตน้ : น้ำหนกั เยอื่ กระดาษรไี ซเคิล
ตัวแปรตาม : ความเหนยี วของดนิ เยอ่ื กระดาษรีไซเคลิ
ตัวแปรควบคุม : นำ้ หนกั และชนิดของแปง้
นำ้ หนักของกาวลาเท็กซ์
น้ำหนกั ของครมี บำรงุ ผิว
น้ำหนกั ของตุ้มน้ำหนัก
10
ตอนท่ี 2 ศกึ ษาชนดิ ของแปง้
ตวั แปรต้น : ชนดิ ของแป้ง
ตัวแปรตาม : ความเหนยี วของดนิ เยอ่ื กระดาษรไี ซเคิล
ตวั แปรควบคมุ : น้ำหนกั เยอ่ื กระดาษรีไซเคลิ
นำ้ หนกั แป้ง
น้ำหนกั กาวลาเท็กซ์
น้ำหนักครมี บำรุงผวิ
น้ำหนักของตุ้มนำ้ หนัก
ตอนท่ี 3 ศกึ ษาอัตราส่วนกาวลาเทก็ ซ์ต่อครีมบำรุงผวิ
ตัวแปรตน้ : อตั ราสว่ นกาวลาเท็กซ์ตอ่ ครีมบำรุงผิว
ตวั แปรตาม : ความเหนยี วของดินเยือ่ กระดาษรีไซเคลิ
ตัวแปรควบคมุ : น้ำหนักเยือ่ กระดาษรไี ซเคลิ
น้ำหนักและชนิดของแป้ง
นำ้ หนกั ของตุ้มนำ้ หนัก
ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รับ
1. ได้รบั ความรู้เก่ียวกบั สมบัติความเหนยี วของดนิ เย่ือกระดาษรไี ซเคิลท่ีใช้เยื่อกระดาษ
รไี ซเคิลนำ้ หนักตา่ งกนั เปน็ ตวั ประสาน
2. ได้รับความร้เู ก่ียวกบั สมบตั ิความเหนยี วของดินเยอื่ กระดาษรไี ซเคิลที่ใชแ้ ป้งตา่ งชนิดกัน
3. สร้างมูลค่าให้กับกระดาษใช้แล้วทั้งสองหน้าด้วยการนำมาทำสอื่ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
หรอื ชนิ้ งานตา่ ง ๆ เพื่อลดต้นทนุ การจัดซ้อื สอ่ื การเรยี นรู้และสามารถลดการนำเขา้ จากต่างประเทศ
4. เปน็ แนวทางหนงึ่ ในการลดปญั หาขยะและภาวะโลกรอ้ นและช่วยเพ่ิมรายไดใ้ ห้แก่ชุมชน
นยิ ามเชงิ ปฏิบตั กิ าร
1. เยอ่ื กระดาษรีไซเคลิ หมายถึง เย่ือกระดาษท่ีได้จากการแชก่ ระดาษสำนักงานซึ่งเป็น
กระดาษ A4 ทผ่ี ่านการใช้งานแลว้ ท้งั สองหนา้ มาผา่ นกระบวนการและนำมาตกี ระจายเย่ือจนฟู
2. ดนิ เย่อื กระดาษรีไซเคิล หมายถึง วสั ดุท่ีไดจ้ ากการผสมเย่ือกระดาษรไี ซเคิลกับแปง้ 20 g
กาวลาเทก็ ซ์ 20 g และและครมี บำรงุ ผวิ 5 g
3. ความเหนียวของดนิ เย่ือกระดาษรไี ซเคลิ หมายถึง ระยะเวลาสูงสุดทีว่ งแหวนดินเย่อื
กระดาษรีไซเคลิ ทม่ี ีขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลางวงนอก 2 น้วิ วงใน 1.5 นวิ้ สามารถรบั แรง 0.2 N
11
บทท่ี 2
เอกสารที่เก่ยี วขอ้ ง
ดินเยอ่ื กระดาษ
ดินเย่ือกระดาษเป็นดินที่นำเยื่อกระดาษที่บดละเอียดมาผสมกับแป้ง หรือดินสอพองและ
วสั ดุท่ีทำให้เกิดความเหนียวผ่านขบวนการนวดจนเป็นเน้ือเดียวกัน มีเนื้อละเอียดเนียน เม่ือแกะออก
ใช้แล้วต้องเก็บในภาชนะที่ปิดสนิท ไม่ให้อากาศเข้าจะเก็บไว้ได้นานเป็นเดือน โดยดินเย่ือกระดาษ
สามารถนำมานวดปั้นได้ทันทเี หมอื นดินน้ำมัน แตจ่ ะป้ันยากกวา่ เพราะผิวจะเป็นขุย เนื้อจะหยุ่นคล้าย
หมากฝรั่ง วิธีป้นั ดินเย่อื กระดาษต้องปน้ั พอกไปทีละนิดให้แห้งทลี ะชั้น จะปน้ั ทีเดียวเป็นทรวดทรงเลย
ไม่ได้เพราะจะคุมยาก อีกวิธีหน่ึง คือ ปั้นเป็นรูปร่างคร่าว ๆ แล้วนำไปอบให้แห้งจึงนำมาใช้มีดหรือ
เครื่องเจยี รแ์ ต่งให้ไดร้ ปู ทรงแล้วจงึ ขัดเรยี บด้วยกระดาษทราย
การผลิตดนิ เย่ือกระดาษโดยนำกระดาษมาแช่น้ำให้เปื่อยยุ่ยแล้วเข้าเคร่ืองป่ันจะได้เป็นเยื่อ
กระดาษจากน้ันนำเย่ือกระดาษมาผสมกับดินสอพอง และวัสดุที่ทำให้เกิดความเหนียวนวดให้เป็น
เนอ้ื เดียวกนั ตามสดั สว่ นพอเหมาะด้วยเครือ่ งนวดจะไดด้ นิ เย่ือกระดาษที่สามารถนำมาใชง้ านได้
เยอ่ื กระดาษรไี ซเคิล
การรีไซเคิลกระดาษ คือ กระบวนการนำกระดาษเก่าที่ผ่านการใช้งานแล้วมาผ่าน
กระบวนการกระจายเส้นใย และทำความสะอาดเย่ือกระดาษ เพ่ือนำเย่ือกระดาษท่ีได้มาผลิตเป็น
กระดาษใหม่อีกครั้ง โดยเย่ือกระดาษที่ผลิตได้จากกระดาษท่ีผ่านการใช้งานแล้วน้ีเรียกว่า เย่ือ
หมุนเวียนทำใหม่หรือเย่ือรีไซเคิล (Secondary Pulp or Recycled Pulp) กระบวนการรีไซเคิล
กระดาษจะมีลำดับข้ันตอนการผลิตแตกต่างกันไปตามกระดาษท่ีใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต เช่น
การผลิตเยื่อกระดาษรีไซเคิลสำหรับบรรจุภัณฑ์อาจจะไม่มีขั้นตอนการฟอกสีเยื่อกระดาษใน
กระบวนการผลิตจึงทำให้มีข้ันตอนของกระบวนการผลิตน้อยกว่ากระบวนการผลิตเย่ือกระดาษ
รไี ซเคลิ สขี าวสำหรับกระดาษพมิ พเ์ ขยี นท่ีต้องมีขน้ั ตอนการฟอกสเี ย่ือกระดาษ
การนำเย่ือกระดาษรีไซเคิลมาใช้ในการผลิตกระดาษจะมีข้อจำกัดหลายประการซึ่งมีผลต่อ
คุณภาพของกระดาษท่ีผลิตได้ เช่น เย่ือกระดาษรีไซเคิลจะมีสารปนเป้ือนค่อนข้างมาก ดังนั้น
กระดาษท่ีผลิตจากเยื่อรีไซเคิลจึงอาจมสี ารปนเปื้อนเหล่านี้ปะปนอยู่ทำให้ไม่เหมาะท่ีจะนำกระดาษท่ี
ผลิตจากเยื่อรีไซเคิลมาใชใ้ นการผลิตบรรจุภณั ฑ์ทตี่ ้องสมั ผัสกับอาหารโดยตรง นอกจากน้ีลักษณะและ
คุณสมบัติของเยื่อรีไซเคิลจะแตกต่างจากเย่ือบริสุทธ์ิทำให้การควบคุมคุณภาพของกระดาษให้
สม่ำเสมอจะทำได้ยาก ดังน้ัน ส่ิงสำคัญประการหน่ึงในการผลิตเย่ือกระดาษรีไซเคิลที่มีคุณภาพ คือ
ลกั ษณะของกระดาษทรี่ วบรวมมาเพ่ือใช้เป็นวัตถุดบิ ในกระบวนการรีไซเคิล โดยเศษกระดาษทีใ่ ชเ้ ป็น
12
วัตถุดิบในการผลิตเย่ือรีไซเคิลควรเป็นกระดาษชนิดเดียวกัน ไม่ควรนำกระดาษต่างชนิดมาผสมกัน
เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในกระบวนการรไี ซเคิล เพราะจะทำให้การกำจดั ส่ิงปลอมปนออกจากเย่ือกระดาษ
ทำได้ยาก และเย่ือกระดาษรีไซเคิลท่ีผลิตได้จะมีคุณภาพลดต่ำลง เช่น ควรแยกกระดาษแมกกาซี
นออกจากกระดาษกล่องลูกฟูก เนื่องจากกระดาษแมกกาซีนจะมีหมึกพิมพ์ปนเปื้อนในปริมาณมาก
ขณะที่กล่องกระดาษลูกฟูกจะมีการปนเปื้อนของกาว และสารเคลือบผิวในปริมาณสูงอีกทั้ง
องค์ประกอบของเยื่อกระดาษทั้งสองประเภทแตกต่างกันหากนำกระดาษทั้งสองชนิดมาผสมกันแล้ว
นำไปผ่านกระบวนการรีไซเคิลจะได้เยอ่ื กระดาษที่มีคุณภาพต่ำ โดยท่ัวไปกระดาษทใ่ี ช้เป็นวัตถุดิบใน
การผลิตเยื่อกระดาษรีไซเคิลสามารถแบ่งออกได้ 4 กลุ่มหลัก คือ 1. กระดาษหนังสือพิมพ์ 2. กล่อง
กระดาษลกู ฟูก 3. กระดาษสำนักงาน 4. อน่ื ๆ ซึ่งกระดาษแต่ละประเภทจะมสี มบัติและองค์ประกอบ
ท่ีแตกต่างกัน เช่น กระดาษหนังสือพิมพ์จะมีปริมาณเยื่อเชิงกลเป็นส่วนประกอบในปริมาณสูงขณะที่
กระดาษสำนักงานจะมีเย่ือเคมเี ป็นสว่ นประกอบหลักหรือสารปนเปื้อนท่ีสำคัญในกล่องกระดาษลกู ฟูก
หรือบรรจุภัณฑ์กระดาษ คือ แว็กซ์เคลือบผิว (Wax lining) และกาว (Adhesives) ขณะท่ีสาร
ปนเป้ือนที่สำคัญของกระดาษหนังสือพิมพ์ และกระดาษสำนักงาน คือ หมึกพิมพ์ นอกจากน้ียงั พบว่า
กระดาษสีหรือกระดาษท่ีมีการเติมสารเติมแต่งพิเศษอ่ืน ๆ เช่น กระดาษท่ีมีการเติมสารเพ่ิม
ความแข็งแรงเม่ือเปียก (Wet Strength) กระดาษท่ีเคลือบผิวด้วยเคลย์ (Clay Coated Paper) และ
สารเติมแต่งอ่ืน ๆ จะทำให้การกำจัดสิ่งปลอมปนมีความยุ่งยากเพ่ิมมากขึ้น ดังนั้น การเลือกชนิดของ
กระดาษท่จี ะนำมาผลิตเย่ือรีไซเคิลจะมีความสำคญั อย่างมาก
แปง้
สตู รโครงสรา้ งของแปง้
ท่มี า https://th.wikipedia.org/wiki
แป้ง (Starch) เป็นพอลิแซ็กคาไรด์ท่ีเกิดจากกลูโคสหลายพันโมเลกุลเช่ือมต่อกันมีสูตร
โมเลกุลเป็น (C6H10O5)n มีโครงสร้างเป็นทั้งแบบสายยาวและกิ่งก้านสาขา แป้งมีมากในพืชประเภท
เมลด็ และหัว เม่ือแป้งถูกความรอ้ นจะกลายเป็นเด็กซ์ตรินซ่ึงเป็นสารที่มีรสหวานเล็กนอ้ ยและมีสมบัติ
เหนยี วแบบกาว
13
แปง้ ขา้ วเจา้
แปง้ ขา้ วเจ้า
ที่มา https://sites.google.com/site/cerealflour1/home/rice-flour
แป้งข้าวเจ้าหรือแป้งญวนเป็นแป้งท่ีทำมาจากข้าว ในอดีตใช้แป้งสดที่โม่จากข้าวสารแช่น้ำ
คา้ งคืน นำแป้งท่ีได้จากการโม่มาทับน้ำออกจะได้แป้งท่ีพร้อมนำไปทำขนม ปัจจุบันนิยมใช้แป้งแห้งที่
ผลิตจากโรงงาน แป้งข้าวเจ้าทำมาจากข้าวเจ้าโดยทีข่ ายในทอ้ งตลาดมี 2 ชนิด คอื “แป้งข้าวเจ้าชนิดแหง้ ”
มีลักษณะแป้งป่นละเอียด ขาวสะอาด บรรจุในถุงพลาสติก ผลิตโดยโรงงานอุตสาหกรรมและ “แป้ง
ข้าวเจ้าชนิดเปียก” วิธีทำแช่ข้าวสารหรือปลายข้าวในน้ำพอท่วมประมาณ 2-3 ชั่วโมงเพ่ือให้ข้าวนุ่ม
จากน้ันนำมาบดให้ละเอียดด้วยโม่หินหรือเคร่ืองบด เมื่อได้แป้งที่ละเอียดแล้วจึงกรองด้วยถุงผ้า
มัดปากถุงให้แน่นแล้วทับให้สะเด็ดน้ำ ไม่มีการค้างคืนเพราะเหม็นบูดได้ง่าย เหมาะกับอาหารที่
ต้องการความร่วนไม่เหนียวหนืด เน้ือแป้งข้าวเจ้ามีลักษณะสากมือ เป็นผงหยาบกว่าแป้งสาลี ขนมที่
ทำจากแป้งข้าวเจ้า เน้ือขนมจะมีความแขง็ ร่วน เช่น ขนมเบอ้ื ง ขนมถ้วยฟู ขนมตาล ขนมชั้นขนม
กลว้ ย
แปง้ ขา้ วเหนียว
แป้งขา้ วเหนยี ว
ทีม่ า http://www.firststarch.com/th/product/view_prod
แป้งข้าวเหนียวทำมาจากเมล็ดข้าวเหนียวมีลักษณะเป็นผงสีขาวจับแล้วความรู้สึกสาก
เล็กน้อยซึ่งกรรมวิธีการทำแป้งข้าวเหนียวเหมือนกับแป้งข้าวเจ้า เม่ือแป้งถูกความร้อนจะจับตัวเป็น
ก้อน แป้งข้าวเหนียวเหมาะกับอาหารที่ต้องการความเหนียวเกาะตัว เช่น ขนมเทียน ขนมถ่ัวแปบ
ขนมต้ม
14
แป้งข้าวโพด
แปง้ ขา้ วโพด
ทม่ี า http://www.ladycee.com/s/17434
แป้งข้าวโพด (อังกฤษ : Corn Starch, Cornflour หรือ Maize Starch) เป็นแป้งที่ได้จาก
ส่วนเมล็ดของข้าวโพด ลักษณะเป็นผงสีขาวเหลืองนวล ผิวสัมผัสแป้งเนียน ล่ืนมือ เมื่อทำให้สุกมี
ความข้น ใส ไม่คืนตัวง่าย หลังจากพักให้เย็นแป้งจะอยู่ตัวจับเป็นก้อนแข็งร่วนเป็นมันวาวเหมาะกับ
อาหารทตี่ ้องการความคงตวั
แปง้ มนั สำปะหลัง
แปง้ มนั สำปะหลงั
ทมี่ า http://bigtreeintertrade.siam2web.com/?cid=1056439
แป้งมันสำปะหลังทำมาจากหัวมันสำปะหลัง ลักษณะเป็นผงสีขาว ผิวสัมผัสแป้งเนียน ลื่น
มือเวลาแปง้ สุกจะเหลวเหนยี วหนดื เม่ือพักให้เยน็ ความเหนียวหนืดคงตัว นิยมนำแปง้ มันสำปะหลงั มา
ผสมกับแป้งชนิดอื่น ๆ เพื่อทำให้ขนมมีความเหนียวนุ่มมากกว่าการใช้แป้งชนิดเดียว เช่น ขนมช้ัน
ขนมฟักทอง ขนมกล้วย นอกจากนี้ยังใช้เวลานวดแปง้ เพ่ือไม่ให้แป้งติดมือ แป้งมันสำปะหลงั เหมาะ
กับอาหารทตี่ อ้ งการความเหนียวหนืดและใส เชน่ ทับทิมกรอบ เตา้ สว่ น กระเพาะปลา เปน็ ต้น
15
แป้งสาลี
แป้งสาลี
ท่มี า http://www.foodietaste.com/FoodPedia_detail.asp?id=35
แป้งสาลีเป็นแป้งท่ีตา่ งจากแป้งชนิดอื่นเพราะประกอบไปด้วยโปรตีน 2 ชนิด คือ กลูตานิน
(Glutanin) และไกลอะดิน (Glyadin) เมื่อแป้งถูกนวดรวมกับน้ำ โปรตีนจะรวมตัวเป็นสารกลูเตน
(Gluten) มีลักษณะเป็นยาง ยืดหยุ่นทำให้สามารถเก็บแก๊สได้ดีจึงทำหน้าท่ีเป็นโครงสร้างในขนมอบ
ข้าวสาลีมีหลายประเภทตามปริมาณกลูเตน ข้าวสาลีแข็งหรือข้าวสาลีขนมปังมีปริมาณกลูเตนสูง
ระหว่าง 12 % ถึง 14 % และมีความเหนียวยืดหยุ่นที่รักษารูปทรงได้ดี เม่ืออบแป้งอ่อนมีกลูเตน
ค่อนข้างต่ำจึงให้เน้ือท่ีละเอียดหรือร่วนกว่าแป้งอ่อนตามปกติแบ่งได้เป็นแป้งเค้กซึ่งมีปริมาณกลูเตน
ต่ำสุด และแป้งพาสต้าซึ่งมีกลูเตนมากกว่าแป้งเค้กเล็กน้อย ดังนั้น แป้งสาลีมีการแบ่งออกเป็น
3 ชนิด คือ แป้งสาลีทำขนมปังผิวสัมผัสแป้งจะหยาบกว่าแป้งสาลีชนิดอื่นมีปริมาณโปรตีน 12-13 %
ทำให้แป้งชนิดนี้สามารถดูดน้ำได้มากมีความยืดหยุ่น เหนียว เหมาะสำหรับขนมอบ แป้งสาลี
อเนกประสงค์ทำจากข้าวสาลีชนิดหนักและเบาผสมกัน สีขาวนวล มีโปรตีน 9-10 % ให้ความเหนียว
พอสมควรเหมาะกบั การทำคกุ ก้ี พาย กะหรพี่ ัฟ เปน็ ต้น แป้งสาลที ำเคก้ ทำมาจากขา้ วสาลีชนดิ เบา
ลกั ษณะแป้งละเอียดมาก สีขาว มีปริมาณโปรตีน 6-9 % เม่ือนำมาผสมน้ำจะดูดซึมได้น้อยเหมาะกับ
การขนมสาลี เคก้ เป็นตน้
กาวลาเทก็ ซ์
กาวลาเท็กซ์มีส่วนประกอบสำคัญ คือ พอลิไวนิลอะซิเทต (Polyvinyl Acetate, PVAC)
ซ่ึงเป็น พอลิเมอร์สังเคราะห์ชนิดหน่ึงท่ีมีสายโซ่ยาว ละลายน้ำไม่ดี เม่ืออยู่ในน้ำจึงอยู่ในลักษณะสาร
อมิ ัลชัน (Emulsion) คอื เป็นอนุภาคเล็ก ๆ มีขนาดเส้นผา่ ศูนย์กลาง 10-7-10-4 cm กระจายอยู่ท่ัว ๆ ไป
ในน้ำ ขนาดของอนุภาคในสารอิมัลชันมีขนาดใหญเ่ กนิ ไปกว่าทจี่ ะทำให้แสงสอ่ งผ่านไปได้ ดังน้ัน เมื่อ
มีแสงตกกระทบกับอนุภาคของกาวจึงเกิดการหักเหและสะท้อนกลับทำให้กาวลาเท็กซ์มีลักษณะเป็น
สีขาวข่นุ คล้ายน้ำนมหรอื น้ำยาง แต่เม่อื กาวลาเทก็ ซ์แห้งจะมลี กั ษณะใสเหมือนกาวใส
16
ครีมบำรุงผิว
ครมี บำรุงผิวทำหนา้ ท่ใี ห้ความชุ่มช้นื ป้องกันไม่ให้ผิวหนงั สูญเสียน้ำ บางชนิดอาจมคี ุณสมบตั ิ
พิเศษ คือ สามารถดูดซึมน้ำให้ผิวหนังได้ครมี บำรุงผิวหรือโลช่ันท่ีใช้มี 2 ชนิด คือ ครีมชนิดท่ีมนี ้ำเป็น
ตัวหลกั ครีมชนดิ น้ีจะล้างออกได้ง่าย ไม่เหนยี วเหนอะหนะมักใช้เวลากลางวันและใช้ในคนผิวปกติและ
ครมี ชนดิ ทใี่ ช้นำ้ มนั เป็นตัวหลักซึง่ ล้างออกยาก ทาแลว้ เหนอะหนะ แต่จะทำให้ปริมาณนำ้ ในบริเวณผิว
เพ่ิมข้ึนได้มากและ อยู่นานกว่าจึงนิยมใช้ในคนผิวแห้งมาก ๆ และคนสูงอายุ ไม่นิยมใช้ในคนผิว
ธรรมดา
การทดสอบง่าย ๆ เพื่อแยกครีมบำรุงผิวว่ามีอัตราส่วนของน้ำและน้ำมันเป็นอย่างไรโดยให้
นำเอาครีมบำรุงผิวดังกล่าวทาบริเวณผิวและลูบไล้ ถ้าพบว่าผิวหนังรู้สึกเย็น แสดงว่า มีน้ำเป็น
องค์ประกอบสำคัญ แต่ถ้ามีน้ำมันเป็นองค์ประกอบสำคัญจะรู้สึกอุ่นและบริเวณผิวหนังจะเป็นเงาใส
เน่ืองจากน้ำมันท่ีฉาบเคลือบผิวหนัง ดงั น้ัน ครีมบำรุงผิวประกอบด้วยส่วนที่เป็นน้ำและน้ำมันแต่อาจ
เป็นน้ำมันพืช น้ำมันสัตว์ ขี้ผ้ึงหรือสารสังเคราะห์ที่มีลักษณะเป็นน้ำมัน น้ำมันจากเกลือแร่
นอกจากน้ันจะมีตัว “อิมัลซิฟาย” ซึ่งทำหน้าท่ีทำให้น้ำผสมกับน้ำมันเป็นเน้ือเดียวกันและจะมีสารท่ี
ใส่เพ่ิมเติม คือ ยากันบูด น้ำหอม สารกันการเกิดออกซิเดชันทำให้ครีมมีอายุการใช้งานนานขึ้น แต่
ขอ้ เสยี คอื สามารถทำใหเ้ กิดการแพร้ ะคายเคืองได้
นอกจากน้ันอาจมีการเติมสารอื่น ๆ ลงไป แล้วโฆษณาออกมาเป็นจุดเด่นของครีมบำรุงผิว
ชนิดนั้น เช่น คอลลาเจน วิตามินอี วิตามินเอ วิตามินซี ฮอร์โมน อะโลเวรา (ว่านหางจระเข้)
ฟอสโฟไลปิด เลซติ ิน เอ็มพีเอส ไลโพโซม เซราไมด์ อีลาสตนิ กรดแล็กติก กรดไกลโคลิก ยูเรีย
ลาโนลีน คิวเทน็ เป็นต้น ซง่ึ สารต่าง ๆ เหล่าน้ีบางชนิดพบวา่ ก่อให้เกดิ การแพ้แบบระคายเคอื งได้โดย
อาจมีอาการคันทไี่ ม่มีผน่ื ใหเ้ หน็ หรอื อาจทำใหเ้ กิดการแพ้เปน็ ผนื่ สแี ดง เป็นขยุ มีน้ำเหลอื ง
งานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวข้อง
โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา (2543) ศึกษาวัสดุป้ันเทียมจากกระดาษ เส้นใยจากผักตบชวา
เส้นใยจากเปลือกข้าวโพด โดยนำกระดาษมาฉีกเป็นชิ้น ๆ แช่น้ำไว้ 2 คืนแล้วนำมาต้มด้วยโซเดียม-
ไฮดรอกไซด์แล้วนำกระดาษท่ีผ่านการต้มมาปั่นให้ละเอียด ทำการฟอกเย่ือโดยการใช้คลอรีนต้มจน
เย่ือขาวทำการล้างให้สะอาด นำเยื่อที่ได้ผสมกับดินสอพองและกาวลาเท็กซ์นำไปทดสอบแรงดึง
ทดลองป้ันดูความหนาแน่นและทำให้บางท่ีสุดเพ่ือวัดความหนา ผลการทดลองพบว่า ภาชนะที่
เหมาะสมในการเก็บดินป้ันท่ีประดิษฐ์ข้ึน คือ ฟิล์มพลาสติกแต่ก่อนป้ันควรนำมาเติมน้ำเล็กน้อยโดย
เม่อื พิจารณาจากผลงานท่ีทำจากดินปั้นพบว่า สามารถปนั้ ช้ินงานได้บาง จัดรูปทรงงา่ ย ทนต่อแรงกด
ทบั และแรงดึง ไมข่ น้ึ รา ไม่เปลี่ยนสี เมื่อเกบ็ ไวเ้ ป็นเวลานานไมเ่ ปลี่ยนคุณสมบตั ิเมือ่ อุณหภูมเิ ปลี่ยนไป
17
อีกท้ังยังมีราคาถูกและได้เพิ่มความเหนียวโดยใช้เส้นใยผักตบชวา สำหรับอัตราส่วนที่เหมาะสมใน
การเตรยี มดินคือ พลาสตกิ 4 ส่วน ทินเนอร์ 14 ส่วน เส้นใยผักตบชวา 4 สว่ น และแปง้ ขา้ วเหนียว 1 ส่วน
จิตลัดดา เกตุแก้ว วิไลวรรณ อิสลามและกริสรา ปราณสุข (2546) ได้ศึกษาโครงงาน
วิทยาศาสตร์ เร่ือง การผลิตดินป้ันเทียมโดยใช้เส้นใยจากกระดาษเป็นตัวประสานโดยนำกระดาษ
แชน่ ้ำให้เป่ือยยุ่ย ฟอกสใี ห้ขาว และผสมแป้งกับขา้ วเหนยี ว กาวลาเทก็ ซ์ น้ำมนั พืชจะไดว้ ัสดุปั้นเทียม
ที่มีความเหนียว ทนทานและไม่ติดมือโดยใช้ส่วนผสมคือ แป้งข้าวเหนียว 250 g กาวลาเท็กซ์ 200 g
น้ำมันพืช 40 g และน้ำ 40 cm3 ผลการทดลองพบว่า 1) ด้านการยืดตัวดินป้ันเทียมท่ีมีเย่ือกระดาษ
จะยืดตัวได้เฉล่ีย 14.75 cm ยืดและเหนียวกว่าดินปั้นเทียมท่ีไม่มีเย่ือกระดาษเฉลี่ย 13.95 cm
2) ด้านของเวลาในการรับน้ำหนักดินปั้นเทียมท่ีมีเยื่อกระดาษจะรับน้ำหนักได้เฉล่ียนาน 10.40 s
สามารถรับน้ำหนักได้ดีกว่าดินปั้นเทียมท่ีไม่มีเยื่อกระดาษที่สามารถรับได้เฉลี่ยเพียง 4.60 s 3) ด้าน
อตั ราส่วนของเย่ือกระดาษ พบว่า ดินป้ันเทียมท่ีมีความเหนียวและความยืดตัวของแป้งได้มากคือ ดิน
ป้ันเทียมท่ีมีเย่ือกระดาษผสมอยู่ 12 g มีความเหนียวและยืดหยุ่นตัวได้เฉล่ีย คือ 15.45 cm และดิน
ป้ันเทียมทมี่ เี ยอ่ื กระดาษผสมอยู่ 12 g มีความทนทานในการรบั น้ำหนกั เฉล่ียคือ 25.80 s
อญั ชลี พงษ์พานชิ และคณะ (2554) ศึกษาโครงงาน เรือ่ ง กระดาษย่อยสลายกลายเปน็ ดิน
สวยโดยการนำกระดาษหนังสือพิมพ์และกระดาษถ่ายเอกสารมาทำการย่อยสลายให้ละเอียดด้วย
เครอ่ื งปัน่ นำมาผสมกับกาวลาเทก็ ซแ์ ละสผี สมอาหารใหเ้ ป็นเนอ้ื เดียวกนั พบว่า ดินท่ีทำจากกระดาษ
ถ่ายเอกสารมีประสิทธิภาพมากกว่าดินท่ีทำจากกระดาษหนังสือพิมพ์เนื่องจากดินท่ีทำจากกระดาษ
ถ่ายเอกสารมีลักษณะละเอียด ปั้นง่าย และมีสีสดใส ส่วนดินท่ีทำจากกระดาษหนังสือพิมพ์มี
ลกั ษณะหยาบ ปนั้ ยาก และมสี ีคล้ำกวา่ กระดาษถา่ ยเอกสาร
18
บทที่ 3
อุปกรณแ์ ละวธิ ีการทดลอง
อุปกรณแ์ ละสารเคมี
1. กระดาษสำนักงาน (กระดาษ A4) ทผ่ี า่ นการใช้งานแลว้ ท้ังสองหนา้
2. แป้งขา้ วเจา้
3. แป้งขา้ วเหนียว
4. แป้งข้าวโพด
5. แปง้ มนั สำปะหลงั
6. แปง้ สาลี
7. กาวลาเทก็ ซ์
8. ครีมบำรุงผวิ
9. เครื่องชั่งดิจิตอลแบบตัง้ โต๊ะ ทศนยิ ม 2 ตำแหน่ง ยหี่ อ้ AND รุ่น FX-2000i
10. ไมโครมิเตอร์
11. เคร่ืองปัน่
12. ไม้กลิง้ แปง้
13. นาฬกิ าจบั เวลา
14. แม่พิมพ์วงกลม
15. บีกเกอร์
16. ตมุ้ น้ำหนกั 0.2 N
17. ชดุ ขาตัง้
18. สีผสมอาหาร
วิธีการทดลอง
ตอนที่ 1 การเตรยี มเยื่อกระดาษรไี ซเคิล
1. ตดั กระดาษสำนักงาน (กระดาษ A4) ทผี่ ่านการใชง้ านแล้วท้ังสองหน้าเปน็ ชิน้ เล็ก ๆ แช่
นำ้ ท้ิงไว้ 1 คนื
2. กรองเยื่อกระดาษรไี ซเคิลแล้วนำไปตากแดดทิ้งไว้จนแห้ง
3. นำเย่อื กระดาษรีไซเคลิ ทแ่ี ห้งมาป่นั กับเครอ่ื งปัน่ จนเยื่อกระดาษรีไซเคลิ ฟู
19
ตอนที่ 2 ศึกษานำ้ หนกั ของเย่อื กระดาษรีไซเคิลและชนิดของแปง้
1. ชัง่ เย่อื กระดาษรไี ซเคิล 1 g แป้งขา้ วเจ้า 20 g กาวลาเท็กซ์ 20 g ครมี บำรงุ ผวิ 5 g นวด
ให้เข้ากัน
2. รีดดินเยื่อกระดาษรีไซเคิลให้เป็นแผน่ บาง ๆ หนา 2 mm แล้วใช้แม่พิมพ์ขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางวงนอก 2 น้ิว วงในเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5 นิว้ กดดินเยอ่ื กระดาษรไี ซเคลิ ให้เปน็ วงแหวน
3. นำวงแหวนออกมาทดสอบความเหนียวของดินเย่ือกระดาษรีไซเคิลด้วยลูกตุ้ม 0.2 N
จำนวน 3 วงเพื่อให้อยู่สภาวะเดียวกัน เริ่มจับเวลาต้ังแต่เร่ิมต้นจนกระท่ังวงแหวนขาดจากกัน
บนั ทึกผล
4. ทำเช่นเดียวกับข้อ 1-3 แต่เปลี่ยนจากเย่ือกระดาษรีไซเคิล 1 g เป็น 2 g , 3 g , 4 g
และ 5 g ตามลำดบั
5. ทำเช่นเดียวกับข้อ 1-4 แต่เปลี่ยนจากแป้งข้าวเจ้าเป็นแป้งข้าวเหนียว แป้งข้าวโพด
แปง้ มันสำปะหลงั และแป้งสาลี ตามลำดบั
ตอนที่ 3 ศึกษาอตั ราส่วนกาวลาเท็กซ์ต่อครีมบำรงุ ผิว
1. ช่ังเย่อื กระดาษรไี ซเคลิ 4 g แปง้ สาลี 20 g กาวลาเท็กซ์ 20 g ครมี บำรงุ ผิว 5 g นวดให้
เขา้ กนั
2. รดี ดนิ เยอื่ กระดาษรีไซเคลิ ให้เปน็ แผน่ บาง ๆ หนา 2 mm แล้วใช้แมพ่ มิ พข์ นาดเส้นผา่ น
ศูนย์กลางวงนอก 2 น้ิว วงในเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 1.5 นว้ิ กดดนิ เย่อื กระดาษรไี ซเคลิ ใหเ้ ปน็ วงแหวน
3. นำวงแหวนออกมาทดสอบความเหนียวของดินเยื่อกระดาษรีไซเคิลด้วยลูกตุ้ม0.2 N
จำนวน 3 วงเพอ่ื ใหอ้ ยูส่ ภาวะเดยี วกนั เริม่ จบั เวลาต้ังแตเ่ ร่ิมตน้ จนกระท่ังวงแหวนขาดจากกัน
บนั ทกึ ผล
4. ทำเชน่ เดียวกับข้อ 1-3 แต่เปลี่ยนจากกาวลาเท็กซ์ 20 g ครีมบำรงุ ผิว 5 g เปน็ กาวลาเท็กซ์
15 g ครีมบำรุงผวิ 10 g และกาวลาเท็กซ์ 10 g ครีมบำรุงผิว 15 g ตามลำดบั
5. ทำเชน่ เดยี วกับขอ้ 1-4 แต่เปล่ยี นจากเยื่อกระดาษรไี ซเคลิ 4 g เปน็ 5 g , 6 g , 7 g
และ 8 g ตามลำดบั
20
บทท่ี 4
ผลการทดลอง
ตารางที่ 1 คา่ ความเหนียวของดนิ เยอื่ กระดาษรไี ซเคิล
น้ำหนกั ระยะเวลาสงู สุดทส่ี ามารถทนแรง 0.2 N (วินาท)ี
เยอื่ กระดาษ
รีไซเคลิ (g) ครงั้ ที่ แป้ง แปง้ แปง้ แป้งมนั แปง้ สาลี
ข้าวเจ้า ขา้ วเหนยี ว ขา้ วโพด สำปะหลัง
0
1 0.48 0.21 n/a n/a n/a
1
2 0.45 0.25 n/a n/a n/a
2
3 0.47 0.19 n/a n/a n/a
3
0.47 0.22 n/a n/a n/a
X
SD 0.02 0.03 n/a n/a n/a
1 1.28 0.62 0.35 0.32 0.67
2 1.45 0.47 0.35 0.32 0.67
3 1.46 0.55 0.35 0.32 0.67
1.40 0.55 0.35 0.32 0.67
X
SD 0.10 0.08 0.00 0.00 0.00
1 2.15 1.03 0.59 0.59 2.37
2 2.46 1.09 0.59 0.89 2.46
3 2.37 1.10 0.60 0.70 2.16
2.33 1.07 0.59 0.73 2.33
X
SD 0.16 0.04 0.01 0.15 0.15
1 2.84 1.85 2.65 1.02 3.89
2 2.71 1.45 2.58 1.07 3.43
3 2.86 1.52 2.43 1.07 3.81
2.80 1.61 2.55 1.05 3.71
X
SD 0.08 0.21 0.11 0.03 0.25
21
ตารางที่ 1 (ต่อ)
นำ้ หนกั ระยะเวลาสูงสดุ ที่สามารถทนแรง 0.2 N (วนิ าท)ี
เย่อื กระดาษ ครงั้ ที่ แป้ง แป้ง แปง้ แป้งมนั แป้งสาลี
รีไซเคลิ (g) ข้าวเจา้ ข้าวเหนียว ขา้ วโพด สำปะหลัง
1 3.90 2.30 3.23 1.71 4.57
2 3.40 2.39 3.58 1.53 4.54
4 3 3.46 2.05 3.56 1.82 4.51
3.59 2.25 3.59 1.69 4.54
X
SD 0.27 0.18 0.37 0.15 0.03
1 4.14 3.99 3.45 2.92 4.09
2 4.22 3.98 3.52 2.48 4.75
5 3 4.15 3.36 3.80 2.41 4.67
4.17 3.78 3.59 2.60 4.50
X
SD 0.04 0.36 0.19 0.28 0.36
* n/a ไมส่ ามารถขึน้ รูปได้ในเวลาท่กี ำหนด
จากตารางท่ี 1 พบว่า น้ำหนักเย่ือกระดาษรีไซเคิล 0 g ความเหนียวของดินเย่ือกระดาษ
รีไซเคิลจากแป้งข้าวเจ้ามีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (0.47 ± 0.02 s ) รองลงมาคือ แป้งข้าวเหนียวซึ่งมี
ค่าเฉลี่ย 0.22 ± 0.03 s
น้ำหนักเย่ือกระดาษรีไซเคิล 1 g ความเหนียวของดินเยื่อกระดาษรีไซเคิลแป้งข้าวเจ้ามี
ค่าเฉล่ียมากท่ีสุด (1.40 ± 0.10 s) รองลงมาคือ แป้งสาลีมีค่าเฉล่ีย 0.67 ± 0.00 s และแป้งข้าว
เหนียวมีค่าเฉล่ยี 0.55 ± 0.08 s ตามลำดบั
น้ำหนักเย่ือกระดาษรีไซเคิล 2 g ความเหนียวของดินเยื่อกระดาษรีไซเคิลแป้งสาลี แป้งข้าว
เจ้ามีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด (2.33 ± 0.15 s , 2.33 ± 0.16 s ) แป้งข้าวเหนียวมีค่าเฉลี่ย 1.07 ± 0.04 s
ตามลำดับ
น้ำหนักเยื่อกระดาษรีไซเคิล 3 g ความเหนียวของดินเยื่อกระดาษรีไซเคิลแป้งสาลีมีค่าเฉล่ีย
มากท่ีสุด (3.71 ± 0.25 s) รองลงมาคือ แป้งข้าวเจ้ามีค่าเฉล่ีย 2.80 ± 0.08 s และแป้งข้าวโพดมี
คา่ เฉลย่ี 2.55 ± 0.11 s ตามลำดบั
22
น้ำหนักเยื่อกระดาษรีไซเคิล 4 g ความเหนียวของดินเย่ือกระดาษรีไซเคิลแป้งสาลีมีค่าเฉล่ีย
มากที่สุด (4.54 ± 0.03 s ) รองลงมาคือ แป้งข้าวเจ้ามีค่าเฉลี่ย 3.59 ± 0.27 s และแป้งข้าวโพดมี
คา่ เฉลยี่ 3.59 ± 0.37 s
ตามลำดบั
น้ำหนักเย่ือกระดาษรีไซเคิล 5 g ความเหนียวของดินเย่ือกระดาษรีไซเคิลแป้งสาลีมีค่าเฉล่ีย
มากท่ีสุด (4.50 ± 0.36 s) รองลงมาคือ แป้งข้าวเจ้ามีค่าเฉลี่ย 4.17 ± 0.04 s และแป้งข้าวเหนียวมี
ค่าเฉลี่ย 3.78 ± 0.36 s ตามลำดบั
ตารางท่ี 2 ค่าความเหนียวของดินเย่ือกระดาษรีไซเคิลท่ีมอี ัตราสว่ นกาวลาเท็กซต์ ่อครีมบำรุงผิวตา่ งกนั
นำ้ หนกั เย่ือกระดาษ ครงั้ ท่ี ระยะเวลาสูงสดุ ทส่ี ามารถทนแรง 0.2 N (วนิ าท)ี
รีไซเคลิ (g) เมอ่ื อตั ราสว่ นกาวลาเท็กซ์ต่อครีมบำรุงผิว
4 1 4:1 3:2 2:3
2 4.66 4.57 5.11
5 3 4.76 4.54 4.67
4.88 4.51 4.68
6 X 4.77 4.54 4.82
0.11 0.03 0.25
SD 5.56 5.54 4.92
1 5.63 5.21 5.01
2 5.66 5.32 4.99
3 5.62 5.36 4.97
0.05 0.17 0.05
X 6.88 n/a 4.77
6.90 n/a 4.89
SD 6.82 n/a 4.97
1 6.87 n/a 4.88
2 0.04 n/a 0.10
3
X
SD
23
ตารางท่ี 2 (ต่อ)
น้ำหนักเยอื่ กระดาษ คร้ังท่ี ระยะเวลาสงู สุดทส่ี ามารถทนแรง 0.2 N (วินาท)ี
รีไซเคลิ (g) เมือ่ อัตราสว่ นกาวลาเท็กซต์ อ่ ครีมบำรงุ ผวิ
4:1 3:2 2:3
1 7.54 n/a 6.61
2 7.50 n/a 6.80
73 7.61 n/a 7.02
7.55 n/a 6.81
X 0.06 n/a 0.21
n/a n/a n/a
SD n/a n/a n/a
n/a n/a n/a
1 n/a n/a n/a
n/a n/a n/a
2
83
X
SD
* n/a ไมห่ าคา่ ได้ในเวลาท่ีกำหนด
จากตารางที่ 2 พบว่า เยื่อกระดาษรีไซเคิล 4 g อัตราส่วนกาวลาเท็กซ์ต่อครีมบำรุงผิว 2 : 3
ความเหนียวมีค่าเฉลี่ย 4.82 ± 0.25 s รองลงมา คือ อัตราส่วน 4: 1 มีค่าเฉลี่ย 4.77 ± 0.11 s
อตั ราสว่ น3: 2 มคี า่ เฉล่ยี 4.54 ± 0.03 s ตามลำดับ
เยื่อกระดาษรีไซเคิล 5 g อัตราส่วนกาวลาเท็กซ์ต่อครีมบำรุงผิว 4 : 1 ความเหนียวมี
คา่ เฉล่ีย 5.62 ± 0.05 s รองลงมา คือ อัตราส่วน 3 : 2 มีค่าเฉลี่ย 5.36 ± 0.17 s อัตราส่วน 2 : 3 มี
ค่าเฉลย่ี 4.97 ± 0.03 s ตามลำดับ
เย่ือกระดาษรีไซเคิล 6 g อัตราส่วนกาวลาเท็กซ์ต่อครีมบำรุงผิว 4 : 1 ความเหนียวมี
คา่ เฉล่ยี 6.87 ± 0.04 s รองลงมา คอื อตั ราส่วน 2 : 3 มีค่าเฉลยี่ 4.88 ± 0.10 s ตามลำดับ
เย่ือกระดาษรีไซเคิล 7 g อัตราส่วนกาวลาเท็กซ์ต่อครีมบำรุงผิว 4 : 1 ความเหนียวมี
ค่าเฉลีย่ 7.55 ± 0.06 s รองลงมา คอื อัตราส่วน 2 : 3 มีค่าเฉลี่ย 6.81 ± 0.21 s ตามลำดับ
24
บทที่ 5
อภิปรายผลและสรุปผลการทดลอง
อภปิ รายผลการทดลอง
กราฟท่ี 1 แสดงความเหนยี วของดินเย่ือกระดาษรีไซเคลิ ชนดิ ต่าง ๆ
จากกราฟที่ 1 แสดงความเหนียวของดินเยื่อกระดาษรีไซเคิลชนิดต่าง ๆ เม่ือทดสอบความ
เหนียวของดินเยื่อกระดาษรีไซเคิลด้วยความสามารถรับน้ำหนักที่มากระทำต่อหน่วยพื้นที่ด้วยลูกตุ้ม
0.2 N พบว่า
1. เมื่อน้ำหนกั ของเย่ือกระดาษรีไซเคิลเพม่ิ ข้นึ ทำให้ความเหนียวของดินเยื่อกระดาษรีไซเคิล
ของแป้งชนิดต่าง ๆ เพ่ิมข้ึน ยกเว้นดินเยื่อกระดาษรีไซเคิลของแป้งสาลีท่ีมีเย่ือกระดาษรีไซเคิล 4 g
และ 5 g พบว่า ค่าเฉลี่ยความเหนียวที่ 4 g เท่ากับ 4.54 ± 0.03 และค่าเฉลี่ยความเหนียวที่ 5 g
เท่ากบั 4.50 ± 0.36 มคี า่ ลดลงแตค่ ่าเปล่ยี นแปลง 0.04 ถอื ว่าค่าความเหนยี วใกล้เคียงกนั ดงั นั้น เมื่อ
นำ้ หนกั เยือ่ กระดาษรไี ซเคลิ เพิ่มข้นึ ความเหนยี วของดินเยอื่ กระดาษรีไซเคลิ มแี นวโน้มเพิ่มข้ึน
25
2. เมอื่ แปง้ ชนดิ ตา่ งกนั พบว่า ความเหนียวของดนิ เยอื่ กระดาษรีไซเคิลตา่ งกัน ดงั นี้
2.1ดนิ เยอ่ื กระดาษรีไซเคิลที่ไม่เตมิ เยื่อกระดาษรีไซเคิล พบว่า แป้งข้าวเจา้ มคี วามเหนยี ว
มากท่ีสดุ ( X = 0.47 ± 0.02 s ) รองลงมา คือ แป้งขา้ วเหนียว ( X = 0.22 ± 0.03 s) แปง้ ขา้ วโพด
แป้งมันสำปะหลังและแปง้ สาลไี มส่ ามารถข้ึนรูปไดเ้ นื่องจากมคี วามเหนยี วน้อยเกนิ ไป
2.2 ดินเย่ือกระดาษรีไซเคิลท่ีมีเยื่อกระดาษรีไซเคิล 1 g พบว่า แป้งข้าวเจ้ามีความเหนียว
มากที่สุด (X = 1.40 ± 0.10 s) รองลงมา คือ แป้งสาลี ( X = 0.67 ± 0.00 s) และแป้งมันสำปะหลัง
มคี วามเหนยี วนอ้ ยทส่ี ดุ ( X = 0.32 ± 0.00 s)
2.3 ดินเย่ือกระดาษรีไซเคิลที่มีเยื่อกระดาษรีไซเคลิ 2 g พบวา่ แป้งสาลีและแปง้ ข้าวเจ้า
มคี วามเหนียวมากท่ีสุด ( X = 2.33 ± 0.15 s , X 2.33±0.16) รองลงมา คอื แปง้ ข้าวเหนียว ( X =
1.07 ± 0.04 s) และแปง้ ขา้ วโพดมีความเหนียวน้อยท่ีสดุ ( X = 0.59 ± 0.01 s)
2.4 ดินเย่ือกระดาษรีไซเคิลที่มีเย่ือกระดาษรีไซเคิล 3 g พบว่า แป้งสาลีมีความเหนียว
มากที่สุด ( X = 3.71 ± 0.25 s ) รองลงมา คือ แป้งข้าวเจ้า ( X = 2.80 ± 0.08 s) และแป้งมัน
สำปะหลงั มีความเหนียวน้อยทส่ี ุด ( X = 1.05 ± 0.03 s)
2.5 ดินเยื่อกระดาษรีไซเคิลที่มีเยื่อกระดาษรีไซเคิล 4 g พบว่า แป้งสาลีมีความเหนียว
มากที่สุด ( X = 4.54 ± 0.03 s ) รองลงมา คือ แปง้ ข้าวเจา้ และแป้งข้าวโพด ( X = 3.59 ± 0.27 s ,
X = 3.59 ± 0.37 s ) และแปง้ มนั สำปะหลังมีความเหนยี วน้อยที่สุด ( X = 1.69 ± 0.15 s)
2.6 ดินเย่ือกระดาษรีไซเคิลที่มีเยื่อกระดาษรีไซเคิล 5 g พบว่า แป้งสาลีมีความเหนียว
มากท่ีสุด ( X = 4.50 ± 0.36 s ) รองลงมา คือ แป้งข้าวเจ้า ( X = 4.17 ± 0.04 s ) และแป้งมัน
สำปะหลังมคี วามเหนยี วน้อยท่ีสดุ ( X = 2.60 ± 0.28 s)
แสดงว่า เยื่อกระดาษรีไซเคิลที่ผสมกับแป้งชนิดต่างกันมีความเหนียวต่างกันโดยแป้ง
สาลีมี ความเหนียวมากท่ีสุดเนื่องจากแป้งแต่ละชนิดมีโครงสร้างทางเคมีเป็นสารพอลิเมอร์ท่ี
ประกอบดว้ ยกลูโคสจำนวนมากแต่แป้งสาลเี ป็นแป้งท่ีต่างจากชนดิ อ่ืนเพราะประกอบไปดว้ ยโปรตีน 2
ชนิด คือ กลูตานิน (Giutanin) และไกลอะดิน (Glyadin) เม่ือแป้งถูกนวดรวมกันกับน้ำ โปรตีนจะ
รวมตวั เปน็ สารช่อื กลูเตน (Gluten) มลี ักษณะเปน็ ยางยืดหยนุ่
ท่มี า http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/0292/dough
26
ส่วนเยื่อกระดาษรีไซเคิลเป็นสารเซลลูโลสทำหน้าท่ีเป็นตัวประสานที่ดีจึงอาจทำให้เกิดความเหนียว
มากที่สุด ดังนั้น เพ่ือความคุ้มทนุ จึงควรผลติ ดินเย่ือกระดาษรไี ซเคลิ ท่ีมีเย่อื กระดาษรีไซเคิล 4 g แป้ง
สาลี 20 g กาวลาเท็กซ์ 20 g และครีมบำรุงผิว 5 g สำหรับใช้ในการสร้างสื่อการสอนทาง
วทิ ยาศาสตร์ เช่น โมเดลเซลล์พืช โมเดลเซลล์สัตว์ เป็นต้น
3. เม่ืออัตราส่วนกาวลาเท็กซ์ต่อครีมบำรุงผิวต่างกัน พบว่า ความเหนียวของดินเย่ือกระดาษ
รไี ซเคิลต่างกัน ดงั น้ี
5.1 น้ำหนกั เยอื่ กระดาษรไี ซเคิล 4 g อัตราสว่ นกาวลาเท็กซ์ต่อครีมบำรงุ ผิว 2 : 3 มคี วามเหนยี ว
มากทส่ี ุด ( X = 4.82 ± 0.25 s) รองลงมาคือ 4 : 1 ( X = 4.77 ± 0.11 s)
5.2 นำ้ หนักเยอื่ กระดาษรีไซเคลิ 5 g อัตราส่วนกาวลาเท็กซต์ อ่ ครมี บำรงุ ผวิ 4 : 1 มีความเหนยี ว
มากทส่ี ุด ( X = 5.62 ± 0.05 s) รองลงมาคือ 3 : 2 ( X = 5.36 ± 0.17 s)
5.3 น้ำหนกั เย่อื กระดาษรไี ซเคิล 6 g อัตราส่วนกาวลาเท็กซ์ตอ่ ครีมบำรุงผวิ 4 : 1 มีความเหนยี ว
มากท่สี ุด ( X = 6.87 ± 0.04 s) รองลงมาคอื 2 : 3 ( X = 4.88 ± 0.10 s)
5.4 น้ำหนกั เย่ือกระดาษรไี ซเคลิ 7 g อตั ราสว่ นกาวลาเท็กซต์ ่อครมี บำรุงผวิ 4 : 1 มีความเหนยี ว
มากที่สุด ( X = 7.55 ± 0.06 s) รองลงมาคือ 2 : 3 ( X = 6.81 ± 0.21 s)
จากการทดลองพบวา่ อัตราส่วนของกาวลาเทก็ ซต์ อ่ ครมี บำรุงผวิ 4 : 1 มคี วามเหนยี วของ
ดนิ เยือ่ กระดาษรีไซเคิลมากทีส่ ดุ รองลงมาคืออัตราสว่ นของกาวลาเท็กซ์ต่อครีมบำรุงผวิ 2 : 3
สรุปผลการทดลอง
1. นำ้ หนกั ของเยือ่ กระดาษรไี ซเคลิ เพิ่มขนึ้ ทำให้ดนิ เย่ือกระดาษรีไซเคิลมีความเหนยี วเพิ่มขนึ้
2. เย่ือกระดาษรีไซเคิลที่ผสมกับแป้งชนิดต่างกัน ความเหนียวของดินเยื่อกระดาษรีไซเคิล
ต่างกนั โดยแป้งสาลีมคี วามเหนียวมากทสี่ ุด รองลงมา คือ แปง้ ข้าวเจ้า
3. อัตราส่วนกาวลาเท็กซ์ต่อครีมบำรุงผิวต่างกัน ความเหนียวของดินเยื่อกระดาษรีไซเคิล
ตา่ งกนั โดยอตั ราส่วนกาวลาเทก็ ซต์ ่อครมี บำรุงผิว 4 : 1 เป็นอตั ราสว่ นท่ดี ที สี่ ุด รองลงมาคอื 2 : 3
ขอ้ เสนอแนะในการทดลองครงั้ ต่อไป
1. ควรศกึ ษาระยะเวลาการใชง้ านของดินเยื่อกระดาษรไี ซเคลิ เมอ่ื วางไว้ในสถานท่ตี ่าง ๆ
2. ควรศึกษาคุณภาพของดินเย่ือกระดาษรีไซเคลิ ทผ่ี สมสารกันเชอ้ื รา
3. ควรศึกษาระดับความพึงพอใจของผ้ปู นั้ ดนิ เย่ือกระดาษรไี ซเคิลในการขึน้ รูปงาน
27
บรรณานกุ รม
จิตลัดดา เกตุแกว้ วิไลวรรณ อิสลามและกริสรา ปราณสุข. (2546). โครงงานวิทยาศาสตร์ เรอื่ ง
การผลิตดินปน้ั เทียมโดยใช้เส้นใยจากกระดาษเปน็ ตัวประสาน. ขอนแกน่
แป้งข้าวเจ้า. (2562). สืบคน้ จาก https://sites.goog\le.com/site/cerealflour1/home/rice-
flour เมอ่ื วันที่ 4 มิถนุ ายน 2562.
แปง้ ข้าวโพด. (2562). สืบคน้ จาก http://www.ladycee.com/s/17434 เม่ือวันที่ 4 มถิ นุ ายน
2562.
แป้งขา้ วเหนียว. (2562). สืบค้นจาก http://www.firststarch.com/th/product/view_prod
เมือ่ วนั ท่ี 1 มิถุนายน 2562.
แป้งมนั สำปะหลงั . (2562). สบื ค้นจาก http://bigtreeintertrade.siam2web.com/?
cid=1056439 เมื่อวันท่ี 1 มิถนุ ายน 2562.
แปง้ สาล.ี (2562). สืบค้นจาก http://www.foodietaste.com/FoodPedia_detail.asp?id=35
เมื่อวนั ที่ 24 พฤษภาคม 2562.
พิมพช์ นก.(2562). สืบคน้ จาก http://www.thaihealth.or.th/Content) เมอ่ื วนั ท่ี 12 มถิ ุนายน
2562.
มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทร์วโิ รฒ. (2562). มศว.วิจัยผลิตเย่ือกระดาษจากเปลือกต้นทานตะวนั
หวงั ต่อยอดผลิตเชงิ อุตสาหกรรม. สืบค้นจาก
http://www.aroi.com/review/151005093245 เมอ่ื วันท่ี 12 มถิ ุนายน 2562.
มลู นิธิวิกิพิเดีย. (2562). กาวลาเท็กซ.์ สืบคน้ จาก https://th.wikipedia.org/wiki. เมือ่ วันท่ี 18
มถิ นุ ายน 2562.
มูลนิธิวกิ ิพเิ ดยี . (2562). ดนิ เยื่อกระดาษ. สืบค้นจาก https://th.wikipedia.org/wiki. เมื่อวันที่ 15
มิถุนายน 2562.
มูลนธิ ิวิกพิ ิเดีย. (2562). แปง้ . สบื คน้ จาก https://th.wikipedia.org/wiki. เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน
2562.
มลู นิธิวกิ พิ เิ ดีย. (2562). เย่ือกระดาษรีไซเคิล. สบื ค้นจาก https://th.wikipedia.org/wiki.
เมอื่ วันท่ี 12 มิถุนายน 2562.
โรงเรยี นสรุ าษฎร์พทิ ยา (2543) ศกึ ษาวัสดุป้ันเทยี มจากกระดาษ เสน้ ใยจากผักตบชวา เสน้ ใยจาก
เปลือกข้าวโพด. สุราษฎร์ธานี. : สุราษฎร์พิทยา.
สำนกั งานกองทุนสนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ. (2562). ปญั หาขยะ. สืบคน้ จาก
https://www.thaihealth.or.th/Content/20091.html เม่ือวนั ท่ี 12 มิถุนายน 2562.
28
สุรียร์ ัตน์ พิทักษ.์ (2562). เยือ่ กระดาษทดแทนทางเลือกทางลดการตดั ตน้ ไม้ สืบคน้ จาก
http://www.manager.co.th/Campus/ViewNews.aspx?NewsID=9500000095774
&TabID=3&. เมอื่ วันท่ี 12 มิถนุ ายน 2562.
อัญชลี พงษ์พานิช และคณะ. (2554). โครงงาน เรือ่ ง กระดาษย่อยสลายกลายเป็นดินสวย. อ่างทอง
:อ่างทอง. : สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัด
อา่ งทอง.
29
ภาคผนวก
30
ขนั้ ตอนการทำดินเย่ือกระดาษรีไซเคิล
กระดาษสำนักงาน (กระดาษ A4) ท่ีผ่านการใช้งานแลว้ ทง้ั สองหน้าแช่นำ้ ท้งิ ไว้ 1 คืน
เยอื่ กระดาษรีไซเคลิ ท่ีนำไปตากแดดท้ิงไว้จนแหง้
เยือ่ กระดาษรีไซเคลิ ทปี่ น่ั จนเยอื่ กระดาษรีไซเคิลฟู
31
ผสมเย่อื กระดาษรีไซเคลิ แป้ง 20 g กาวลาเทก็ ซ์ 20 g ครีมบำรงุ ผวิ 5 g นวดให้เข้ากัน
เยื่อกระดาษรีไซเคิลใหเ้ ป็นแผ่นบาง ๆ หนา 2 mm แลว้ ใช้แมพ่ ิมพ์ขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลางวงนอก 2 นว้ิ
วงในเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 1.5 น้วิ กดดินเยื่อกระดาษรไี ซเคิลให้เป็นวงแหวน
ทดสอบความเหนยี วของดนิ เย่ือกระดาษรีไซเคิลด้วยลกู ตุ้ม 0.2 N
32
ผลิตภัณฑด์ นิ เยื่อกระดาษรีไซเคิล
โมเดลเซลลพ์ ชื