เเผนการจดั การเรยี นรู้
รายวชิ าเคมี ๓ (ว๓๒๒๒๓)
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๕
ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑
นางสาวสาวบน เดน็ หมัด
ตาเเหน่ง ครู
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วดั หัวป้อมนอก)
สังกัดสานักการศกึ ษา เทศบาลนครสงขลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 5
กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมี 3 (ว32223)
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 อัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี เวลา 8 คาบ
เรอ่ื ง ปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ อตั ราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี
เวลา 08.50-10.30 น.
สอนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5/1 วันท่สี อน 28 พฤศจกิ ายน 2561 เวลา 12.10-13.50 น.
สอนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5/1 วันที่สอน 03 ธนั วาคม 2561 เวลา 08.50-10.30 น.
สอนช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5/1 วันทีส่ อน 12 ธันวาคม 2561 เวลา 12.10-13.50 น.
สอนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 5/1 วันทีส่ อน 17 ธันวาคม 2561
มาตรฐานการเรยี นรชู้ ว่ งชน้ั
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสาร การเกิด
สารละลาย การเกิดปฏิกิรยิ า มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจติ วิทยาศาสตร์ ส่ือสารสง่ิ ทเี่ รียนรู้
และนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหา
ความรู้ การแก้ปัญหา รู้วา่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทีเ่ กิดขน้ึ ส่วนใหญ่มีรูปแบบท่แี น่นอน สามารถ
อธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล และเคร่ืองมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี สงั คม และสง่ิ แวดล้อมมีความเก่ียวขอ้ งสมั พนั ธ์กัน
ผลการเรียนรู้
ทดลองและระบุปัจจัยต่าง ๆ ท่ีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและอธิบายผลของ
ความเข้มข้นและพื้นท่ีผิวของสาร อุณหภูมิ ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
เคมีได้
สาระสำคัญ
ความเข้มข้นและพื้นท่ีผิวของสารทำให้จำนวนอนุภาคเพ่ิมข้ึนจึงมีโอกาสชนมากขึ้น
อุณหภูมิทำให้พลังงานจลน์มากขึ้น ตัวเร่งปฏิกิริยาช่วยลดพลังงานก่อกัมมันต์ ตัวหน่วงปฏิกิริยา
ช่วยเพ่ิมพลังงานก่อกัมมันต์ ดังน้ันความเข้มข้น พื้นที่ผิวของสาร อุณหภูมิ ตัวเร่งและตัวหน่วง
ปฏกิ ิริยารวมทัง้ ธรรมชาตขิ องสารเป็นปัจจยั ท่มี ีผลตอ่ อัตราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี
สาระการเรียนรู้
การเพ่ิมความเข้มข้นของสารต้ังต้นเป็นการเพ่ิมจำนวนอนุภาคของสารตั้งต้นทำให้สารต้ังต้น
เกิดการชนกันมากขึ้นเป็นปัจจัยหนึ่งทม่ี ีผลต่ออัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี ความเข้มขน้ ของสารต้ังต้นที่
มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีน้ัน สังเกตจากข้อมูลผลการทดลองเท่านั้น เน่ืองจากบางปฏิกิริยา
อาจข้ึนกับความเข้มข้นสารตั้งต้นเพียงบางสารหรือบางปฏิกิรยิ าอาจไม่ขึ้นกับความเข้มข้นของสารต้ังต้น
ก็ได้ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีลดลงเม่ือความเข้มข้นของสารต้ังต้นลดลงจากการทดลองศึกษาอัตรา
การเกิดปฏิกิริยาระหว่าง Na2S2O3 กับ HCl ข้ึนอยู่กับความเข้มข้นของสาร Na2S2O3 และ HCl
เนื่องจากการเพิ่มความเข้มข้นของสารทำให้จำนวนอนุภาคของสารตั้งต้นมากข้ึนจึงทำให้อนุ ภาคเกิด
การชนกนั มากขนึ้ แลว้ เกิดปฏิกริ ยิ าเคมมี ากขน้ึ
พ้ืนที่ผิวมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในสารเน้ือผสมเท่าน้ันเนื่องจากสารต้ังต้นท่ีมี
พ้ืนท่ีผิวสัมผัสมากมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีสูง เพราะอนุภาคของสารมีโอกาสชนกันได้มากขึ้นทำให้
เกดิ ปฏกิ ิรยิ าเรว็ ขน้ึ
อณุ หภมู ิมีผลตอ่ อตั ราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี เม่ืออุณหภมู ิสูงข้ึนโมเลกุลมีพลังงานจลน์สงู และ
เคล่ือนที่ด้วยอัตราเร็วมากข้ึน มีจำนวนมากข้ึนจึงมีโอกาสชนกันได้มากข้ึนและเม่ือชนกันแล้วทำให้มี
พลงั งานสูงเทา่ กับพลังงานก่อกมั มันต์มากข้ึน อัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมมี ากขึ้น
ตัวเรง่ ปฏิกริ ิยา และตวั หน่วงปฏิกิริยาเป็นสารทม่ี ผี ลต่ออัตราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมโี ดยตวั เร่ง
ปฏิกิริยาทำให้อัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมีเร็วขน้ึ เพราะชว่ ยลดพลังงานก่อกัมมันต์ของระบบแต่ตวั หน่วง
ปฏิกริ ยิ าทำให้ปฏิกิรยิ าชา้ ลงเพราะทำใหพ้ ลงั งานกอ่ กัมมันตเ์ พิ่มขึ้น
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. ดา้ นความรู้
1.1 อธบิ ายและสรปุ ผลของความเข้มขน้ ของสารที่มตี ่ออัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมไี ด้
1.2 อธิบายและสรปุ ผลของพื้นที่ผิวของสารท่ีมตี อ่ อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมีได้
1.3 อธิบายและสรปุ ผลของอุณหภมู ิทม่ี ีตอ่ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้
1.4 อธบิ ายและสรุปผลของตัวเร่งปฏกิ ริ ิยาและตวั หน่วงปฏิกริ ิยาทม่ี ีตอ่ อตั ราการเกิด
ปฏิกริ ิยาเคมไี ด้
1.5 อธิบายความหมายและสมบัติของตัวเรง่ ปฏกิ ิริยาและตวั หน่วงปฏิกริ ิยาได้
2. ด้านทักษะกระบวนการ
2.1 ทำการทดลองเพื่อศึกษาผลของความเข้มข้นของสารท่ีมีต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
เคมีได้
2.2 เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารกับเวลาในการเกิดปฏิกิริยา
และสามารถแปลผลจากกราฟได้
2.3 ทำการทดลองเพื่อศกึ ษาผลของอณุ หภมู ิที่มตี ่ออัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมไี ด้
2.4 ทำการทดลองเพอื่ ศึกษาผลของพื้นทผี่ ิวทม่ี ตี ่ออตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมไี ด้
2.5 ทำการทดลองเพ่ือศึกษาผลของตวั เร่งปฏิกิริยาที่มีตอ่ อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้
2.6 ทำการทดลองเพอ่ื ศึกษาผลของตัวหนว่ งปฏิกิริยาที่มตี ่ออัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมีได้
3. ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
3.1 มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
3.2 ใฝ่เรียนรู้
ภาระงาน/ช้นิ งาน
1. ศึกษาวิดีทศั น์ (youtube) เรือ่ ง The Rate of Reaction จากบ้านพรอ้ มตง้ั คำถามใน
Google Form “กิจกรรมร้อยพนั ปญั หากับ The Rate of Reaction”
2. รายงานการทดลอง เรื่อง การศึกษาผลของความเข้มข้นของสารต่ออัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ า
เคมี ในใบกิจกรรมท่ี 1
3. รายงานการทดลอง เรือ่ ง การศกึ ษาผลของพนื้ ท่ผี วิ ของสารท่มี ตี ่ออตั ราการเกิดปฏกิ ิริยา
เคมีในใบกจิ กรรมที่ 2
4. รายงานการทดลอง เรื่อง การศกึ ษาผลของอุณหภูมทิ ่ีมีตอ่ อัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี
ในใบกิจกรรมที่ 3
5. รายงานการทดลอง เรื่อง การทดลองผลของสารบางชนดิ ทม่ี ตี ่ออตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี
ใบกจิ กรรมท่ี 4
6. ช้ินงานจากโปรแกรมทดลองเสมอื น Crocodile Chemistry ในใบกิจกรรมท่ี 5
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ “PACEA Model”
คาบท่ี 1
1. ขั้นเตรยี มพรอ้ ม (Preparation)
1.1 ครูนำนักเรียนสนทนาเกยี่ วกบั จุดประสงค์การเรียนรู้และผลการต้ังคำถามของนักเรียน
ใน Google Form “กิจกรรมร้อยพันปัญหากับ The Rate of Reaction” ที่ได้จากผลการศึกษา
วีดที ศั น์ เรอื่ ง The Rate of Reaction เปน็ เวลา 6.24 นาทจี ากทบ่ี า้ น ดงั น้ี
The Rate of Reaction
https://www.youtube.com/watch?time_continue=15&v=6mAqX31RRJU
1.2 นักเรียนช่วยกันแสดงแนวคิดต่อปัญหา กำหนดส่ิงท่ีเป็นปัญหาย่อยท่ีนักเรียนสนใจ
ต่อสถานการณ์ปัญหา ดังกล่าว (จากการศึกษาสถานการณ์ The Rate of Reaction มีสาเหตุหรือ
ปัจจยั ใดท่สี ่งผลต่ออัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี และแตล่ ะปัจจัยส่งผลตอ่ การเกิดปฏิกริ ิยาอย่างไรบา้ ง)
1.3 ครูทบทวนความรู้เก่ียวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจาก The Rate of Reaction
โดยยกตัวอย่างกฎของเบียร์ (Beer’s law) แล้วครูให้นักเรียนอธิบายเก่ียวกับสมบัติของแสงที่ผ่าน
CuSO4 (CuSO4 ทม่ี คี วามเข้มข้นตา่ งกัน แสงจะผา่ นไดแ้ ตกตา่ งกัน)
1.4 ครูถามนักเรียนว่าปฏิกิริยาเคมีท่ีกล่าวไว้ข้างต้นเกี่ยวข้องกับปัจจัยในการเกิด
ปฏิกิริยาเคมใี นเร่อื งใด (ความเขม้ ขน้ )
1.5 ครูถามนักเรียน ความเข้มข้นมีผลอย่างไรต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (นักเรียน
แตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั อภิปรายอยา่ งอิสระ)
1.6 นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี น เร่ือง ปัจจยั ที่มีผลต่ออัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี
2. ขัน้ ลงมือปฏบิ ัติ (Action)
คาบท่ี 2-3
2.1 แบง่ กลุ่มนักเรยี นออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน โดยคละความสามารถ แล้วให้
นักเรียนศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น ความเข้มข้น พื้นที่ผิวของสาร
อุณหภูมิ ตวั เรง่ ปฏิกริ ยิ า และตวั หนว่ งปฏิกริ ิยา
2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มต้ังสมมติฐานใบกิจกรรมที่ 1 เร่ือง การศึกษาผลของความเข้มข้น
ของสารต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (ถ้าความเข้มข้นมีผลตอ่ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแล้วจะทำให้
อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเรว็ ขึน้ หรือชา้ ลง)
2.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มกำหนดมีวิธีการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ ในการทดลองและวิธีวัด
อัตราการเกิดปฏิกิริยา อย่างไร (การทดลองตอนท่ี 1 กำหนดให้ความเข้มข้นของสารละลายกรด
ไฮโดรคลอริกคงท่ีเท่ากันท้ัง 5 หลอด แต่เปลี่ยนความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต
การทดลองตอนที่ 2 กำหนดให้ความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟตคงที่ แต่เปลี่ยน
ความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดรคลอริก อัตราการเกิดปฏิกิริยาวัดจากปริมาณกำมะถันเท่ากัน
ต่อหน่ึงหนว่ ยเวลาที่ใช้ในการเกดิ ปฏิกริ ิยานนั้ )
2.4 นักเรียนอภิปรายภายในกลุ่มโดยใช้ข้อมูลจากผลการทดลองและแนวคำถาม
ท้ายการทดลอง ว่าความเข้มข้นมีผลอย่างไรต่อการเกิดปฏิกิริยา (จากการทดลองท้ัง 2 ตอน เมื่อ
ความเข้มข้นของสารละลาย Na2S2O3 และสารละลายกรด HCl ลดลง ระยะเวลาในการเกิดปฏิกิริยา
จะเพิ่มข้ึน แสดงว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาข้ึนอยู่กับความเข้มข้นของท้ังสารละลาย Na2S2O3 และ
สารละลาย HCl)
2.5 ครูถามจากกราฟแสดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งความเข้มข้นของสารละลายกับเวลาท่ี
ใช้ในการเกิดปฏิกิรยิ าของการทดลองทั้ง 2 ตอน จะสรุปได้ว่าอย่างไร (เมอ่ื ความเข้มข้นของสารต้ังต้น
ลดลงอัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาจะลดลง)
2.6 ครูถามนักเรียนว่าถ้าสารต้ังต้นมีมากกว่า 1 ชนิดจะทราบรู้ได้อย่างไรว่าอัตรา
การเกิดปฏิกิริยาข้ึนกับความเข้มข้นของสารชนิดใด (อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีข้ึนอยู่กับความเข้มข้น
ของสารตั้งต้นชนิดใดไม่สามารถคาดคะเนหรือพิจารณาได้จากสมการเคมี ข้อมูลเหล่านี้ต้องได้จาก
การทดลอง เช่น การเปล่ียนความเข้มข้นของสารต้ังต้นชนิดหนึ่งและควบคุมความเขม้ ข้นของสารต้ังต้น
ชนิดอน่ื ให้คงท่)ี
2.7 นักเรียนอภิปรายสรุปเกี่ยวกับผลของความเข้มข้นว่า การเพิ่มความเข้มข้นมีผล
อย่างไรตอ่ จำนวนอนุภาคของสารต้ังต้น (การเพิ่มความเข้มข้นของสารตง้ั ต้นทำให้จำนวนอนภุ าคของ
สารตั้งต้นในระยะเพิ่มขึ้น โอกาสท่ีอนุภาคของสารจะชนกันอย่างจึงมีมากข้ึน และอนุภาคท่ีมี
พลังงานสูงจะมีจำนวนมากข้นึ ดว้ ยจึงมีผลทำให้อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีสูงข้นึ )
คาบที่ 4
2.8 นักเรียนแต่ละกลุ่มต้ังสมมติฐานใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง การศึกษาผลของพ้ืนที่ผิวของ
สารท่ีมีตอ่ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (ถ้าพื้นที่ผิวของสารมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมแี ล้วจะทำ
ให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเรว็ ขึน้ หรอื ช้าลง)
2.9 นักเรียนแต่ละกลุ่มกำหนดมีวิธีการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ ในการทดลองและวิธีวัด
อัตราการเกิดปฏิกิริยา อย่างไร (กำหนดความเข้มข้นของสารละลายกรด HCl และความยาวของ
โลหะ Mg เท่ากัน แต่การทดลองชุดท่ี 1 กำหนดให้ใช้โลหะ Mg แบบสปริง และการทดลองชุดที่ 2
กำหนดให้ใช้โลหะ Mg แบบพับ อัตราการเกิดปฏิกิริยาวัดจากระยะเวลาของการเกิดอก๊ส H2 ที่ขีด
ปรมิ าตรที่ 1 -5 )
2.10 นักเรียนทำการทดลองและอภิปรายภายในกลุ่มโดยใช้ข้อมูลจากผลการทดลอง
และแนวคำถามทา้ ยการทดลองมาอภปิ รายรว่ มกัน ครูใช้คำถามเพือ่ สรปุ ดงั น้ี
1) ลวดแมกนีเซียมยาวเท่ากัน แต่ช้ินหน่ึงขดเป็นสปริงและอีกช้ินหนึ่งพับทบกัน
ทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกท่ีมีความเข้มข้นเท่ากัน ใช้เวลาในการเกิดเท่ากันหรือไม่อย่างไร
(ลวดแมกนีเซียมยาวเท่ากัน แต่ช้ินหนึ่งขดเป็นสปริงและอีกช้ินหนึ่งพับทบกันยาวประมาณ 6 cm
เมื่อทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกที่มีความเข้มข้นเท่ากัน พบว่า การเกิดแก๊สไฮโดรเจนขีด
ปริมาตรที่ 1-5 ใชเ้ วลาแตกต่างกัน)
2) ลวดแมกนีเซียมพันทบมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาช้ากว่าลวดแมกนีเซียมท่ีขดเป็น
สปริงเพราะเหตุใด (พื้นที่ผิวสัมผัสของขดลวดแมกนีเซียมพับทบกันน้อยลงจึงสัมผัสกับกรดลดลง
อัตราการเกิดปฏิกิริยาจึงช้าลง) ครูถามนักเรียนว่าเพราะเหตุใดสารต้ังต้นที่มีพ้ืนท่ีผิวสัมผัสมากจึงมี
อัตราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมีสูง (อนภุ าคของสารมีโอกาสชนกันมากขนึ้ จึงเกดิ ปฏิกิริยาได้เรว็ ข้ึน)
2.11 ครูนำอภิปรายเกี่ยวกับการแบ่งชนิดของปฏิกิริยาเป็นปฏิกิริยาเน้ือเดียวและผสม
ดังน้ี (ปฏิกิริยาเนื้อเดียว หมายถึง สารต้ังต้นทุกชนิดรวมกันเป็นเนื้อเดียวกันแต่ปฏิกิริยาเนื้อผสม
หมายถึงสารต้ังต้นไม่ได้รวมกันเป็นเน้ือเดียวกัน เช่น อาจจะเป็นของเหลวกับของแข็งหรือของเหลว
กับแก๊ส เป็นต้น ดังน้ันในกรณีที่เป็นปฏิกิริยาเน้ือผสมนอกจากจะพิจารณาความเข้มข้นของสารแล้ว
ยังต้องพิจารณาปัจจัยอนื่ ๆ อีก คอื พื้นที่ผิวของสารต้งั ต้นท่ีมาทำปฏิกริ ิยากัน เช่น ปฏกิ ิริยาระหว่าง
โลหะ Mg กับสารละลายกรด HCl พบว่าพน้ื ทผ่ี วิ ของ Mg ท่มี ีพน้ื ทีผ่ ิวมากทำให้อตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยา
เคมีเพิ่มขน้ึ จึงสรุปได้ว่า อัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเป็นสัดส่วนโดยตรงกับพื้นทผ่ี วิ ของสารตั้งตน้ ที่เข้าทำ
ปฏกิ ิริยากัน (เฉพาะปฏิกิริยาเนื้อผสมเท่าน้ัน) ดังนั้นการเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิรยิ ากริ ิยาเน้อื ผสม คือ
การเพ่ิมพื้นที่ผิว (นอกเหนือจากการเพิ่มความเข้มข้น) ซ่ึงอาจจะทำได้โดยการบดให้ละเอียด ตัดให้
เปน็ ช้นิ เลก็ ๆ หรอื ยืดให้เปน็ เสน้ ยาว ๆ เป็นตน้ เชน่ การเคี้ยวอาหารใหล้ ะเอยี ดก่อนกล่นื )
คาบท่ี 5
2.12 นักเรยี นแต่ละกลุ่มต้ังสมมติฐานใบกิจกรรมที่ 3 เร่ือง การศึกษาผลของอุณหภูมิที่มี
ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (ถ้าอุณหภูมิมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแล้วจะทำให้อัตรา
การเกิดปฏิกิรยิ าเรว็ ขน้ึ หรอื ช้าลง)
2.13 นักเรียนแต่ละกลุ่มกำหนดมีวิธีการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ ในการทดลองและวิธีวัด
อัตราการเกิดปฏิกิริยา อย่างไร (กำหนดอุณหภูมิของสารแตกต่างกันอัตราการเกิดปฏิกิริยาวัดจาก
ระยะเวลาในการฟอกจางสี KMnO4)
2.14 นักเรียนทำการทดลองและอภิปรายภายในกลุ่มโดยใช้ข้อมูลจากผลการทดลอง
และแนวคำถามท้ายการทดลองมาอภปิ รายร่วมกนั ครูใช้คำถามเพื่อสรปุ ดงั น้ี
1) การเกิดปฏิกิริยาระหว่างกรดออกซาริกกับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตท่ี
อุณหภูมิต่ำกับอุณหภูมิสูง ต่างกันอย่างไร (ท่ีอุณหภูมิต่ำปฏิกิริยาระหว่างกรดออกซาลิกกับ
โพแทสเซยี มเปอรแ์ มงกาเนตเกิดขึน้ ชา้ กวา่ ที่อุณหภมู สิ ูงข้นึ และลดลงเมื่ออณุ หภมู ิต่ำลง)
2) จากการทดลองดังกล่าวจะสรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร (อุณหภูมิมีผลต่อ
อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยา ถ้าอณุ หภมู สิ ูงจะเกิดปฏิกิริยาเคมไี ด้เรว็ กวา่ อุณหภมู ิต่ำ )
3) ถ้าใช้หลักการทฤษฎีการชนกันของอนุภาคตามรายละเอียดที่เคยเรียนมาแล้ว
นกั เรียนจะอธิบายผลของอณุ หภูมทิ ี่มีตอ่ อัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี ได้วา่ อย่างไร (เมื่ออุณหภมู ิสูงข้ึน
โมเลกุลที่มีพลังงานสูงและเคล่ือนที่ด้วยอัตราเร็วสูงมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงมีโอกาสชนกนั ได้มากขึ้น
และเม่ือชนกันแล้วทำให้โมเลกุลที่มีพลังงานสูงเท่ากับหรือมากกว่าพลังงานก่อกัมมันต์มีมากข้ึน
อัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมจี งึ มีคา่ สงู ข้นึ )
คาบที่ 6-7
2.15 นักเรียนแต่ละกลุ่มต้ังสมมติฐานใบกิจกรรมท่ี 4 เรื่อง การทดลองผลของสารบาง
ชนิดท่ีมีต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (ถ้าสารบางชนิดมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแล้วจะทำให้
อัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเร็วขนึ้ หรอื ช้าลง)
2.16 นักเรียนแต่ละกลุ่มกำหนดมีวิธีการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ ในการทดลองและวิธีวัด
อัตราการเกิดปฏิกิริยา อย่างไร (กำหนดการเติมสารบางชนิดทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แตกตา่ งกนั )
2.17 นักเรียนทำการทดลองและอภิปรายภายในกลุ่มโดยใช้ข้อมูลจากผลการทดลอง
และแนวคำถามทา้ ยการทดลองมาอภปิ รายร่วมกนั ครใู ช้คำถามเพือ่ สรุปดงั นี้
1) อัตราการเกิดปฏิกิริยาของสารท้ัง 2 หลอดในตอนที่ 1 แตกต่างกันอย่างไร
เพราะเหตใุ ด (หลอดท่ี 2 ซึ่งเตมิ MnSO4 เกิดปฏิกิรยิ าได้เร็วกวา่ หลอดท่ี 1 แสดงว่าหลอดที่ 2 มีอตั รา
การเกิดปฏิกิริยาเคมีสูงกว่าหลอดท่ี 1 เพราะเมื่อเติมสารบางชนิดปริมาณเล็กน้อยลงไปแล้วทำให้
ปฏิกิริยาเคมีเกิดได้เร็วขึ้นสารที่เติมลงไปน้ีเรียกว่า ตัวเร่งปฏิกิริยา แสดงว่า MnSO4 ทำหน้าท่ีเป็น
ตวั เร่งปฏกิ ิริยาระหวา่ งสารละลายกรดออกซาลกิ กับสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต)
2) อัตราการเกดิ ปฏกิ ิริยาของสารท้งั 2 หลอดในตอนท่ี 2 แตกตา่ งกันอย่างไร
เพราะเหตุใด (หลอดที่ 2 ซ่ึงเติม NaF เกิดปฏิกิริยาได้ช้ากว่าหลอดท่ี 1 แสดงว่าหลอดท่ี 2 มีอัตรา
การเกิดปฏิกิริยาเคมีต่ำกว่าหลอดท่ี 1 เพราะเม่ือเติมสารบางชนิดลงไปแล้วทำให้ปฏิกิริยาเคมีเกิด
ชา้ ลงเรยี กว่า ตัวหน่วงปฏิกิรยิ า แสดงว่า NaF เป็นตัวหน่วงปฏิกิรยิ าระหว่างแคลเวียมคาร์บอเนตกับ
สารละลายกรดแอซตี กิ )
3) ขณะท่ีปฏิกิริยากำลังดำเนินไป CoCl2 มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เพราะเหตุใด
(สารละลายโคบอลต์ (II) คลอไรด์มีสีชมพู ขณะเกิดปฏิกิริยาจะเปลี่ยนเป็นสีเขียวและเม่ือปฏิกิริยา
ส้ินสุดลงจะกลับเป็นสีชมพูเหมือนเดิม แสดงว่าขณะท่ีปฏิกิริยาดำเนินไปตัวเร่งปฏิกิริยาจะเข้าไปมี
ส่วนร่วมในปฏิกิริยาด้วยโดยเปลี่ยนแปลงเป็นสารอื่นช่ัวขณะหนึ่ง แต่เมื่อปฏิกิริยาส้ินสุดแล้วจะกลับ
เป็นสารเดิม)
คาบที่ 8
3. ข้ันสรุป (Conclusion)
3.1 นักเรียนแต่ละกล่มุ สรปุ ผลการศกึ ษาของกลุม่ ตนเองและประเมินผลวา่ ข้อมูลท่ีศึกษา
ค้นคว้ามีความเหมาะสมหรือไม่เพียงใด โดยพยายามตรวจสอบแนวคิดภายในกลุ่มของตนเองอย่าง
อิสระแล้วช่วยกันสรุปองค์ความรู้ในภาพรวมของปัญหา อีกครั้งหรือความรู้ที่ได้มามีความสมบูรณ์
ถกู ต้องและครบถ้วนตามประเด็นที่ต้องการศึกษาเพิ่มเติมหรือไม่
3.2 ครูให้นักเรียนสรุปองค์ความรู้ โดยใช้คำถามว่า ความเข้มข้นมีผลต่ออัตราการเกิด
ปฏิกิริยาเคมีอย่างไร (เม่ือเพิ่มความเข้มข้นของสารตั้งต้นจำนวนอนุภาคของสารตั้งต้นท่ีเข้าทำ
ปฏิกิริยามีมากข้ึนด้วยจึงทำให้อนุภาคของสารตงั้ ต้นมีโอกาสชนกนั มากข้ึนและเม่ืออนุภาคท่เี ข้าชนกัน
มี พ ลั ง ง า น ม า ก พ อ ส า ม า ร ถ เกิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า ขึ้ น ได้ แ ต่ ถ้ า ค ว า ม เ ข้ ม ข้ น ข อ ง ส า ร ต้ั ง ต้ น ล ด ล ง อั ต ร า
การเกดิ ปฏกิ ิรยิ าจะลดลง)
3.3 ครูให้นักเรียนสรุปองค์ความรู้ โดยใช้คำถามว่า พ้ืนที่ผิวมีผลต่ออัตราการเกิด
ปฏิกิริยาอย่างไร (การเพิ่มพ้ืนที่ผิวของสารที่ทำปฏิกิริยามากจะช่วยให้ปฏิกิริยาเกิดได้เร็วขึ้น เช่น
การรบั ประทานอาหารควรเคี้ยวอาหารให้ละเอียดกอ่ นกลืนเนื่องจาการเคยี้ วอาหารให้ละเอยี ดนน้ั เป็น
การเพิ่มพนื้ ที่ผิวของอาหารซึ่งจะทำใหอ้ าหารทำปฏิกิริยากับน้ำย่อยในกระเพาะอาหารได้เร็วอาหารจึง
ยอ่ ยงา่ ยขนึ้ เป็นต้น)
3.4 ครูนำอภิปรายเกี่ยวกับผลของอุณหภูมิกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชีวิต
ประจำวัน เช่น การใช้อุณหภูมิหรือความร้อนในการบ่มผลไม้ และการใช้อุณหภูมิต่ำใน
การรักษาความสดของพืชและการชะลอการบูดของอาหารในตู้เย็น แล้วครูถามนักเรียนเพื่อสรุปองค์
ความรู้ว่าอุณหภูมิมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอย่างไร (การเพิ่มอุณหภูมิจะทำให้อัตรา
การเกิดปฏิกิริยาเร็วข้ึน การเพิ่มอุณหภูมิจะเป็นการเพ่ิมพลังงานจลน์ให้แก่อนุภาคของสารทำให้
อนุภาคของสารเคลื่อนที่ได้เร็วข้ึนจึงช่วยเพิ่มโอกาสในการชนกันของอนุภาคมากขึ้นนอกจากนี้
การเพ่ิมพลังงานให้แก่สารจะช่วยทำให้สารมีพลังงานภายในมากกว่าค่าพลังงานก่อกัมมันต์จึงทำให้
เกดิ ปฏิกริ ิยาเร็วข้นึ ไดเ้ ชน่ การเกบ็ อาหารในตู้เยน็ เพอ่ื ปอ้ งการการเนา่ เสีย เปน็ ตน้ )
4. ข้นั ประเมินผล (Evaluation)
ให้นักเรียนนำข้อมูลท่ีได้มาจัดระดับความรู้และนำเสนอเป็นผลงานในรูปแบบที่หลากหลาย
นกั เรียนทุกกล่มุ รวมทั้งผูท้ ่ีเก่ียวข้องกับปัญหารว่ มกันประเมินผลงาน
5. ข้นั ประยกุ ต์ใช้ (Application)
5.1 นักเรยี นทำใบกิจกรรมท่ี 5 โปรแกรมทดลองเสมอื น Crocodile Chemistry
5.2 นักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น เรือ่ ง ปจั จัยทีม่ ีผลต่ออัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี
สือ่ /แหล่งเรยี นรู้
1. Youtube เรื่อง The Rate of Reaction
https://www.youtube.com/watch?time_continue=15&v=6mAqX31RRJU
2. แบบทดสอบก่อนเรียน เรอ่ื ง ปัจจยั ที่มผี ลตอ่ อัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี
3. แบบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง ปัจจัยทมี่ ผี ลต่ออัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี
4. ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การศึกษาผลของความเข้มข้นของสารต่ออัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี
5. ใบกิจกรรมที่ 2 เร่ือง การศึกษาผลของพ้ืนท่ีผิวของสารที่มีต่ออัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี
6. ใบกิจกรรมท่ี 3 เรื่อง การศึกษาผลของอุณหภูมิที่มีต่ออตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี
7. ใบกิจกรรมท่ี 4 เร่ือง การทดลองผลของสารบางชนิดท่ีมีต่ออตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
8. ใบกิจกรรมท่ี 5 โปรแกรมทดลองเสมอื น Crocodile Chemistry
9. ชดุ การทดลองการศึกษาผลของความเขม้ ขน้ ของสารตอ่ อัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี
10. ชุดการทดลองการศึกษาผลของพื้นที่ผวิ ของสารที่มตี ่ออัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี
11. ชุดการทดลองการศึกษาผลของอุณหภูมทิ ่ีมีตอ่ อัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี
12. ชดุ การทดลองการทดลองผลของสารบางชนิดท่ีมีต่ออัตราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี
13. ใบความรู้ เร่อื ง ปัจจัยทีม่ ีผลตอ่ อัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี
14. หนังสือเรยี นรายวิชาเพ่ิมเติมเคมีเลม่ 3 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4-6 สสวท.
บันทึกผลหลังจัดการเรยี นรู้ “PACEA Model”
1. การดำเนนิ การจดั การเรยี นรู้
เป็นไปตามแผน ไม่เปน็ ไปตามแผนเพราะ.................................................
2. ความเหมาะสมดา้ นเน้ือหา
ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง
3. บรรยากาศการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ
4. ความเหมาะสมของส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้
ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
5. ความเหมาะสมของระยะเวลา
ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ
สรปุ ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5/1 มจี ำนวนนกั เรยี นทงั้ หมด 27 คน
1. ด้านความรู้
- จำนวนนักเรยี นที่ได้ผลการประเมนิ “ผ่าน” จำนวน 27 คน คดิ เป็นร้อยละ 100.00
- จำนวนนักเรียนทไ่ี ด้ผลการประเมิน “ไม่ผ่าน” จำนวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ -
2. ดา้ นทักษะกระบวนการ
- จำนวนนักเรยี นที่ได้ผลการประเมิน “ผา่ น” จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00
- จำนวนนักเรียนทไ่ี ด้ผลการประเมิน “ไม่ผ่าน” จำนวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ -
3. ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
- จำนวนนักเรยี นที่ได้ผลการประเมนิ “ผา่ น” จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00
- จำนวนนักเรียนท่ไี ดผ้ ลการประเมนิ “ไม่ผ่าน” จำนวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ -
4. ด้านสมรรถนะสำคญั
- จำนวนนักเรียนที่ไดผ้ ลการประเมนิ “ผา่ น” จำนวน 27 คน คดิ เป็นร้อยละ 100.00
- จำนวนนกั เรียนท่ีไดผ้ ลการประเมนิ “ไมผ่ ่าน” จำนวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ -
แบบทดสอบก่อนเรียน
เรอื่ ง
ปจั จัยที่มีผลต่ออตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 อัตราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี รายวชิ าเคมี 3 (ว32223) ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5
จำนวน 10 ข้อ เวลา 20 นาที คะแนนเตม็ 10 คะแนน
คำส่งั จงทำเคร่ืองหมายกากบาท (x) ลงในกระดาษคำตอบสำหรับคำตอบทถ่ี ูกที่สดุ เพยี งคำตอบเดียว
1. เมอ่ื ใส่สารละลาย HCl เข้มข้น 1 mol/dm3 จำนวน 25 cm3 ลงในหินปูนช้ินเลก็ ๆ จะเกิด
แก๊ส CO2 การเปล่ียนแปลงข้อใดที่ไม่ทำให้อัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเร่ิมตน้ เพิ่มขนึ้
ก. บดหินปูนให้เปน็ ผงละเอียด
ข. ใช้สารละลาย HCl เขม้ ขน้ 2 mol/dm3 จำนวน 25 cm3
ค. ใช้สารละลาย HCl เข้มขน้ 2 mol/dm3 จำนวน 50 cm3
ง. ใช้สารละลาย HCl เขม้ ข้น 1 mol/dm3 จำนวน 100 cm3
(เฉลย ง)
2. ขอ้ ใดถกู ต้อง
ก. ความเข้มข้นของสารตัง้ ต้นเพ่ิมมากข้ึนจะทำให้อนุภาคของสารตัง้ ตน้ ชนกันมากขนึ้
ข. ความเข้มขน้ ของสารเพ่ิมมากขึน้ จะทำให้พลังงานจลนข์ องอนุภาคลดลง
ค. ความเขม้ ข้นของสารลดลงจะทำให้พลังงานจลน์ของอนภุ าคเพ่ิมมากขึ้น
ง. ความเขม้ ข้นของสารลดลงจะทำให้อนภุ าคของสารชนกนั มากขน้ึ
(เฉลย ก)
3. เพราะเหตุใดเมื่อเผาผงเหลก็ ในบรรยากาศของออกซเิ จนจะลุกไหม้ทันทีแต่ถา้ ใชต้ ะปูเหลก็ แทน
ปฏิกริ ยิ าจะดำเนนิ ไปช้ากวา่ มาก
ก. ผงเหล็กมีพื้นที่ผิวมากกวา่ ตะปูเหลก็
ข. ตะปูเหลก็ มีพน้ื ที่ผิวมากกว่าผงเหล็ก
ค. ผงเหลก็ มพี ลังงานจลนม์ ากกวา่ ตะปูเหล็ก
ง. ตะปูเหลก็ มีพลังงานกระตุน้ สงู กวา่ ผงเหล็ก
(เฉลย ก)
4. ข้อใดไม่ถกู ตอ้ ง
ก. การลดอุณหภูมจิ ะทำให้อัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมลี ดลง
ข. การเพิ่มอุณหภูมจิ ะทำใหอ้ ตั ราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมีเพ่ิมมากข้ึน
ค. การลดหรือเพิ่มอุณหภูมิมผี ลตอ่ พลังงานก่อกัมมนั ตข์ องปฏิกริ ยิ าใด ๆ
ง. การลดหรือเพิม่ อณุ หภูมิไม่มีผลตอ่ พลงั งานก่อกัมมนั ต์ของปฏกิ ิริยาใด ๆ
(เฉลย ค)
5. การกระทำใดไมมผี ลต่ออัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี
ก. การนำเนื้อหมูแชใ่ นชอ่ งแชแข็ง
ข. การใช้แคลเซยี มคาร์ไบด์ชวยในการบ่มมะม่วง
ค. การเคี้ยวยาลดกรดชนดิ เม็ดใหละเอยี ดกอ่ นกลืน
ง. การเปลีย่ นขนาดภาชนะที่บรรจสุ ารละลายท่ีทำปฏกิ ิริยา
(เฉลย ง)
6. ข้อใดไมถ่ กู ตอ้ ง
ก. การลดอณุ หภูมจิ ะทำให้อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมลี ดลง
ข. การเพ่ิมอุณหภูมิจะทำให้อัตราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมีเพิม่ มากขึ้น
ค. การลดหรอื เพิ่มอณุ หภูมมิ ีผลตอ่ พลังงานก่อกัมมนั ตข์ องปฏิกริ ยิ าใด ๆ
ง. การลดหรอื เพม่ิ อณุ หภูมิไม่มผี ลต่อพลังงานก่อกัมมนั ต์ของปฏกิ ริ ยิ าใด ๆ
(เฉลย ค)
7. หนา้ ท่ขี องตัวเร่งปฏกิ ริ ยิ า คือข้อใด
ก. ลดพลงั งานกระต้นุ ของปฏกิ ริ ิยา
ข. เพมิ่ พลังงานใหแ้ กโ่ มเลกุลของระบบ
ค. ช่วยเพมิ่ จำนวนครัง้ ของการชนกนั ของโมเลกลุ ของสารตัง้ ต้น
ง. ลดความแตกต่างระหว่างพลังงานของสารตั้งตน้ และสารผลิตภัณฑ์
(เฉลย ก)
8. ปฏิกริ ยิ าระหว่างของแขง็ กบั แกส๊ ชนดิ หนึ่งสามารถเกดิ ขนึ้ ไดตลอดเวลา ถ้าตอ้ งการทำให้อัตรา
การเกิดปฏกิ ิริยาเพ่ิมข้นึ จะต้องทำการเปลีย่ นแปลงตามขอ้ ใด
ก. ลดอุณหภูมิ
ข. ลดความดันของแกส
ค. รักษาความดันให้คงที่
ง. ทำให้ของแข็งมีขนาดเลก็ ลง
(เฉลย ง)
9. การเติมตัวเร่งปฏกิ ริ ยิ ามผี ลตอ่ อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีอย่างไร
ก. ตัวเรง่ ปฏิกิริยาจะไปเพ่มิ ความเขม้ ขน้ ของสารละลายทำให้ปฏิกริ ิยาเคมเี กดิ เรว็ ข้ึน
ข. ตัวเร่งปฏกิ ริ ิยาจะไปจัดระเบียบทิศทางการชนกนั ของโมเลกุลใหถ้ กู ทิศทางมากขน้ึ
ค. ตวั เร่งปฏกิ ิรยิ าจะไปจัดโครงสร้างใหมข่ องสารตง้ั ตน้ ทำให้พลังงานก่อกมั มันต์ลดลง
ง. ถกู ทุกข้อ
(เฉลย ค)
10. จากปฏกิ ริ ยิ า Mg(s) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + H2(g) เมื่อเพิ่มอุณหภมู ิใหแ้ กร่ ะบบ
พลงั งานกอกัมมันตจะเปล่ียนแปลงไปอย่างไร
ก. คงที่
ข. ลดลง
ค. เพม่ิ ขน้ึ
ง. สรุปไมได้
(เฉลย ก)
ใบความรู้
เร่ือง
ปัจจัยที่มผี ลต่ออตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 อัตราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี รายวชิ าเคมี 3 (ว32223) ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5
ปจั จยั ท่ีมผี ลต่ออตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี
อัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมีสามารถถูกควบคุมให้มีค่ามากหรือน้อยโดยปจั จัยต่อไปน้ี
1. ธรรมชาตขิ องสารตง้ั ตน้ (Nature of Reactant)
2. ความเข้มข้นของสารตงั้ ต้น (Concentration of Reactant)
3. พื้นท่ผี วิ (Surface Area) สำหรบั ปฏกิ ริ ยิ าเน้ือผสม
4. อณุ หภูมิ (Temperature)
5. ตัวเร่งปฏิกริ ยิ า (Catalyst) และตัวหน่วงปฏกิ ริ ิยา (Inhibitor)
ธรรมชาติของสารตั้งตน้
สารตา่ งชนดิ กนั จะทำปฏกิ ิริยาเคมีได้เรว็ หรอื ช้าต่างกนั ขึน้ อยู่กบั สมบตั ิ
ของสารแต่ละชนดิ เชน่
โลหะ Na ทำปฏิกริ ยิ ากับน้ำเย็นได้เร็วมากและเกิดปฏิกริ ยิ ารุนแรงในขณะท่ี
โลหะ Mg ทำปฏิกริ ิยากบั น้ำเย็นไดช้ ้าแต่เกิดไดเ้ รว็ ขึ้นเม่ือใช้นำ้ ร้อนเพราะว่า
โลหะโซเดียมมีความวอ่ งไวในการเกิดปฏิกิริยาดีกวา่ โลหะแมกนีเซียม
ภาพที่ 1 ปฏกิ ริ ยิ าของโลหะโซเดยี ม (Na) และแผ่นโลหะแมกนีเซียม (Mg) กับนำ้
https://il.mahidol.ac.th/e-media/ap-chemistry2/kinetics/nature.htm
ความเข้มขน้ ของสารต้ังตน้
ผลของความเข้มข้นของสารต้ังตน้ ทม่ี ตี ่ออัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีสามารถใช้
ทฤษฎีการชนกนั อธบิ ายได้ว่า เมื่อความเขม้ ขน้ ของสารต้ังต้นเขา้ ทำปฏกิ ริ ยิ าเพ่ิมข้ึน
จำนวนอนุภาคมากขึ้น โอกาสท่ีอนุภาคชนกันจึงมีมากข้ึน (ความถ่ีในการชนสูง)
และเมื่อมีจำนวนอนุภาคมากขึ้นจะมีอนุภาคท่ีมีพลังงานสูงมากขึ้นด้วย โอกาสท่ีอนุภาคชนกันแล้ว
เกิดปฏิกิริยาย่อมมีมากขึ้น ดังน้ันเม่ือเพิ่มความเข้มข้นของสารต้ังต้นปฏิกิริยาจะเกิดเร็วขึ้นในทาง
ตรงกันขา้ มเมอื่ ลดความเขม้ ขน้ ของสารตั้งต้นลดลงปฏกิ ริ ิยาจะเกิดชา้ ลงเพราะความถ่ใี นการชนลดลง
ภาพท่ี 2 อัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยามีแนวโนม้ ที่จะเพมิ่ ตามความเข้มข้นตามทฤษฎีการชนกนั
https://th.wikipedia.org/wiki/Chemical kinetics
พน้ื ท่ผี วิ ของสาร
ในปฏิกิริยาเนื้อผสมที่ของแข็งทำปฏิกิริยากับแก๊สหรือของแข็งทำปฏิกิริยากับ
สารละลาย นอกจากปัจจัยอื่น ๆ มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแล้วอัตราการเกิดปฏิกิริยา
ยังข้ึนอยู่กับพื้นที่ผิวของสารต้ังต้นที่เป็นของแข็งด้วย และพื้นที่ผิวของสารต้ังต้นมีผลต่ออัตรา
การเกิดปฏิกิริยามากกว่าความเข้มข้นของสารตง้ั ต้นอีกด้วย เน่ืองจากปฏิกิริยาชนิดน้เี กิดขึ้นเฉพาะท่ี
ผิวหน้าของของแข็ง (ปฏิกิริยาท่ีผิว) ผลของพื้นท่ีผิวต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี คือ เม่ือเพ่ิมพื้นที่
ผิวของสารต้ังต้นที่เป็นของแข็งจะทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มข้ึน การเพ่ิมพื้นที่ผิวของของแข็ง
เช่น ตัด หรือ บด เป็นชิ้นเล็กๆ หรือบดเป็นผงละเอียด (การบดเป็นผงละเอียดเป็นการเพิ่มพ้ืนท่ี
ผิวได้มากทส่ี ดุ )
ภาพท่ี 3 พนื้ ทผ่ี วิ ของสารกับอัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ า
ท่ีมา http://ratesofreactionpehyk.wiki.hci.edu.sg/Surface+area
อุณหภูมิ
ปฏิกริ ิยาเคมีตา่ ง ๆ อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาจะเพิ่มข้นึ เมือ่ อุณหภูมิสูงข้ึน
เชน่ การบ่มผลไมใ้ นภาชนะท่ีมีฝาปิดจะสุกเรว็ กว่าการไวข้ ้างนอกเพราะอุณหภมู ิ
ภายในภาชนะท่ีมฝี าปิดสูงกวา่ ภายนอก หรอื การเก็บอาหารถ้าเก็บไว้ในตูเ้ ย็นจะ
เน่าเสียช้ากว่าเก็บไว้ข้างนอก โลหะแมกนีเซียมทำปฏิกิริยากับน้ำเย็นได้ช้าแต่
เม่ือทำปฏิกิริยากับน้ำร้อนจะเกิดปฏิกิริยาเร็วข้ึน ผลของอุณหภูมิต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจาก
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สเม่ืออุณหภูมิเพ่ิมขึ้นความเร็วเฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สจะเพิ่มขึ้นทำให้โมเลกุลมี
พลงั งานจลนส์ ูงข้นึ เมอ่ื อนุภาคเคลือ่ นทเี่ ร็วขึ้นโอกาสที่อนุภาคจะชนกันย่อมเกิดได้มากขน้ึ
จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ พบว่า เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 ๐C จะทำให้อัตรา
การชนกันของอนุภาคเพ่ิมขึ้นเพียงร้อยละ 1 เท่าน้ันแต่อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเพิ่มข้ึนประมาณ 2-3
เท่า แสดงว่าเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นเล็กน้อยแล้วทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาท่ีเพิ่มขึ้นมากน้ันไม่ได้เกิด
จากความถ่ีในการชนท่ีเพ่ิมขึ้นแต่เกิดจากการเพิ่มอุณหภูมิทำให้จำนวนโมเลกุลของสารตั้งต้ นที่มี
พลังงานสูงพอเพิ่มมากข้ึนทำให้โมเลกุลชนกันแล้วเป็นผลสำเร็จหรือเกิดปฏิกิริยาได้บ่อยคร้ัง
ข้ึน (ปฏิกิริยาเกิดเร็วข้ึนหรืออัตราการเกิดปฏิกิริยาเพ่ิมขึ้น) ส่วนความถ่ีในการชนไม่ใช่สาเหตุสำคัญ
แต่มสี ่วนชว่ ยในการทำใหอ้ ตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเพ่มิ ขึ้นด้วยเช่นกัน
ตัวเรง่ ปฏิกริ ยิ า
ตวั เรง่ ปฏกิ ิริยาชว่ ยทำใหอ้ ัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเพิ่มขนึ้ โดยที่ตวั เร่งปฏิกิรยิ า
มีส่วนร่วมในการเกิดปฏิกิริยาเคมดี ว้ ยเสมอ แตเ่ มื่อปฏกิ ิรยิ าสิ้นสดุ ลงหรอื
สารต้ังต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑแ์ ล้วตัวเรง่ ปฏิกริ ยิ าจะได้กลบั คืนมาเท่าเดิม
แสดงว่าตัวเร่งปฏิกิริยาไม่ได้มีการเปล่ียนแปลงทางเคมีอย่างถาวร ตัวเร่งปฏิกิริยาช่วยทำให้ปฏิกิริยา
เกิดเร็วขึ้นเนื่องจากตัวเร่งปฏิกิริยาช่วยทำให้ปฏิกิริยาเกิดง่ายขึ้นซ่ึงเกิดขึ้นได้หลายวิธี เช่น ตัวเร่ง
ปฏิกิรยิ ารวมตัวกบั สารตั้งต้นกลายเป็นสารใหม่ท่ีว่องไวต่อปฏิกิรยิ ามากขึ้น ตัวเร่งปฏิกริ ิยาท่ีเป็นของแข็ง
ชว่ ยดดู ซับสารตงั้ ต้นไวท้ ่ผี ิว
ตัวเรง่ ปฏิกิรยิ า (catalyst) ในบางกรณีการเพ่ิมอัตราการเกิดปฏิกิริยาโดยเพิ่มอุณหภูมิหรือ
ความเข้มข้นของสารตั้งตน้ อาจไม่เหมาะในเชิงปฏิบัติวิธีท่ีเหมาะที่สดุ คือ การเตมิ ตัวเรง่ ปฏิกิริยาลงไป
เช่น การเตรียมแก๊สออกซิเจน (O2) จากการเผาโพแทสเซียมคลอเรต (KClO3) จะได้ O2 ค่อนข้างช้า
ถ้าเราเติมแมงกานีสไดออกไซด์ (MnO2) ลงไปดว้ ย MnO2 จะช่วยเร่งให้เกิด O2 ได้เรว็ ข้ึนและสุดท้าย
แล้ว MnO2 จะไม่มีการเปล่ียนแปลงมีเพียง KClO3 เท่านั้นที่เปล่ียนเป็นผลิตภัณฑ์ คือ KCl และ O2
ดังนั้น ตัวเร่งปฏิกิริยาวา่ เป็นสารที่ทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงข้ึนโดยท่ีสารตัวเร่งปฏิกิริยาสามารถ
กลับคืนสู่รูปเดิมได้ ตัวเร่งปฏิกิริยาอาจจะเข้าทำปฏิกิริยาแล้วเกิดเป็นสารมัธยันตร์ (Intermediate)
แตจ่ ะกลบั คนื รปู เดิมได้ในปฏกิ ริ ยิ ายอ่ ยข้นั ตอ่ ๆ ไป
การอธิบายว่าตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยายั งคงต้องใช้ทฤษฎี
การชนกันและกราฟการกระจายอนุภาคของแมกซ์เวล-โบลซ์มันน์เช่นเดียวกับการเปล่ียนแปลง
อุณหภมู ิ ดงั น้ี
ภาพที่ 4 การแจกแจงพลงั งานของอนุภาคเม่ือไม่มตี ัวเรง่ ปฏกิ ริ ยิ า
ภาพที่ 5 การแจกแจงพลังงานของอนุภาคเม่ือมีตวั เรง่ ปฏกิ ิริยา
https://il.mahidol.ac.th/e-media/ap-chemistry2/kinetics/catalyst.htm
จากภาพที่ 4 เป็นกราฟการแจกแจงพลังงานของอนุภาคเม่ือมีตัวเร่งปฏิกิริยาจะสังเกตได้
ว่าตำแหน่งของพลังงานก่อกัมมันต์เลื่อนมาทางซ้ายมากข้ึน จำนวนอนุภาคทางขวาของพลังงาน
ก่อกมั มันตม์ ีมากขน้ึ จงึ เพิ่มโอกาสให้อนภุ าคเกดิ ปฏิกิรยิ ามากข้ึน ดังน้ันการใช้ตวั เร่งปฏิกริ ยิ าจึงทำให้อตั รา
การเกิดปฏกิ ริ ยิ าเพิม่ มากขน้ึ น่นั เอง
โปรดระวัง ตวั เร่งปฏิกริ ิยาไมไ่ ดเ้ ป็นตวั ลดหรือทำใหพ้ ลังงานก่อกัมมนั ตล์ ดลงแตเ่ ปน็ วิถี
(Pathway) หรอื เสน้ ทางเลือกซง่ึ มพี ลงั งานก่อกมั มันต์ตำ่ กว่าพลังงานก่อกัมมันต์เดมิ เพราะ
อนภุ าคทมี่ ีพลังงานสูง (อยู่แลว้ ) สามารถชนกันแล้วเกดิ ปฏกิ ิรยิ าทส่ี ภาวะเดิมทไ่ี ม่มีตวั เร่ง
ปฏกิ ริ ิยาได้ แตพ่ ลงั งานรวมของสารต้ังตน้ และสารผลติ ภัณฑจ์ ะไม่เปลีย่ นแปลง ดงั แสดงในกราฟ
ภาพท่ี 6 กราฟแสดงการเปรยี บเทยี บพลงั งานก่อกัมมนั ตข์ องปฏิกิรยิ า
ก) เม่ือไม่มตี ัวเร่งปฏิกิรยิ า ข) เมื่อมีตัวเรง่ ปฏกิ ริ ยิ า
https://il.mahidol.ac.th/e-media/ap-chemistry2/kinetics/catalyst.htm
จากกราฟจะเหน็ ได้วา่ พลงั งานก่อกัมมันต์ Ea ลดลงเป็น E'a และพลังงานกอ่ กัมมันต์ลดลง
ทั้งปฏิกิริยาท่ีเกิดไปข้างหน้าและย้อนกลับ ดังนั้นตัวเร่งปฏิกิริยาจึงเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยาทั้ง
ปฏิกิริยาท่ีเกดิ ไปขา้ งหนา้ และปฏิกิรยิ าที่เกดิ ย้อนกลบั
ตัวหน่วงปฏกิ ริ ิยา
สารทที่ ำหนา้ ท่ีตรงข้ามกบั ตวั เรง่ ปฏกิ ิริยา คือ เมอ่ื เตมิ ลงไปแล้วจะไปทำให้
ปฏกิ ริ ยิ าเกดิ ชา้ ลง การหน่วงปฏกิ ริ ิยาของตัวหน่วงปฏกิ ริ ยิ าทำได้หลายลักษณะ เช่น
มสี ่วนร่วมในการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาและเปลย่ี นไปเปน็ สารใหม่ หรอื อาจจะไปขัดขวาง
การทำหนา้ ทีข่ องตวั เร่งปฏกิ ิริยา เปน็ ต้น
ภาพที่ 7 กราฟแสดงการเปรยี บเทยี บพลงั งานก่อกัมมนั ตข์ องปฏกิ ริ ิยาเม่ือเติมตัวหนว่ งปฏกิ ริ ยิ า
http://www.digitalschool.club/digitalschool/chemical2_2_1/chemical6_4/teacher1.pdf
ใบกจิ กรรมที่ 1
การทดลองศึกษาผลของความเข้มข้นของสาร
ทม่ี ีอัตราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี รายวชิ าเคมี 3 (ว32223) ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 5
สมาชกิ ในกลุ่มประกอบด้วยเลขที่ .......................................................................................ชนั้ ม.5/1
ปญั หา
…………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
…………………………………………………………………………………….……..…………………………………………………
…………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
…………………………………………………………………………………….……..…………………………………………………
วัตถปุ ระสงคก์ ารทดลอง
1. ทำการทดลองการเพ่ือศกึ ษาผลของความเข้มข้นทมี่ ีต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้
2. อธบิ ายผลของความเขม้ ขน้ ทม่ี ีต่ออัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีได้
สมมติฐาน
…………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
…………………………………………………………………………………….……..…………………………………………………
…………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
…………………………………………………………………………………….……..…………………………………………………
ตวั แปร ตอนที่ 1 ตอนท่ี 2
1. ตัวแปรต้น..........................................................................................................................
2. ตวั แปรตาม........................................................................................................................
3. ตัวแปรควบคุม...................................................................................................................
อุปกรณ์
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................. ...............
.............................................................................................................. ..................................................
วิธีการทดลอง
ตอนท่ี 1 ผลของการเปลี่ยนความเขม้ ข้นของ Na2S2O3 ท่มี ตี ่ออัตราของปฏิกิรยิ า
ตอนท่ี 2 ผลของการเปล่ียนความเขม้ ขน้ ของ HCl ท่ีมีตอ่ อตั ราของปฏกิ ิริยา
ผลการทดลอง
ปฏกิ ริ ยิ าในการทดลองนี้คือ....................................................................................................................
การวดั อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีของสาร...............................................................................................
ตอนที่ 1 ผลของการเปลี่ยนความเข้มข้นของ Na2S2O3 ท่มี ตี ่ออตั ราของปฏิกริ ยิ า
หลอดท่ี ปรมิ าตร Na2S2O3 ปรมิ าตรน้ำ(cm3) ความเข้มข้น เวลา(s)
(cm3) Na2S2O3
(mol/dm3)
1 10 0
28 2
36 4
44 6
52 8
ตอนที่ 2 ผลของการเปลี่ยนความเข้มข้นของ HCl ท่ีมีตอ่ อตั ราของปฏิกิริยา
หลอดท่ี ปรมิ าตร HCl ปรมิ าตรนำ้ (cm3) ความเข้มขน้ HCl เวลา(s)
(cm3) (mol/dm3)
1 10 0
28 2
36 4
44 6
52 8
กราฟแสดงความสัมพันธร์ ะหว่างปริมาตรของสารกบั เวลา
อภปิ รายและสรุปผลการทดลอง
........................................................................................................................................... .....................
......................................................................................................... .......................................................
...................................................................................................... ..........................................................
................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................ ........................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................... .......................
...................................................................................................... ..........................................................
.................................................................................................. ..............................................................
................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................... ..................
............................................................................................................................. ................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................. ......
....................................................................................................................... .........................................
.................................................................................................................... ......................................
คำถามทา้ ยการทดลอง
1. ตะกอนทเ่ี กิดขึน้ ในหลอดทดลองคือสารใด
...............................................................................................................................................................
2. วัดอตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมไี ด้อย่างไร
................................................................................................................................................................
..................................................... ................................................................................................... ........
3. ความเขม้ ขน้ ของ Na2S2O3 และ HCl มีผลอย่างไรกับอัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี อย่างไร
................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................... ............................
................................................................................................. ...............................................................
ผลงานนกั เรียนใบกิจกรรมท่ี 1
การทดลองศกึ ษาผลของความเขม้ ข้นของสาร
ทม่ี ีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 อัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี รายวิชาเคมี 3 (ว32223) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5
ใบกิจกรรมที่ 2
การทดลองศึกษาผลของพน้ื ท่ีผิวของสาร
ทม่ี ตี ่ออตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี รายวิชาเคมี 3 (ว32223) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5
สมาชิกในกลุ่มประกอบด้วยเลขที่ .......................................................................................ช้นั ม.5/1
ปญั หา
…………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
วตั ถปุ ระสงค์การทดลอง
1. ทำการทดลองการเพื่อศกึ ษาผลของพนื้ ทผี่ วิ ของสารท่ีมีต่ออัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมไี ด้
2. อธิบายผลของพ้นื ท่ีผวิ ของสารทม่ี ีตอ่ อัตราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมไี ด้
สมมติฐาน
…………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
…………………………………………………………………………………….……..…………………………………………………
ตัวแปร
1. ตวั แปรต้น..........................................................................................................................
2. ตัวแปรตาม........................................................................................................................
3. ตวั แปรควบคุม...................................................................................................................
อุปกรณ์
................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................... ......................
............................................................................................................................. ...................................
วธิ กี ารทดลอง
ผลการทดลอง
ปฏกิ ิริยาในการทดลองน้ีคือ....................................................................................................................
การวัดอตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมขี องสาร...............................................................................................
ลกั ษณะของขดลวดแมกนีเซยี ม ระยะเวลาทีเ่ กดิ แกส๊ H2 จากขดี 1.0-5.0 cm3 (s)
ขดเป็นสปริง
พับ
อภปิ รายและสรปุ ผลการทดลอง
........................................................... ................................................................................................... ..
............................................................................................................................... .................................
............................................................................................ ....................................................................
........................................................................................ ........................................................................
............................................................................................................................................................ ....
......................................................................................................................... .......................................
..................................................................................................................... ...........................................
................................................................................................................................................................
................................................... ................................................................................................... ..........
............................................................................................................................. ...................................
คำถามท้ายการทดลอง
1. อตั ราการเกิดปฏกิ ิรยิ าของขดลวดแมกนเี ซียมแตล่ ะชนิด เหมอื นหรอื ตา่ งกันอย่างไร
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
2. จงคำนวณหาอัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมีเฉล่ียของขดลวดแมกนีเซียมแตล่ ะชนดิ
............................................................................................................ ....................................................
......................................................................................................... .......................................................
...............................................................................................................................................................
3. เพราะเหตุใดอตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าของขดลวดแมกนเี ซียมแต่ละชนดิ แตกต่างกัน จงอธิบาย
................................................................................................................................................................
...................................................... ................................................................................................... .......
ผลงานนกั เรยี นใบกจิ กรรมท่ี 2
การทดลองศึกษาผลของพื้นทีผ่ ิวของสาร
ทม่ี ีต่ออัตราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี รายวชิ าเคมี 3 (ว32223) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5
ใบกิจกรรมที่ 3
การทดลองศกึ ษาผลของอณุ หภมู ิ
ที่มีต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 อตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี รายวชิ าเคมี 3 (ว32223) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5
สมาชกิ ในกลุ่มประกอบด้วยเลขท่ี .......................................................................................ชัน้ ม.5/1
ปัญหา
…………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
วตั ถุประสงคก์ ารทดลอง
1. ทำการทดลองการเพ่ือศกึ ษาผลของอณุ หภมู ทิ ่ีมตี ่ออตั ราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมีได้
2. อธบิ ายผลของอุณหภูมทิ ่ีมีตอ่ อตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมีได้
สมมติฐาน
...............................................................................................................................................................
ตัวแปร
1. ตัวแปรตน้ .............................................................................................................................
2. ตวั แปรตาม...........................................................................................................................
3. ตัวแปรควบคุม......................................................................................................................
อุปกรณ์
........................................................................................ ........................................................................
................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................... ......
วธิ กี ารทดลอง
ผลการทดลอง
ปฏิกิรยิ าในการทดลองนี้คอื ....................................................................................................................
การวดั อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร...............................................................................................
อณุ หภูมิที่ทดลอง oC ระยะเวลาในการเกิดปฏิกิริยา (s)
อณุ หภมู หิ อ้ ง ( oC)
20 oC
40 oC
60 oC
80 oC
อภปิ รายและสรปุ ผลการทดลอง
......................................................................................... .......................................................................
.............................................................................................................................................................. ..
............................................................................................................................ ....................................
........................................................................................................................ ........................................
................................................................................................................................................................
........................................................ ................................................................................................... .....
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................................................... ......................................................................
....................................................................................... .........................................................................
........................................................................................................................................................... .....
คำถามท้ายการทดลอง
1. ผลการสังเกตเวลาทีส่ มี ว่ งแดงจางหายไปเร็วทีส่ ุดคือการทดลองท่ีอุณหภูมิเท่าใดและเวลาท่ีสีม่วงแดง
จางหายไปชา้ ที่สดุ คือการทดลองท่ีอณุ หภูมิเทา่ ใด
...................................................................................................... ..........................................................
................................................................................................................................................................
2. เพราะเหตใุ ดท่ีอุณหภมู ิสูงจงึ เกิดปฏิกริ ิยาเรว็ กว่าท่ีอุณหภมู ติ ่ำ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................... ............................
ผลงานนักเรียนใบกจิ กรรมท่ี 3
การทดลองศกึ ษาผลของอณุ หภูมิ
ทมี่ ตี ่ออัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 อตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี รายวิชาเคมี 3 (ว32223) ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5
ใบกจิ กรรมที่ 4
การทดลองผลของสารบางชนดิ
ท่มี ตี ่ออตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 อตั ราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี รายวิชาเคมี 3 (ว32223) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5
สมาชิกในกลุ่มประกอบด้วยเลขที่ .......................................................................................ช้ัน ม.5/1
ปญั หา
…………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
…………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
…………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
…………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
วตั ถุประสงคก์ ารทดลอง
1. ทำการทดลองการเพื่อศึกษาและอธิบายผลของ Mn2SO4 ทม่ี ตี อ่ อตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมีได้
2. ทำการทดลองการเพื่อศึกษาและอธิบายผลของ NaF ทม่ี ีตอ่ อัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมไี ด้
3. ทำการทดลองเพ่ือศึกษาและอธิบายสมบตั ิของ CoCl2 ได้
สมมติฐาน
…………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
…………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
…………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
…………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
ตวั แปร
ตอนที่ 1
1. ตวั แปรต้น................................................................................................................................
2. ตวั แปรตาม..............................................................................................................................
3. ตัวแปรควบคุม.........................................................................................................................
ตอนท่ี 2
1. ตัวแปรต้น................................................................................................................................
2. ตวั แปรตาม..............................................................................................................................
3. ตัวแปรควบคมุ .........................................................................................................................
สารเคมแี ละอุปกรณ์
ตอนท่ี 1
................................................................................................................ ................................................
............................................................................................................ ....................................................
ตอนท่ี 2
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................... .............................
ตอนที่ 3
..................................................................................................................... ...........................................
................................................................................................................................................................
วิธีการทดลอง
ตอนท่ี 1 ผลของสารละลาย Mn2SO4 ที่มตี อ่ อัตราการเกิดปฏิกิริยาระหวา่ งสารละลาย KMnO4
กบั สารละลายกรด C2H2O4
ตอนที่ 2 ผลของ NaF ท่มี ีอัตราการเกิดปฏกิ ิริยาระหว่างสารละลายระหว่างเปลอื กไข่กับ
สารละลายกรด CH3COOH
ตอนที่ 3 สมบัติของ CoCl2
ผลการทดลอง
ตอนที่ 1 ปฏกิ ิริยาระหว่างกรดออกซาลิกกบั โพแทสเซียมเปอรแ์ มงกาเนต
ปฏิกริ ยิ าในการทดลองน้ีคอื ....................................................................................................................
การวดั อตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมีของสาร...............................................................................................
หลอดท่ี สาร ระยะเวลาในการเกิดปฏิกริ ยิ า (s)
1
2
ตอนที่ 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดแอซติ กิ กบั แคลเซียมคารบ์ อเนต
ปฏิกริ ิยาในการทดลองน้ีคือ....................................................................................................................
การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร...............................................................................................
หลอดที่ สาร ระยะเวลาในการเกิดปฏิกริ ิยา (s)
1
2
ตอนที่ 3 สมบัติของ CoCl2
ปฏกิ ิรยิ าในการทดลองนี้คือ....................................................................................................................
การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร...............................................................................................
หลอดที่ สาร การเปล่ียนแปลง
1
2
อภิปรายและสรุปผลการทดลอง
................................................................................................................................ ................................
.............................................................................................. ..................................................................
........................................................................................... .....................................................................
............................................................................................................................................................... .
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................................................................................... ......................................
................................................................................................................................................................
......................................................... ................................................................................................... ....
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................................................... ......................................................................
....................................................................................... .........................................................................
............................................................................................................................................................ ....
......................................................................................................................... .......................................
...................................................................................................................... ..........................................
................................................................................................................................................................
..................................................... ................................................................................................... ........
............................................................................................................................. ...................................
....................................................................................... .........................................................................
คำถามท้ายการทดลอง
1. อัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาของสารทัง้ 2 หลอดในตอนที่ 1 แตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
.................................................................................. ..............................................................................
................................................................................................................................................................
2. อตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยาของสารท้ัง 2 หลอดในตอนที่ 2 แตกต่างกนั อยา่ งไร เพราะเหตุใด
........................................................................................... .....................................................................
............................................................................................................................................................... .
3. ในขณะท่ีปฏกิ ริ ยิ ากำลังดำเนนิ ไป CoCl2 มีการเปลีย่ นแปลงอยา่ งไร เพราะเหตใุ ด
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................... .................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
ผลงานนกั เรียนใบกจิ กรรมที่ 4
การทดลองผลของสารบางชนิด
ที่มตี ่ออัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 อตั ราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี รายวิชาเคมี 3 (ว32223) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5
ใบกจิ กรรมท่ี 5
โปรแกรมทดลองเสมือน Crocodile Chemistry
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 อตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี รายวชิ าเคมี 3 (ว32223) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5
คำชแ้ี จง: ใหน้ ักเรยี นปฏิบตั ิตามขัน้ ตอนและตอบคำถามในชอ่ งว่างให้ถกู ต้อง
1. นักเรียนคลกิ ไอคอน Crocodile Chemistry เพื่อเปดิ โปรแกรม
2. นักเรียนเขา้ เมนู Contents > Reaction Rates > Concentration and Rate
จะปรากฏหนา้ จอดงั ภาพ
3. หลงั จากน้ันใหน้ กั เรียนคลกิ ท่ีปมุ่ ถดั ไป เพ่ือปฏิบตั ิตามคำแนะนำของโปรแกรม
4. โปรแกรมจะใหน้ ักเรียนคลิกนำลูกโปง่ ไปทดสอบผลการเติมสาร Calcium Cabonate
และสารละลายกรด Hydrochloric ท่มี คี วามเข้มขน้ ตา่ งกัน
5. กดป่มุ เร่มิ การทดลอง แล้วสงั เกตการเปลยี่ นแปลงทเี่ กิดขน้ึ
6. นักเรียนสามารถสรุปจากผลการทดลองนว้ี ่าอย่างไร
7. นกั เรียนทำเช่นเดียวกับข้อท่ี 1-6 แตเ่ ปลีย่ นเปน็
7.1 นกั เรยี นเขา้ เมนู Contents > Reaction Rates > Surface Area and Rate
7.2 นักเรียนเข้าเมนู Contents > Reaction Rates > Temperature and Rate
7.3 นักเรยี นเข้าเมนู Contents > Reaction Rates > Temperature and Rate
ผลงานนักเรียนใบกิจกรรมท่ี 5
โปรแกรมทดลองเสมือน Crocodile Chemistry
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 อัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี รายวชิ าเคมี 3 (ว32223) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5