The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์(E-Book)เพื่อส่งเสริมความสามารถการใช้โปรแกรมเอกสารออนไลน์ ป.6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by been0943, 2021-10-19 05:08:58

การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์(E-Book)เพื่อส่งเสริมความสามารถการใช้โปรแกรมเอกสารออนไลน์ ป.6

การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์(E-Book)เพื่อส่งเสริมความสามารถการใช้โปรแกรมเอกสารออนไลน์ ป.6

รายงานการวจิ ัยดา้ นการจัดการเรียนรู้
เร่อื ง การพฒั นาหนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์(E-Book)เพอื่ สง่ เสริมความสามารถการใช้

โปรแกรมเอกสารออนไลน์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6

โดย
นางสาวธมลวรรณ แดงเมือง รหัสประจาตวั 60417917
สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา
หน่วยสถานศกึ ษาฝึกสอน โรงเรียนวัดหนองบวั คา่ ย

รายงานการวจิ ยั นเี้ ป็นสว่ นหน่งึ ของการฝกึ ปฏบิ ัติการสอนในสถานศกึ ษา
12

ภาคเรยี นท่.ี ............ ปกี ารศกึ ษา 2564
คณะครศุ าสตร์

มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมู่บา้ นจอมบึง

ชอื่ เร่อื ง : การพัฒนาหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส(์ E-Book)เพ่ือส่งเสรมิ ความสามารถการใช้โปรแกรม
เอกสารออนไลน์ ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
ชือ่ ผู้วจิ ยั : นางสาวธมลวรรณ แดงเมือง
ปกี ารศึกษา : ปี 2564

บทคดั ยอ่
การวจิ ัยครงั้ นเี้ ป็นการวจิ ัยเชิง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
มวี ัตถุประสงคเ์ พื่อ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
กลุ่มตวั อยา่ งที่ใชค้ ือ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั ได้แก่
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
วเิ คราะหข์ ้อมูลโดยใช้สถติ ิ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..
ผลการวิจัยพบว่า
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

สารบัญ หนา้

คานา
บทคัดย่อ
บทท่ี 1 บทนา

ความเป็นมาและความสาคญั
วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัย
ขอบเขตของการวิจัย
นยิ ามศพั ท์เฉพาะ
ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง

แนวคิด ทฤษฎี
งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้อง
บทที่ 3 วธิ ีดาเนนิ การวจิ ัย
ระเบียบวธิ วี ิจัย
ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
เครือ่ งมอื ท่ีใช้ในการวิจยั
ขัน้ ตอนการสรา้ งเครื่องมือ
การดาเนนิ การวจิ ัย/การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
บทที่ 4 ผลการวิจยั
บทที่ 5 สรปุ และขอ้ เสนอแนะ
สรปุ ผลการวจิ ยั
อภปิ ราย
ขอ้ เสนอแนะ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

บทที่1

บทนา

การพัฒนาหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์(E-Book)เพื่อส่งเสริมความสามารถการใช้โปรแกรมเอกสารออนไลน์ ของ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6

ความเปน็ มา

การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การป้องกันการแพรIระบาดอย่างหน่ึง

คือ มาตรการการเว้นระยะห่างทางสงั คม (Social Distancing) จึงทาใหเ้ ป็นแรงผลักดันให้มกี ารนาคอมพิวเตอร์

และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบการสอนผ่านออนไลน์ทั่วถึงใน

ทุกสถาบนั และสาขาวิชาชพี เพอ่ื เอื้อให้ผู้เรยี นและผู้สอนสามารถเรียนรู้ไดจ้ ากบ้านพักของตวั เอง (บุญทพิ ย์ สิริธ

รังศรี, 2563, หน้า2) อีกทั้งธานี สุขโชโตและวรกฤต เถ่ือนชาง (2563, หน้า 147-148) ได้ศึกษา กระบวนการ

ดูแล ช่วยเหลือนักเรียนและจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

2019 (COVID-19) เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนได้ในทุกๆ ที่และการเรียนรู้ยังคงต้องดาเนินต่อไปแม้ว่า

นักเรียนไม่สามารถไปโรงเรียนได้ตามปกติ การดูแลช่วยเหลือนักเรียนตลอดจนการจัดการเรียนการสอนโดย มี

การสนบั สนนุ ส่งเสรมิ พัฒนาป้องกนั และแก้ไขปญั หาให้แก่นักเรียน เพอ่ื ให้นกั เรยี น มี

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีภูมิคุมกันทาง จิตใจที่เข้มแข็งและมีคุณภาพชีวิตท่ีดีในสถานการณ์ท่ีมีโรคติดเช้ือ

ไวรัสโคโรนา 2019 ระบาด

จากการแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ทาให้ผู้สอนและผู้เรียนได้รับผลกระทบจากการเรียนการสอน

รูปแบบ Online เป็นอย่างมาก รวมถึงนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ท่ีศึกษารายวิชาวิทยาการคานวณ

ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนวัดหนองบัวค่าย รายวิชาวิทยาการคานวณในบทเรียนท้ายๆ ส่วน

ใหญจ่ ะเปน็ การลงมือปฏบิ ตั ิ ผนวกกบั ผู้เรยี นยงั ไม่ได้รบั หนังสือประกอบการเรียนการสอน ผู้เรยี นจึงไมเ่ ข้าใจใน

เนอ้ื หาทีเ่ รยี น เพราะนักเรียนไมส่ ามารถมองเห็นภาพในการเรียน ดงั น้ันจึงนาหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์ (e-book )

เขา้ มาช่วยเป็นสอื่ การเรยี นร้รู ปู แบบหนึง่ ท่จี ะช่วยให้นกั เรยี นมีความเข้าใจในเน้ือหามากยิง่ ขึ้น

เทคโนโลยีทางการศึกษาจึงเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาการศึกษา โดยการนาวิทยาการใหม่ ๆ และการ

จัดการ แหล่งทรัพยากรการเรยี นร้มู าใช้เพ่ือให้นักเรยี นสามารถศึกษาค้นคว้าได้ตามความต้องการ ส่งผลให้เกิด

การเรียนรู้และ พัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นให้เยาวชนเติบโตเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็น อีกทางเลือกหนึ่งท่ีนามาใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยากานคาณ

วน เพื่อใหน้ ักเรยี นสามารถศึกษาค้นคว้า เรียนรดู้ ้วยตนเอง ตามความสามารถและความสนใจ มีอิสระในการคิด

คานึงถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคล นักเรียน สามารถเรียนรู้ดว้ ยตนเองมากกวา่ ท่ีจะให้ครูบอกหรือกาหนดให้

โดยครูเป็นผู้สร้างโอกาสทางการเรียนการสอน ซึ่งสอดคล้องกับธรรมชาติของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาท่ี

6 มีความกระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น อยากค้นคว้าในส่ิงต่าง ๆ ตรงกับแนวคิดในการจัดการเรียนการสอน

ของบลูม ทีก่ ล่าววา่ การจดั กจิ กรรมให้นักเรยี นได้ปฏบิ ัติตามท่ีตนต้องการ นักเรียนย่อมกระทากิจกรรมนั้นด้วย

ความกระตือรือร้น ทาให้เกิดความม่ันใจ เกิดการเรียนรู้ได้เร็ว และประสบ ความสาเร็จสูง ทาให้เกิดความพึง

พอใจไดด้ ใี นทส่ี ดุ

2.1 เพ่อื ศึกษาความสามารถการใช้โปรแกรมเอกสารออนไลน์
2.2 เพอื่ ศึกษาคณุ ภาพหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์(E-Book)
2.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจ

3.ขอบเขตของการวิจัย
1.ประชากรของการวิจัยครัง้ นี้ คือ นกั เรียนระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรยี นวัดหนองบัวค่าย
วชิ าวทิ ยาการคานวณ ในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 จานวน 9 คน
2.กลุ่มตวั อย่าง คือ นักเรยี นระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดหนองบวั คา่ ย
วชิ าวิทยาการคานวณ ในภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 จานวน 9 คน
3.ตัวแปรที่ศกึ ษาได้แก่
3.1 ตัวแปรตน้ การพฒั นาหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์(E-Book)
3.2 ตวั แปรตาม ความสามารถในการใช้โปรแกรมเอกสารออนไลน์

4.ขอบเขตเน้ือหา
ทาการวจิ ยั ในเนื้อหาความสามารถในการใช้โปรแกรมเอกสารออนไลน์ วิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

(วิทยาการคานวณ) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2560 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 เรือ่ ง
วุน่ ๆหนงั สอื ร่นุ ออนไลน์ เร่อื ง การใช้งานเอกสารออนไลน์ร่วมกนั

การวิจัยครั้งนดี้ าเนินการในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

5.นยิ ามศพั ท์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์(E-Book) หมายถึง หนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็น

เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูลท่ีสามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ ทั้งใน
ระบบออฟไลน์ และออนไลน์ คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่างๆของ
หนังสือ เว็บไซต์ต่าง ๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียนได้ นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถ
แทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบและสามารถสั่งพิมพ์เอกสารท่ีต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้ อีก
ประการหนึ่งทส่ี าคัญก็คือ หนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกสส์ ามารถปรบั ปรุงให้ทันสมัยได้ตลอดเวลาซ่ึงคณุ สมบตั ิเหลา่ น้ีจะไม่
มีในหนังสือธรรมดาท่ัวไป

การใช้โปรแกรมเอกสารออนไลน์ หมายถึง การเอกสารได้แบบไมต่ อ้ งเสยี เงิน เพยี งแคค่ ุณมีอีเมลข์ อง Gmail
และเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต เพราะ Google Docs เตรียมมาให้คุณหมดแล้วไม่ว่าจะเป็นการพิมพ์รายงานแบบที่
คุ้นเคย การทาสไลด์เพ่ือนาเสนองานสาคัญ หรือจะจัดการเอกสารแบบ Spreadsheets ได้เหมือน Excel ก็สามารถ
ทาได้ Google Docs ทางานเหมือน Microsoft Office แตทุกอย่างจะทางานอยู่บนเว็บ สามารถทางานได้ทันทีที่มี
การเชื่อมต่ออนิเทอร์เน็ต โดยไม่ต้องเสียเวลาติดตั้งโปรแกรมลงในเคร่ือง หรือเสียเงินค่าลิขสิทธิ์ก่อนใช้งานแต่อย่าง
ใด เพียงแคเ่ ขา้ ไปยัง Google Docs เราก็สามารถสร้าง แก้ไข หรอื เปิดอ่านเอกสารได้เลย โดยตัวเอกสารนั้นจะถูกเก็บ

ไว้ในเซริ์ฟเวอร์ของ Google และท่ีสาคัญเราสามารถแชร์เอกสารให้กับเพ่ือนเพื่อแก้ไข ข้อมูลไปพร้อมๆ กัน โดยจะ

เหน็ ว่าอกี ฝา่ ยกาลังพมิ พ์อะไรอยู่
ความสามารถในการใช้โปรแกรมเอกสารออนไลน์นักเรียนชนั้ ป.6 หมายถงึ ความสามารถในการใช้

โปรแกรมเอกสารออนไลน์ของนักเรยี นช้นั ป.6
นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 หมายถึง นักเรยี นทกี่ าลังเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในวชิ าวทิ ยาการ

คานวณ โรงเรียนวัดหนองบวั คา่ ย

บทที่2
เอกสารและงานวจิ ัยท่เี กีย่ วข้อง
ในการวิจยั ครั้งนี้ ผู้วิจัยไดศ้ ึกษาเอกสารและงานวิจยั ท่เี กยี่ วข้องกบั การพัฒนาหนังสอื อิเล็กทรอนิกส(์ E-
Book)เพื่อสง่ เสริมความสามารถการใช้โปรแกรมเอกสารออนไลน์ ของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
ผู้วจิ ัยไดศ้ กึ ษาค้นควา้ เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กยี่ วของเพื่อเปน็ ฐาน สาหรับการดาเนนิ การวจิ ยั ดังนี้
2.1หาความหมายชอื่ เรือ่ ง
2.2 ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book)
(จิระพันธ์ เตมะ. 2545: 1)หนังสืออิเล็กทรอนิกส์(Electronic Book) หรือท่ีนิยมเรียกกันแพร่หลายว่า e-
book เป็นนวัตกรรมใหม่ทางด้านวงการหนังสือ ห้องสมุด และเทคโนโลยีการศึกษา สาหรับทางวิชาชีพ
ห้องสมุดแล้ว e-book จะเป็นพัสดุห้องสมุดยุดใหม่ท่ีเปลี่ยนจากรูปแบบดั้งเดิมซึ่งเป็นหนังสือท่ีผลิตจากการ
เขียนหรือพิมพ์ตัวอักษรหรือภาพกราฟิกลงในแผ่นกระดาษ หรือวัสดุชนิดอื่น ๆ เพ่ือบันทึกเนื้อหาสาระในรูป
ตัวหนังสือ รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่นที่ใช้กันปกติทั่วไปจากอดีตถึงปัจจุบันเปลี่ยนมาบันทึก และ
นาเสนอเน้ือหาสาระทั้งหมดเป็นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในรูปสัญญาณดิจิตอลลงในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภท
ต่าง ๆ เชน่ แผน่ ซดี ีรอม (CD-ROM) ปาลม์ บุ๊ค (Plam Book)หนงั สอื ในระบบเครือข่าย (Online Book) หรือสอื่
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์รปู แบบอืน่ ๆ ซึง่ รวมเรยี กวา่ หนังสอื อเิ ล็กทรอนิกสห์ รือ e-book
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-booK) จะเป็นรูปแบบของหนังสือรูปแบบใหม่ในยุคต้นของหัสวรรษนี้ต้นไป
ท้ังน้ีเพราะด้วยเหตุผลต้านบริบทความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องของเทคโนโลยีด้านข่าวสารอย่างทุกวนั น้ีส่งผลทา
ให้เชื่อได้ว่า แนวโน้มของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) ซึ่งนับวันจะยิ่งมีการพัฒนาท้ังรูปลักษณ์และ
ความสามารถและไดร้ ับความนิยมจากมหาชนมากขึน้ ซง่ึ จะเขา้ แทนท่ีหนังสือท่เี ปน็ สิ่งพมิ พ์ปกติที่เคยมีบทบาท
ในการทาหน้าท่ีบันทึก และถ่ายส่งองค์ความรู้จากผู้เขียนสู่ผู้อ่านมาช้านานนับหลาย ศตวรรษในอนาคดอย่าง
แน่นอน ท้ังน้ีเพราะหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นหนังสือท่ีนาเอาเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์ซ่ึงมีศัยภาพครบถว้ น
ท้ังทางต้นการบันทึกและการนาเสนอการถ่ายสง่ เน้ือหาสาระ หรือองค์ความรู้สูผ่ ู้อ่านในรูปของสัญญาณดีจิตอล
ที่สามารถทาหน้าที่พื้นฐานเช่นเดียวกับหนังสือเล่มดีแบบเดิม ๆ ได้ทุกประการ และศักยภาพของคอมพิวเตอร์
ต้านอื่น ๆ สามารถบันทึกข้อมูลได้ไนปริมาณมาก ลามารถเรียกมาอ่าน ปรับปรุงแก้ไขได้ ทาสาเนาหรือโอน
ข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว เป็นตัน นอกจากนี้ยังมีองค์ประกอบต้านอ่ืน ๆ ที่จะช่วยให้ผู้อ่านลามารถปฏิสัมพันธ์
กบั หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ได้อย่างกวา้ งขวาง ตลอดจนมีศักยภาพด้านอื่น ๆ อกี มากมายสนองความตอ้ งการของ
ผู้อ่านในขณะท่ีอ่านหนังสือ เป็นต้น คุณลักษณะดังกล่าวของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ทาให้หนังสอื อิเล็กทรอนิกส์
มศี กั ยภาพสงู กว่าหนังสือปกตหิ ลายเท่าซง่ึ จะเปน็ เหตุผลโดยรวมท่หี นงั สืออิเล็กทรอนิกส์จะเขา้ มาแทนที่บทบาท
หนงั สือปกตดิ งั ได้กล่าวมาขา้ งตน้
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นส่ือสาเร็จรูปยุดใหม่ (Neo Programmed Instructional Media)ชนิดหนึ่งที่มี
การจัดระบบการนาเสนอเน้ือหาและกิจกรรมเสริมการเรียนรู้เป็นอย่างดี ผู้อ่านสามารถอ่านและเรียนรู้เน้ือหา
สาระในเล่มได้ตามความสนใจและความแตกต่างของแต่ละบุคคล มีการเปิดโอกาสให้ผู้อ่านได้ฝึกทักษะ หรือ
แบบฝึก หรือข้อคาถามสาหรับผู้อ่านหรือผู้เรียนสามารถตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของตนด้วยตนเองจาก
โปรแกรมที่มใี นหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ เปน็ ตัน

สุทิน ทองไสว (2547 : 46) กล่าวไว้ว่า e-booK หรือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ คือ เอกสารที่มีขนาด
เหมาะสม ซึ่งสามารถจัดเก็บเผยแพร่ หรือจาหน่ายได้ด้วยอุปกรณ์ และวิธีการอิเล็กทรอนิกส์โดยผู้ใช้สามารถ
อ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์น้ี ผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่ใช้สาหรับอ่าน e-book ท่ีเรียกว่า "e-
book Reader

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง หนังสือหรือเอกสารที่ผู้อ่านสามารถอ่านผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พกพาอื่น ๆ ได้ สาหรับหนังสือหรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์จะมีความหมายรวมถึงเน้ือหา
ที่ถูกตัดแปลงอยู่ในรูปแบบถูกดัดแปลงอยู่ในรูปแบบท่ีสามารถแสดงผลออกมาได้ โดยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์
แต่ก็ให้มีลักษณะการนาเสนอท่ีสอดคล้องและคล้ายคลึงกับการอ่านหนังสือทั่วๆ ไปในชีวิตประจาวัน แต่จะมี
ลักษณะพิเศษ คือ สะดวกและรวดเร็วในการค้นหา และผู้อ่านสามารถอ่านพร้อม ๆ กันได้ โดยไม่ต้องรอให้อีก
ฝ่ายส่งคืนหอ้ งสมดุ เชน่ เดียวกบั หนงั สือในห้องสมุดทว่ั ๆไป

ประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ์ (2545: 43 ) กล่าวไว้ว่า คาว่า e-book ได้นิยามไว้ว่าเป็นหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ต้องอาศัยเคร่ืองมือในการอ่านหนังสือประเภทนี้คือฮาร์ดแวร์(Hardware) อาจเป็นเครื่อง
คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พกพาอ่ืนๆพร้อมติดตั้งระบบปฏิบัติการหรือซอฟต์แวร์ (Sofware) ท่ี
สามารถอ่านข้อความต่าง ๆ เช่น ออแกไนเซอร์แบบพกพา, Pocket PCหรือพีดีเอ (PDA) เป็นต้น สาหรับการ
ดึงข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีอยู่บนเว็บไซต์ท่ีให้บริการทางด้านน้ีมาอ่าน โดยใช้วิธีการดาวน์โหลดผ่านทาง
อินเตอร์เน็ตเป็นส่วนใหญ่แต่ยังมีข้อจากัดในเรื่องของชนิดของไฟล์บางประเภทท่ีไม่สามารถอ่านข้อมูลได้ จึงมี
การแก้ปัญหาโดยนาซอฟต์แวร์บางตัวมาช่วยในการอ่านข้อมูลจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ คือ ซอฟต์แวร์ที่ใช้
อ่านขอ้ มลู จากหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละซอฟต์แวร์ท่ีใช้เขียนข้อมูลออกมาเปน็ หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์
2.2 การพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์

การพฒั นาหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ (e-book) หมายถงึ การสรา้ งและพฒั นาหนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์ (e-
book) เรื่อง การใชห้ ้องสมดุ สาหรบั นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 มีการนาเสนอเน้ือหาของบทเรียนซ่ึง
ประกอบด้วยข้อมูลตวั อักษร (text) รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว และเสียงประกอบโดยนาไปใหผ้ ู้เชี่ยวชาญด้าน
เน้ือหาและดา้ นเทคโนโลยกี ารศกึ ษาประเมินคณุ ภาพและปรับปรงุ แก้ไขจนมีคุณภาพตามเกณฑ์

2.3 ความสามารถการใช้โปรเเกรม google doc
ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. สร้างเอกสารพื้นฐานแบบเริ่มต้นจากศูนย์ สามารถ

ทางานพื้นฐานทุกประเภทได้อย่างง่ายดาย รวมถึงการทารายการสัญลักษณ์แสดงหัวข้อย่อย การเรียงลาดับตาม
คอลัมน์ การเพิ่มตาราง รูปภาพ ข้อคิดเห็น สูตร การเปล่ียนแปลงแบบอักษร และอ่ืนๆ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ อัพ
โหลดไฟล์ของคุณท่ีมีอยู่แล้ว รองรับรูปแบบไฟล์ที่นิยมใช้กันส่วนใหญ่ ได้แก่ DOC, XLS, ODT, ODS, RTF, CSV
และ PPT คณุ จึงสามารถทางานต่อไปพร้อมกับอัพโหลดไฟลข์ องคุณที่มีอยู่ได้ดว้ ย ใชง้ านบนแถบเคร่ืองมือได้อย่าง
คุ้นเคยทาให้การแก้ไขเป็นเรื่องง่ายๆ เลือกตัวหนาขีดเส้นใต้ เพิ่ม สัญลักษณ์ในข้อย่อย เปลี่ยนแบบอักษร หรือ
รปู แบบตวั เลข เปลยี่ นสพี ้นื หลงั ของเซลล์ และอ่ืนๆ เพยี งคลกิ ปมุ่ บนแถบเครื่องมือทคี่ ุณคนุ้ เคย

2.4 การวัดความสามารถในการเรียนการสอน
(ราชบัณฑติ ยสถาน, 2555, หนา้ 37) การวัดประเมนิ ผลการเรียนรมู้ ีจุดมุ่งหมายดังน้ี
1) เพื่อนาผลการประเมินไปใชใ้ นการปรับปรงุ การเรยี นรู้ของผู้เรยี น
2) ทาใหท้ ราบจดุ อ่อนจดุ แข็งของผูเ้ รยี นเปน็ รายบุคคล และสามารถนาสารสนเทศไปใช้ วางแผนแก้ไข
ปญั หาผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคลไดอ้ ย่างเหมาะสม
3) ประเมนิ ประสิทธิภาพของกิจกรรมและวธิ กี ารเรียนการสอนท่ีผูส้ อนใช้ในการเรียนการสอน
4) ประเมนิ และปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพของหลักสูตร
5) ประเมินและปรับปรุงประสิทธิภาพการสอนของผูส้ อน
6) ส่อื สารให้ผปู้ กครอง ชุมชน สงั คมทราบผลการเรยี นรู้ของผ้เู รียน

2.5 การวัดความพึงพอใจ
ปุณยาพร ปฐมพฒั นา (2550 : 33) ไดก้ ล่าวสรุปไว้วา่ การวัดความพึงพอใจเป็นการตรวจสอบทัศนคติของ

บุคคลที่มีต่อสิ่งหน่ึงสิ่งใด ซึ่งสามารถใช้เคร่ืองมือวัดได้หลายแบบ เช่นการสังเกตการสัมภาษณ์ และการใช้
แบบสอบถาม เปน็ ต้น

สมนึก ภทั ทยิ ธนี (2553 : 36-42) ไดก้ ลา่ วถงึ การวัดความพึงพอใจไว้ว่า การวดั ความรูส้ ึกนน้ั จะวัดออกมา
ในลักษณะของทิศทาง มีอยู่ ๒ ทิศทาง คือ ทางบวกหรือทางลนทางบวกหมายถึง การประเมินค่าความรู้สึกไป
ในทางที่ดี ชอบหรือพอใจ ส่วนทางลบ จะเป็นการประเมินคาความรู้สึกไปในทางท่ีไม่ดี ไม่ชอบ หรือไม่พอใจ
และการวัดในลักษณะปริมาณ เป็นความเข้มข้นความรุนแรง หรือระดับทัศนคติไปในทิศทางที่พึงประสงค์
หรือไม่พึงประสงค์น่ันเอง วิธีการวัดมีอยู่หลายวิธี เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การใช้แบบทดสอน และใช้
แบบสอบถาม โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี

งานวจิ ยั ที่เก่ียวข้อง
ในการศึกษาคนั คว้าและวจิ ยั ในครั้งน้ีได้มีการศึกษาตน้ ควา้ วิจยั เอกสารทีเ่ ก่ียวข้องกับหนงั สอื

อิเล็กทรอนกิ ส์ท้ังในประเทศและตา่ งประเทศ ดงั นี้
งานวจิ ยั ในประเทศ
สิทธิพร บุญญานุวัตร (2540: 23-37) ได้วิจัยเกี่ยวกับการนาเอาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการ

ฝกึ อบรมเร่อื ง "การใช้โปรแกรมออโตแ้ คด (AutoCAD R13C4) ในการสรา้ งภาพ 2 มติ "ิ โดยสรปู ประเดน็ ปญั หา
ไว้ 2 ประเดน็

ประการแรกคือ ขาดสื่อในการฝึกอบรมท่ีเหมาะสม เนื่องด้วยเวลาท่ีจากัด การสอนโดยการบรรยายจาก
แผ่นใส หรือการเขียนลงบนกระดานแล้วให้ลงมือปฏิบัติกับคอมพิวเตอร์ทาให้ผู้เรียนพะวงกับการจดเน้ือหาจน
ไม่เขา้ ใจขั้นตอนการปฏิบตั ิ ทาใหผ้ เู้ ข้ารับการฝกึ อบรมได้รับการฝกึ หดั ทกั ษะไม่เพียงพอ

ประการที่สองคือ เอกสารและตาราส่วนใหญ่จะแปลมาจากต่างประเทศ ซ่ึงไม่เหมาะสมกับผู้เรียนระดับ
เริ่มต้น ซ่ึงควรศึกษาจากหนังสือท่ีผ่านการวิเคราะห์เน้ือหามาแล้ว เขาจึงได้นาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มาใช้เป็น
สอ่ื ในการจัดฝึกอบรม โดยใชข้ อ้ ดีของส่ือคือ ลดการสน้ิ เปลืองวัสดุและพลงั งานการจัดทาสื่อแผ่นใส ชว่ ยให้การ
ใช้ส่ือมีความสะดวกย่ิงข้ึน เพราะสามารถเรียกไข้ได้เสียเวลาในการค้นหาและจัดเรียงสื่อ อีกท้ังยังช่วยให้การ

อบรมนอกสถานที่มีความคล่องตัวย่ิงข้ึนเน่ืองจากสามารถเก็บไว้ในแผ่นซีดีใด้ การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ใน
การอบรมจะช่วยให้ผู้เรยี นมีการพัฒนาการเรียนรู้และเข้าใจในเนื้อหาวิซานั้นมากขึ้นการฝึกอบรมเรื่อง "การใช้
โปรแกรมออโตแ้ คด (AutoCAD R13C4) ในการสร้างภาพ 2 มติ ิ" โดยสรปู ประเด็น

นอกจากน้ียังใหข้ อ้ เสนอแนะว่าควรมกี ารเอาหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ไปใช้ในการเรยี นการสอนดว้ ย
เพ็ญนภา พัทรชนม์ (2544: บทคัดย่อ) ได้พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง กราฟิกเบื้องต้นและหา
ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เร่ือง กราฟิกเบื้องตัน ซ่ึงกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้เป็นนักศึกษาศึกษาศาสตร์ที่
ไม่เคยเรียนรายวิชา 263-201 เทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ลงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
จานวน 30 คน ซึ่งการเปรียบเทียบผลทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนพบว่าคะแนนเฉล่ียทดสอบหลังเรียนสูง
กว่าคะแนนจากการทดสอบกอ่ นเรยี น
ทิพย์มณฑา สดชื่น (2544. ออนไลน์) ได้พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เร่ือง การถ่ายภาพเบื้องต้นด้วย
โปรแกรม Adobe Acrobat สาหรับใช้ประกอบการเรียนการสอนวิชา 263-201 เทคโนโลยีการศึกษา แล้วหา
ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังการเรียนด้วยหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์เร่ือง การถา่ ยภาพเบ้ืองตน้ ผลการวจิ ยั พบว่า หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์เรื่อง การถ่ายภาพเบ้ืองตันมี
ประสิทธิภาพ 87.50/83.44เป็นไปตามเกณฑ์ และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษาหลังจากท่ีเรียนด้วย
หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกสส์ ูงกว่ากอ่ นเรยี นอย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ิทร่ี ะดบั .01
เสาวลักษณ์ ญาณสมบัติ (2545:ออนไลน์) ได้พัฒนาและหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เร่ือง
นวัตกรรมการสอนท่ียึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ผลการวิจัยพบว่า ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากหนังสือ
อเิ ลก็ ทรอนิกสส์ งู กวา่ ก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติ
พิเชษฐ เพียรเจริญ (2546: บทคัดย่อ) ได้พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง ส่ือการสอน เพื่อหา
ประสิทธิภาพหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ตามเกณฑ์ 80/80 และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักศึกษาท่ี
ไม่เคยเรียนวิชา 263-201 เทคโนโลยีกรศึกษามาก่อน จานวน 55 คน ผลการวิจัยพบว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เร่ือง ส่ือการสอนมีประสิทธิภาพ 82.00/82.50 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนหลังจากที่เรียนดว้ ยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เร่ือง สื่อการสอนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติที่
ระดับ .01
งานวิจัยต่างประเทศ
อิกกินส์ และอีส (Higgin; & Hess: 1998) ได้ศึกษาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเกี่ยวกับ
คาศัพท์จากกลอนบทหนึ่งช่ือว่า "My Incredible Headache" ในซีดีรอม The New kid on the block ซ่ึง
เป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับความนิยมจากนักเรียน มีคาและภาพเหมือนกับหนังสือปกติแต่ลามารถอ่าน
ออกเสียงดัง ๆ เป็นคา วลีและเรื่องราวเป็นรายบุคคล มีภาพเคลื่อนไหวและภาพที่ใช้เลือกวัตถุในภาพหนังสือ
ของนักเรียนเกรด 3 จานวน 15 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมนักเรียนในกลุ่มควบคุมให้อ่าน
พร้อมฟงั เสยี งจากหนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ และดูภาพเคลอ่ื นไหว ผลการวจิ ัยพบวา่ นักเรียนทง้ั หมดใหค้ วามสนใจ
กับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพราะมี ภาพเคลื่อนไหว และได้รับความรู้จากแบบสอบถามก่อนและหลังเรียน
แตกต่างกัน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เป็นส่ืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีบทบาทต่อการศึกษายุคสมัยน้ีฉะนั้น
ผู้วิจัยจึงนามาใช้ในโรงเรียนให้ผู้เรียนได้สัมผัสเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ อีกทั้งก่อให้เกิดผลต่อนักเรียนท้ังด้าน
ผลสมั ฤทธิ์ทส่ี งู ข้ึนได้

บทท่ี 3
วิธดี าเนนิ การวิจัย

การวิจัยเร่ือง การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เพื่อส่งเสริมความสามารถการใช้โปรแกรมเอกสาร
ออนไลน์ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6

ผวู้ จิ ัยได้ดาเนนิ การวจิ ยั ตามขั้นตอนดังน้ี

1. แบบแผนการวจิ ัย

การวิจยั ในคร้ังนี้เปน็ การวิจยั เชงิ ทดลองเบื้องต้น โดยผู้วจิ ัยได้ดาเนนิ การตามแบบแผนการทดลอง ทาการ
ทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (randomized group pretest-posttest design) ล้วน สายยศ และอังคณา
สายยศ (2539, หน้า 2539) ดงั ตาราง
ตารางที่ 1 รูปแบบการวิจยั

กลมุ่ สอบก่อน การจัดการกระทา สอบหลงั

E T1 X T2

รปู แบบการวจิ ยั
สญั ลักษณ์ที่ใชใ้ นแบบแผนการทดลอง

E แทน กลุ่มทดลอง
X แทน การทดลองโดยใช้ส่อื บทเรยี นออนไลน์
T1 แทน การทดสอบกอ่ นทาการทดสอบ (pretest)
T2 แทน การทดสอบหลงั ทาการทดสอบ (posttest)

2. ประชากร/กลมุ่ ตวั อย่าง

2.1 ประชากรของการวิจัยคร้ังน้ีคือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 สถานศึกษา โรงเรียนวัดหนอง
บัวคา่ ย วิชาวทิ ยาการคานวณ ในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 จานวน 9 คน

2.2 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 สถานศึกษา โรงเรียนวัดหนองบัวค่าย
วชิ าวทิ ยาการคานวณ ในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 9 คน

3. เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ยั

เคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจัยคร้งั น้ีประกอบดว้ ย
3.1 สารวจการเข้าถึงอนิ เทอร์ของนกั เรียน
3.2 สือ่ การใช้โปรแกรมเอกสารออนไลน์
3.3 แบบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนกอ่ นเรียนและหลังเรยี น
3.4 แบบประเมนิ สอ่ื การเรียนการสอน
3.5 แบบประเมินความพงึ พอใจของผเู้ รยี นที่มีต่อบทเรียนออนไลน์

4. ข้ันตอนการสร้างเครื่องมอื แตล่ ะประเภท

โดยการพัฒนาหนงั สืออิเล็กทรอนิกส(์ E-Book)เพื่อสง่ เสริมความสามารถการใช้โปรแกรมเอกสารออนไลน์
ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 มีขั้นตอนการออกแบบ ดงั น้ี

ในการวจิ ยั ครง้ั นมี้ ลี าดับขัน้ ตอนในการสร้างเคร่อื งมอื ดงั น้ี
1. ศกึ ษาสภาพปญั หาในหอ้ งเรียนในการจัดการเรยี นการสอน รายวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

(วิทยาการคานวณ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
2. สะทอ้ นปญั หาในชน้ั เรยี นที่เกดิ ข้นึ เพ่อื หาแนวทางในการแก้ปัญหา
3. ศกึ ษาหลักสูตรและคมู่ อื หลักสูตรแกนลางการศกึ ษาขน้ึ พนื้ ท่ี พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560)
4. วิเคราะห์เนอื้ หา เรื่องการใช้โปรแกรมเอกสารออนไลน์ เพอ่ื กาหนดเนอื้ หาทใ่ี ช้ในกจิ กรรมการเรียนการ

สอน
5. ศึกษาวิธกี ารสอนเพอ่ื จะได้จัดการเรยี นการสอนในหอ้ งได้
6. ศึกษาวิธกี ารพฒั นาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book)
7. สรา้ งแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการใช้โปรแกรมเอกสารออนไลน์
8. นาไปทดลองสอนกบั คณะครูผเู้ ช่ยี วชาญในศาสตรว์ ชิ าตา่ ง ๆ เพอื่ วิเคราะหข์ อ้ ดแี ละข้อเสยี ของแผนการ
จัดการเรยี นรแู้ ละส่ือนาไปใชก้ ับนักเรยี น
9. เตรียมแผนจัดการเรียนรู้ท่ีได้ปรับปรุงเรียบร้อยแล้วนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกับ
ผเู้ รียน

5. การดาเนนิ การวจิ ัย

ในการวิจยั ครง้ั นี้ ผวู้ ิจัยได้ทาการเกบ็ รวบรวม โดยดาเนนิ การตามข้ันตอน ดงั น้ี
การวจิ ยั ครั้งน้ีผู้วิจยั กาหนดขนั้ ตอนการดาเนนิ การวิจัย ดังตอ่ ไปน้ี
1. ศกึ ษาขอ้ มูลพื้นฐานการใช้โปรแกรมเอกสารออนไลน์ของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที6
2. วางแผนการจดั การเรียนรู้

2.1 วเิ คราะห์เนอ้ื หา
2.2 วเิ คราะห์ความสามารถการใชโ้ ปรแกรมเอกสารออนไลน์

3. จัดการเรยี นรู้
การพฒั นาหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์(E-Book)เพ่ือสง่ เสรมิ ความสามารถการใชโ้ ปรแกรมเอกสารออนไลน์ ของนกั เรียน
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

3.1 อธิบายวิธีการใช้โปรแกรมเอกสารออนไลน์ เพื่อพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์(E-Book)
ของนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 หลังจากนน้ั ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาการใชโ้ ปรแกรมเอกสารออนไลน์ ในห้อง
คอมพิวเตอร์ โดยกาหนดให้ใช้คอมพวิ เตอร์ 1 เคร่ือง ตอ่ นักเรยี น 1 คน

3.2 ใหน้ ักเรียนทาแบบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนความสามารถการใช้โปรแกรมเอกสารออนไลน์
4. รวบรวมคะแนนท่ไี ด้จากการทาแบบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
5. หาระดบั ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอ่ การเรียนโดยใช้หนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ (E-Book)
6. ประเมินผลการจัดการเรยี นรู้

6. การรวบรวมขอ้ มลู และเครื่องเก็บรวบรวมข้อมลู

ในการรวบรวมข้อมูลในคร้ังนี้ ผู้วิจัยได้เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยกลุ่มตัวอย่างจะศึกษาด้วย
บทเรียนออนไลน์ตามลาดับ ดงั น้ี

6.1 ครชู แี้ จงและอธิบายการใชโ้ ปรแกรมเอกสารออนไลน์
6.2 ทาการทดสอบก่อนเรียน (Pretest) กลุ่มตัวอย่างโดยใชแ้ บบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง
การใชโ้ ปรแกรมเอกสารออนไลน์ ทีผ่ ู้วิจัยสรา้ งขึ้นจานวน 20 ข้อ
6.3 ดาเนนิ การทดลองโดยให้ผู้เรียนทาการศึกษาบทเรยี นออนไลน์ โดยใชเ้ วลาทดลองทั้งหมด 3 สัปดาห์
สปั ดาหล์ ะ 1 ชั่วโมง รวมท้ังหมด 3 ช่ัวโมง
6.4 เมื่อสิ้นสุดการทดลองวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนโดยใช้แบบทดสอบฉบับเดียวกันกับก่อน
เรยี น
6.5 นาคะแนนท่ีไดจ้ ากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน (Pro - test) และ (Post - test)
ไปวิเคราะหห์ าขอ้ มูลทางสถติ ิ

7 การวิเคราะห์ขอ้ มูล

ผวู้ ิจัยได้ดาเนินการวเิ คราะห์ขอ้ มูลตา่ งๆ ดงั น้ี
7.1 การวเิ คราะหแ์ บบทดสอบแบบองิ เกณฑ์
แบบทดสอบทจ่ี ะนามาวิเคราะห์ต้องเป็นแบบทดสอบแบบเลอื กตอบท่มี ีวิธีให้คะแนน 1 คะแนน สาหรับ
คาตอบทถ่ี ูกต้อง และ 0 คะแนน สาหรบั คาตอบท่ีผดิ
7.2 การหาค่าเฉล่ีย
ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและค่าร้อยละของคะแนนที่ได้จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นกั เรียนกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น
7.3 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามเกณฑ์มาตรฐาน80/80 โดยใช้
คา่ เฉล่ยี ร้อยละ

7.4 เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิก์ อ่ นเรยี นและหลังเรียน โดยใช้ t – test Pairs (Dependent Samples)
7.5 วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ โดยนาผลจากแบบสอบถามมา
ตรวจหาคา่ ใหค้ ะแนน ดังนี้

ดีมาก ตรวจให้ 5 คะแนน
ดี ตรวจให้ 4 คะแนน
ปานกลาง ตรวจให้ 3 คะแนน
นอ้ ย ตรวจให้ 2 คะแนน
น้อยทีส่ ดุ ตรวจให้ 1 คะแนน
จากนั้นหาคา่ เฉลยี่ และนามาแปลความหมายตามเกณฑ์ ดังน้ี
4.51 – 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจมากทส่ี ุด
3.51 – 4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก
2.51 – 3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง
1.51 - 2.50 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจนอ้ ย
1.00 - 1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สุด

8. สถติ ทิ ี่ใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล

ในการวิจัยครัง้ น้ี ผูว้ จิ ัยไดว้ เิ คราะหข์ ้อมูลตา่ งๆ โดยใช้ค่าสถิติ ดงั ต่อไปนี้
๘.๑ ค่าเฉลย่ี Mean โดยใชส้ ตู รดังน้ี ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ (2538, หน้า 73)

∑x
x̅ = N

เมื่อ x̅ แทน คะแนนเฉลยี่
∑x แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด
N แทน จานวนของคนในกลุ่มตัวอย่าง

8.2 คา่ ความยากงา่ ยของแบบทดสอบ บญุ ชม ศรีสะอาด (2556, หน้า 122)
R

p=N

เมอื่ P แทน คา่ ความยากงา่ ย
R แทน จานวนคนท่ที าขอนนั้ ถูก
N แทน จานวนคนทที่ าขอนนั้ ทั้งหมด

8.3 ความเที่ยวตรงของแบบทดสอบใชส้ ตู รของคเู ดอร์ ริชาร์ดสัน พรรณี ลีกจิ วฒั นะ(2553, หนา้ 203)

สตู ร = . (1 − ∑ 2 . )
−1

เม่อื r t t คอื คา่ ความเช่ือมั่น
k คือ จานวนข้อสอบทั้งหมด

p คือ อัตราสว่ นของผู้ตอบถกู ของขอ้ สอบ

q คือ อัตราสว่ นของผู้ตอบผดิ ของข้อสอบ
S2 คอื ค่าแปรปรวนของข้อสอบทั้งฉบบั

บทท่ี4

ผลการวจิ ัย
การวจิ ยั ครง้ั นม้ี ีวตั ถุประสงค์เพ่ือ
................................................................................................................................. ...................................................
....................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................………………...... ...........................................
............................................................................................................................. .......................................................
................................................................ .................................................................................................... ................
........................................................................................................................................... .............................
โดยเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู เป็นลาดับตามวตั ถุประสงค์ของการวิจัยดังน้ี
ผลการศึกษา
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.................................................................................................................………………..................................... ............
....................................................................................................................... .............................................................
............................................................................................................................. .......................................................
......................................................................................................................................................... ...............
ผลการวิจยั
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.................................................................................................................………………...... ...........................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................................ ............................

บทท่ี5

สรุปผลและข้อเสนอแนะ

การวจิ ยั เรอ่ื ง .............................................................................................................................................
ซงึ่ ไดศ้ ึกษาถงึ ปัญหาทเี่ กิดขนึ้ ..................................................................................................................................
สถานศกึ ษา...............................................................................................................................................................
รายวิชา......................................................................................................................................... ............................
จานวน.........................คน เมอื่ ภาคเรียนที่...........................ปกี ารศึกษา..................................................................
สรุปผลการวิจัยให้สรุปย่อเป็นความเรยี งหรือแยกเป็นหัวข้อตามลาดบั วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั
....................................................................................................................... .............................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.................................................................................................................………………..................... ............................
....................................................................................................... .............................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................................ ..........................
ขอ้ เสนอแนะ

1.ขอ้ เสนอแนะจากการวิจัยคร้ังนี้
(ขอ้ บกพร่อง ข้อแกไ้ ข ข้อควรระวัง ข้อดี-ข้อควรปฏิบตั ิ)

............................................................................................................................. .......................................................
................................................................................................................................................................................. ...
.................................................................................................................………………...... ...........................................
............................................................................................................................. .......................................................
................................................................................................................................................................. ...................
................................................................................................... ....................................................................
2.ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจยั ครง้ั ตอ่ ไป
(เรื่อง/หวั ข้อวชิ า/ วธิ ีการ/ ฯลฯ ทคี่ วรทาวจิ ยั ตอ่ )
.................................................................................................... ................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.................................................................................................................………………...... ...........................................
.................................................................................... ................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.......................................................................................................................................... ..............................

บรรณานกุ รรม

จิระพนั ธ์ เดมะ.(2545 ,มกราคม-เมษายน).หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์.วารสารวิทยบรกิ าร
ทพิ ย์มณฑา สดชื่น.(2544).การพฒั นาหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ เร่อื งการถ่ายภาพเบอื้ งตน้ .วทิ ยานิพนธ์

ศษ.ม.(เทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา).สงขลา:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์.ถ่ายเอกสาร.
ประภาพรรณ หริ ัญวชั รพฤกษ.์ (2545,กนั ยายน-ธันวาคม).e-books: หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์

ในฐานะแหลง่ สารนเิ ทศ ออนไลน์: 43-48
ปุณยาพร ปฐมพัฒนา. (2550:33).การพัฒนาบทเรียนสาเร็จรูปเร่ืองการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารสาหรับ

นกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านทงุ่ สมอ จังหวัดเพชรบรู ณ์. สถาบนั พฒั นาครู คณาจารยแ์ ละ
บุคลากรทางการศกึ ษา.
เพ็ญนภา พัทรชนม์.(2544).การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ืองกราฟิกเบ้ือต้น.วิทยานิพนธ์ ปริญญา
ศกึ ษาศาสตร์มหาบณั ฑิต สงขลา:บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์.ถ่ายเอกสาร.
พิเชษฐ เพียรเจรญิ .(2546).การพฒั นาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรอ่ื ง สื่อการเรียนการสอน.ปตั ตาน:ี สานกั วิทยา
บรกิ าร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร.์ ถา่ ยเอกสาร.
ราชบัณฑิตยสถาน.(2555).พจนานุกรมศัพทศ์ ึกษาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.กรุงเทพฯ: อรุณการพมิ พ์.
สุทิน ทองสไว.(2547,ตุลาคม-ธันวาคม).วารสารวชิ าการ ปที ่ี 7 ฉบบั ที่ 4.
สิทธิพร บุญญานุวัตร.(2540).ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ในการสอนและฝึกประสบการอบรม.วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา.
เสาวลักษณ์ ญาณสมบัติ.(2545). ).การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง นวัตกรรมการสอนท่ียึดผู้เรียนเป็น
สาคัญ.วทิ ยานิพนธ์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
ศิริชัย นามบุรี. (2542). CAI ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. วันท่ีค้นข้อมูล 5 ตุลาคม 2564, เข้าถึงได้
จาก http: // yalor.yru.ac.th
Higgins, C. & Hess. (1998). Affective disposition and the letter of reference. Organizational
Behavior and Human Decision Processes. 75. 207-221.


Click to View FlipBook Version