The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chimsunkh, 2021-09-15 01:02:51

PMQA4 nidtep

PMQA4 nidtep

คำนำ

ด้วยตามคำสั่งสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ที่ 234/2564 เรื่อง แต่งต้ัง
คณะทำงานขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการจัดการภาครฐั ของสถาบันพฒั นาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการ
ศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หมวดท่ี 4 การวัด วเิ คราะห์ และการจดั การความรู้ เพอื่ เป็นการรวบรวม
ขอ้ มูลองค์ความรู้ในองค์กร การจัดการความรู้มจี ุดประสงคเ์ พื่อมุ่งเน้นให้เกดิ การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ในองค์กร ให้ได้
องค์ความรู้ที่สำคัญมีผลต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยครอบคลุม
การปฏิบตั ิราชการในทุกส่วนของสถาบนั พัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา

การจัดทำแผนการจัดความรู้เป็นกระบวนการสำคัญเพื่อให้การจัดความรู้บรรลุตามวัตถุประสงค์ดังน้ัน
สถาบันพัฒนาครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาจึงได้ศึกษารวบรวมองค์ความรู้เพื่อเป็นแนวทางในการ
บริหารจดั การภาครัฐต่อไป

คณะทำงานหมวด 4 การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้
สถาบนั พฒั นาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา

สรปุ การถอดบทเรียนท่ไี ดจ้ ากการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้
ของสำนัก/หน่วยงานในสงั กัด สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

สำนัก/หนว่ ยงาน : สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ (สถาบันพฒั นาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา)

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ : 2 การผลติ และพัฒนากำลงั คนการวจิ ยั และนวตั กรรมเพอื่ สร้างขดี ความสามารถ
ในการแขง่ ขันของประเทศ

๑. ช่ือองค์ความรู้
การจัดประชุมทางวิชาการเพื่อนำเสนอผลงานและนวัตกรรมทางวิชาการของผู้บริหาร ครูและบุคลากร

ทางการศกึ ษา

๒. ที่มา หรือความจำเปน็ หรือการไดม้ า ของเนือ้ หาองคค์ วามรู้
๒.๑ ความรู้ทใ่ี ชใ้ นการดำเนนิ งาน
สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

ทำหน้าที่เป็นผู้สนับสนุนส่งเสริมการศึกษา วิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางวิชาการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใน
เชิงวิชาการนำไปสู่การพัฒนาการศึกษาของประเทศ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
ทรัพยากรมนุษย์ ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีสมรรถนะที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะที่จำเป็นของผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21 การจัดประชุมทางวิชาการ เพื่อนำเสนอผลงานและนวัตกรรมทางวิชาการของผู้บริหาร ครูและ
บุคลากรทางการศึกษา มีจุดมุ่งหมายให้เป็นเวทีในการเผยแพร่ผลงานและนวัตกรรมทางวิชาการของผู้บริหาร ครู
และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้พฒั นาการวิจัยเพ่ือ
พัฒนาผลงานและนวัตกรรมทางวิชาการเกิดการพัฒนาผลงานและนวัตกรรมทางวิชาการท่ีเข้มแขง็ ได้แลกเปลี่ยน
ประสบการณ์ทางวชิ าการร่วมกัน

ขอบข่ายของผลงานและนวัตกรรมทางวิชาการ ได้แก่ ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา โดย
แบ่งประเภทของงานวิจัยและนวัตกรรม เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มการบริหารการศึกษา กลุ่มการพัฒนาเทคโนโลยี
และนวัตกรรมเพือ่ พฒั นาการศึกษา และ กลมุ่ การพฒั นาการเรยี นการสอน โดยมหี ลักการดังนี้

1) การส่งเสริมให้ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้มีโอกาสเผยแพร่ผลงานสู่แวดวง
วิชาการและสาธารณชนทัว่ ไป

2) สร้างเวทีในการเผยแพร่ แลกเปลี่ยนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ระหว่างผู้บริหาร ครู บุคลากร
ทางการศึกษาและองค์กรเครือข่ายต่าง ๆ ในการสร้างประสบการณ์และการพัฒนา การนำเสนอผลงานนวัตกรรม
ทางวิชาการ ทส่ี ามารถตอ่ ยอดไปสูเ่ วทกี ารประชุมวิชาการระดับประเทศ

สาระสำคัญ คือ ทำให้เกิดผลทางอ้อมให้ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา เกิดการพัฒนา
งานวิจัยและนวัตกรรมในการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมให้เกิดสมรรถนะทางวิชาชีพ สามารถนำผลการ
พฒั นางานวจิ ัยและนวัตกรรมไปใช้ในการปฏิบัตงิ านอย่างเป็นระบบ ดงั นี้ 1) การศึกษาเรยี นรู้ด้วยตนเองเพื่อเข้าใจ
ในบริบทหน้าที่ของกลุ่มเป้าหมาย 2) การพัฒนานวัตกรรมโดยนำความรูจ้ ากการศึกษา 3) การทดลองและศึกษา
ในสภาพบริบทจริง 4) แลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ และ 5) การนำผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปใช้ในการ
พฒั นา

๒.๒ ข้นั ตอนและวธิ ีการดำเนินงาน
เพื่อให้การอธิบายขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน ขอนิยามศัพท์เพื่อสร้างความเข้าใจในการอธิบาย

ขั้นตอนตา่ ง ๆ ดงั นี้
“คณะทำงาน” หมายถึง คณะกรรมการดำเนินการจัดการประชุมทางวิชาการเพื่อนำเสนอผลงาน

และนวตั กรรมทางวชิ าการของผูบ้ ริหาร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
“กลุ่มเป้าหมาย” หมายถึง ผนู้ ำเสนอผลงานและนวตั กรรมทางวชิ าการ ในรปู แบบของบทความวิจัย

ในการจัดการประชุมทางวิชาการเพื่อนำเสนอผลงานและนวัตกรรมทางวิชาการของผู้บริหาร ครูและบุคลากร
ทางการศึกษา

“ผทู้ รงคณุ วฒุ ”ิ หมายถึง นักวชิ าการ คณาจารยม์ หาวิทยาลัย ทม่ี ปี ระสบการณ์และความเช่ียวชาญ
ในการทำวิจัย และการประเมินคุณภาพบทความวิจัย และเป็นที่ปรึกษางานวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษาของ
มหาวิทยาลัย โดยทำหน้าที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในการพิจารณาคัดเลือกให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไข พร้อม
ประเมินผลงานและนวัตกรรมทางวิชาการของผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้ความเห็นหรือ
ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ แก้ไขเอกสารให้มีความครบถ้วน ถูกตอ้ งทางวชิ าการ ประเมินคุณภาพของผลงานและ
นวัตกรรมทางวชิ าการ คดั เลือกผ้นู ำเสนอผลงานในรูปแบบการบรรยายดีเดน่ ตามหลกั เกณฑ์ทก่ี ำหนด

“บทความวจิ ยั ” หมายถึง ข้อเขยี นท่ีกลุม่ เป้าหมายดำเนนิ การ จัดทำโดยใช้ขอ้ มูลงานวจิ ัยของตนเอง
จดั พิมพใ์ นรปู แบบทีค่ ณะทำงานกำหนด

สำหรบั ข้นั ตอนและวิธีการดำเนินการได้ใช้กระบวนการคดิ เชิงออกแบบ (Design Thinking) ร่วมกับ
ขน้ั ตอนการนำเสนอและถอดบทเรียนในการดำเนนิ การ มขี นั้ ตอน 5 ข้นั ตอนดังน้ี

ข้นั ตอนที่ 1 การทำความเข้าใจ (Empathize)
แต่งตั้งคณะทำงาน สรรหาผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อศึกษาข้อมูล จัดทำเกณฑ์การคัดเลือก ดำเนินการจัด

ประชมุ ทางวชิ าการเพื่อนำเสนอผลงานและนวัตกรรมทางวิชาการของผ้บู ริหาร ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา

ขน้ั ตอนท่ี 2 กำหนดประเด็น (Define)
คณะทำงานกำหนดกลุ่มเป้าหมาย ประชาสัมพันธ์ ดำเนินการคัดเลือกผลงานวิจัยและนวัตกรรม

ทางวชิ าการ ภายใต้บทบาทและหน้าทีใ่ นการรับผดิ ชอบให้ตรงกบั กลมุ่ ของบทความ ไดแ้ ก่
1) กลุ่มการบริหารการศึกษา ได้แก่ การนิเทศการศึกษา ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

การศึกษา การบริหารการจัดการเรียนรู้ การบริหารหลักสูตร การบริหารโครงการ การประกันคุณภาพ
สถานศึกษา ภาวะผู้นำทางการศึกษา นวัตกรรมการบริหารการศึกษา การบริหารสมรรถนะบุคลากร ฯลฯ

2) กลุ่มการพัฒนากระบวนการเรียนการสอน ได้แก่ การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ การ
พัฒนาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน การยกระดับผลสัมฤทธิ์การ
จัดการเรียนรู้ ฯลฯ

3) กลุ่มการพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการศึกษา ได้แก่ การพัฒนาสื่อเพื่อการจัด
การเรียนการสอน การพัฒนาเทคโนโลยีการศึกษา การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา แพลตฟอร์มเพื่อสนับสนุน
การจัดการเรียนรู้ ฯลฯ

หลังจากนั้นกลุ่มเป้าหมายดำเนินการส่งบทความมายังคณะทำงาน เพื่อพิจารณาตามเ กณ ฑ์
การคดั เลอื ก

ข้นั ตอนท่ี 3 ระดมความคดิ (Ideate)
คณะทำงานและผู้ทรงคุณวุฒิ พิจารณาบทความงานวิจัยและนวัตกรรมทางวิชาการจาก

กลมุ่ เปา้ หมายตามเกณฑ์การคัดเลือก และจดั ทำข้อเสนอแนะของบทความสง่ ให้กลมุ่ เป้าหมายพิจารณาปรบั ปรุง

ข้ันตอนท่ี 4 คัดเลอื กผลงาน (Selected)
กลุ่มเป้าหมายรับข้อเสนอแนะจากคณะทำงานและปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ ของผู้ทรงคุณวุฒิ

ส่งกลับมายังคณะทำงานและผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาเสนอผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากร
ทางการศึกษา ลงนามประกาศรายชอ่ื บทความงานวิจยั และนวตั กรรมทางวชิ าการทางการศึกษาเพ่ือนำเสนอต่อไป

ขั้นตอนท่ี 5 การนำเสนอ (Presentation)
คณะทำงานดำเนินการจัดประชุมทางวิชาการเพื่อนำเสนอผลงานและนวัตกรรมทางวิชาการของ

ผูบ้ ริหาร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา โดยมีกิจกรรมในการจดั ประชมุ เปน็ 3 ส่วน คอื
1) การบรรยายพเิ ศษ โดย คณะทำงานได้ดำเนนิ การจดั ให้มีการบรรยายพเิ ศษโดย ผบู้ รหิ ารระดับสูง

ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ได้แก่ ปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ และรองปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
2) การเสวนาทางวชิ าการ โดย ผู้ทรงคณุ วุฒผิ มู้ บี ทบาทสำคัญตอ่ ทศิ ทางในการจดั การศึกษา
3) การนำเสนอผลงานบทความงานวิจัยและนวตั กรรมทางวิชาการทางการศึกษา โดย กลมุ่ เปา้ หมาย

ทีผ่ ่านการคัดเลอื ก

ข้ันตอนที่ 6 การสะทอ้ นความคดิ (Reflection)
1) คณะทำงานประเมินการดำเนินการจัดประชุมทางวิชาการ และนำผลการประเมินรายงานต่อ

ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และรองปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ เพื่อขอสัมภาษณ์รบั ฟังข้อเสนอแนะ
2) คณะทำงานดำเนินการจัดประชุมกลุ่มย่อยเพื่อระดมความคิด ติดตาม รับฟังข้อเสนอแนะการ

ดำเนินการจัดประชุมทางวิชาการเพื่อนำเสนอผลงานและนวัตกรรมทางวิชาการของผู้บริหาร ครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา สงั เคราะห์รปู แบบการดำเนนิ การ

๒.๓ ปัญหาอปุ สรรคในการดำเนนิ งาน
1) ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมการสังเคราะห์องค์ความรู้และถอดบทเรียนได้อย่างต่อเนื่องเพราะ

ปญั หาสถานการณโ์ ควิด-๑๙
2) องคค์ วามรู้ที่ไดไ้ ม่มผี ลชัดเจนทางตรงต่อยุทธศาสตร์การพฒั นาคนการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อ

สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ แต่เป็นผลทางอ้อมในการเป็นเวทีในการส่งเสริมการพัฒนา
งานวิจัยและนวัตกรรมทางการศกึ ษา

4) ไม่สามารถจัดเวทีในการแลกเปลี่ยนความรู้และยกย่องชมเชยได้ตามแผนการจัดการ
องคค์ วามรู้เนือ่ งจากเกิดภาวะการแพร่ระบาดของโควดิ -19 ทำให้จำกดั การทำงาน

๒.๔ วิธกี ารแกไ้ ขปญั หาอุปสรรคในการดำเนินงาน
1) ปรับวิธีการดำเนินกิจกรรมการสังเคราะห์องค์ความรู้และถอดบทเรียนโดยใช้วิธีการทำงาน

รว่ มกนั แบบออนไลน์
2) พิจารณาโครงการของสถาบนั พัฒนาครู คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีผลทางตรง

ตอ่ ยุทธศาสตร์ของสำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

3) จดั เวทใี นการแลกเปลี่ยนความรู้และยกย่องชมเชยในรูปแบบอ่ืน เชน่ การตอบคำถาม อภิปราย
แสดงความคดิ เห็นผา่ นช่องทางออนไลน์

๒.๕ กลยุทธห์ รือเทคนิคในการดำเนนิ งานทใ่ี ช้แก้ไขปัญหา อปุ สรรคในการดำเนินงาน
๑) การสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีภายในสถาบันพฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ใน

การขอข้อมลู ในการสังเคราะหอ์ งค์ความรู้เพื่อให้ไดข้ ้อมูลมีประสทิ ธภิ าพและมคี วามชดั เจน
2) การใชเ้ ทคนิคการฟังเชิงรุก (Active Listening) เพือ่ ใชใ้ นการสัมภาษณแ์ ละสังเคราะห์องค์

ความรูผ้ ่านการใช้แบบบนั ทึกการทำความเขา้ ใจ (Empathize Form) ทำให้ได้ข้อมลู เชิงลกึ ทีม่ ีความชัดเจนมากขน้ึ
3) การใชเ้ ทคนิคการคดิ เชงิ ออกแบบ (Design Thinking) ร่วมกับขั้นตอนการนำเสนอและถอด

บทเรยี นทำได้ได้มมุ มองการสงั เคราะห์องค์ความรู้ สามารถลดปญั หาในการทำความเข้าใจองค์ความรู้ ลดอุปสรรค
ในการดำเนนิ งานไดร้ ะดับหนึ่ง

๒.๖ แนวคดิ ท่จี ะพฒั นากลยุทธห์ รือเทคนิควิธกี ารทำงานให้ประสบผลสำเร็จ ให้ดียงิ่ ขน้ึ
๑) การขับเคลื่อนการดำเนินงานการผลิต พัฒนากำลังคนการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างขีด

ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ทำหน้าที่เป็น
เวทีในการนำเสนอผลการศึกษาวิจัย นวัตกรรมการศึกษาเพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมทางวิชาการ ซ่ึง
เป็นผลทางอ้อมในการส่งเสริมการวิจัยแก่ ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้
และพฒั นางานวิจยั นวัตกรรมต่อการพัฒนาการศกึ ษาของประเทศ

2) ควรมีการสร้างช่องทางในการสื่อสารระหว่างครู และบุคลากรทางการศึกษา เป็นช่องทางใน
การเรียนรู้แลกเปลี่ยนร่วมกัน สามารถเข้าถึงได้ง่ายและแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้
รว่ มกนั ในสถาบนั พัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา

3) การขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สร้างการยอมรับและไว้ใจกัน
ตลอดจนสร้างความสัมพันธ์ของบุคลากรในสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา แบบไม่เป็น
ทางการ (Informal Relationship) ให้มากยิ่งขึ้น เพื่อนำสู่ความร่วมมือร่วมใจในการปฏิบัติงานในภาพของความ
เป็นในสถาบนั พัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา และสำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

๓. เอกสารที่ใช้ประกอบการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้
3.1 คำสง่ั แต่งตั้งคณะทางานจัดการความรู้ ของ สป.ศธ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
3.2 คำสั่งสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ที่ 234/2564 เรื่อง แต่งต้ัง

คณะทำงานขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการจัดการภาครฐั ของสถาบนั พัฒนาครู คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการ
ศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หมวดท่ี 4 การวดั วเิ คราะห์ และการจัดการความรู้

3.3 รายงานการประชมุ คณะทำงานขบั เคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการจัดการภาครัฐ ของสถาบันพฒั นาครู
คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หมวดที่ 4 การวัด วิเคราะห์ และการ
จัดการความรู้ วนั จนั ทร์ที่ 4 เดือน มกราคม พ.ศ. 2564

3.4 รายงานการประชมุ คณะทำงานขบั เคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการจัดการภาครัฐ ของสถาบนั พฒั นาครู
คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หมวดที่ 4 การวัด วิเคราะห์ และการ
จัดการความรู้ วันจันทรท์ ่ี 1 เดือน มนี าคม พ.ศ. 2564

3.5 แผนการจัดการความรสู้ ำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4
3.6 แบบรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนการจัดการความรู้ของสำนักงานปลัดกระทรวง
ศกึ ษาธิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

4. แสดงแผนภาพ (Flow Chart) ข้นั ตอนการทำงาน

เรมิ่ ตน้

ขน้ั ตอนท่ี 1 การทำความเข้าใจ ❖ แตง่ ตั้งคณะทำงานและดำเนนิ การ
(Empathize) ❖ สรรหาผู้ทรงคณุ วุฒิ
❖ ศกึ ษาขอ้ มลู

❖ จัดทำเกณฑก์ ารคัดเลือก

ขั้นตอนท่ี 2 กำหนดประเด็น คณะทำงานกำหนดกลุม่ เปา้ หมาย ประชาสมั พันธใ์ ปยังกลมุ่ เปา้ หมาย
(Define) 1) กลุ่มการบริหาร
2) กล่มุ การพัฒนากระบวนการเรยี นการสอน กลุ่มเปา้ หมายจดั ทำบทความ
3) กลมุ่ การพฒั นาสอื่ เทคโนโลยี และ
นวัตกรรมการศึกษา

ขั้นตอนที่ 3 ระดมความคดิ ตรวจสอบบทความ ไมผ่ า่ น
(Ideate) งานวจิ ยั และนวตั กรรม
ดำเนนิ การปรับปรุงแกไ้ ข
วิชาการ

ขน้ั ตอนท่ี 4 คดั เลือกผลงาน ผ่าน ไม่ผา่ น
(Selected)
คดั เลอื กบทความงานวจิ ยั สง่ คนื กลุ่มเปา้ หมาย
และนวัตกรรมทางวชิ าการ

ทางการศกึ ษา

ขั้นตอนท่ี 5 การนำเสนอ ผ่าน
(Presentation) นำเสนอผลงานบทความงานวจิ ยั และนวตั กรรมทางการศึกษา

ขน้ั ตอนที่ 6 การสะทอ้ นความคดิ ประเมินการดำเนนิ การ
(Reflection)

จบ

คณะทำงาน

1. นายณัฐวิญญ์ สิรเดชธราทพิ ย์ ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ หัวหนา้ คณะทำงาน
2. นางสาววรรษมน จันทร์โอกลุ
3. นางสาวจไุ รรัตน์ โพธ์ลิ ักษณ์ นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ คณะทำงาน
4. นายธรี วีร์ มานติ กุล
5. นางผการัตน์ เมฆฉาย นักทรัพยากรบุคคลปฏิบตั กิ าร คณะทำงาน
6. นายกระจา่ ง เชื้ออภยั
7. นายวฒุ ิไกร ไผโ่ สภา นักทรพั ยากรบุคคลปฏิบัตกิ าร คณะทำงาน
8. นางสาวมลฤดี นราพงษ์
9. นายกติ ติพิเชษฐ์ มณโี ชติ นายช่างศลิ ป์ชำนาญงาน คณะทำงาน
10. นางสาวพรรัตน์ แสงศรแี ก้ว
11. นางบัวศรี อบุ ลศลิ ป์ เจ้าหน้าทพ่ี สั ดปุ ฏิบตั ิงาน คณะทำงาน
12. นางสาวพลอยระวี คำสุข
เจา้ หนา้ ทพี่ นักงานธรุ การปฏิบัติงาน คณะทำงาน

ครผู ้ชู ่วย คณะทำงาน

ครผู ู้ชว่ ย คณะทำงาน

ครผู ชู้ ว่ ย คณะทำงาน

ครูผู้ชว่ ย คณะทำงานและเลขานุการ

เจา้ หนา้ ทีก่ ารเงินและบญั ชีปฏบิ ตั ิงาน คณะทำงาน

และผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร

ภาคผนวก

- แผนผังการดำเนนิ การ
- แผนการดำเนนิ การ
- ภาพประกอบการดำเนนิ การ

















ประชมุ คณะทำงานครั้งท่ี 1

วนั จนั ทร์ที่ 4 เดอื น มกราคม พ.ศ. 2564
ณ ห้องประชุม 3205 อาคารอำนวยการ สคบศ.

การจัดทำหมวดหมู่องคค์ วามรู้

ประชุมคณะทำงานครั้งท่ี 2

วันจันทร์ท่ี 1 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2564
ณ หอ้ งประชุม 3205 อาคารอำนวยการ สคบศ.

การรวบรวมประเด็นองคค์ วามรู้


Click to View FlipBook Version