ก
ข คำนำ แผนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาประจำปีงบประมาณ 2566 เล่มนี้ มี วัตถุประสงค์เพื่อกำหนด แนวทางการดำเนินการติดตามตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาประจำปี งบประมาณ 2566 โดยกำหนดกรอบ ในการดำเนินงานเป็น 2 มิติ คือ มิติด้านการบริหารจัดการ และมิติด้านผล การดำเนินงาน การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา รวมถึงแนวทางการนำแผนปฏิบัติการไป ใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ขอขอบคุณคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา และคณะศึกษานิเทศก์ ที่ร่วมเป็น คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษาในครั้งนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนปฏิบัติ การติดตาม ตรวจสอบประเมินผล และนิเทศการศึกษาในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับการนำผลการติดตาม ตรวจสอบ ไปวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้งนำไปปรับใช้เพื่อให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายได้ กลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สพป.น่าน เขต 1 มกราคม 2566
ค สารบัญ หน้า คำนำ ค สารบัญ ง หลักการและเหตุผล 5 วัตถุประสงค์ 6 เป้าหมาย 6 วิธีการดำเนินงาน 27 กระบวนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา 28 เครื่องมือที่ใช้ 32 การเก็บรวบรวมข้อมูล 33 การวิเคราะห์ข้อมูล 34 ปฏิทินการดำเนินงาน แบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการจัดการศึกษา ปีการศึกษา 2564 40
หลักการและเหตุผล การปฏิรูปการศึกษามีความมุ่งหมายที่จะจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็น คนดี มีความสามารถและอยู่ร่วมกับสังคมอย่างมีความสุข การดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีพลังและมี ประสิทธิภาพ จำเป็นที่จะต้องมีการกระจายอำนาจและให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ซึ่งสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๔๓ ที่กำหนดให้บุคคลย่อมมีเสรีภาพเสมอกัน ในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด บทบาทหน้าที่คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษาไว้ 6 ประการ ดังนี้1)ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการนำมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานมากำหนดเป็นแนวทางในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการบริหารและการ ดำเนินการของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา 2) กำหนดแนวทางการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย การบริหารและการดำเนินการของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา 3) พิจารณาแผนการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา โดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด เขตพื้นที่การศึกษา 4) ติดตามตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษา และดำเนินการตามแผนงานที่ กำหนด 5) รับทราบผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการบริหารและการดำเนินการและให้ ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง และ 6) ส่งเสริมให้มีการประสานการ ดำเนินการกับคณะกรรมการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น เพื่อให้มีการส่งเสริม สนับสนุน ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่ การศึกษาเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน จึงได้ ดำเนินการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งจัดประชุมเพื่อทราบ ความก้าวหน้าการจัดการศึกษา ตลอดจนพิจารณาแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สัมฤทธิ์ผล และเป็น แนวทางในการสร้างความร่วมมือของทุกฝ่ายให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นอีกแนวทางในการดำเนินงาน ยกระดับคุณภาพการศึกษาผ่านการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมรวมทั้งเพื่อให้สถานศึกษาได้รับการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศอย่างเป็นระบบต่อเนื่องและทั่วถึง 1) วัตถุประสงค์ เพื่อติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา โรงเรียนในสังกัดอย่างครอบคลุมและ ต่อเนื่อง 2) เป้าหมาย • เป้าหมายเชิงผลผลิต สถานศึกษาทุกแห่งในสังกัดที่เปิดการเรียนการสอนจำนวน 137 แห่ง ( รวมทั้งโรงเรียน ที่มาเรียนรวม) ได้รับการติดตามตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ทุกด้านทั้งด้านบริหารงานวิชาการ บริหารงาน งบประมาณ บริหารงานบุคคล และบริหารทั่วไป
5 • เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome) สถานศึกษาในสังกัดมีความเข้มแข็งทางด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากร และบริหารงาน ทั่วไป • ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ - เชิงปริมาณ สถานศึกษาในสังกัดจำนวน 137 โรงเรียนได้รับการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ การศึกษาอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง - เชิงคุณภาพ สถานศึกษาในสังกัดมีผลการประเมินผลการปฏิบัติงานด้านวิชาการ บริหารงานงบประมาณ บริหารงานบุคลากร และบริหารทั่วไป อยู่ในระดับดีขึ้นไป (ค่าเฉลี่ยระดับ 3.51 ขึ้นไป จาก 5 ระดับ) • ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ความเป็นระบบ ความถูกต้องตามระเบียบ และผลสัมฤทธิ์ด้านการบริหารงานวิชาการ งาน บริหารงานงบประมาณ บริหารงานบุคลากร และบริหารทั่วไป • กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ที่ได้รับผลประโยชน์ ผู้เรียน สถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา 3) ระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดโครงการ.....( 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566).......... วิธีการดำเนินงาน ในการดำเนินงานการขับเคลื่อนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) มีกระบวนการดำเนินงานตามผังการดำเนินงาน (Flow chart) ดังนี้ 1. เสนอโครงการ กิจกรรม กระบวนการดำเนินงาน ประจำปีการศึกษา และขอรับการสนับสนุน งบประมาณสำหรับดำเนินงานตามโครงการ กิจกรรม 2. วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ของแต่ละ กลุ่มโรงเรียน และการบริหารงานในแต่ละด้าน 3. จัดทำแผนปฏิบัติการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ขอรับการเห็นชอบ ข้อเสนอแนะ และขอรับการอนุมัติการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน 4. ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ จัดทำเอกสาร เครื่องมือ แบบประเมิน แนวทาง วิธีการดำเนินงาน ติดตาม ตรวจสอบประเมินผล และนิเทศการศึกษา ตามกระบวนการดำเนินงานตามรูปแบบ Analysis Planing Doing Checking Empower & Lesson Learn คือการร่วมวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน การมีส่วนร่วมในวาง
6 แผนการดำเนินงาน การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการมีส่วนร่วมในการลงพื้นที่ติดตาม ตรวจสอบประเมินผล และ นิเทศการศึกษา การมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุน และการมีส่วนร่วมในการถอดบทเรียนความสำเร็จ 5. นำผลการติดตาม ตรวจสอบประเมินผล และนิเทศการศึกษาของแต่ละกลุ่มโรงเรียน รวบรวม สรุป วิเคราะห์ และจัดทำสรุปผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 6. นำเสนอผลการรายงานสรุปผลการติดตาม ตรวจสอบประเมินผล และนิเทศการศึกษา ผลการ วิเคราะห์ผล ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนา เสนอต่อคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศเพื่อ พิจารณาให้ข้อเสนอแนะ คำแนะนำ และแนวทางการนำไปปฏิบัติ พร้อมทั้งนำเสนอต่อสาธารณาชน และ ผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน 7. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์เผยแพร่ และแนวทางการนำไปปฏิบัติ โดยมีกระบวนการดำเนินงานตามแผนผังการดำเนินงาน ดังนี้
7 กระบวนการขับเคลื่อนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ด้วยรูปแบบการมีส่วน ร่วมของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา จัดทำแผนปฏิบัติการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และ นิเทศการศึกษา ปรับปรุงแก้ไข ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการจัดการศึกษา ถอดบทเรียน/จัดทำรายงานเผยแพร่/แนวทางการนำไปพัฒนา รวบรวม สรุปผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา นำเสนอผลการติดตามตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษา 5vf ปรับปรุงแก้ไข วิเคราะห์ผลการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา/สรุปผล เสนอโครงการ เขียนสรุปรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาด้วยการมีส่วนร่วม
8 กระบวนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การนิเทศติดตามการเตรียมความพร้อมเปิดภาคเรียน เป็นการนิเทศติดตาม ข้อมูลพื้นฐานความพร้อมในการเปิดภาคเรียน โดยใช้แบบนิเทศติดตามการเตรียม ความพร้อมเปิดภาคเรียนของโรงเรียน ดำเนินการในช่วงเดือนแรกของปฏิทินการเปิดภาคเรียน ปีละ 2 ครั้ง กระบวนการดำเนินงานมีดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะคณะกรรมการนิเทศติดตาม ประเมินผล การเตรียมความพร้อมสำหรับเปิดภาคเรียนของ โรงเรียนแต่ละกลุ่มโรงเรียน 2. ดำเนินการนิเทศติดตามให้เสร็จสิ้นภายใน 1 เดือนแรกของการเปิดภาคเรียน 3. สรุปผลการเตรียมความพร้อมเปิดภาคเรียน และนำผลการเตรียมความพร้อมวางแผนการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษา ระยะที่ 2 การนิเทศติดตามการดำเนินงานตามนโยบาย 1. แต่งตั้งคณะคณะกรรมการนิเทศติดตาม ประเมินผล ตามนโยบายของโรงเรียนแต่ละกลุ่มโรงเรียน 2. ดำเนินการนิเทศติดตามการดำเนินงานตามนโยบายของแต่ละโรงเรียน และการดำเนินการพัฒนา คุณภาพการเรียนการสอนตลอดปีการศึกษา 3. สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบาย ระยะที่ 3 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการบริหารจัดการทั้งระบบของสถานศึกษา คณะกรรมการติดตามตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) ของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 และคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการบริหารจัด การศึกษา (อ.ก.ต.ป.น) ดำเนินการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาตามแผนปฏิบัติการในพื้นที่ 17 กลุ่มโรงเรียน โดยใช้ แบบนิเทศติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษาของโรงเรียน และงานนโยบาย กระบวนการประเมินมีดังนี้ 1. โรงเรียนประเมินผลการดำเนินงานของโรงเรียน 2. คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ลงพื้นที่ประเมินผลแลกเปลี่ยน เรียนรู้ผลการประเมินโรงเรียน วิเคราะห์ผลการประเมินในภาพรวมของแต่ละกลุ่มโรงเรียน และวิเคราะห์ผลตาม ผลการประเมินด้านสัมฤทธิ์ผล (O-NET, NT, RT) 3. คณะอนุกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาลงพื้นที่ประเมินผลแลกเปลี่ยน เรียนรู้ผลการประเมินโรงเรียน วิเคราะห์ผลการประเมินในภาพรวมของแต่ละกลุ่มโรงเรียน และวิเคราะห์ผลตาม ผลการประเมินด้านสัมฤทธิ์ผล (O-NET, NT,RT)
9 3. คณะอนุกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา วิเคราะห์และสรุปผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษา 4. คณะกรรมการนิเทศ ติดตามประเมินผลและนิเทศการศึกษาลงพื้นที่ให้ความช่วยเหลือโรงเรียนที่อยู่ใน กลุ่มเร่งพัฒนา ตามกลุ่มเป้าหมาย การสรุป และรายงานผล 1. เลขานุการ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา และผู้ช่วยเลขานุการ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา สรุปและรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา เสนอต่อคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา 2. ประธาน คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 เครื่องมือที่ใช้ 1. แบบนิเทศติดตามการเตรียมความพร้อมเปิดภาคเรียน 2. แบบนิเทศติดตาม การดำเนินงานตามนโยบาย 3. แบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา โดยในเครื่องมือ แบ่งเป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน ตอนที่ 2 การดำเนินงานของโรงเรียน 2.1 ด้านวิชาการ 2.2 ด้านบริหารงานงบประมาณ 2.3 ด้านการบริหารงานบุคลากร 2.4 ด้านบริหารทั่วไป 2.5 ด้านการดำเนินงานตามนโยบาย สพฐ. และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 4. เครื่องมือในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ใช้แบบทดสอบระดับชาติRT,NT
10 การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. คณะกรรมการแต่ละชุด ดำเนินการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการจัดการศึกษา จำนวน 16 คณะ ครอบคลุมทั้ง 16 กลุ่มโรงเรียน 2. ส่งเครื่องมือการประเมินให้กับโรงเรียนเพื่อให้โรงเรียนใช้เป็นกรอบในการดำเนินงาน และใช้ประกอบการรายงานผลการดำเนินงาน 3. คณะกรรมการแต่ละชุด สรุปผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล การจัดการศึกษาของโรงเรียน 4. นำผลการรายงานของโรงเรียน และผลการติดตามของคณะอนุกรรมการแต่ละคณะ รวบรวม จัดทำ รายละเอียดสรุปผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล 1. วิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ในมิติด้านกระบวนการบริหารจัดการ 2. วิเคราะห์ผลเปรียบเทียบในมิติด้านผลสัมฤทธิ์ 3. สรุปและอภิปรายผล วิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยจุดที่ควรพัฒนา ของแต่ละด้านตามผลการประเมิน ปฏิทินการดำเนินงาน กิจกรรมและระยะเวลาในการดำเนินงาน กิจกรรมและระยะเวลาในการดำเนินงานตามแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการมีส่วนร่วมของ เครือข่าย ก.ต.ป.น. ที่ รายการ ระยะเวลา ผู้ดำเนินการ 1 วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน สรุปโครงการ ปีงบประมาณ 2565 ตุลาคม 2565 งานเลขาฯ กลุ่มนิเทศ สพป.น่าน เขต 1 2 เสนอโครงการเข้าสู่แผนปฏิบัติการประจำปี งบประมาณ 2566 ของเขตพื้นที่ พฤศจิกายน 2565 งานเลขาฯ กลุ่มนิเทศ สพป.น่าน เขต 1 3. จัดทำเครื่องมือติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และ นิเทศการศึกษา ให้ครอบคลุมภารงานของโรงเรียน ทุกด้าน รวมทั้งนโยบายของ สพฐ. ธันวาคม 2565 มกราคม 2566 งานเลขาฯ กลุ่มนิเทศ สพป.น่าน เขต 1 4 นำเสนอเครื่องมือ และอภิปราย พร้อมทั้งปรับปรุง แก้ไขเครื่องมือ มกราคม 2566 ศึกษานิเทศก์ สพป.น่าน เขต 1 5 ประชุมชี้แจงคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่ ขอ มกราคม 2566 คณะกรรมการ ก.ต.ป.น.
11 อนุมัติแผนปฏิบัติติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ประจำปี 2564 , เครื่องมือ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา 6 ปรับปรุงแก้ไขเครื่องมือตามมติของ คณะกรรมการ ก.ต.ป.น. กุมภาพันธ์ 2566 งานเลขาฯ กลุ่มนิเทศ สพป.น่าน เขต 1 7 แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. มีนาคม 2566 8 คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. ลงพื้นที่ติดตามตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษาช่วงที่ 1 มีนาคม – เมษายน 2566 คณะกรรมการนิเทศ และคณะอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. 9 ประชุมคณะอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. เพื่อ วิเคราะห์ผลการประเมินตนเอง / สรุป และ วางแผนการพัฒนาโรงเรียน พฤษภาคม 2566 งานเลขาฯ กลุ่มนิเทศ สพป.น่าน เขต 1 10 ประชุมคณะกรรมการ ก.ต.ป.น. มิถุนายน 2566 งานเลขาฯ กลุ่มนิเทศ สพป.น่าน เขต 1 11 คณะอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. ลงพื้นที่ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษา ช่วงที่ 2 - นิเทศติดตามการเตรียมความพร้อมเปิดภาคเรียน - นิเทศติดตามนโยบายเร่งด่วน และนิเทศบูรณา การ- นิเทศติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล การ จัดการศึกษาก่อนปิดภาคเรียนที่ 1 มิถุนายน - สิงหาคม 2566 คณะกรรมการนิเทศ และคณะอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. 12 สรุปผลและจัดทำรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาประจำปี 2566 สิงหาคม 2566 งานเลขาฯ กลุ่มนิเทศ สพป.น่าน เขต 1 13 จัดทำรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการจัดการศึกษาประจำปี 2566 สิงหาคม 2566 คณะกรรมการนิเทศ และคณะอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. 14 ประชุม สรุปผลการนิเทศติดตาม และนำเสนอผล การดำเนินงาน/ ผลการนิเทศติดตามระยะที่ 1-2 ประเมินโรงเรียนให้กับ คณะกรรมการ ก.ต.ป.น. วิเคราะห์ผล กันยายน 2566 งานเลขาฯ กลุ่มนิเทศ สพป.น่าน เขต 1 15 เผยแพร่ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และ นิเทศการศึกษา กันยายน 2566 งานเลขาฯ กลุ่มนิเทศ สพป.น่าน เขต 1
12 แบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ...................................................... วัตถุประสงค์ เพื่อติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศสภาพการดำเนินงานด้านการบริหารงานวิชาการ งาน งบประมาณ งานบุคลากร และงานบริหารทั่วไป ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา น่าน เขต 1 คำชี้แจง โปรด / ในช่องที่ตรงกับระดับคุณภาพในแต่ละตัวบ่งชี้ ดังนี้ ระดับคุณภาพ 5 ดำเนินการได้ครบถ้วนทุกประเด็น ตามรายละเอียดของแต่ละตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพ 4 ดำเนินการได้เพียง 4 ประเด็น ตามรายละเอียดของตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพ 3 ดำเนินการได้เพียง 3 ประเด็น ตามรายละเอียดของตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพ 2 ดำเนินการได้เพียง 2 ประเด็น ตามรายละเอียดของตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพ 1 ดำเนินการได้เพียง 1 ประเด็น หรือไม่มีการดำเนินการ 1. ด้านวิชาการ รายการ ตัวบ่งชี้ ระดับ ข้อค้นพบ 5 4 3 2 1 1. ด้าน หลักสูตร 1. มีหลักสูตรสถานศึกษาที่เป็นปัจจุบัน 2. องค์ประกอบของหลักสูตรถูกต้อง ครบถ้วน 3. หลักสูตรมีความเหมาะสมกับบริบท และสอดคล้องกับ ความต้องการ 4. มีการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรอย่างเป็นระบบ 5. มีคณะกรรมการดำเนินงานพัฒนาหลักสูตรอย่างเป็น รูปธรรม 2. การจัด กิจกรรมการ เรียนรู้ 1. ครูมีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ 2. มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่รู้ที่เน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้ลง มือปฏิบัติ (Active Learning) 3. จัดบรรยากาศการเรียนรู้ที่น่ากระตุ้นความสนใจของ ผู้เรียน 4. มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียน อย่างรอบด้าน ทั้งด้านเนื้อหาวิชา ด้านดนตรี กีฬา ศิลปะเทคโนโลยี และอื่น ๆ ตามความถนัดความต้องการ ของผู้เรียน 5. ครูมีการสร้างและใช้สื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยีในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลาย
13 รายการ ตัวบ่งชี้ ระดับ ข้อค้นพบ 5 4 3 2 1 3. การวัดและ ประเมินผล การจัดการ เรียนรู้ 1. กำหนดโครงสร้างและรูปแบบการวัดและประเมินผล ที่สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัด 2. มีการสร้างหรือจัดหาเครื่องมือการวัดการประเมินผลที่ สอดคล้องกับตัวชี้วัด 3. ใช้วิธีการวัดและประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่หลากหลาย 4. มีการนำผลการวัดและประเมินผลมาพัฒนาปรับปรุง กิจกรรมการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระ/ทุกชั้นเรียน 5. จัดทำเอกสารหลักฐานทางการศึกษา (ปพ.)ครบถ้วน สมบูรณ์ เป็นปัจจุบันเป็นไปตามระเบียบว่าด้วยการวัด และประเมินผลของสถานศึกษา 4. การนิเทศ ภายใน 1. ดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา 2. จัดทำแผนการนิเทศภายในโรงเรียนได้ตรงตามสภาพ ปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการ 3. มีการสร้าง /พัฒนา/ สื่อ/ วิธีการ และเครื่องมือนิเทศ ภายในที่สอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความ ต้องการ ตามแผนปฏิบัติการนิเทศภายในโรงเรียน 4. ปฎิบัติการนิเทศภายในตามแผนการนิเทศที่กำหนดได้ อย่างครบถ้วน และครอบคลุมทุกชั้นเรียน 5. สรุปและจัดทำรายงานผลการนิเทศภายใน อย่างเป็น ระบบ พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางการนำผลการนิเทศ ภายในไปใช้ปรับปรุงพัฒนางาน 5. กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน 1. มีกิจกรรมส่งเสริมความรู้ความสามารถ ความถนัดและ ความสนใจของนักเรียน 2. มีการดำเนินกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด อย่างเป็นระบบและรูปธรรม 3. ส่งให้ให้มีกิจกรรมส่งเสริมการแสดงออกถึง ความสามารถด้านดนตรี ศิลปะ กีฬา หรืออื่น ๆ อย่าง ครอบคลุม 4. มีการวัดผลประเมินผลกิจกรรมผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และเป็นรูปธรรม 5. มีการสรุปผลการดำเนินงานจัดทำเป็นสารสนเทศ
14 รายการ ตัวบ่งชี้ ระดับ ข้อค้นพบ 5 4 3 2 1 6. การประกัน คุณภาพ ภายใน สถานศึกษา 1. การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2. จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่สอดคล้องกับแผนพัฒนา การจัดการศึกษา 3. การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา นำแผนปฏิบัติการประจำปีสู่การปฏิบัติ 4. ดำเนินการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา 5. ปฏิบัติการติดตามผลการดำเนินงานโดยใช้วิธีการและ เครื่องมือที่หลากหลายและเหมาะสม 6. การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) 7. ดำเนินการจัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง 7. การ พัฒนาการ จัดการเรียนรู้ 1. มีการวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา กำหนดแนวทาง การแก้ไขปัญหา 2. สร้างและพัฒนาเครื่องมือนวัตกรรมที่สอดคล้องกับ สภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในชั้นเรียน 3. มีการใช้นวัตกรรม เครื่องมือในการดำเนินการ แก้ปัญหา 4. มีการสรุปเขียนรายงานผลการใช้นวัตกรรม 5. มีการแลกเปลี่ยนสะท้อนผลการใช้นวัตกรรม เครื่องมือ ที่ใช้ในการแก้ปัญหา หรือพัฒนาการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ 2 การบริหารงานบุคลากร รายการ ตัวบ่งชี้ ระดับ ข้อค้นพบ 5 4 3 2 1 1. ผู้บริหาร สถานศึกษา 1. มีความมุ่งมั่นศรัทธา ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มี เป้าหมาย ที่ชัดเจนในการทำงาน มีภาวะผู้นำ และเป็น ผู้นำการเปลี่ยนแปลง 2. มีทักษะการบริหารจัดการ บริหารแบบมีส่วนร่วม กระจายอำนาจ ยึดหลักธรรมาภิบาล 3. มีทักษะในการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการ บริหารจัดการ มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
15 รายการ ตัวบ่งชี้ ระดับ ข้อค้นพบ 5 4 3 2 1 4. มีรูปแบบการบริหารงานที่ชัดเจน ผลการบริหาร จัดการประสบผลสำเร็จ เป็นแบบอย่างในการบริหาร จัดการ 5. มีการดำเนินงานตามข้อตกลงการพัฒนางาน 2. ครูผู้สอน 1. มีความมุ่งมั่นศรัทธา และประพฤติตนเป็นแบบอย่าง ในการทำความดี 2. สามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการ เรียนรู้ วัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ ด้วยตนเอง 3. มีทักษะในการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการ จัดการเรียนการสอน 4. มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ 5. มีการดำเนินงานตามข้อตกลงการพัฒนางาน 3. การ บริหารงาน บุคลากร 1. มีระบบการบริหารจัดการด้านบุคลากร 2. มีการส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องเป็น รูปธรรม 3. มีการจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานของบุคลากรแต่ละ ฝ่ายอย่างชัดเจน 4. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการ ปฏิบัติงาน 5. มีการจัดสวัสดิการให้กับบุคลากร มีการเสริมสร้างขวัญ กำลังใจ ในการปฏิบัติงาน
16 3. ด้านงานงบประมาณ การเงินและพัสดุ รายการ ตัวบ่งชี้ ระดับ ข้อค้นพบ 5 4 3 2 1 1. แผน พัฒนา คุณภาพ การศึกษา 1. มีการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศและสภาพการณ์ (SWOT Analysis) จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรคทั้ง ภายในและภายนอกสถานศึกษา 2. มีการกำหนดวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดสภาพ ความสำเร็จ และสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์องค์กร (SWOT Analysis) 3. จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้องกับ สภาพปัญหาและเป็นปัจจุบัน (๓ปี,แผนกลยุทธ์) โดยการมี ส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่าย 4. ติดตาม ประเมินผลและปรับปรุงการปฏิบัติตาม แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5. จัดทำรายงานผลแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่าง ต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน 2. แผน ปฏิบัติการ 1. มีแผนปฏิบัติการประจำปีที่สอดคล้องกับแผนพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษา 2. มีแผนงาน โครงการ กิจกรรมที่นำไปสู่การปฏิบัติที่ สามารถตอบสนองต่อ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ 3. มีการจัดสรรงบประมาณ ทรัพยากร สนับสนุนแผนงาน โครงการ กิจกรรมได้อย่างเหมาะสม 4. มีปฏิทินการปฏิบัติงานตามแผนงาน โครงการ กิจกรรม ชัดเจน 5. มีการประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ประจำปี 3. การ ดำเนินงานด้าน การเงินและ พัสดุ 1. มีการวางแผนและมีแผนการใช้จ่ายงบประมาณ 2. มีนวัตกรรม เทคโนโลยี มาใช้ในการบริหารจัดการงาน งบประมาณและพัสดุอย่างเป็นระบบ และปฏิบัติงานได้จริง 3. มีการดำเนินการใช้จ่ายงบประมาณ ตามแผนการใช้จ่าย งบประมาณ ได้อย่างเป็นระบบ ถูกต้องตามระเบียบปฏิบัติ ราชการ 4. มีการติดตาม ตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณตาม แผนงาน โครงการ อย่างเป็นระบบ 5. มีการจัดทำเอกสาร หลักฐาน การใช้จ่ายเงิน งบประมาณ ได้อย่างถูกต้องตามระเบียบปฏิบัติราชการ และมีความเป็นปัจจุบัน โปร่งใส ตรวจสอบได้
17 รายการ ตัวบ่งชี้ ระดับ ข้อค้นพบ 5 4 3 2 1 4. การ ดำเนินงานด้าน พัสดุ 1. มีการวางแผนและมีแผนการดำเนินงานด้าน พัสดุ 2. มีการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี มาใช้ในการ บริหารจัดการงานพัสดุอย่างเป็นระบบ และ ปฏิบัติงานได้จริง 3. มีการดำเนินงานด้านพัสดุ การจัดหาพัสดุ การ ควบคุมดูแล การบำรุงรักษา การจำหน่ายพัสดุได้ อย่างถูกต้องตามระเบียบปฏิบัติ และเป็นปัจจุบัน 4. มีการติดตาม ตรวจสอบการดำเนินงานด้าน พัสดุตามแผนงาน โครงการ อย่างเป็นระบบ 5. ดำเนินการจัดทำเอกสารด้านพัสดุได้อย่าง ถูกต้องตามระเบียบปฏิบัติ และเป็นปัจจุบัน ด้านที่ 4 การบริหารทั่วไป รายการ ตัวบ่งชี้ ระดับ ข้อค้นพบ 5 4 3 2 1 1. ระบบข้อมูล สารสนเทศ และ การใช้เทคโนโลยี ทางการศึกษา และงานธุรการ 1. กำหนดนโยบายและแนวทางการจัดการระบบ ข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อ การศึกษามาใช้ในการดำเนินงาน 2. การจัดระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา 3. มีการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ในการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ และเพื่อจัดทำข้อ ฐานข้อมูล 4. มีการประเมินผล ปรับปรุงและพัฒนาระบบ ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. มีการดำเนินงานด้านธุรการอย่างเป็นระบบ เป็น ปัจจุบัน และมีประสิทธิภาพ
18 รายการ ตัวบ่งชี้ ระดับ ข้อค้นพบ 5 4 3 2 1 2. ด้านอาคาร สถานที่ 1. การกำหนดและการวางแผนการบริหารจัดการ อาคารสถานที่ 2. การพัฒนาอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม บรรยากาศเหมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้ 3. การพัฒนาห้องเรียนและสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน และปลอดภัย 4. การพัฒนาอาคารหอประชุม/ห้องประชุม โรง อาหาร ห้องน้ำ ห้องส้วม ห้องพิเศษต่าง ๆ ดำเนินการดูแลบำรุงรักษา และมีระบบการรักษา ความปลอดภัยที่เหมาะสมแก่ผู้เรียน 5.การดำเนินการสรุปประเมินผลและรายงานการ ใช้อาคารสถานที่ 3. ระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน 1. มีการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนอย่างครอบคลุม 2. ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 3. การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ที่ เกี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนและ ความ ปลอดภัยในโรงเรียน 4. การดำเนินการนิเทศกำกับติดตามและ ประเมินผลงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 5. การดำเนินการส่งเสริม สนับสนุน นิเทศ ติดตาม และประเมินผล 4. คุณธรรม จริยธรรม และ ประชาธิปไตย ใน โรงเรียน 1. การบริหารจัดการแผนงาน/โครงการ 2. การดำเนินการตามแผนงาน/โครงการ 3. การนิเทศกำกับติดตามและประเมินผลการ ดำเนินงาน 4. การจัดทำข้อมูลสารสนเทศด้านคุณธรรม จริยธรรม 5. มีการรายงานผลการดำเนินงาน
19 รายการ ตัวบ่งชี้ ระดับ ข้อค้นพบ 5 4 3 2 1 5. ด้านความ สัมพันธ์ชุมชน 1. มีการส่งเสริมสนับสนุนการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนและภาคีเครือข่าย 2. มีแผนงาน/โครงการ/งาน/กิจกรรมการสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนและภาคี เครือข่ายทางการศึกษา 3. มีการดำเนินการแบบมีส่วนร่วมของหน่วยงาน องค์กรชุมชนและภาคีเครือข่ายทางการศึกษาในการ วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน 4. มีการดำเนินการเป็นไปตามแผนงาน/โครงการ/งาน กิจกรรมอย่างมีประสิทธิผล 5. มีการประเมินและนำผลการประเมินไปใช้ปรับปรุง พัฒนางานสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับ ชุมชนและภาคีเครือข่ายทางการศึกษา 5. ด้านนโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2566 รายการ ระดับ ข้อค้นพบ 5 4 3 2 1 1.การจัดการ ศึกษาเพื่อความ ปลอดภัย 1. มีโครงการ กิจกรรม แผนการดำเนินงานอย่าง ชัดเจน เป็นระบบ 2. มีแผนเผชิญเหตุที่นำไปสู่การปฏิบัติ 3. มีผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน 4. มีการนิเทศ กำกับ ติดตามผลการดำเนินงาน ประเมินผลการดำเนินงาน 5. มีเอกสารข้อมูลสารสนเทศ 2. การ ยกระดั บ คุณภาพ การศึกษา 1. มีโครงการ กิจกรรม แผนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ อย่างชัดเจน เป็นระบบ 2. มีการดำเนินงานที่เป็นระบบ และมีแนวทางนำไปสู่ การปฏิบัติ 3. มีผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน 4. มีการนิเทศ กำกับ ติดตามผลการดำเนินงาน ประเมินผลการดำเนินงาน 5. มีเอกสารข้อมูลสารสนเทศ
20 รายการ ระดับ ข้อค้นพบ 5 4 3 2 1 3. การสร้าง โอกาสความเสมอ ภาค และความ เท่าเทียมทาง การศึกษาทุกช่วง วัย 1. มีโครงการ กิจกรรม การสร้างโอกาส ความ เสมอภาค และความเท่าเทียม 2. มีการดำเนินงานที่เป็นระบบ และมีแนวทาง นำไปสู่การปฏิบัติ 3. มีผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน 4. มีการนิเทศ กำกับ ติดตามผลการดำเนินงาน ประเมินผลการดำเนินงาน 5. มีเอกสารข้อมูลสารสนเทศ 4. การศึกษาเพื่อ พัฒนาทักษะ อาชีพและเพิ่มขีด ความสามารถใน การแข่งขัน 1. มีโครงการ กิจกรรม การสร้างโอกาส ความ เสมอภาค และความเท่าเทียม 2. มีการดำเนินงานที่เป็นระบบ และมีแนวทาง นำไปสู่การปฏิบัติ 3. มีผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน 4. มีการนิเทศ กำกับ ติดตามผลการดำเนินงาน ประเมินผลการดำเนินงาน 5. มีเอกสารข้อมูลสารสนเทศ
21 สรุปผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา 1. ด้านวิชาการ รายการ ระดับ หมายเหตุ 5 4 3 2 1 1. ด้านหลักสูตร 2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3. การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ 4. การนิเทศภายใน 5. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 6. การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 7. การวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ผลรวม ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ 2. ด้านบริหารงานบุคลากร รายการ ระดับ หมายเหตุ 5 4 3 2 1 1. ผู้บริหารสถานศึกษา 2. ครูผู้สอน 3. การบริหารงานบุคลากร ผลรวม ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
22 3. ด้านงานงบประมาณ การเงินและพัสดุ รายการ ระดับ หมายเหตุ 5 4 3 2 1 1. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2. แผนปฏิบัติการ 3. การดำเนินงานด้านการเงินและพัสดุ ผลรวม ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ 4 ด้านการบริหารทั่วไป รายการ ระดับ หมายเหตุ 5 4 3 2 1 1. ระบบข้อมูลสารสนเทศ และการใช้ เทคโนโลยีทางการศึกษาและงานธุรการ 3. ด้านอาคารสถานที่ 4. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 5. คุณธรรม จริยธรรม และ ประชาธิปไตยในโรงเรียน 5. ความสัมพันธ์ชุมชน ผลรวม ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
23 5. ด้านนโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รายการ ระดับ หมายเหตุ 5 4 3 2 1 1 การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย 2 การยกระดับคุณภาพการศึกษา 3 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความ เท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย 4 การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขัน ผลรวม ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ สรุปผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ด้านการบริหารจัดการ ที่ รายการ ผลการประเมิน ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ 1 ด้านบริหารงานวิชาการ 2 ด้านบริหารงานบุคลากร 3 ด้านบริหารงานงบประมาณ การเงิน และพัสดุ 4 ด้านบริหารทั่วไป 5 ด้านนโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เฉลี่ยรวม การแปลผลระดับคุณภาพ ค่าเฉลี่ย 4.51 - 5.00 ระดับ มากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.51 - 4.50 ระดับ มาก ค่าเฉลี่ย 2.51 - 3.50 ระดับ ปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51 - 2.50 ระดับ น้อย ค่าเฉลี่ย น้อยกว่า 2.50 ระดับ น้อยที่สุด
24 ด้านสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน 1. ความสามารถด้านการอ่าน ชั้น จำนวน นักเรียน ทั้งหมด จำนวนนักเรียนที่ผ่านการประเมิน การอ่าน การเขียน ความสามารถ ด้านการอ่าน (คน) อ่านออก คิดเป็นร้อยละ (คน) คิดเป็น ร้อยละ การเขียน (คน) คิดเป็น ร้อยละ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 เฉลี่ย 2. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ระดับชั้น สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (จำนวนคน) การสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ ทักษะชีวิต การใช้ เทคโนโลยี ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 เฉลี่ย
25 สรุปผลการดำเนินงานด้านสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนในปีการศึกษา ........................ ระดับชั้น ผลการประเมิน ผลสัมฤทธิ์/พัฒนาการ (คน) ผลการประเมิน สมรรถนะผู้เรียน (คน) ผลการประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ (คน) ผลการประเมิน ความสามารถ ด้านการอ่าน(คน) ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน อบ.1 อบ.2 อบ.3 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ลงชื่อ..........................................................ประธานคณะกรรมการ (……………………………………………………) ลงชื่อ ....................................................... กรรมการ ลงชื่อ................................................กรรมการ (……………………………………………) (……………………………………………) ลงชื่อ.......................................................กรรมการและเลขานุการ (………………………………………………)
26 ที่ปรึกษา นางสาวรุ่งนภา ธิศรี ผอ.สพป.น่าน เขต 1 นายนิวัฒน์ ไชยเลิศ รองผอ. สพป.น่าน เขต 1 นายพิเชษฐ์ วงศ์สวัสดิ์ รองผอ.สพป.น่าน เขต 1 นายไชยยศ คำสังวาลย์ ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา คณะทำงาน นายไชยยศ คำสังวาลย์ ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล ประธานกรรมการ นายวันชัย ภูผาคุณ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ นางศิริรัตน์ แย้มศิลป์ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ นางลำเนาว์ ชัยคำ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ นายสุวิทย์ ผูกจิต ศึกษานิเทศก์ กรรมการ นางนรากร เพ็งผ่อง ศึกษานิเทศก์ กรรมการ นางสาวกฤติยา ขัติยะ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ นายจักรวรรดิ์ ญาณกรสกุล ศึกษานิเทศก์ กรรมการ นางสาวพรพรรณ ณ ลำพูน ศึกษานิเทศก์ กรรมการ นายพิจักษณ์นภัส สุริยะพรหม ศึกษานิเทศก์ กรรมการ นางชุลีกร เชียงปะละ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ นายธรรมรัตน์ พรหมพิงศุ์ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ นางดวงตา ลำลึก ศึกษานิเทศก์ กรรมการ นางสาวกัญญ์ชิสา พงศ์พัฒนโภคิณศึกษานิเทศก์ กรรมการ นางเรณู หมื่นพรมแสน ศึกษานิเทศก์ กรรมการ นายชาติชาย ทนะขว้าง ศึกษานิเทศก์ กรรมการ นางพัชรี ทานะ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ นายปิยะ จะเฮิง ศึกษานิเทศก์ กรรมการ นายพุฒิพงษ์ วงศ์นันท์ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ นายวัชรพงค์ โนทะนะ ศึกษานิเทศก์ กรรมการและเลขานุการ นายนิรันดร์ มงคล ศึกษานิเทศก์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ผู้เขียน/บรรณาธิการ นายวัชรพงค์ โนทะนะ ศึกษานิเทศก์ ภาพถ่าย ออกแบบปกและจัดพิมพ์ นายวัชรพงค์ โนทะนะ ศึกษานิเทศก์