๑
รายงานการปฏิบัติงานของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
(สายงานการสอน)
ประกอบการพิจารณาเล่อื นเงนิ เดือน
ครง้ั ท่ี 2 (1 เมษายน – 30 กันยายน 2564)
ผรู้ ายงาน
นางดารารัตน์ ใจตรง
ตาแหนง่ ครูอัตราจ้าง
โรงเรยี นบ้านแก้งยาง อาเภอนาเยีย จังหวดั อุบลราชธานี
สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาอบุ ลราชธานี เขต 4
๒
บนั ทกึ ข้อความ
ส่วนราชการ โรงเรียนบา้ นแก้งยาง สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4
ที่ ................................ วนั ที่ 17 กนั ยายน 2564
เรอื่ ง รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เรยี น ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านแก้งยาง
สิง่ ท่ีส่งมาด้วย รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา จานวน 1 เลม่
ขา้ พเจ้า นางดารารตั น์ ใจตรง ตาแหนง่ ครูอตั ราจ้าง ไดร้ ายงานผลการปฏบิ ัติงานของ
ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา เพอ่ื ประกอบการพิจารณาเล่ือนเงินเดือน ครง้ั ท่ี 2 (1 เมษายน
2564 ถึง วนั ที่ 30 กันยายน 2564) ดงั ไดแ้ นบรายละเอยี ดมาพร้อมน้ี
จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดพจิ ารณา
ลงชอ่ื ...........................................
(นางดารารัตน์ ใจตรง)
ตาแหน่ง ครอู ตั ราจา้ ง
ขอ้ เสนอแนะ/ ความเห็นของผู้บริหาร
…..……………………………………………………………….……………………………………………………………………..…………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………..……………………………………………………………………………………..…………………………
ลงช่ือ...........................................
(นางสาวอรสิ รา ชัดเจน)
ผ้อู านวยการโรงเรยี นบ้านแก้งยาง
๓
คานา
รายงานผลการปฏิบัตงิ านข้าราชการครู สายครูผู้สอนฉบับน้ี จดั ทาขึ้นเพ่ือประกอบการพจิ ารณา
ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงาน เพ่ือการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา สายงานครูผ้สู อน ตามหลักเกณฑ์ท่ี ก.ค.ศ. กาหนด ซง่ึ ผขู้ อรับการประเมินได้เรียบเรยี งและรวบรวมข้อมูล
นาเสนอผลการปฏิบัติงานตามหน้าท่ีและความรับผิดชอบและผลงานตามลักษณะงานท่ีปฏิบัติตามมาตรฐาน
ตาแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะ รวมทั้งงานหน้าท่ีอ่ืนที่ได้รับมอบหมายในด้านปริมาณงานและคุณภาพของงาน
รวมทัง้ ผลงานที่ปรากฏตอ่ การจัดการศึกษา
ขอขอบคุณ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแก้งยาง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียน
บ้านแก้งยาง คณะครูและนักเรียน ที่ได้ร่วมกันรับผิดชอบในงานหน้าที่ของตนและได้ร่วมคิด ร่วมปรึกษาหารือ
ร่วมตัดสินใจ ร่วมดาเนินการและร่วมประเมินผล เพ่ือพัฒนางานอย่างต่อเน่ือง ทาให้การดาเนินงานในโรงเรียน
ประสบผลสาเร็จตามเปา้ หมายและขอขอบคณุ ผู้เกี่ยวข้องทุกคนท่ีทาใหเ้ อกสารฉบบั นสี้ าเร็จเรยี บร้อยดว้ ยดี
นางดารารตั น์ ใจตรง
ตาแหน่ง ครูอัตราจา้ ง
๔
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา
สารบัญ 1
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไป 6
ส่วนที่ 2 ข้อมูลการปฏิบตั ิหนา้ ท่ี 7
12
1. ดา้ นการจดั การเรยี นการสอน 14
2. ด้านการบรหิ ารจดั การชัน้ เรยี น 16
3. ด้านการพัฒนาตนเองและพัฒนาวชิ าชีพ
4. งานอืน่ ๆ ที่ได้รับมอบหมาย 19
สว่ นที่ ๓ ตอนท่ี 2 การประเมนิ การปฏิบตั ติ นในการรกั ษาวินยั คณุ ธรรม จริยธรรม
และจรรยาบรรณวิชาชีพ 22
ภาคผนวก 24
- คาสงั่ ปฏิบัตหิ นา้ ที่ไดร้ ับมอบหมาย 28
- เกียรตบิ ัตร
- ภาพกจิ กรรม
๕
รายงานการปฏบิ ตั ิงานของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา (สายงานการสอน)
ประกอบการพจิ ารณาเล่ือนเงนิ เดอื น
ครงั้ ท่ี 1 (1 ตลุ าคม ……………………… - 31 มนี าคม …………….. )
ครัง้ ที่ 2 (1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564)
1.1 ข้อมลู ทวั่ ไป
ชอื่ นางดารารตั น์ ใจตรง
วฒุ ิการศึกษา
ปรญิ ญาตรี ค.ศบ. วชิ าเอก คหกรรมศาสตร์ จาก สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
วทิ ยาเขตพระนครใต้ กรงุ เทพฯ
ปรญิ ญาโท................ วชิ าเอก จาก....................................
อ่นื ๆ ระบ.ุ ................ วชิ าเอก จาก...................................
ตาแหนง่ ครูอตั ราจ้าง อายุ 44 ปี ปฏิบัตริ าชการ 11 ปี 9 เดอื น
วนั / เดือน / ปี เกดิ 13 กันยายน 2520
วนั / เดือน / ปี เริม่ ทางานเมอื่ วนั ท่ี 23 ธันวาคม 2552
ปฏิบัตกิ ารสอน ระดับชัน้ อนบุ าล 2 และ 3
ปฏิบัติงานพเิ ศษ งานบริหารงานท่วั ไป / กจิ กรรมนักเรียน
โรงเรียนบ้านแก้งยาง สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4
แสดงจานวนวันลา ในรอบที่ผา่ นมา (1 เมษายน 2564 – 30 กันยายน 2564)
วัน เดือน ปี ลาปว่ ย ลากจิ ลาอุปสมบท ลาคลอด มาสาย
คร้ัง วัน
ทีล่ า ครง้ั วัน ครัง้ วนั ครั้ง วนั ครั้ง วนั --
--
- -------- --
- -------- --
- --------
รวม - - - - - - - -
รวมทงั้ สิน้ จานวน........-........คร้ัง จานวน.......-.........วนั
๖
1.2 ข้อมูลการปฏิบัติหนา้ ท่ี
ปฏบิ ตั ิการสอน รวมจานวน 6 กิจกรรม รวมจานวน 1 หอ้ ง
1.2.1 ตารางแสดงตารางกิจกรรมห้องเรยี น เวลาท่ีปฏบิ ตั ิการสอน
ตารางกิจกรรมประจาวนั ชั้นอนุบาลปที ี่ 3 ปกี ารศกึ ษา 256๔ ในชว่ งมาเรียนแบบ 0n site
เวลา กิจวัตรประจาวนั
0๗.00-๐๘.0๐ น. รับเด็กเปน็ รายบุคคล
08.๐0-08.๓๐ น.
08.๓๐ –0๘.๕0 น. เคารพธงชาติ
0๘.๕0-09.๑0 น. ตรวจสขุ ภาพ เขา้ หอ้ งน้า ดื่มนม
09.๑0 - ๐๙.๓๕ น. กจิ กรรมเคลอื่ นไหวและจังหวะ
๐๙.๓๕-๑๐.0๐ น.
๑๐.0๐-10.30 กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์
10.30-1๑.๑๐ น. กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
1๑.๑๐- ๑๒.๐๐ น. กิจกรรมการเลน่ ตามมุม
12.00-14.00 น. กจิ กรรมการเลน่ กลางแจ้ง
๑๔.๐๐ – ๑๔.๒๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน/พักกลางวนั
14.20-14.๔0 น. แปรงฟนั /นอนพักผอ่ น
14.๔0-1๕.๐0 น. เก็บท่ีนอน/เข้าหอ้ งนา้ /ลา้ งหนา้ /ปะแป้ง
กิจกรรมเกมการศึกษา
ทบทวนกจิ กรรม/เตรียมตวั กลับบ้าน
ในช่วงของการปิดเรยี นเนอื่ งจากสถานการณโ์ ควิด ๑๙ โรงเรียนได้สอนแบบ 0n hand ได้ทาคลปิ และ
แจกใบงานให้เดก็ มีผปู้ กครองคอยดูแลเดก็ ที่บา้ น และนดั วันมาส่งงานในแต่ละสัปดาห์
1.2.2 การดแู ลนักเรยี น
แสดงจานวนนักเรียนในความดแู ล (ครูประจาช้ัน/ครูท่ปี รกึ ษา)
ระดับช้ัน จานวนนกั เรียน รวมท้ังสนิ้ (คน)
ชน้ั อนบุ าล 2,3 ชาย (คน) หญงิ (คน) 5
32
1.2.3 งานพิเศษ ในโรงเรียน ได้แก่
งานบริหารงานทวั่ ไป / กิจกรรมนกั เรียน
๗
ตอนที่ ๑ การประเมนิ ประสิทธภิ าพและประสิทธิผลในการปฏบิ ตั ิงาน
1. ดา้ นการจัดการเรยี นการสอน
1.1 การสร้างและหรือพัฒนาหลกั สูตร
ข้าพเจ้าได้เป็นผู้จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย ๒๕๖๐ ของโรงเรียนบ้านแก้งยาง โดยการ
ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับนโยบาย ให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง จัดทาแผนปฏิบัติการ 2564 ระดับปฐมวัย
และหลกั สูตรตา้ นทจุ ริต ระดบั ปฐมวัย ในปกี ารศึกษา 2564 ขา้ พเจา้ ไดม้ ีการตรวจสอบหลักสตู รแล้วไดพ้ บสิ่งทย่ี ัง
ไม่สอดคล้องกับสถานศึกษาจึงได้มีการปรับปรุงให้ดีขึ้น โดยได้ประชุม หารือ กันกับคณะกรรมการสถานศึกษา
ผู้อานวยการ ตวั แทนผปู้ กครองและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคน จัดตารางกิจวัตรประจาวนั ให้ถูกต้องข้ึน และแก้ไขคาผิดให้
ถูกต้อง ปรับปรุงหลักสูตรให้เข้าใจง่าย และยืดหยุ่นในทุกสถานการณ์ โดยเฉพาะในช่วงสถานการณ์โควิด 19 ใน
การเรียนการสอน ได้นาหลักสูตรมายดื หยุ่นกบั การเรียนการสอนมากขึน้
1.2 การจัดการเรียนรู้
ในชว่ งสถานการณ์โควิด 19 ทางโรงเรยี นไดเ้ ปิดเรียนในสองสัปดาหแ์ รก ได้มกี ารจดั ห้องโดยการเว้น
ระยะหา่ งในการนั่งเรยี น งดเลน่ ของเลน่ ร่วมกัน ใส่หนา้ กากอนามัยในการเรยี นตลอดเวลา และงดกิจกรรมกลมุ่ ใช้
กิจกรรมเดี่ยวแทน และบอกเหตผุ ลใหเ้ ดก็ ฟัง มีการสอนแทรกเร่อื งเกย่ี วกบั สถานการณ์โควดิ เข้าไปในแตล่ ะหน่วย
แยกของใช้ เชน่ แปรงสีฟัน แก้วน้า ยาสีฟนั ดนิ สอ ยางลบ ไม้บรรทดั สมุด สี ลา้ งมือทุกครั้งหลังจากทากิจกรรม
ตา่ ง ๆ เสร็จ และก่อนทากิจกรรม หลังจากเปิดเรยี นได้ไม่นาน สถานการณโ์ ควิดไม่ดีขน้ึ จึงปิดเรยี น และทาง
โรงเรยี นไดใ้ ช้การสอน แบบ on hand
1.2.1 การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
ข้าพเจ้าได้มีการกาหนดวนั ทีต่ ามปฏิทินแลว้ ดูวันเวลา และสถานการณ์ในช่วงนนั้ วา่ ควรสอนใน
หน่วยอะไร มีการยดื หยนุ่ หน่วยไดต้ ามสถานการณ์ในช่วงของโรคระบาด โควดิ 1๙
๘
1.2.2 การจดั ทาแผนการจัดการเรียนร/ู้ แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล/แผนการสอนรายบุคคล/
แผนการจัดประสบการณ์
ข้าพเจ้าไดใ้ ชแ้ ผนการจัดประสบการณ์ของ dltv ทางไกล ในการจัดการเรียนรใู้ นชว่ งของโรคระบาดโควิด
19 ได้มีการทาคลปิ การสอนในแตล่ ะสัปดาห์ ไปพร้อม ๆ กับใหเ้ ดก็ ไดด้ กู ารทากจิ กรรมใน dltv โดยมผี ูป้ กครอง
คอยดแู ลเด็ก ครคู อยแนะนาผู้ปกครองใหเ้ ขา้ ใจเด็กในช่วงวัยอนุบาล เดก็ บางคนเข้าเรียน บางคนไม่เข้าใจ เกิดจาก
สาเหตทุ แี่ ตกต่างกันออกไป ครูจงึ มีใบงานงา่ ย ๆ ใหเ้ ด็กได้ทาในชว่ งสถานการณ์โควดิ 1
ตารางโครงสร้างหน่วยการเรยี นรู้
สัปดาห์ วันที่ เรื่อง
1 1 – 4 มิ.ย.64 ปฐมนิเทศ
2 7 – 11 ม.ิ ย.64 โรงเรยี นของเรา
3 14 – 17 มิ.ย.64
4 18 – 24 มิ.ย.64 ตวั เรา
5 25 – 30 ม.ิ ย.64 หนทู าได้
6 1 – 7 ก.ค.64 ครอบครวั มีสุข
7 8 – 14 ก.ค.64 อาหารดีมปี ระโยชน์
8 15 – 21 ก.ค.64
9 22 – 30 ก.ค.64 ฝน
10 2 – 6 ส.ค.64 ขา้ ว
11 9 – 16 ส.ค.64 ปลอดภัยไวก้ ่อน
12 17 – 23 ส.ค.64 วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ร.๑๐
13 24 – 30 ส.ค.64 วันแม่
14 31 ส.ค. – 6 ก.ย.64 รักเมอื งไทย
15 7 – 13 ก.ย.64 ของเล่นของใช้
16 14 – 20 ก.ย.64 ชุมชนของเรา
17 21 – 28 ก.ย.64 ตน้ ไม้ที่รัก
18 29 ก.ย.– 5 ต.ค.64 หนิ ดนิ ทราย
19 6 – 8 ต.ค.64 สตั ว์นา่ รัก
๒0 11 – 15 ต.ค.64 คมนาคม
บ้านนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย
บา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
หมายเหตุ : ในการจัดกิจกรรมในแต่ละสัปดาห์มีการสอดแทรกการเรียนรู้เก่ียวกับการต้านทุจริตเข้าไปด้วยตามความเหมาะสม
ตามสถานการณ์ในชวี ิตประจาวนั ของเด็ก สามารถยดื หยุ่นเวลาได้ตามความเหมาะสม
๙
1.2.3 กลยทุ ธใ์ นการจัดการเรียนรู้ในช่วงสถานการณโ์ ควิด 19
1. มกี ารจดั ทาแผนการจัดประสบการณ์ท่สี ่งเสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ครบท้ัง 4 ดา้ น เนน้ การจดั
ประสบการณ์ทบ่ี า้ น และยืดหยุ่นได้ตามสถานการณ์
2. ครูพดู คุยกบั ผู้ปกครอง มกี ารตดิ ต่อส่ือสารกันอย่างสมา่ เสมอ คอยถามไถ่ถึงเด็ก
3. ครเู น้นเรยี นอย่างมีความสขุ เน้นเดก็ เป็นสาคญั ไม่บงั คบั เดก็ ใหเ้ รียนมากเกินไป เพราะแตล่ ะคนมี
ความแตกต่างกัน
4. ครเู ปน็ ผชู้ แี้ นะผู้ปกครองในการจดั การเรยี นรทู้ ีบ่ า้ น แนะนาการจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพทเ่ี อ้ือ
ต่อการเรยี นรู้ของเดก็ ปฐมวัย
5. ครมู กี ารทาคลปิ การสอน การนานวตั กรรมมาจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย
๖. ครูเนน้ เรยี นปนเลน่ โดยเด็กเล่นทบ่ี า้ น จดั ตารางกิจกรรมในช่วงทเ่ี ด็กอย่ทู ี่บา้ นให้เหมาะสมและ
ยดื หยนุ่ ได้
๗. ครูแนะนาชว่ งวยั ของเด็กให้ผูป้ กครองทราบ ครไู ม่ให้งานที่มากจนเกินไป เพราะในแตล่ ะวันบางคร้ัง
เดก็ อาจต้องไปทางานกบั ผ้ปู กครอง บางคนอยู่กบั ผสู้ ูงอายุ บางคนไมม่ ีมือถือ ครูจึงต้องเป็นผูท้ ี่คอยแนะนา ไมใ่ ช่
คอยกดดนั
ขา้ พเจา้ มีเทคนิค/วิธีการสอนท่ีใช้ในช่วงการเรียนในสถานการณ์โควิด 19 ไดแ้ ก่ ใช้การเรียนทางไกล
dltv และแจกใบงานให้เด็กไดท้ าท่ีบ้าน มกี ารทาคลิปวิดีโอส่งในไลน์กลุ่มผู้ปกครองและทาการเผยแพรเ่ พ่ือเป็น
ความรตู้ ่อเด็กที่อนื่ มีการอธิบาย การสบื สวนสอบสวนการสาธิต/ทดลอง(บา้ นวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย) กล่มุ สืบคน้
ความรู้(บา้ นวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย การใชเ้ กมประกอบ(เกมตามหนว่ ย) สถานการณจ์ าลอง การเรยี นรแู้ บบร่วมมือ
บทบาทสมมุติ(นทิ าน) อรยิ สัจ 4 การพฒั นากระบวนการคดิ คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน การใช้ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น
การแกป้ ัญหา (บา้ นวิทยาศาสตร์น้อย) มกี ารทาคลปิ เลา่ นิทาน ทาคลปิ การเตน้ ในเพลงต่าง ๆ ซงึ่ เด็ก ๆ
ชอบมากกวา่ การท่ีเอาคลปิ ครูที่เดก็ ๆ ไม่รูจ้ กั มาดู
๑๐
1.2.4 คณุ ภาพผ้เู รยี น
1.2.4.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรียน
การประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนชั้นอนุบาล 3 โรงเรียน…บ้านแก้งยาง ประจาปี
การศึกษา 2564 ภาคเรยี นท่ี 1 ผลดงั น้ี
ในช่วงของการเรียนในสถานการณ์โควิด 19 พฒั นาการของเด็กบางคน จึงไมค่ ่อยดีตามวัย ครจู ึง
มีการทาวิจัยขนึ้ อยา่ งสมา่ เสมอเพอ่ื พฒั นาเด็กให้มีพัฒนาการตามวยั ทด่ี ีข้ึนกว่าเดิม
แบบสรุปรายงานผลนกั เรยี นทไี่ ด้รับการพฒั นาในแตล่ ะด้าน
เกณฑก์ ารประเมิน จานวนนกั เรยี นทง้ั หมด จานวนนักเรียนท่ีผ่านการ คิดเป็นรอ้ ยละ
รายดา้ น ประเมนิ พฒั นาการรายดา้ น
ชาย หญงิ รวม -
ดา้ นร่างกาย 325 ในระดับคณุ ภาพดี -
ดา้ นอารมณ์-จิตใจ 325 -
325 ชาย หญงิ รวม -
ด้านสังคม 325
ด้านสติปญั ญา ---
---
---
---
1.2.4.2 คุณลกั ษณะท่พี ่งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
ในการจัดการเรียนการสอนข้าพเจ้าได้อิงถึงคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกาหนด
มาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์จานวน ๑๒ มาตรฐาน ประกอบด้วย
๑. พัฒนาการด้านร่างกาย ประกอบดว้ ย ๒ มาตรฐานคือ
มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจรญิ เติบโตตามวัยและมีสขุ นิสยั ท่ดี ี
มาตรฐานท่ี ๒ กล้ามเน้อื ใหญแ่ ละกล้ามเนอ้ื เล็กแขง็ แรงใชไ้ ด้อย่างคล่องแคล่วและ
ประสานสัมพนั ธก์ ัน
๒. พฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐานคอื
มาตรฐานที่ ๓ มีสขุ ภาพจิตดีและมคี วามสุข
มาตรฐานที่ ๔ ชื่นชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว
มาตรฐานท่ี ๕ มีคุณธรรม จริยธรรม และมจี ติ ใจทด่ี ีงาม
๓. พฒั นาการด้านสงั คม ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐานคอื
มาตรฐานท่ี ๖ มที กั ษะชวี ติ และปฏิบัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทย
มาตรฐานท่ี ๘ อยู่ร่วมกบั ผูอ้ ่ืนได้อย่างมีความสุขและปฏบิ ัติตนเป็นสมาชกิ ทด่ี ีของ
๑๑
สังคมในระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข
๔. พฒั นาการด้านสติปญั ญา ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐานคอื
มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาส่ือสารได้เหมาะสมกบั วยั
มาตรฐานท่ี ๑๐ มคี วามสามารถในการคิดท่เี ป็นพ้นื ฐานในการเรยี นรู้
มาตรฐานที่ ๑๑ มีจนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์
มาตรฐานท่ี ๑๒ มีเจตคตทิ ีด่ ตี อ่ การเรยี นรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้
ไดเ้ หมาะสมกับวัย
1.3 การสรา้ งและหรือพฒั นาสือ่ นวตั กรรม เทคโนโลยที างการศึกษา และแหลง่ เรียนรู้
ขา้ พเจ้าได้ ผลติ สอื่ / นวตั กรรม เทคโนโลยที างการศกึ ษา และใช้แหล่งเรยี นรู้ ได้สอดคล้องกบั การ
เรยี นการสอน การทากิจกรรมในช่วงปดิ เรียนเน่อื งจากสถานการณโ์ ควดิ 1๙ แพร่ระบาด ข้าพเจ้าทาส่อื เข้ากบั
สถานการณ์ทง้ั คลปิ วดิ โี อ และสอ่ื ทีส่ อดคลอ้ งกบั หน่วยการสอนหลายอย่าง เพ่ือพัฒนาเด็กอยา่ งเต็มที่ ได้แก่
การผลติ สื่อในภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน
ท่ี ช่อื ส่ือนวัตกรรมและภาพประกอบ 37 ชนิ้
1. ชารต์ เพลงและคาคล้องจองรวมกัน 37 เรอื่ ง
2. สอ่ื ใบงานระบายสตี ามหน่วยพระเทพ 42 ใบงาน 1 ชุด
3. เกมฝกึ ปนั้ ดนิ น้ามันตามจานวน แจกใหเ้ ด็กไดท้ าทีบ่ ้าน 1 ชดุ
4. คาพนื้ ฐานสาหรบั ปฐมวัยแจกใหเ้ ด็กได้อา่ นที่บา้ นช่วงปิดเรียน 23 หนา้ 1๔ เลม่
๑๒
1.4 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
1. ใชว้ ธิ ีการสังเกต การสอบถามจากผู้ปกครอง การดูจากคลปิ ท่ีผู้ปกครองสง่ มา การดจู ากใบงาน
ท่ีใหท้ า ในการเรียนการสอนช่วงสถานการณ์โควดิ สว่ นใหญ่จะเกิดจากการถามจากผู้ปกครอง
๒. บนั ทึกหลงั การจัดประสบการณ์ในแตล่ ะสัปดาห์
๓. ใช้แบบสงั เกตพฤติกรรม
๔. ประเมินพัฒนาการเดก็ จบหลักสูตรปฐมวัยระดับช้ันอนบุ าล ๓
รปู เดก็ ทาใบงานทบ่ี า้ น
2. ด้านทก่ี ารบรหิ ารจดั การช้ันเรียน
2.1 การบรหิ ารจัดการช้นั เรยี น และการจัดทาขอ้ มลู สารสนเทศ
ในชว่ งปดิ เทอม ขา้ พเจ้าได้เตรียมงานเอกสารชน้ั เรียนตา่ ง ๆ หลกั สตู ร กาหนดการสอน แผนปฏิบตั ิการ
แฟม้ สะสมผลงาน ใบงานกจิ กรรม สื่อนวัตกรรมการสอน จัดมมุ ต่าง ๆ ภายในห้องเรียนให้เหมาะสม การรักษา
มาตรการในช่วงโควดิ 19 โดยให้ผู้ปกครองมาส่งหนา้ โรงเรียน ทกุ คนใสห่ น้ากากอนามัย ลา้ งมอื ดว้ ยเจล
แอลกอฮอล์ ใชก้ ระตกิ น้าส่วนตัว นั่งในชั้นเรยี นโดนเว้นระยะห่าง มีการทาปา้ ยสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในห้องเรยี น มสี ่ือ
ความร้เู กี่ยวกบั สถานการณโ์ ควิด 19 มีการจดั ตกแตง่ ห้องเรียนใหมใ่ ห้นา่ อยู่มากย่ิงข้ึน
หลงั จากสถานการณ์แย่ข้นึ ทางจงั หวดั ไดส้ ัง่ ปิดโรงเรียน ข้าพเจ้าจึงใช้วิธกี ารตดิ ต่อสอื่ สารกบั ผปู้ กครอง
เปน็ หลกั จากการติดต่อหลายชอ่ งทาง ดังนี้
-ทางไลน์
-ทางเฟซบุ๊ก
-ทางเบอรม์ ือถือ
ไดม้ ีการจัดตั้งกลุ่มเฟสผู้ปกครองข้ึนมา และไดม้ ีการประสานงาน ให้คาแนะนาผูป้ กครองผ่านทางเฟส ใน
กรณที ี่เด็กอยู่กับผ้สู ูงอายุ กจ็ ะใช้เป็นเบอร์โทรไปสอบถามแทน มีการแจกใบงานใหเ้ ด็กไดท้ าทีบ่ ้าน และใหส้ ่งงาน
ทางเฟส ผู้ปกครองติดตอ่ ครไู ด้หลายชอ่ งทาง และทางโรงเรยี นเฟซบุก๊ โรงเรยี น ผู้ปกครองสงสัยงานอะไรก็ติดต่อ
สอบถามเขา้ มาได้ ในการเรยี นในชว่ งน้ี ครูจะสอนในรูปแบบที่งา่ ยขนึ้ เหมาะกบั การเรียนให้เด็กไม่เบือ่ และเข้าใจ
ง่าย ไม่ซับซ้อน
๑๓
2.2 การจดั ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน
ขา้ พเจา้ ได้มีการไปเยย่ี มบา้ นเดก็ และพดู คยุ แลกเปล่ยี นกบั ผ้ปู กครองเกีย่ วกบั ชวี ิตความเปน็ อยู่ บางคนอยู่
ในพ้ืนทเี่ สี่ยงขา้ พเจา้ กโ็ ทรหา หรือไลนห์ า พอสารวจเสรจ็ ข้าพเจา้ นามากรอกข้อมูลการเย่ียมบา้ นลงในระบบดูแล
ช่วยเหลอื นักเรยี น ยากจน เพื่อใหท้ างการพจิ ารณาผลต่อไป
ภาพเยี่ยมบา้ น
ขา้ พเจ้าได้สารวจเก่ียวกบั อนิ เทอร์เนต็ วา่ ในแต่ครัวเรอื นเด็กมีอินเทอร์เน็ตใช้หรอื ไม่
และไดต้ ิดตามอย่างใกลช้ ดิ มีการแจกนมโรงเรียน นมเยียวยา เงนิ ค่าอาหารกลางวันและสารวจขอ้ มูลเพ่ือรบั เงนิ
เยียวยาคนละ 2,000 บาท ติดตามเด็กที่เรียนไมท่ ันเพือ่ น มีการถามไถ่ ประชมุ กันกบั เด็กและผ้ปู กครองผา่ นทาง
ออนไลน์
ภาพการแจกเงนิ เยยี วยาคนละ 2,000 บาท
๑๔
3 ดา้ นการพฒั นาตนเองและวชิ าชีพ
(การเขา้ รว่ มกิจกรรมทางวชิ าการ/ การเขา้ รว่ มอบรม / ประชุมสมั มนา /ศึกษาดูงาน ฯลฯ)
ที่ วนั /เดอื น/ ปี เร่อื ง สถานที่ หนว่ ยงานทจ่ี ัด หลักฐาน
ออนไลน์
1. 5 เม.ย. 64 คุณภาพการศึกษาไทย สกู่ าร สานักงานเลขาธิการ เกยี รตบิ ัตร
ออนไลน์ สภาการศกึ ษา
เปลย่ี นแปลงในอนาคต
2 17 เม.ย. 64 วนั ครู รปู แบบออนไลน์ สานักงานเลขาธิการ เกียรตบิ ัตร
ครุ สุ ภา
3 17 เม.ย. 64 โครงการพฒั นาทักษะการ ออนไลน์ สานกั งานส่งเสริม
รบั มอื กับปัญหาการกล่นั เศรษฐกจิ ดจิ ทลั เกียรตบิ ตั ร
แกล้งกันทางออนไลน์ (depa)
4 26 เม.ย. 64 การพัฒนาตนเองด้วยการ โรงเรียนบา้ นแก้ง โรงเรยี นบ้านแก้งยาง เกียรตบิ ัตร
เรยี นด้านวิทยาการคานวณ ยาง
5. 19 พ.ค. 64 การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ โรงเรียนบ้านแก้ง โรงเรียนบ้านแกง้ ยาง
ข้าราชการครแู ละบคุ ลากร ยาง
ทางการศกึ ษา การใช้ เกยี รติบัตร
โปรแกรม Zoom Cloud
Meetings
6 19 พ.ค. 64 การจัดการเรียนการสอนยุค ออนไลน์ สานกั งาน
ปกติใหม่”เทคนิคและวธิ กี าร คณะกรรมการ เกียรติบตั ร
การศึกษาขน้ั พื้นฐาน
สอนออนไลน์แบบ
ปฏสิ มั พันธ์”
7 20 พ.ค. 64 การจดั การเรียนการสอนยุค ออนไลน์ สานกั งาน
ปกตใิ หม่”เทคนิคและวิธีการ คณะกรรมการ เกียรติบตั ร
การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
สอนออนไลน์แบบ
ปฏิสัมพนั ธ์”
8 20 พ.ค. 64 การจดั การเรยี นการสอนยุค ออนไลน์ สานักงาน
ปกติใหม่”เทคนิคและวิธีการ คณะกรรมการ เกยี รตบิ ตั ร
การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
สอนออนไลน์แบบ
ปฏิสัมพนั ธ์”
9. 26 พ.ค. 64 รว่ มกจิ กรรมเยาวชนอาสาทัว่ ออนไลน์ ชมรมพทุ ธศาสตร์
ไทย รว่ มใจสร้างสรรค์ทา สากล ในอปุ ถัมภ์ เกียรติบตั ร
สมเด็จพระมหารชั มงั
ความดี (ออนไลน์)
คลาจารย์
10 21 พ.ค. 64 ประชุมเตรียมความพร้อม ออนไลน์ สพป.อบ.4 เกียรตบิ ตั ร
11 26 มิ.ย. 64 กอ่ นเปดิ ภาคเรยี น ออนไลน์
รร.ฤทธิยะวรรณาลัย2 เกียรตบิ ัตร
ความร้เู กี่ยวกบั วนั ต่อตา้ นยา สพม.กรุงเทพฯเขต2
เสพตดิ
๑๕
ที่ วัน /เดอื น/ ปี เร่อื ง สถานที่ หน่วยงานท่ีจัด หลักฐาน
เกยี รติบตั ร
12 21 ม.ิ ย. 64 หลกั สตู รตา้ นทุจริตศึกษา ออนไลน์ สพป.นครราชสีมา เกยี รตบิ ตั ร
เขต3
13 28 ม.ิ ย. 64 ภัยจากยาเสพติด ออนไลน์ รร.หนองบัว เกยี รตบิ ัตร
สพม.นครสวรรค์
14 3 ก.ค. 64 การใช้งานโปรแกรม ออนไลน์
Power point ศนู ย์การเรยี นรู้
คอมพวิ เตอรเ์ พื่อ
15 13 ก.ค. – 7 อบรมพัฒนาตนเองดา้ น ห้องคอมพิวเตอร์ การศึกษา
ก.ย. 64 เทคโนโลยีในช่วงสถานการณ์
โควิด – 19 โรงเรียนบา้ นแกง้ ยาง
ภาพถ่าย
16 17 ก.ค. 64 เขา้ ร่วมเปน็ สมาชกิ สมาพันธ์ ออนไลน์ สมาพันธ์องคก์ ร เกียรติบัตร
17 25 ก.ค. 64 องค์กรวิชาชพี ครไู ทย (ส. ออนไลน์ วชิ าชีพครไู ทย
อ.ท.) ประเภทบุคคล
รร.บรรพตพสิ ัย
กิจกรรมสง่ เสรมิ วถิ ีพ?ุ ธออน
ไลน์ พทิ ยาคม เกยี รติบัตร
สพม.นครสวรรค์
18 25 ก.ค. 64 ระบบกระดูกมนษุ ย์ ออนไลน์ ศนู ยว์ ิทยาศาสตรแ์ ละ
วัฒนธรรมเพื่อ เกียรติบตั ร
การศึกษาร้อยเอ็ด
19 28 ก.ค. 64 การเขา้ รหัสข้อมูลเบื้องต้น ออนไลน์ เรยี นวธิ ีคิดผ่านวิธโค้ด เกยี รตบิ ตั ร
by coding
20 29 ก.ค. 64 ความรูเ้ บอ้ื งตน้ เกีย่ วกบั ออนไลน์ สพป.ชัยภมู ิ เขต 1 เกียรตบิ ัตร
21. 5 ส.ค. 64 วิทยาการคานวณ ออนไลน์
สพป.อบ.4
22 8 ส.ค. 64 ความรู้เบอื้ งต้นโครงการบ้าน ออนไลน์
วิทยาศาสตรน์ ้อย เกยี รตบิ ตั ร
ประเทศไทย ระดบั ปฐมวัย
โรงเรียนธญั บรุ ี เกยี รตบิ ัตร
วนั อาเซยี น สพม.ปทุมธานี
23 11 ส.ค. 64 การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการข้นั ออนไลน์ สพป.อบ.4
พ้ืนฐานโครงการบ้าน
วทิ ยาศาสตรน์ ้อย เกียรตบิ ตั ร
ประเทศไทย ระดบั ปฐมวยั
๑๖
ท่ี วนั /เดือน/ ปี เร่ือง สถานท่ี หน่วยงานที่จัด หลกั ฐาน
ออนไลน์ เกียรตบิ ัตร
24 14 ก.ย. 64 การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาตนเอง สโมสรลูกเสือ
ราชาธิวาส
ดา้ นลกู เสอื เก่ยี วกับ”
ธรรมชาติวิทยา”
(หลักฐานปรากฏภาคผนวก หน้า : 24-26)
3. ดา้ นการพัฒนาตนเองและพัฒนาวชิ าชพี
3.1 การพฒั นาตนเอง
พฒั นาตนเองโดยยดึ หลกั การประเมินสมรรถนะ (Competency Based Approach) จะทาให้
ผู้ปฏิบัตงิ านสามารถรูจ้ ดุ เดน่ จุดด้อยของความสามารถในการปฏิบตั ิงานของตน และสามารถพัฒนาตนเองให้
สอดคล้องกับความต้องการจาเปน็ ของของหนว่ ยงาน และของตนเองอย่างแท้จรงิ ท้ังนี้ ครูจึงต้องมีการวาง
แผนการพฒั นาตนเองในการจัดหอ้ งเรียนท่ีมีคุณภาพ (Individual Development Planning : IDP) เพอ่ื เป็น
การพฒั นาทส่ี นองตอบความต้องการแตล่ ะบุคคล สนองความสนใจในรปู แบบวิธีการพัฒนา ก็จะส่งผลต่อสมรรถนะ
ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ทม่ี ีประสิทธภิ าพตอ่ ไป และ เป็นการพฒั นาท่ตี ่อเนื่องจนทาให้การปฏิบตั ิหน้าทม่ี ีความ
สมบูรณ์ มีประสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธิผล ในการปฏบิ ัติงาน อนั นาไปสู่การพัฒนาตนเองใหเ้ ป็นครูมืออาชีพท่ีมี
มาตรฐานในการปฏบิ ัตงิ านอย่างแทจ้ รงิ สามารถตรวจสอบได้ และพัฒนาส่คู วามเปน็ วชิ าชพี ต่อไป
3.2 การพฒั นาวิชาชพี
ขา้ พเจ้าเข้าร่วมกิจกรรมชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี ซง่ึ ทาให้ 1. เกดิ จากการประยุกต์แนวคดิ องค์กรแหง่
การเรยี นรู้สูโ่ รงเรยี นแหง่ การเรียนรู้ 2. เป็นนวัตกรรมใหมท่ ่ีช่วยใหค้ รูแสวงหาวิธกี ารท่ีจะช่วยใหน้ ักเรียนสามารถ
เรยี นรูแ้ ละพฒั นาตนเอง ได้ 3. ครู นักการศกึ ษา ชมุ ชนและผมู้ ีสว่ นเก่ยี วขอ้ งรวมกลมุ่ กนั เรียนรู้ร่วมกันและ
สะท้อนการปฏิบตั ิ อย่างเปน็ ระบบและตอ่ เน่ือง 4. เป็นการท างานกลมุ่ หรือเป็นทีม การแลกเปลี่ยนเรยี นรจู้ าก
ประสบการณ์ตรง 5. เป็นการรวมตัวกนั ไปพร้อมกบั การพฒั นาทักษะและการเรยี นรู้เพอ่ื ปฏบิ ตั ิหน้าท่ี "ครูเพือ่
ศิษย์" 6. เป็นสถานท่สี าหรบั "ปฏสิ ัมพนั ธ์" ลดความ "โดดเด่ยี ว" 7. สงิ่ สาคญั ท่ีสดุ ของ PLC คือ การทางานทีม่ ุ่งไป
ท่ีการเรยี นรู้ ของเด็กแตล่ ะคนเป็นสาคัญ 8. PLC ม่งุ การปฏิบัตกิ ารสอนและผลสมั ฤทธิ์ของนักเรยี น
4.งานอน่ื ๆ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้ทาหนา้ ที่ท่ีได้รบั มอบหมายอน่ื ๆ ดังน้ี
งานบรหิ ารของสถานศึกษา
1. ครูประจาชั้นอนบุ าล 2-3
2. หัวหนา้ งานบริหารงานทั่วไป
3. กิจกรรมนักเรยี น
โครงการทร่ี บั ผดิ ชอบ ปีการศึกษา 2564
1. โครงการส่งเสรมิ คณุ ภาพผู้เรียนระดับปฐมวัย
2. กจิ กรรมกฬี าสภี ายใน
3. กิจกรรมส่งเสรมิ สุขภาพนักเรยี น
4 กิจกรรมพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
5.กจิ กรรมเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ
6.กจิ กรรมศาสตร์พระราชา
๑๗
7.กจิ กรรมวันสาคัญ
8.กิจกรรมประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น
9.กจิ กรรมประชุมผปู้ กครอง
10.กิจกรรมโรงเรียนปลอดสารเสพตดิ
11.กิจกรรมหนนู ้อยรกั ความสะอาด
12.กจิ กรรมปจั ฉมิ นเิ ทศ
หมวดที่ 1 จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง
ข้อที่ 1. ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตอ้ งมีวินัยในตนเอง พฒั นาตนเองดา้ นวิชาชพี
บคุ ลิกภาพและวิสัยทศั นใ์ ห้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการเศรษฐกจิ และการเมอื งอยู่เสมอ
ข้าพเจา้ เป็นครูผ้มู วี นิ ยั มีวสิ ยั ทศั น์ ตัง้ เปา้ หมายการทางาน ออกแบบวางแผนพฒั นาตนเองโดยเข้ารว่ ม
เรยี นรู้ ประชุม อบรมสมั มนาอยเู่ สมอ เพอ่ื นาความร้มู าพัฒนางานให้บรรลุเป้าหมาย มีความตระหนกั ในหน้าท่ีอยู่
เสมอว่าเปน็ ครทู ่ีดนี ้ัน ตอ้ งสง่ เสริมผเู้ รยี นใหเ้ กิดการเรียนรู้ได้ ทกุ ท่ี ทุกเวลา มที ักษะชีวติ มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมท่ดี ี
งาม ประพฤติตนอยู่ในระเบยี บวนิ ัยมคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคต์ ามค่านยิ มไทย และเป็นครูผู้มีความวิริยะ
อุตสาหะ รับผดิ ชอบต่อหน้าที่ทไ่ี ด้รบั มอบหมายอย่างดีย่งิ มีบุคลกิ และมนษุ ยสัมพันธ์ดี เอ้ือเฟ้ือเก้ือกูลต่อเพ่ือน
รว่ มงานและคนรอบข้างเปน็ แบบอย่างท่ีดีแก่บุคคลทวั่ ไป
หมวดที่ 2 จรรยาบรรณต่อวิชาชพี
ขอ้ ที่ 2. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ต้องรักศรัทธา ซ่อื สตั ย์สุจริตและรบั ผิดชอบเปน็ สมาชิกท่ดี ี
ขององค์กรวิชาชีพ
ข้าพเจา้ เป็นผู้ประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นตามจรรยาบรรณของวชิ าชีพครดู ว้ ยความมุ่งม่ันศรัทธาในวชิ าชีพ เป็น
สมาชิกที่ดีขององค์กรวชิ าชีพ ขยนั อดทน เสยี สละ ปฏิบัติงานดว้ ยความเต็มใจมงุ่ ม่นั ด้วยความซื่อตรง รบั ผดิ ชอบ
ต่อหน้าที่อยา่ งเคร่งครดั รักษาช่ือเสยี งและปกป้องศักดิ์ศรแี หง่ วชิ าชีพครู อกี ทั้งรว่ มเปน็ วทิ ยากรในการพฒั นา
ซื่อสตั ยส์ จุ ริต มวี นิ ัย ปกป้องและรักษาชื่อเสียงของตนเองและหมู่คณะมาโดยตลอด ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรอื
ถกู ว่ากล่าวตักเตือนใดๆ ได้รับความไวว้ างใจ ชุมชนผู้ปกครองเกดิ ความพอใจและม่ันใจในการพฒั นาผเู้ รยี นอยา่ งมี
คุณภาพ ปฏิบัตติ นเป็นแบบอยา่ งทด่ี แี ก่เพื่อนร่วม วงวชิ าชีพครู
หมวดที่ 3 จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
ข้อท่ี 3 ผ้ปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาตอ้ งรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ใหก้ าลังใจ
แกศ่ ษิ ย์และผ้รู บั บริการตามบทบาทหนา้ ทโ่ี ดยเสมอหนา้
ขา้ พเจา้ เป็นครผู ปู้ ฏบิ ตั ิหน้าท่ีดว้ ยความรกั ความเมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลอื สง่ เสรมิ ใหก้ าลังใจแก่
ศษิ ย์และผ้รู ับบริการตามบทบาทหนา้ ทโี่ ดยเสมอหน้า ดงั น้ี
3.1 แสดงความรู้สกึ ให้ความเปน็ กันเอง เปน็ มติ ร ให้ความรกั ใหค้ วามเอาใจใส่ ให้ความช่วยเหลือ
ส่งเสรมิ กบั ตวั นักเรียนในทุกๆเร่อื งๆทุกๆดา้ นและจะชว่ ยรักษาความลับของนักเรียนเป็นที่ไวว้ างใจจากนักเรียน
ทกุ ๆรุ่น
ข้อท่ี 4 ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษาต้องส่งเสริมใหเ้ กิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสยั ทถ่ี ูกต้องดี
งามแก่ศษิ ย์และผรู้ ับบริการ ตามบทบาทหนา้ ท่ี อย่างเต็มความสามารถดว้ ยความบริสทุ ธิ์ใจ
ขา้ พเจ้า เป็นครูผูป้ ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ได้อบรมส่ังสอน ผเู้ รียนเสริมสร้างทักษะใหผ้ เู้ รียนเกิด
การเรยี นรู้และนสิ ัยที่ถูกต้องดีงามให้กับผู้เรยี นอย่างเต็มกาลัง และความสามารถด้วยความบรสิ ทุ ธ์ใิ จและมีความ
มงุ่ มั่นเพ่ือพัฒนาผ้เู รียน
๑๘
ข้อท่ี 5 ผ้ปู ระกอบอาชพี ทางการศึกษาต้องประพฤติ ปฏบิ ัติตนเป็นแบบอยา่ งที่ดีแก่ศษิ ย์ท้งั กาย
วาจาและจิตใจ
ข้าพเจ้า เปน็ ขา้ ราชการครผู ู้ประพฤติปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งที่ดีมีคณุ ธรรมจริยธรรม เป็นแบบอย่างแก่
นกั เรยี นและเพอ่ื นครตู ลอดจนบคุ คลทัว่ ไป ดังน้ี
ขา้ พเจา้ เปน็ แบบอย่างที่ดใี นดา้ นต่างๆ การปฏบิ ตั ิงานตรงเวลา ตงั้ ใจทางานจนสาเรจ็ มคี ณุ ภาพ มงุ่ ม่นั
ขยนั ซอื่ สตั ย์ ประหยัดใช้จ่ายในสง่ิ ทจ่ี าเป็น นาของใช้เก่ามาปรับใช้ใหม่ให้ผลคุ้มคา่ เป็นผ้มู สี ขุ ภาพแข็งแรง ไม่
เคยเปน็ อปุ สรรคในการปฏิบตั ิงาน เปน็ ผทู้ ีม่ ีการแตง่ กาย กิริยา มารยาท เรยี บร้อยเสมอ เป็นผู้ร่วมรกั ษาสมบัติ
ของสาธารณประโยชน์ท่ีเปน้ ของส่วนรวมเปน็ เรื่องสาคญั
ข้อท่ี 6 ผปู้ ระกอบอาชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทาตนเปน็ ปฏปิ ักษต์ อ่ ความเจริญทางกาย
สติปญั ญาจิตใจ อารมณ์และสังคมของศษิ ย์และผูร้ บั บริการ
ข้าพเจา้ เป็นครูผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ไม่กระทาตนเปน็ ปฏิปักษ์ตอ่ ความเจริญทางกาย
สติปัญญา อารมณ์และสงั คมของศิษยแ์ ละผู้รับบรกิ าร ดังน้ี
6.1 ขา้ พเจ้าละเวน้ จากการกระทาทจ่ี ะทาใหน้ ักเรียนเกดิ การกระทบกระเทือนต่อจติ ใจ สติปญั ญา
อารมณ์และสงั คมของนักเรียน
6.2 ขา้ พเจ้าเปน็ ครทู ีล่ ะเวน้ จากการกระทาท่เี ปน็ อนั ตรายต่อสขุ ภาพและร่างกายของนักเรียน
6.3 ข้าพเจ้าเปน็ ครูผู้ละเว้นการกระทาทสี่ กดั กั้นการพฒั นาการทางสติปัญญา จติ ใจ อารมณ์และสังคม
ของนักเรยี น
ขอ้ ท่ี 7 ผปู้ ระกอบอาชพี ทางการศึกษา ต้องใหบ้ ริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรบั
หรอื ยอมรับผลประโยชน์จากการใชต้ าแหน่งหน้าทโี่ ดยมิชอบ
ข้าพเจา้ เป็นครูผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ไมแ่ สวงหาผลประโยชน์อนั เป็นอามสิ สินจ้างจาก
นักเรียนในการปฏิบัติตามปกติและไมใ่ ชน้ ักเรียนกระทาการใดๆอนั เปน็ การแสวงหาประโยชนใ์ ห้แก่ตนโดยมิชอบ
ดงั ต่อไปน้ี
7.1 ขา้ พเจา้ เป็นครูไม่รบั หรือแสวงหาอามิสสนิ จา้ งหรือผลประโยชน์อนั มคิ วรจากนักเรียนไดแ้ ก่
7.2 ขา้ พเจา้ ไม่ใชน้ กั เรยี นเป็นเครอื่ งมือเพอื่ หาผลประโยชน์ให้กับตนโดยมิชอบด้วยกฎหมาย
ขนบธรรมเนยี มประเพณหี รือความรสู้ กึ ทางสังคม
หมวดที่ 4 จรรยาบรรณตอ่ ผู้รว่ มประกอบวชิ าชพี
ขอ้ ที่ 8 ผูป้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษาพึงช่วยเหลอื เกื้อกูลซ่งึ กนั และกันอย่างสรา้ งสรรคโ์ ดยยึดมนั่
ในระบบคุณธรรมสร้างความสามัคคใี นหมู่คณะ
ข้าพเจ้า ไดม้ ีสว่ นร่วมในการพัฒนาการศึกษาโดยถ่ายทอดความรูแ้ ละประสบการณ์ รวมทง้ั ฝกึ ฝนนักเรียน
ใหเ้ ป็นผมู้ ีความร้คู วามสามารถกลา้ แสดงออกในเชงิ สรา้ งสรรค์
หมวดท่ี 5 จรรยาบรรณตอ่ สงั คม
ข้อท่ี 9 ผูป้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา พึงประพฤตปิ ฏิบตั ิตนเปน็ ผู้นาในการอนรุ ักษ์ และพัฒนา
เศรษฐกิจ สงั คม ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ส่ิงแวดล้อม รกั ษาผลประโยชนข์ องส่วนรวมและยึด
มั่นในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ
ขา้ พเจ้า เปน็ ผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาที่ประพฤติปฏิบัตติ นเป็นผู้นาในการอนรุ ักษ์ และพัฒนา
เศรษฐกจิ สังคม ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม ภูมิปัญญา ส่งิ แวดลอ้ ม รักษาผลประโยชนข์ องส่วนรวมและยดึ ม่ันใน
การปกครองระบอบประชาธิปไตย ดังต่อไปนี้
1.เปน็ ครผู ปู้ ฏบิ ตั หิ น้าท่เี ป็นพลเมืองท่ดี ีสง่ เสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี
๑๙
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
2.จดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ก่อให้เกิดการป้องกันและแกไ้ ขปัญหาทางเศรษฐกจิ สังคม
3.จัดกจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยการสอดแทรกการอนุรกั ษ์และการพัฒนาส่ิงแวดล้อมในเนื้อหาวิชา
4. ไดร้ ณรงคจ์ ดั กจิ กรรมการส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็
พระประมุข มพี ฤตกิ รรมแสดงถึงประชาธิปไตยทีแ่ ทจ้ รงิ ดงั ตอ่ ไปนี้
5.จดั กิจกรรมส่งเสรมิ ใหศ้ ิษย์เกดิ การเรียนรู้และดาเนินชวี ติ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง
6. เปน็ ผู้นาในการสง่ เสรมิ ศลิ ปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาและการอนรุ ักษส์ ่ิงแวดล้อม
7.นาเอาภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ศาสนา วัฒนธรรม สงิ่ แวดลอ้ มมาพฒั นาก่อให้เกิดประโยชนต์ ่อเศรษฐกจิ
สงั คมและส่วนรวมเป็นสาคัญ
8. การรักษาภาพลักษณ์และความสามคั คีในองค์กร ชมุ ชน และสงั คม
ข้าพเจ้า ไดม้ ีสว่ นร่วมในการพัฒนาการศกึ ษาโดยถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ รวมท้ังฝึกฝนนักเรยี นใหเ้ ป็นผู้
มคี วามรู้ความสามารถกลา้ แสดงออกในเชงิ สรา้ งสรรค์
ขา้ พเจา้ ไดร้ ับความไว้วางใจจากผ้บู ังคบั บัญชาแต่งตั้งรบั ผิดชอบงานนอกเหนือจากการเรยี นการสอน
และข้าพเจา้ ได้ปฏิบัติหนา้ ทด่ี ้วยความมานะ พยายาม วริ ิยะ อตุ สาหะ ด้วยความมุ่งม่ันตลอดระยะเวลาที่ปฏิบัติ
หน้าทร่ี าชการ
สว่ นท่ี 2 รายงานผลการปฏิบตั งิ าน
ตอนท่ี 1 การประเมนิ การปฏบิ ตั ติ นในการรกั ษาวนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
๑. มีความซ่ือสัตย์ สุจริต รักษาประโยชน์ส่วนรวม ไม่อาศัย หรือยินยอมให้ผู้อ่ืนใช้อานาจหน้าท่ีของ
ตนเอง เพอื่ แสวงหาประโยชน์
ข้าพเจ้าปฏิบัติงานด้วยความซ่ือสัตย์สุจริต เที่ยงตรงและเท่ียงธรรม ได้รับการยอมรับจากเพื่อน
ร่วมงานและผู้บังคับบัญชา ในด้านความซ่ือสัตย์สุจริต รักษาผลประโยชน์ของทางราชการ ไม่มีผลประโยชน์ทับ
ซ้อน ใช้สินทรัพย์ของทางราชการอย่างคุ้มคา่ ไม่ใช้ช่องว่างทางระเบียบและกฎหมายเพื่อผลประโยชน์ส่วนตนและ
ผูอ้ ่ืน ไมแ่ สวงหาผลประโยชน์ท่ีเกิดจากช่องว่างทางระเบียบกฎหมายจากผู้ปกครอง และนักเรียนในงานที่เก่ียวกับ
บทบาท หน้าท่ี และภารกจิ ท่ตี นรบั ผดิ ชอบ
๒. การปฏบิ ตั ิตามระเบียบ กฎหมาย นโยบาย และคาสง่ั ของผูบ้ งั คับบญั ชา
ขา้ พเจ้ามีความรู้และปฏบิ ัตติ ามระเบียบกฎหมายท่ีเก่ยี วข้องอยา่ งเครง่ ครัด ปฏิบัตติ ามคาสั่ง หรือนโยบาย
ท่ีชอบ ด้วยกฎหมายอย่างเครง่ ครัดของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาหรือผู้บริหารการศึกษาหรือหนว่ ยงานต้นสงั กัด และไม่
ใช้ช่องว่างทางระเบยี บ และกฎหมายกล่นั แกล้งผอู้ ื่น
๓. มคี วามวริ ิยะ อตุ สาหะ ตรงตอ่ เวลา และอุทิศเวลาให้แก่ทางราชการ
ข้าพเจา้ พัฒนาตนเองและงานโดยให้หลกั การพัฒนาแบบม่งุ ผลสัมฤทธมิ์ ที กั ษะการสอนงาน จ น
สามารถเป็นต้นแบบได้ เป็นผู้ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่องาน ตามบทบาท หน้าท่ี ภารกิจที่ได้รับมอบหมาย
และอทุ ศิ เวลาโดยมีจิตสานึก มคี วามรบั ผดิ ชอบ
๒๐
4. การมจี ิตสานึกทดี่ ี มุง่ บรกิ ารตอ่ กลมุ่ เปา้ หมายผู้รับบรกิ ารโดยไม่เลอื กปฏบิ ัติ
ข้าพเจ้ามีพฤติกรรมเชิงบวกในการให้บริการกับกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการ มุ่งมั่นในการให้ความรู้และวิธี
ปฏิบัติที่ถูกต้องกับกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการ ให้บริการกับกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการ
เรียนการสอนโดยไม่เลือกปฏิบัติ ให้บริการกับผู้ปกครองทุกคน ในประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนของ
ผู้เรียนในการปกครองโดยไม่เลือกปฏิบัติ ให้ความร่วมมือกบั ประชาชน ชุมชนในประเด็นที่เก่ียวข้องกับการพฒั นา
ผู้เรยี น โดยไม่เลอื กปฏบิ ตั ิ
5. การรักษาคณุ ภาพตามมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณวิชาชีพ
ขา้ พเจา้ ปฏิบตั งิ านโดยเข้ารว่ มกจิ กรรมของวชิ าชพี หรืององค์กรวิชาชพี เพ่ือพัฒนาความเชยี่ วชาญทาง
วชิ าชพี ของตนเองอย่างสม่าเสมอ ปฏิบัตงิ านโดยใหค้ าปรึกษาหรอื ชว่ ยเหลอื กลมุ่ เป้าหมายผรู้ ับบรกิ ารดว้ ยความ
เมตตากรุณาอย่างเต็มที่ เต็มกาลังความสามารถและเสมอภาค ปฏบิ ตั ิตนด้วยการดารงชีวิตตามหลกั ปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ป้องกันความเสีย่ งในการดาเนนิ ชีวิตภายใต้ความรู้และคุณธรรมอันดี ประพฤตติ นเปน็ ผ้นู าใน
การอนรุ ักษ์ ศลิ ปวฒั นธรรม ภูมิปัญญาท้องถนิ่ และสงิ่ แวดล้อม ไม่กระทาตนเปน็ ปฏปิ ักษ์ต่อความเจรญิ ทางกาย
สติปญั ญา จติ ใจ อารมณ์ และสงั คม ของกลุ่มเป้าหมายผ้รู บั บรกิ ารบคุ ลากรทางการศึกษา และผรู้ ว่ มงาน
6. การรักษาภาพลักษณะและความสามคั คีในองคก์ ร ชุมชน และสังคม
ข้าพเจ้ามีภาพลักษณ์เป็นแบบอย่างที่ดีทางด้านศีลธรรม จริยธรรม คุณธรรมและวัฒนธรรมที่ดีเป็น
แบบอย่างทางสังคม เข้ารว่ มกจิ กรรมที่ส่งเสริมวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณอี ันงดงาม ขององค์กรและสงั คม
และสถานศึกษาอย่างสม่าเสมอ รวมถงึ กิจกรรมด้านส่ิงแวดล้อม และประโยชน์สาธารณะ ปฏบิ ัติต่อกลุ่มเป้าหมาย
ผู้รับบริการเพื่อนร่วมงาน และประชาชน อย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน ปฏิบัติตนเพื่อเป็นการเสริมสร้างความ
สามคั คี ช่วยเหลอื เกือ้ กลู ในการทางานหรอื อยรู่ ่วมกับผอู้ ืน่ รวมทัง้ ปลกู ฝังแก่กลุ่มเปา้ หมายผ้รู ับบริการ
ข้าพเจา้ ขอรบั รองวา่ ขอ้ ความดังกลา่ วขา้ งตน้ น้ี เป็นความสตั ยจ์ ริงทกุ ประการจงึ ลงลายมือช่อื ไว้เปน็ หลักฐาน
ลงชือ่ .............................................. ผู้รายงาน
(นางดารารัตน์ ใจตรง)
ตาแหน่ง ครูอตั ราจ้าง
ลงชื่อ ....................................................... ผูร้ ับรอง
(นางสาวอรสิ รา ชัดเจน)
ตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแก้งยาง
๒๑
ภาคผนวก
๒๒
คาสั่งแต่งตงั้ ปฏิบตั หิ นา้ ที่
ลำดบั ที่ เลขท่คี ำสั่ง เรื่อง หนำ้ ที่
๑ ๑๙/๒๕๖๔
๒ ๒๑/๒๕๖๔ แตง่ ต้งั ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากร ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ดว้ ยความเรียบร้อย โดยยึดถอื
๓ ๒๒/๒๕๖๔
๔ ๒๓/๒๕๖๔ ทางการศึกษา ปฏิบัติหน้าทเี่ วร ระเบยี บวา่ ด้วยการปฏบิ ตั ิหน้าท่ี รกั ษาเวร
๕ ๒๕/๒๕๖๔
6 ๒๘/๒๕๖๔ วนั เสาร์ วนั อาทิตย์ ยามอยา่ งเครง่ ครัด ไมใ่ หเ้ กิดความเสียหาย
7 ๓๐/๒๕๖๔
๘ ๓๔/๒๕๖๔ แก่ทางราชการได้
๙ ๓๓/๒๕๖๔
แตง่ ตั้งข้าราชการครูและบคุ ลากร ปฏบิ ัติหนา้ ที่ด้วยความเรียบร้อย โดยยึดถือ
ทางการศกึ ษา ปฏิบัติหน้าทเ่ี วร ระเบยี บวา่ ด้วยการปฏบิ ัตหิ น้าที่ รักษาเวร
วันเสาร์ วันอาทติ ย์ ยามอยา่ งเครง่ ครัด ไม่ใหเ้ กดิ ความเสียหาย
แก่ทางราชการได้
แตง่ ตั้งข้าราชการครูและบคุ ลากร ปฏบิ ัติหน้าท่ีด้วยความเรียบร้อย โดยยึดถอื
ทางการศึกษา ปฏิบัตหิ น้าท่ีเวร ระเบยี บว่าดว้ ยการปฏบิ ตั หิ น้าท่ี รักษาเวร
วันเสาร์ วันอาทติ ย์ ยามอย่างเคร่งครัด ไมใ่ ห้เกิดความเสียหาย
แกท่ างราชการได้
แตง่ ตง้ั ข้าราชการครแู ละบุคลากร ปฏบิ ัติหน้าท่ีด้วยความเรียบร้อย โดยยดึ ถอื
ทางการศกึ ษา ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่เวร ระเบียบว่าดว้ ยการปฏบิ ตั ิหน้าที่ รักษาเวร
วนั เสาร์ วันอาทติ ย์ ยามอย่างเคร่งครัด ไม่ให้เกิดความเสยี หาย
แก่ทางราชการได้
แต่งตัง้ ครูประจาชนั้ ระดบั กอ่ น ครปู ระจาช้ันอนบุ าล 2-3
ประถมศึกษาและระดับชั้น
ประถมศกึ ษา ประจาปีการศึกษา
๒๕๖๔
แตง่ ตั้งข้าราชการครูและบุคลากร ปฏิบัติหนา้ ทด่ี ้วยความเรยี บร้อย โดยยดึ ถือ
ทางการศกึ ษา ปฏบิ ตั ิหน้าทเ่ี วร ระเบียบวา่ ดว้ ยการปฏิบัตหิ น้าที่ รักษาเวร
วันเสาร์ วนั อาทิตย์ ยามอยา่ งเคร่งครัด ไม่ให้เกดิ ความเสยี หาย
แกท่ างราชการได้
แต่งตง้ั ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะและการ
ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีหวั หนา้ กลุ่มสาระการ งานอาชีพ
เรียนรู้ ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
แต่งตัง้ คณะครแู ละบุคลากรทางการ รบั ผิดชอบนานักเรียนเข้าร่วมจัดนิทรรศการ
ศกึ ษาปฏิบัตหิ น้าทรี่ ับผิดชอบนา แสดงผลงานสถานศึกษาพอเพียง
นกั เรยี นเข้ารว่ มจัดนิทรรศการ
แสดงผลงานสถานศึกษาพอเพยี ง
แต่งตั้งครูสอนประจาวชิ า กิจกรรมสาหรบั อนุบาล 2-3
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
๑๐ ๓๕/๒๕๖๔ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการจัดงานวันไหว้ - คณะกรรมการฝ่ายจดั สถานที่
๒๓
ลำดับท่ี เลขทค่ี ำสงั่ เรื่อง หนำ้ ที่
ครู ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ - คณะกรรมการฝ่ายแสงและสยี ง
- ฝ่ายฝึกซอ้ มพิธีไหวค้ รู
๒๔
เกียรติบัตร
๒๕
๒๖
๒๗
๒๘
ภำพกจิ กรรม
๒๙
ภำพกจิ กรรม
๓๐
ภำพกจิ กรรม