The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาภาษาไทย หน่วยที่ ๔ พูดอย่างสร้างสรรค์ ป.6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Teaching E-Book, 2023-09-27 11:33:19

หน่วยที่ ๔ พูดอย่างสร้างสรรค์ ป.6

วิชาภาษาไทย หน่วยที่ ๔ พูดอย่างสร้างสรรค์ ป.6

Keywords: วิชาภาษาไทย

พูพู พูพู ดอย่ย่ ย่ย่ างสร้ร้ ร้ร้ างสรรค์ค์ ค์ค์ หน่น่ น่ ว น่ วยที่ที่ ที่ที่ ๔ ชั้ชั้ ชั้ น ชั้ นประถมศึศึ ศึ ก ศึ กษาปีปีปี ที่ ปี ที่ ที่ ๖ที่


ร ะ ดั บ ภ า ษ าเ ขี ย น คำ ข วั ญโต้ว าที ๓ สารบัญบั ๑๕๓๕


ระดับภาษา (๑)


จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. บอกระดับของภาษาได้ ๒. จ าแนกระดับของภาษาได้ ๓. บอกความส าคัญของการใช้ภาษา ตามระดับภาษาได้


ภาษาแบบแผน ภาษาแบ่งออกได้ ๓ ระดับ ภาษา กึ่งแบบแผน ภาษาพูด


ภาษาแบบแผน เป็นภาษาที่เป็นแบบแผนต้องใช้ให้ถูกต้อง ตามหลักไวยากรณ์ เช ่น ต าราวิชาการ การใช้ค าราชาศัพท์ การกล ่าวค าปราศรัย กล่าวเปิดงาน


ตัวอย่าง ในอนาคตแผ ่นดินไหวจะเกิดขึ้นและ รุนแรงขึ้น เพราะแผ ่นดินไหวแต ่ละครั้ง มีผลกระทบต่อเปลือกโลก


ภาษากึ่งแบบแผน ภาษาสื่อสารทั่วไปกับบุคคลที่ไม่คุ้นเคย เช่น สนทนากับผู้ใหญ่ การบรรยายในชั้นเรียน การประชุม อภิปราย การออกอากาศทางวิทยุ โทรทัศน์ ข่าวในหนังสือพิมพ์


ตัวอย่าง การขนส ่งทางบกช้ากว ่าทางน ้า เพราะรถติด


ภาษาพูด เป็นภาษาระดับกันเอง ใช้สนทนากับ ผู้คุ้นเคยในครอบครัว เพื ่อนฝูง รวมทั้ง การใช้ภาษาถิ่น


ตัวอย่าง เท่าที่พบการท างานส่งครูของนักเรียน แย่มากจริง ๆ


เปรียบเทียบระดับของภาษา


เปรียบเทียบระดับของภาษา ภาษาแบบแผน ภาษา กึ่งแบบแผน ภาษาพูด ตระหนี่ หวง งก ทุจริต คดโกง ขี้โกง เจรจา สนทนา พูด


เปรียบเทียบระดับของภาษา ภาษาแบบแผน ภาษา กึ่งแบบแผน ภาษาพูด ศีรษะ หัว กบาล ประทับตรา ตีตรา ปั๊มตรา หนังสือรับรอง ใบรับรอง ใบรับรอง


การใช้ภาษาในแต่ละระดับบุคคล มีความแตกต่างกันหรือไม่ แล้วมีวิธีการใช้ภาษาอย่างไร


เพราะเหตุใดจึงต้องใช้ภาษาสื่อสาร ตามระดับของภาษา


เขียนค าขวัญ


อ่านค าขวัญ


เอกลักษณ์ไทยที่โดดเด่น เฉกเช่นความเป็นเอกราช ด้วยภาษาชาติอันล ้าค่า คลังปัญญาของแผ่นดิน


เรียนรู้ตลอดชีวิต คิดอย่างสร้างสรรค์ ก้าวทันเทคโนโลยี


หนังสือคือมิตร สื่อความคิดให้ก้าวไกล


ครูวิถีใหม่ ใส่ใจดิจิทัล สร้างสรรค์ คุณธรรม ประจ าชาติ


เด็กไทยวิถีใหม่ รวมไทยสร้างชาติด้วยภักดี มีคุณธรรม


สงกรานต์สร้างสรรค์ ยึดมั่นประเพณี ปลอดภัยทุกชีวี สามัคคีทั่วไทย


จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. บอกหลักการเขียนค าขวัญได้ ๒. เขียนค าขวัญ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ได้ ๓. น าหลักการเขียนค าขวัญไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้


ค าถามกระตุ้นความคิด นักเรียนลองช่วยกันวิเคราะห์การใช้ภาษา ในการเขียนค าขวัญ ว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร ใช้ภาษาที่สละสลวย สั้น กระชับ สัมผัสคล้องจอง ได้ใจความ


ค าถามกระตุ้นความคิด ค าขวัญของแต่ละจังหวัด บอกอะไรเรา - เอกลักษณ์ของจังหวัดนั้น ๆ - ความภาคภูมิใจในจังหวัด - สถานที่ส าคัญในจังหวัด


ค าถามกระตุ้นความคิด จากค าขวัญนี้ มีจุดประสงค์เพื่ออะไร เพื่อต้องการให้คนหันมาปลูกต้นไม้


ค าถามกระตุ้นความคิด ลักษณะของค าขวัญเป็นอย่างไร - ใช้ค าสั้นกะทัดรัด - มีความคล้องจอง - มีข้อคิด


ลักษณะของค าขวัญที่ดี ๑. มีเจตนาที่ดี ต่อผู้ฟัง ผู้ปฏิบัติ หรือ ผลประโยชน์ของส่วนรวม เช่น ค าขวัญเชิญชวนให้ประหยัดน ้า ประหยัดไฟ ฯลฯ


ลักษณะของค าขวัญที่ดี ๒. มีเป้าหมายชัดเจนเพียงเป้าหมายเดียว เช่น เพื่อให้เคารพกฎจราจร เพื่อให้ช่วยรักษาความสะอาด ฯลฯ


ลักษณะของค าขวัญที่ดี ๓. มีเนื้อหาครอบคลุมเป้าหมาย ๔. ไพเราะ สัมผัสคล้องจอง มีพลัง โน้มน้าวใจผู้ฟังให้จ าและปฏิบัติตาม


หลักการเขียนค าขวัญ ๑. ใช้ถ้อยค าส านวนที่กะทัดรัด สละสลวย ๒. ความหมายเด่น ดึงดูดใจ ๓. อาจใช้ค าสัมผัสสระ หรือสัมผัสอักษร ๔. ไม่ใช้ตัวเลขปนตัวหนังสือ ๕. ไม่ลงท้ายด้วยค าว่า เอย


ให้นักเรียนท าใบงาน เรื่อง การแต่งค าขวัญ


สร้างความคิด ลิขิตแนวทา 2 ง รักษ์ป่า รักษ์ต้นไม้ ................................... ป่าไม้มีบุญคุณ เกื้อหนุนชีวิต ................... เราต้องคิดรักษา ....... น ้าทุกหยดให้คุณค่า ..................... พิจารณาก่อนใช้ ....... อย่าให้ใครมาท าลาย


นักเรียนจะน าความรู้เรื่อง การเขียนค าขวัญ ไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้อย่างไร


โต้วาที (๑)


จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. บอกหลักการพูดโต้วาทีได้ ๒. ตั้งญัตติในการโต้วาทีได้ ๓. อธิบายความส าคัญของการพูดโต้วาที ๔. เห็นประโยชน์ของการโต้วาที


การโต้วาที เป็นการแสดงศิลปะการพูดระหว่างคณะบุคคล ๒ ฝ่ายที่ใช้คารมประกอบเหตุผล หักล้างเหตุผล ของอีกฝ่ายหนึ่ง และโน้มน้าวใจผู้ฟังให้คล้อยตาม เหตุผลของตน


จุดประสงค์การโต้วาที


๑. เปิดโอกาสให้บุคคลที่มีทัศนะขัดแย้งกัน ได้ชี้แจงเหตุผลให้ผู้อื่นทราบ ๒. ฝึกฝนทักษะการพูด ใช้เหตุผล ปฏิภาณไหวพริบ วาทศิลป์ ประสบการณ์ ความรอบรู้ การแสดงออกที่เหมาะสม


๓. ฝึกการคิดอย่างมีเหตุผล รู้จัก แสวงหาข้อมูล ข้อเท็จจริง มาสนับสนุนและหักล้างได้อย่างมีน ้าหนัก น่าเชื่อถือ ๔. ฝึกฝนทักษะการฟังอย่างมีวิจารณญาณทั้งผู้พูด และผู้ฟัง


องค์ประกอบการโต้วาที ญัตติ ประธาน การโต้วาที ผู้โต้วาที กรรมการ ตัดสิน เวลาที่ใช้ ในการโต้วาที


คือ หัวข้อที ่น ามาโต้วาที ควรเลือก หัวข้อที่น่าสนใจ เป็นเรื่องจริง เสริมสร้าง สติปัญญา และไม่ให้ร้ายใคร ญัตติ


มีหน้าที ่ควบคุมการโต้วาที แนะน า ผู้โต้วาที รักษาเวลาและสรุปผลการตัดสิน ประธานการโต้วาที


ผู้โต้วาที หัวหน้า ฝ่ายค้าน หัวหน้า ฝ่ายเสนอ ผู้สนับสนุน ฝ่ายละ ๒-๓ คน


ควรใช้กรรมการจ านวน ๓ - ๕ คน และควรเป็นจ านวนคี่ กรรมการตัดสิน


ตามความเหมาะสม เช่น หัวหน้าพูด คนละ ๕ นาที และพูดสรุปคนละ ๓ นาที ผู้สนับสนุนพูดคนละ ๓ นาที เวลาที่ใช้ในการโต้วาที


ขั้นตอนในการโต้วาที ประธาน กล่าวแนะน า หัวหน้า ฝ่ายเสนอพูด หัวหน้า ฝ่ายค้านพูด ผู้สนับสนุน ทั้ง ๒ ฝ่ายพูด หัวหน้าฝ่ายค้าน และฝ่ายเสนอสรุป


มารยาทในการโต้วาที


Click to View FlipBook Version