PLANT HORMONES
BIOLOGY
植
物
ホ
ル
モ
ン
生
活
คำนำ
นิตยสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา
ชีววิทยาพื้นฐาน2 (ว30152) และรายวิชา ชีววิทยา
เพิ่มเติม3(ว32251) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 โดยมีจุด
ประสงค์เพื่อการศึกษาหาความรู้ในเรื่องของ ฮอร์โมน
พืช และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์ในการ
เรียนในรายวิชา ชีววิทยาพื้นฐานและชีววิทยาเพิ่มเติม
คณะผู้จัดทำหวังว่า นิตยสารฉบับนี้จะเป็น
ประโยชน์ไม่มากก็น้อยต่อผู้ศึกษา หรือ ผู้ที่สนใจใน
เรื่องนี้ หากมีข้อแนะนำหรือมีข้อบกพร่อง ผิดพลาด
ประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้
คณะผู้จัดทำ
วันที่ 9 กันยายน 2564
ฮอร์โมนพืช Arpad Paal
Plant Hormones Frits Went
Peter Boysen
- Jensen
Francis Darwin
Charles Darwin
ประวัติการศึกษา
เกี่ยวกับฮอร์โมนพืช
12
Contents
(Plants hormones)
34
ฮอร์โมนพืช 5 กลุ่ม ความสำคัญของ
ฮอร์โมนพืชและ
ออกซิน ( Auxin )
การนำมาใช้
จิบเบอเรลลิน ประโยชน์
(Gibberellin)
ไซโทไคนิน
( Cytokinin )
เอทิลีน (Ethylene)
กรดแอบไซซิก
( Abscisic acid )
コ
ン
テ
ン
PLANT 1
HORMONES
ฮอร์โมนพืช (Plant Hormones) คือสารอินทรีย์ที่พืชสร้างขึ้นเอง
ตามธรรมชาติบริเวณเนื้ อเยื่ อส่วนใดส่วนหนึ่งของต้นพืช ก่อนทำการ
เคลื่ อนย้ายสารดังกล่าวไปยังเนื้ อเยื่ อเป้าหมาย เพื่ อส่งสัญญาณในการ
เริ่มกระบวนการสร้าง ควบคุมหรือเปลี่ยนแปลงส่วนต่าง ๆ ของพืช
ทั้งด้านการเจริญเติบโต การงอกของเมล็ด การออกดอกออกผล
และการผลัดใบ รวมไปถึงการยับยั้งการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
ภายในต้นพืชนั้นๆ อีกด้วย ฮอร์โมนพืชมีอยู่ในพืชทุกชนิดทุกสายพันธุ์
ในอาณาจักรพืช (Plant Kingdom) แม้แต่ในสาหร่ายหรือพืชโบราณ
ต่างมีฮอร์โมนพืชทำหน้าที่เป็นตัวส่งสัญญาณเพื่ อควบคุมการเจริญ
เติบโตในด้านต่างๆ
1
ฮอร์โมนพืชจะทำปฏิกิริยากับการแสดงออกของยีนส์,ระดับ
ของการถอดรหัส, การแบ่งเซลล์และการเจริญเติบโต โดย
ธรรมชาติแล้วพืชจะผลิตฮอร์โมนขึ้นมาเอง แต่สารเคมีที่มี
ลักษณะคล้ายกันที่ผลิตมาจากเชื้ อราหรือแบคทีเรียก็มีผลต่อ
การเจริญเติบโตของพืชได้ นอกจากนี้ยังมีสารเคมีที่
เ กี่ ย ว ข้ อ ง จำ น ว น ม า ก ที่ ส า ม า ร ถ ถู ก สั ง เ ค ร า ะ ห์ขึ้ น ม า ไ ด้ แ ล ะ ถู ก
ใช้สำหรับการควบคุมการเจริญเติบโตของพืชที่เพาะปลูก,
วัชพืช, พืชที่ปลูกในหลอดทดลองหรือที่ได้จากการเพาะเชื้ อ
และรวมถึงเซลล์พืช สารเคมีที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นนี้จะถูกเรียก
ว่า สารควบคุมการเจริญเติบโตของพันธ์พืช (Plant
Growth Regulator; PGR)ฮอร์โมนพืชไม่ใช่สารอาหารของ
พืช แต่เป็นสารเคมีที่ใช้ในปริมาณน้อย ๆ เพื่ อส่งเสริมและ
ควบคุมการเติบโตของพืช ซึ่งรวมไปถึงการเปลี่ยนสภาพของ
เซลล์และเนื้ อเยื่ อด้วย
ピ
ー
ギ
ー
ア
2ー
โดยพืชสามารถเคลื่ อนย้ายฮอร์โมนได้หลายวิธี สำหรับการเคลื่ อน
ย้ายเฉพาะตำแหน่งจะใช้กลไกของกระแสไซโทพลาซึมและการแพร่
กระจายอย่างช้า ๆ ของไอออนและโมเลกุลระหว่างเซลล์ ส่วนการ
เคลื่ อนย้ายระหว่างส่วนต่าง ๆ ของพืชจะใช้เนื้ อเยื้ อท่อน้ำเลี้ยงใน
การเคลื่ อนย้ายฮอร์โมน ซึ่งรวมถึงท่อลำเลียงอาหารที่ใช้เคลื่ อน
ย้ายน้ำตาลจากใบไปรากและดอก ส่วนท่อลำเลียงน้ำที่ใช้เคลื่ อนย้าย
น้ำและแร่ธาตุจากรากไปใบ เซลล์พืชไม่สามารถตอบสนองกับ
ฮอร์โมนได้ทุกเซลล์ ซึ่งเซลล์แต่กลุ่มจะตอบสนองกับฮอร์โมนใน
จังหวะเวลาจำเพาะของตัวเอง พืชต้องการฮอร์โมนเฉพาะที่และ
เฉพาะเวลาในรอบวงจรการเจริญเติบโตมัน และพืชยังต้องการที่จะ
ปลดปล่อยผลของฮอร์โมนออกในเวลาที่ไม่ต้องการอีกด้วย
โดยฮอร์โมนจะถูกสร้างขึ้นบ่อยครั้ง ณ บริเวณที่มีการเติบโต
มากในเนื้ อเยื่ อเจริญ (ก่อนที่เซลล์จะแปลงสภาพเสร็จ) และ
หลังจากที่ฮอร์โมนถูกสร้างขึ้นมาบางครั้งฮอร์โมนก็จะถูกเคลื่ อน
ย้ายไปที่ส่วนอื่ น ๆ ของพืช
ความเข้มข้นของฮอร์โมนที่พืชใช้อยู่ในระดับที่ต่ำมาก (10-6 ถึง
10-5 โมลต่อลิตร) ซึ่งความเข้มข้นในระดับที่ต่ำมากนี้ทำให้การ
ศึกษาเกี่ยวกับฮอร์โมนพืชทำได้ยาก และช่วงหลังของทศวรรษที่
1970 มานี้เองที่การศึกษาเรื่องฮอร์โมนพืชที่เชื่ อมโยงฮอร์โมน
พืชแต่ละตัว, ระหว่างผล และระหว่างผลกับพืชเพิ่งจะถูกรวม
เข้าไว้ด้วยกัน
3
山
の
木
々
は
い
つ
も
美
し
い
で
す
。
4
ป ร ะ วั ติ ก า ร ศึ ก ษ า เ กี่ ย ว กั บ
ฮอร์โมนพืช
2 Charles Darwin
สังเกตเห็นส่วนยอดหรือคอลิออพ 5
ไทล์ (coleoptile) ของพืชตระกูลหญ้า
คานารี เอนเข้าหาแสงเสมอ ดาร์วิน
ได้เอากระดาษทึบแสงคลุมส่วนของ
โคลิออพไทล์ไว้แล้วให้ได้รับแสง
ปรากฏว่าโคลิออพไทล์ไม่ได้โค้งเข้าหา
แสง ต่อมาดาร์วินได้ตัดส่วนของโคลิ
ออพไทล์ทิ้งไปแล้วให้แสง ปรากฏว่า
พืชไม่มีการโค้งเข้าหาแสงเหมือนกัน
พ.ศ. 2423 ( ค.ศ. 1880 ) นักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ
Francis Darwin
สรุป “ ส่วนปลายของยอด
(Coleoptile) มีสิ่งเร้าบาง
อย่างเคลื่ อนย้ายหรือลำเลียง
ไปยังส่วนที่ต่ำกว่าทำให้ส่วนที่
อยู่ต่ำกว่าโค้งเข้าหาแสง”
6
ピ
ー
タ
ー
ボ
イ
セ
ン
ジ
ェ
ン
セ
ン
7
Peter Boysen - jensen
ปีเตอร์ บอยเซน - เจนเซน
พ. ศ. 2456 ( ค.ศ.1913 )
นักสรีรวิทยาของพืชชาวเดนมาร์ก
ได้ทดลองโดยการใช้แผ่นไมกาคั่นที่ใต้คอลิออพไทล์ พบว่าโคลิออพไทล์ไม่มี
การเคลื่ อนไหวเข้าหาแสง ต่อมาได้ทดลองอีกโดยการตัดคอลิออพไทล์ออก
แล้วเอาแท่งเจลาตินวางไว้ด้านบนแล้วเอาโคลิออพไทล์วางไว้บนแท่งเจลา
ทินอีกทีหนึ่ง เมื่ อให้ได้รับแสงระยะหนึ่งพบว่า โคลิออพไทล์เกิดการโค้งเข้า
หาแสงได้ การทดลองนี้แสดงให้เห็นว่าส่วนของโคลิออพไทล์สามารถสร้าง
สารเคมีบางอย่าง ซึ่งสามารถแพร่ผ่านแท่งเจลาทินได้ แต่ผ่านแผ่นไมกา
ไม่ได้และสารเคมีนั้นกระตุ้นให้โคลิออพไทล์เติบโตและโค้งเข้าหาแสงได้
สรุป “ สิ่งเร้าที่มีอิทธิพลต่อการโค้งของปลายยอด เป็นสารเคมีที่สร้าง
จากปลายยอด สามารถผ่านเจลาตินลงมาได้ ซึ่งมีอิทธิพลทำให้เกิดการ
โค้งเข้าหาแสง แต่สารนี้ไม่สามารถผ่านแผ่นไมก้าได้”
8
Arpad Paal
อาร์แพด ปาล
พ.ศ. 2462 ( ค.ศ. 1919 )
นักวิทยาศาสตร์ชาวฮังการี
ได้ทำการทดลองโดยการตัดปลายโคลิออพไทล์ของข้าวโอ๊ต
อ อ ก แ ล้ ว ว า ง ก ลั บ ล ง ไ ป แ ต่ เ ฉี ย ง ไ ป ท า ง ด้ า น ห นึ่ ง พ บ ว่ า มี ก า ร
โค้งเกิดขึ้นถึงแม้จะไม่มีแสงเลยก็ตาม ซึ่งแสดงว่าสารเคมีมี
การเคลื่ อนย้ายจากโคลิออพไทล์ลงสู่ด้านล่าง
สรุป “ สารเคมีที่มีผลทำให้ปลายยอดโค้งเข้าหาแสง
สามารถเคลื่ อนย้ายลงไปในทุกๆด้านของปลายยอด”
9
アールパード・パアル 1919
10
Frits Went ฟริตส์ เวนต์
พ.ศ. 2469 ( ค.ศ. 1928 ) 11
นักพฤษศาสตร์ชาวเนเธอร์แลนด์
ได้ทำการทดลองโดยตัดโคลิออพไทล์
ของข้าวโอ๊ตมาวางบนก้อนวุ้นนาน1-
2ชั่วโมง แล้วนำชิ้นก้อนวุ้นไปวางบน
ส่วนโคลิออพไทล์ที่เหลือ ผลคือ โคลิ
ออพไทล์เจริญเติบโตได้ดีและโค้ง
เข้าหาแสงได้เช่นเดียวกับการตัดปลาย
โคลิออพไทล์ออกแล้วเอาปลายนั้นมา
วางไว้ที่เดิม ต่อมาเวนต์ได้ทำการศึกษา
และพบสารเคมีบางอย่างและให้ชื่ อว่า
ออกซิน (auxin)ซึ่งมีความหมายว่า
เติบโตหรือเพิ่มการเคลื่ อนไหวของพืช
เกิดจากสิ่งเร้าทั้งภายนอกและภายใน
ต้นพืชแบ่งออกตามสิ่งเร้า
สรุป “ มีสารบางอย่างแพร่ออกมาจาก
ปลายยอด ซึ่งมีผลทำให้ปลายยอดโค้ง
เข้าหาแสงได้”
フ
リ
ッ
ト
ウ
ェ
ン
12 ト
PLANT HO
13
ORMONES
14
ฮอร์โมนพืชมีอะไรบ้าง
ฮอร์โมนพืชแบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม
ออกซิน
AUXIN
1. ออกซิน (Auxin)
นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ไ ด้ ศึ ก ษ า ก า ร โ ค้ ง เ ข้ า ห า แ ส ง ข อ ง โ ค ลี
ออพไทล์ของหญ้าคานารี พบว่าหญ้าคานารีส่ง
สัญญาณบางอย่างจากปลายโคลีออพไทล์สู่ด้านล่าง
ทำให้เซลล์ด้านที่ไม่ได้รับแสงโดยตรงเติบโตเร็วกว่า
ด้านที่ได้รับแสง ทำให้โคลีออพไทล์โค้งเข้าหาแสง แต่
ถ้าตัดปลายโคลีออพไทล์ออกหรือครอบด้วยวัสดุทึบ
แสง โคลีออพไทล์ไม่โค้งเข้าหาแสง นั่นแสดงว่าปลาย
โคลีออพไทล์เป็นส่วนรับแสง ต่อมาใช้แผ่นไมกาแทรก
บริเวณปลายโคลีออพไทล์ด้านที่ไม่ได้รับแสง พบว่าโค
ลีออพไทล์ไม่โค้งเข้าหาแสง ถ้านำแผ่นไมกาแทรก
บริเวณด้านที่ได้รับแสง ทำให้โคลีออพไทล์โค้งเข้าหา
แสง เมื่ อนำแผ่นเจลาตินกั้นไว้แล้ววางปลายโคลีออพ
ไทล์บนแผ่นเจลาติน พบว่าโคลีออพไทล์โค้งเข้าหาแสง
แสดงว่ามีสารเคมีบางอย่างที่ลำเลียงจากปลายโคลี
ออพไทล์ ซึ่งผ่านแผ่นไมกาไม่ได้แต่ผ่านแผ่นเจลาติน
ได้ โคลีออพไทล์โค้งเข้าหาแสงได้เนื่ องจากบริเวณ
ปลายโคลีออพไทล์จะสร้างสารบางชนิดและแสงจะ
ทำให้เคลื่ อนที่จากด้านที่ได้รับแสงมากไปยังแสงน้อย
ทำให้เซลล์บริเวณด้านที่ได้รับแสงน้อยมีปริมาณสารนี้
มากและจะไปกระตุ้นให้เซลล์บริเวณนี้ขยายตัวตามยาว
15
生
活
ผลของออกซิน
ทำให้เกิดการเจริญของปลายยอดเข้าหาแสง และการเจริญของปลายรากเข้าหาแรงโน้มถ่วงของ
โลก
กระตุ้นเซลล์บริเวณที่มีการยืดตัวให้ขยายขนาด ทำให้พืชเจริญเติบโตสูงขึ้นและมีขนาดใหญ่ขึ้น
กระตุ้นการแบ่งเซลล์ของแคมเบียม โดยทำงานร่วมกับไซโทไคนิน
กระตุ้นเซลล์ให้พัฒนาและเปลี่ยนสภาพไปเป็นเนื้อเยื่อไซเล็มและโฟลเอ็ม
ยับยั้งการเจริญของตาข้าง
นอกจากนี้ยังมีผลต่อพืชด้านต่างๆอีก เช่น ยับยั้งการหลุดร่วงของใบ ชะลอการสุกของผลและ
ควบคุมการสร้างดอก
การนำไปใช้
เพื่ อเร่งการกิ่งตอนหรือกิ่งปักชำ การพัฒนาของรากแขนง และการพัฒนาและเปลี่ยน
สภาพของรากในการเพาะเลี้ยงเนื้ อเยื่ อพืช รวมทั้งใช้กระตุ้นให้พืชบางชนิดติดผลโดยไม่
ต้องมีการปฏิสนธิ เช่น องุ่น แตงโม สตรอเบอรี่ มะเขือเทศ ซึ่งทำให้ได้ผลที่ไม่มีเมล็ด
และมีการใช้สารกลุ่มนี้เพื่ อกำจัดวัชพืชบางชนิดด้วย โดยส่วนต่าง ๆ ของพืชมีการตอบ
สนองต่อความเข้มขันของออกซินที่ระดับต่าง ๆ แตกต่างกัน
16
ไ ซ โ ท ไ ค นิ น ( c y t o k i n i n ) ไซโทไคนิ น
นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ค้ น พ บ ไ ซ โ ท ไ ค - cytokinin
นิ น จ า ก ค ว า ม พ ย า ย า ม ค้ น ห า ส า ร サイトカイニン
เ ค มี ที่ มี ผ ล ก ร ะ ตุ้ น ก า ร แ บ่ ง เ ซ ล ล์
พื ช ซึ่ง พ บ ว่ า มี ส า ร เ ค มี บ า ง อ ย่ า ง
ที่ ชัก นำ ใ ห้ เ กิ ด ก า ร แ บ่ ง เ ซ ล ล์ ใ น
เ ซ ล ล์ เ พ า ะ เ ลี้ ย ง ห รือ เ นื้ อ เ ยื่ อ ที่
เ กิ ด บ า ด แ ผ ล นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์
ไ ด้ ใ ช้เ ท ค นิ ค ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง
เ นื้ อ เ ยื่ อ พื ช เ ป็ น เ ค รื่อ ง มื อ เ พื่ อ
ศึ ก ษ า ก า ร แ บ่ ง เ ซ ล ล์ แ ล ะ ก า ร
พั ฒ น า ข อ ง เ ซ ล ล์ พื ช พ บ ว่ า น้ำ
ม ะ พ ร้า ว เ มื่ อ ใ ช้ร่ว ม กั บ อ อ ก ซิน
ส า ม า ร ถ ก ร ะ ตุ้ น ก า ร แ บ่ ง เ ซ ล ล์
พื ช ไ ด้ ต่ อ ม า ไ ด้ ค้ น พ บ ไ ค เ น ทิ น
(kinetin) ซึ่ง ไ ด้ จ า ก ก า ร นำ
DNA จ า ก ส เ ปิ ร์ม ป ล า แ ฮ ร์ริง
( h e r r i n g ) ม า นึ่ ง ฆ่ า เ ชื้อ ด้ ว ย ไ อ
น้ำ ที่ ค ว า ม ดั น สู ง แ ล ะ เ ติ ม ล ง ไ ป
ใ น อ า ห า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ พื ช
ที่ มี อ อ ก ชิน อ ยู่ ส า ม า ร ถ ก ร ะ ตุ้ น
ก า ร แ บ่ ง เ ซ ล ล์ พื ช ไ ด้ จ า ก ก า ร
ค้ น พ บ ไ ค เ น ทิ น ทำ ใ ห้ นั ก
วิ ท ย า ศ า ส ต ร์พ ย า ย า ม ค้ น ห า
- ไ ซ โ ท ไ ค นิ น ธ ร ร ม ช า ติ ที่ พ บ ไ ด้
ใ น พื ช จ น ก ร ะ ทั่ง ไ ด้ ค้ น พ บ ไ ซ โ ท
ไ ค นิ น ใ น เ อ น โ ด ส เ ปิ ร์ม ข อ ง
ข้ า ว โ พ ด จึ ง เ รีย ก ว่ า
ซีเ อ ทิ น ( z e a t i n ) ซึ่ง เ ป็ น
ไ ซ โ ท ไ ค นิ น ใ น ธ ร ร ม ช า ติ
แ ห ล่ ง ส ร้า ง ห ลั ก ข อ ง
ไ ซ โ ท ไ ค นิ น : อ ยู่ บ ริเ ว ณ เ นื้ อ เ ยื่ อ
เ จ ริญ ที่ ร า ก แ ล ะ บ ริเ ว ณ ที่ มี ก า ร
แ บ่ ง เ ซ ล ล์
17
ผลของไซโทไคนิน
กระตุ้นการแบ่งเซลล์ และการเปลี่ยน
สภาพของเซลล์
กระตุ้นการเจริญของตาข้าง
กระตุ้นการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอ
การพัฒนาของแกมีโทไฟต์
นอกจากนี้ไซโทไคนินยังช่วยกระตุ้นการเกิด
ยอด และช่วยชะลอการเสื่ อมตามอายุ
(senescence) ของคลอโรฟิลล์ ทำให้ใบมีอายุ
ย า ว น า น ขึ้ น
การนำไปใช้
เพื่ อช่วยเร่งการแตกตาข้างของพืช รวมทั้งนำ
ความรู้เกี่ยวกับการทำงานร่วมกันของออกซิน
และไซโทไคนินมาใช้ในการตัดแต่งกิ่งเพื่ อ
ควบคุมทรงพุ่มของไม้ดอกไม้ประดับ และไม้
ผลบางชนิด
18
จิบเบอเรลลิน
(Gibberellin)
3. จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบจิบเบอเรลลินครั้งแรก จากการ
สังเกตต้นข้าวมีลักษณะสูงชะลูดผิดปกติ โค่นล้ม และผลผลิตลดลงจากการเข้าทำลาย
ของเชื้ อรา Gibberella fujikuroi ซึ่งเชื้ อราชนิดนี้จะผลิตสารกลุ่มจิบเบอเรลลินที่กระตุ้น
ให้ลำต้นของต้นข้าวยืดยาว ซึ่งนักวิทยาศาสตร์สามารถสกัดแยกสารกลุ่มจิบเบอเรลลิน
จากเชื้ อราชนิดนี้ได้ คือ กรดจิบเบอเรลลิก ต่อมาพบว่าพืชก็สามารถสร้างสารจิบเบอเรล
ลินได้เช่นเดียวกัน
แหล่งสร้างจิบเบอเรลลิน : มีหลายบริเวณ เช่น เมล็ดที่กำลังเจริญ เมล็ดที่กำลังงอก
เนื้ อเยื่ อเจริญปลายยอด ปลายราก อับเรณู และผล เป็นต้น
ผลของจิบเบอเรลลิน
กระตุ้นการงอกของเมล็ด
กระตุ้นการสร้างเอนไชม์สำหรับย่อยแป้งที่เก็บสะสมอยู่ในเมล็ดให้เป็นน้ำตาล เพื่ อใช้
เป็นแหล่งพลังงานสำหรับการงอกในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด
กระตุ้นเซลล์ที่ลำต้นพืชให้มีการยืดตัวและแบ่งเซลล์มากขึ้น โดยทำงานร่วมกับ
ออกซิน
การนำไปใช้
สารสกัดจากเชื้ อราที่มีสมบัติเป็นจิบเบอเรลลิน เช่น GA3 ช่วยยืดช่อผลองุ่นให้ยาวและ
ทำ ใ ห้ผ ล ข ย า ย ข น า ด ใ ห ญ่ ขึ้ น ไ ด้
นอกจากนี้การให้จิบเบอเรลลินยังสามารถทดแทนอุ ณหภูมิต่ำ สำหรับพืชที่ต้องการ
อุ ณหภูมิต่ำเพื่ อกระตุ้นการออกดอก เช่น พืชพวกกะหล่ำปลี และแครอท
19
4. เอทิลีน (ethylene) นักวิทยาศาสตร์ได้ทดลองให้แก๊สชนิดต่าง ๆ กับต้นกล้าถั่วลันเตาที่กำลัง
เจริญเติบโตในที่มืด และพบว่าแก๊สเอทิลีนทำให้เอพิคอทิลของต้นกล้าไม่ยืดตัว ลำต้นจึงสั้น
ลำต้นอ้วน และมีการเจริญของยอดในแนวนอน ต่อมาพบว่าพืชสามารถสร้างเอทิลีนได้
แหล่งสร้างเอทิลีน : เอทิลีน สามารถสร้างได้เกือบทุกส่วนของพืช แต่อัตราการสร้างจะขึ้นกับชนิด
ของเนื้อเยื่อ ระยะการเจริญ และสิ่งแวดล้อม เอทิลีนในเนื้อเยื่อพืชที่เข้าสู่การเสื่อมตามอายุ และใน
เนื้อเยื่อที่ตอบสนองต่อภาวะเครียด
ผลของเอทิลีน
ส่งเสริมใบและดอกเข้าสู่การเสื่อมตามอายุ และกระตุ้นให้เกิดการร่วงของใบ ดอก และผล
กระตุ้นการสุกของผลไม้ที่สามารถบ่มให้สุกได้ เช่น มะม่วง กล้วย ละมุด ทุเรียน มังคุด
น้อยหน่า มะละกอ
กระตุ้นการขยายขนาดของเซลล์ทางด้านข้าง เมื่อเอทิลีนมีความเข้มข้นสูงระดับหนึ่ง
การนำไปใช้
ในการเร่งการสุกของผลไม้ให้สุกพร้อมกัน และให้เพียงพอกับความต้องการของผู้บริโภค
สามารถใช้เอทิฟอนที่ให้แก๊สเอทิลีน หรือการใช้ถ่านแก๊สซึ่งเมื่อทำปฏิกิริยากับน้ำจะให้
แก๊สอะเซทิลีน ซึ่งให้ผลคล้ายแก๊สเอทิลีน
เอทิลีน (ethylene)
20
กรดแอบไซซิก (abscisic acid)
21
5. กรดแอบไซซิก (abscisic acid) นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาสารเคมีที่เกี่ยวข้อง
กับการร่วงของผลฝ้าย สารเคมีที่มีผลต่อการพักตัวของตาในพืชที่มีเนื้อไม้
และสารเคมีที่มีผลต่อการหลุดร่วงของดอกและผลของพืชดอกสกุลลูพินัส
ต่อมาพบว่าเป็นสารเคมีชนิดเดียวกัน คือ กรดแอบไซซิก
แหล่งสร้างกรดแอบไซซิก : กรดแอบไซซิกสามารถสร้างได้จากเซลล์ต่างๆ ที่มี
คลอโรพลาสต์ หรืออะไมโลพลาสต์ โดยปริมาณของกรดแอบไซซิกจะ
เปลี่ยนแปลงไปตามระยะการพัฒนาของพืชและผลกระทบจากสิ่งแวดล้อม
ผลของแอบไซซิก
ควบคุมเมล็ด และตา ให้เกิดการพักตัว
ตอบสนองต่อภาวะเครียดจากสิ่งแวดล้อม เช่น กระตุ้นการปิดปากใบใน
ภาวะที่พืชขาดน้ำ
กระตุ้นการสังเคราะห์โปรตีนที่สะสมในเมล็ด
ยับยั้งการทำงานของจิบเบอเรลลินในการสร้างเอนไซม์ให้ย่อยแป้งที่เก็บ
สะสมอยู่ในเมล็ดพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ส่งเสริมให้เกิดการเสื่อมตามอายุ
การนำไปใช้
สารสังเคราะห์ที่มีสมบัติคล้ายกรดแอบไซชิกนั้น สามารถนำไปใช้เพื่อช่วยชะลอ
การเหี่ยวเฉาของพืชและไม้ดอกในขณะขนส่งโดยการทำให้รูปากใบแคบลงหรือ
รูปากใบปิด เพื่อลดการสูญเสียน้ำของพืช แต่ไม่เป็นที่นิยมเพราะมีราคาแพง
22
ความสำคัญ
ของฮอร์โมนพืช
และการนำมาใช้
ประโยชน์
4
ฮอร์โมนพืชเป็นสารอินทรีย์ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อกระบวนการเจริญ
เติบโตของพืช ทั้งการตอบสนองของพืชต่อสภาพแวดล้อมและปัจจัย
ภายนอก และยังรวมไปถึงการควบคุมการแสดงออกทางพันธุกรรมที่แท้
จริงของพืชอีกด้วยเนื่ องจากพืชแต่ละต้นผลิตฮอร์โมนพืชตามธรรมชาติ
ในปริมาณน้อยมาก จึงกลายเป็นเรื่องยากต่อการศึกษาค้นคว้า และสกัด
สารดังกล่าว เพื่ อนำมาใช้ประโยชน์โดยตรง กระทั่งถึงช่วงปลายปี 1970
นักวิทยาศาสตร์จึงสามารถเริ่มต้นทำความเข้าใจ และประมวลผลความ
สัมพันธ์ของฮอร์โมนพืชกับสรีรวิทยาของพืชได้ชัดเจนยิ่งขึ้น จนสามารถ
สังเคราะห์ “สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
(Plant Growth Regulator)"
23
楽
し
ま
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช” (Plant Growth Regulator) ず
ซึ่งเป็นสารอินทรีย์ที่มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับฮอร์โมนพืชตาม し
ธรรมชาติ ทั้งคุณสมบัติในการกระตุ้นและยับยั้งกระบวนการต่างๆ て
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่าง 何
แพร่หลายในการเพาะปลูกและการทำเกษตรกรรม ทั้งในการเพิ่ม の
ผลผลิตโดยตรง การสร้างภูมิคุ้มกันโรค หรือแม้กระทั่งการ 人
ควบคุมการออกดอกออกผลนอกฤดูกาล เป็นต้น 生
ぞ
や
。
24
PRESENT TO
KRU
SAWANYA
PRACHUMREAR
サ
ワパ
ンジ
ャ
ヤ ム
ール
ア
先生 ー
นางสาว จริยา พงษ์เมธี เลขที่ 22
หาข้อมูล
นางสาว ณภัทร วิชญะธนาศิษฐ์ เลขที่ 25
ตกแต่ง
นางสาว ปาลิตา เกลี้ยกล่อม เลขที่ 28
เรียบเรียงข้อมูล
นางสาว ฐิหัทยา ฤทธิ์จบ เลขที่ 33
หาข้อมูล
นางสาว ภูริชญา กีรตินันทปรีชา เลขที่ 40
เขียนสารบัญ
植物
นางสาว ธนัชชา แซ่เอี๊ยบ เลขที่44
เขียนคำนำ
นางสาวปิยภัสร์ บางทราย เลขที่45
เรียบเรียงข้อมูล
来
て
く
れ
て
あ
り
が
と
う