The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการที่แขวนตรายาง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Arintaya Jaiaye, 2020-02-29 12:51:38

โครงการที่แขวนตรายาง

โครงการที่แขวนตรายาง

โครงการ ทแี่ ขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack”

ชูรีภรณ์ แกว้ ยะ
ณัฏฐณชิ า บญุ ชัย

โครงการน้เี ป็นสว่ นหน่งึ ของการศึกษาตามหลกั สูตร
ประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นสงู

สาขาวชิ าการจัดการสานักงาน ประเภทวชิ าบรหิ ารธุรกจิ
วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาเชียงใหม่
ปกี ารศึกษา 2562

ใบรับรองโครงการ
วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเชียงใหม่

เร่อื ง ทแ่ี ขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack”

โดย นางสาวชรู ภี รณ์ แกว้ ยะ รหัส 6132160009
นางสาวณฏั ฐณชิ า บุญชยั รหสั 6132160010

ไดร้ บั การรับรองใหน้ ับเป็นสว่ นหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้ันสงู
สาขาวิชาการจัดการสานักงาน ประเภทวชิ าบริหารธรุ กจิ

............................................................... …..........................................................
(นางรุ่งทิพย์ เตจะโส) (นายณรงคศ์ ักด์ิ ฟองสนิ ธ์ุ)
รองผอู้ านวยการฝ่ายวิชาการ
หวั หน้าแผนกวิชาการเลขานุการ
วนั ที.่ .........เดือน.....................พ.ศ.......... วันที่...............เดอื น................พ.ศ..........

คณะกรรมการสอบโครงการ

....................................................... ประธานกรรมการ
(นางอรนิ ทยา ใจเอ)

........................................................ กรรมการ
(นางลภัสรดา สมบูรณ)์

........................................................ กรรมการ
(นางสาวพรสวรรค์ ปนั ธิ)

กติ ตกิ รรมประกาศ

โครงการทแ่ี ขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack” นสี้ าเรจ็ ลุล่วงไปดว้ ยดี ด้วยความ
ชว่ ยเหลอื ของ ครูอรนิ ทยา ใจเอ ครูที่ปรึกษาโครงการ ซ่งึ ท่านได้ให้คาแนะนาและข้อคิดเห็นตา่ ง ๆ
อนั เป็นประโยชน์อย่างย่งิ ในการทาโครงการ อีกท้ังยงั ช่วยแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ ทเ่ี กิดขนึ้ ระหว่าง
การดาเนนิ งานอีกดว้ ย

ขอขอบคณุ คณุ ณฐั พล โพธินันท์ สาหรบั ขอ้ แนะนาและความชว่ ยเหลือในทกุ ๆ ด้าน
ในการทาโครงการ ขอขอบคุณเพ่ือน ๆ ชนั้ ปวส. 2/7 สาขาวชิ าการจัดการสานักงานทุกคน
ที่ให้ความร่วมมือเปน็ อยา่ งดี ในการเก็บรวบรวมข้อมลู และให้ความชว่ ยเหลือในการทาโครงการ
ทแี่ ขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack”

สุดทา้ ยนี้ ผ้จู ดั ทาโครงการขอขอบพระคุณบิดามารดา และคณะครทู ุกท่าน ทส่ี นับสนนุ และ
ใหก้ าลงั ใจจนโครงงานสาเรจ็ ด้วยดี คณุ คา่ และประโยชน์อันพึงมจี ากการจดั ทาโครงงานน้ี ที่ไดอ้ บรม
สั่งสอนวชิ าความรู้ และให้ความเมตตาแก่คณะผู้จัดทาโครงงานมาโดยตลอด และเป็นกาลงั ใจสาคัญ
ทใ่ี ห้การจัดทาโครงงานนี้ลลุ ว่ งไดด้ ้วยดี

ชรู ภี รณ์ แก้วยะ
ณัฏฐณชิ า บญุ ชยั

ช่อื โครงการ ทแ่ี ขวนตรายาง 3in1 “Rubber Stamp Rack”
ผู้จดั ทา นางสาวชูรีภรณ์ แก้วยะ
นางสาวณัฏฐณิชา บุญชยั
สาขาวิชา การจดั การสานักงาน
ประเภทวชิ า บริหารธรุ กิจ
อาจารย์ที่ปรึกษาวิชาโครงการ ครูอรินทยา ใจเอ
ปกี ารศกึ ษา 2562

บทคดั ยอ่

โครงการ ที่แขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack” มวี ตั ถปุ ระสงค์ 1) เพื่อให้
สามารถค้นหาตรายางได้ง่าย 2) เพื่อให้ง่ายต่อการหยบิ ใช้ตรายางและตลับชาด 3) เพ่ือให้โต๊ะทางาน
มรี ะเบียบ และมีพ้ืนทใ่ี นการปฏบิ ัติเพิ่มมากขน้ึ ซ่ึงเปลี่ยนจากการเก็บตรายางลงกลอ่ งรวมกนั
เป็นการแขวนตรายางใหห้ ยบิ ใช้งา่ ยมากขึ้น

การดาเนินงาน เก็บรวบรวมข้อมูลจากกล่มุ ตวั อยา่ งที่ใช้ ท่ีแขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber
Stamp Rack” แลว้ ขั้นตอนต่อไป ผจู้ ัดทาโครงการจะทาการวิเคราะห์ขอ้ มลู ต่าง ๆ ตามหลักการ
ทางสถติ ิ เพ่ือหาคณุ ภาพ ประสทิ ธิภาพ และความพงึ พอใจของผู้ใช้ ทแ่ี ขวนตรายาง 3 in 1
“Rubber Stamp Rack” การหาค่าคะแนนเฉลยี่ ของระดบั ความคิดเหน็ ของกล่มุ ตวั อย่างซง่ึ กาหนด
น้าหนักคะแนนเปน็ 5 ระดับ มีเกณฑ์ความเหมาะสมในการแปลความหมาย เพือ่ จัดระดบั คา่ เฉล่ยี
และสรปุ ผลความพึงพอใจ

ผลการดาเนินการวจิ ยั พบว่า ทีแ่ ขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack” ได้รบั ความ
พึงพอใจจากกลมุ่ ตวั อยา่ งท้ังหมด 30 คน พบวา่ ทีแ่ ขวนตรายางสามารถนาไปใช้งานได้จริงและ
หลังจากการใช้งานได้ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจรวมมี ค่าเฉลยี่ ท่ี 4.78 และค่าสว่ นเบ่ียงเบน
มาตรฐานท่ี 0.46 ดงั น้ันสรปุ ได้วา่ จากผลการประเมินแบบสอบถามความพึงพอใจ ท่ีแขวนตรายาง
3 in 1 “Rubber Stamp Rack” ภาพรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจมากท่ีสดุ โดยเรยี งลาดบั ดังน้ี
ชว่ ยจัดระเบียบบนโต๊ะทางานได้ ค่าเฉล่ียที่ 4.93 มีความปลอดภยั ต่อการใชง้ าน คา่ เฉลี่ยท่ี 4.93
การนาเศษเหลก็ ท่ีได้มใี ชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ ค่าเฉล่ียท่ี 4.83 ทีแ่ ขวนตรายางมีสสี นั เหมาะสม สวยงาม
ค่าเฉลยี่ ท่ี 4.80 สามารถเคลอื่ นยา้ ยไดส้ ะดวก คา่ เฉล่ยี ท่ี 4.80 ทแี่ ขวนตรายางสามารถนาไปใช้
งานไดจ้ รงิ คา่ เฉลี่ยท่ี 4.77 ที่แขวนตรายางมีความทนทานตอ่ การใช้งาน คา่ เฉล่ียท่ี 4.70 ลดขยะ
จากการท้ิงเศษเหล็ก คา่ เฉลย่ี ที่ 4.70 สามารถต่อยอดสู่เชิงพาณชิ ย์ได้ คา่ เฉล่ยี ที่ 4.70 ทแ่ี ขวนตรา
ยางมีรูปร่างเหมาะสมต่อการใช้งาน ค่าเฉลี่ยท่ี 4.67 ตามลาดับ

สารบญั หนา้

เร่อื ง ข
ใบรับรองโครงการ ค
กติ ตกิ รรมประกาศ ง
บทคดั ย่อ จ
สารบัญ
สารบญั (ต่อ) 1
บทท่ี 1 บทนา 2
2
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 2
1.2 วตั ถุประสงคข์ องโครงการ 2
1.3 ขอบเขตโครงการ
1.4 ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รับ 3
1.5 นยิ ามศพั ท์ 6
บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ยั ที่เกย่ี วข้อง 7
2.1 ความหมายของสง่ิ ประดิษฐ์ 10
2.2 แนวคดิ 5 ส ปัจจยั พน้ื ฐานในการเพ่ิมผลผลิตของสานักงาน 11
2.3 การจัดการสานกั งาน
2.4 การเช่อื มโลหะ 15
2.5 งานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวข้อง 16
บทท่ี 3 วธิ ีดาเนนิ การ
3.1 การวางแผนวิธดี าเนนิ การ 21
3.2 วัสดุ อปุ กรณ์ เครอื่ งมือทใ่ี ช้ 21
23
ทแ่ี ขวนตรายาง 3in1 “Rubber Stamp Rack”
บทท่ี 4 ผลการประเมิน 29
30
4.1 การทดลองใช้ ที่แขวนตรายาง 3in1 “Rubber Stamp Rack” 32
4.2 เครอื่ งมอื ในการประเมิน 32
4.3 การวิเคราะหข์ อ้ มูลท่ัวไป 32
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
5.1 สรปุ ผลการทดลองใช้ทแ่ี ขวนตรายาง
5.2 อภปิ รายผล
5.3 ปัญหาและอุปสรรคในการทดลองใช้ท่ีแขวนตรายาง
5.4 วธิ แี กป้ ัญหา
5.5 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา

สารบญั (ตอ่ )

เร่อื ง หนา้
บรรณานุกรม 33
ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
ภาคผนวก ข
ภาคผนวก ค
ประวตั ผิ ้จู ดั ทา

บทท่ี 1
บทนา

1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา

ปจั จบุ ัน มีผ้คู นจานวนมากใช้เวลาอยู่บนโตะ๊ ทางานประมาณ 8 ชว่ั โมงตอ่ วนั หรอื ประมาณ
40 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ โตะ๊ ทางานประกอบไปดว้ ยอปุ กรณส์ านักงานนานาชนิด การจัดระเบียบ
โต๊ะทางานจงึ ถอื เปน็ การบง่ ชี้ประสทิ ธภิ าพในการทางาน ยิ่งโต๊ะทางานรกมากเทา่ ไรหมายความวา่
ไม่สามารถจัดระเบียบชวี ติ หรอื การทางานที่ไม่มีประสทิ ธิภาพ การจดั โตะ๊ ทางานใหม้ รี ะเบยี บ
และเหลือส่งิ ของบนโต๊ะทางานนอ้ ย จะทาใหร้ ู้สึกโลง่ สบายและทางานสะดวกข้นึ สิง่ ที่ทาใหโ้ ตะ๊ ทางาน
ไมเ่ ปน็ ระเบียบส่วนใหญ่มาจากเอกสารท่สี มุ จนท่วมโต๊ะ วัสดสุ านกั งานต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็น เคร่ืองเยบ็
กระดาษ เครื่องเจาะกระดาษ ปากกา ดนิ สอ ลวดเสยี บ รวมไปถึงตรายางต่าง ๆ สิง่ เหล่าน้ีควรจดั อยู่
ในหมวดหมู่ท่ีควรจะเป็น เพ่ือใหส้ ามารถหยิบใชง้ านได้ง่ายและสะดวก หากต้องการเก็บของชิน้ เลก็ ๆ
ใหใ้ ช้กลอ่ งใบเล็ก ลดส่ิงของให้เหลือแต่ในกล่อง สง่ิ ของต่าง ๆ บนโต๊ะทางานกด็ ูไมร่ กหรู กตา
กระบวนการหน่ึงทเี่ ป็นระบบมีแนวปฏบิ ตั ิ ทส่ี ามารถนามาใชเ้ พ่ือปรับปรงุ แก้ไขโตะ๊ ทางานและรกั ษา
ส่งิ แวดล้อมในสถานท่ที างานใหด้ ขี นึ้ คือการนาเอาหลกั 5ส มาปรบั ใช้กับการทางานเอกสารและ
โตะ๊ ทางานได้ คือ แยกเอกสารใหเ้ ปน็ หมวดหมู่ จัดเกบ็ เอกสารตามหมวดหมทู่ ่ีแยกไวใ้ นทเี่ ดยี วกัน
เพือ่ ความสะดวกในการค้นหา ทาความสะอาด จดั เก็บโตะ๊ ทางานและเอกสารในสถานทีท่ ี่เหมาะสม
และหมัน่ ตรวจสอบทาความสะอาดโต๊ะทางาน ตู้เก็บเอกสาร แฟ้มเอกสาร อย่างสมา่ เสมอ
เพือ่ ป้องกนั มิให้เอกสารเกดิ การชารดุ เสียหาย และโตะ๊ ทางานโล่งกว้างเหมาะแก่การทางาน ท้งั นี้
ควรปฏิบัตเิ ปน็ ประจาเพ่ือสรา้ งนสิ ยั ในการจัดระเบยี บอยา่ งตอ่ เนื่อง

เพ่ือปรับปรุงแก้ไขงานและรักษาสิ่งแวดล้อมในโต๊ะทางานให้ดีขน้ึ ส่งิ ทีต่ อ้ งคานึงเป็นอย่าง
มากคือโตะ๊ ทางาน ต้องคานึงถึงการจดั วางพน้ื ที่ทางานให้เหมาะสม ไม่เกดิ สิ่งรกหูรกตา อาจต้องมีการ
จัดระเบียบอุปกรณ์ท่จี าเป็นต่อการใช้งาน ซ่งึ ในท่ีนข้ี อกล่าวถึงการเกบ็ ตรายาง ด้วยตรายางทใ่ี ช้ใน
สานกั งานมจี านวนมากและเป็นตรายางแบบธรรมดาทว่ั ไปที่ทาจากยางพารา การจดั เกบ็ ที่ไมเ่ ปน็
ระเบยี บเรยี บร้อย เก็บใส่กล่องรวมกนั ทาให้ตรายางซอ้ นทับกันเกดิ การชารุดเสยี หายได้ง่าย ยางพารา
ของตรายางเสียรปู และการหาตรายางใช้งานในแต่ละคร้ังใช้เวลาพอสมควร แมว้ ่าโดยทั่วไปจะมที ่ี
แขวนตรายางสาเรจ็ รูปจากร้านขายวัสดุสานกั งานขายอยแู่ ล้ว แต่ทีแ่ ขวนตรายางที่ขายท่ัวไปนน้ั
ใชป้ ระโยชนไ์ ดเ้ พยี งแคแ่ ขวนตรายางเท่านัน้ เปน็ การใชง้ านเฉพาะเจาะจง ยังไม่สามารถเกบ็ ตลับหมึก
หรอื วสั ดอุ ปุ กรณ์อื่น ๆ เช่น ลวดเสียบหรือลวดเยบ็ กระดาษได้ ทาให้การจัดระเบยี บส่งิ ของเคร่ืองใช้
หรือวสั ดสุ านกั งานบนโต๊ะใชพ้ นื้ ที่ในการจดั เก็บเยอะ ในบางครง้ั ทาใหต้ ้องเสยี เวลาในการหาวสั ดุ
สานักงานช้นิ เลก็ ๆ และของใชต้ า่ ง ๆ

ดงั นั้นเพ่ือความเปน็ ระเบียบเรียบร้อยและโต๊ะทางานให้มีพ้ืนท่ีการทางานมากขนึ้ จงึ คิดประดษิ ฐ์
ท่ีแขวนตรายาง 3 in 1 เพ่ือใหเ้ หมาะกับการใชง้ านไดจ้ รงิ และสามารถใชป้ ระโยชน์จาก
ท่แี ขวนตรายาง 3 in 1 ได้อย่างเต็มท่ี หยบิ จบั ใชง้ านได้สะดวกและจัดหมวดหมู่กลุ่มวัสดุสานกั งาน
ไดง้ า่ ยขึน้ โดยการประดิษฐจ์ ะมีชอ่ งสาหรบั เก็บตลบั หมึกและช่องใส่อปุ กรณ์ช้ินเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ ไว้
ดว้ ยกนั การประดิษฐ์ท่แี ขวนตรายาง 3 in 1 นัน้ ไมเ่ พียงประหยัดพนื้ ทบี่ นโตะ๊ ทางานแลว้ ยงั เปน็ การ
นาเศษเหลก็ เหลือใชม้ าทาใหเ้ กิดประโยชน์ลดประเภทขยะย่อยสลายยากไดอ้ ีกด้วย

1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ
1.2.1 เพอ่ื ใหเ้ กิดความสะอาดตอ่ การหยบิ ใช้ตรายางและตลบั ชาด
1.2.2 เพื่อให้สามารถค้นหาตรายางได้ง่าย
1.2.3 เพ่ือใหโ้ ตะ๊ ทางานมีระเบยี บและมีพ้ืนท่ใี นการปฏบิ ตั ิงานเพ่มิ มากข้ึน

1.3 ขอบเขตโครงการ (ระบุขอบเขตของงานที่ตอ้ งการทา, ใชเ้ คร่ืองมือและอุปกรณ์อะไรบา้ ง)
1. เชิงปรมิ าณ ทแ่ี ขวนตรายางพร้อมท่เี กบ็ ของ จานวน 3 ชิน้
2. เชิงคุณภาพ รอ้ ยละ 80 จากผู้ประเมินโครงการมีความพงึ พอใจ
3. ระยะเวลาและสถานที่ในการดาเนนิ งาน
ระยะเวลาดาเนินงาน ตั้งแต่วนั ท่ี 15 ตลุ าคม 2562 ถึง 31 มกราคม 2563
สถานที่ดาเนินงาน หอพักปุณภาวตั รา้ นชา้ งเผอื กกจิ การช่าง

1.4 ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รบั
1. สามารถหยบิ ใช้งานตรายาง และตลับชาดได้งา่ ยและสะดวก
2. สามารถค้นหาตรายางเพ่ือใช้งานได้งา่ ยขึ้น
3. ลดปริมาณขยะจากเศษเหล็กที่เหลอื ใช้ ซึ่งเปน็ ขยะประเภทยอ่ ยสลายยาก
4. โตะ๊ ทางานเป็นระเบียบเพ่ิมพ้นื ที่ในการปฏบิ ัตงิ าน วัสดุสานักงานถูกจัดอย่เู ปน็ หมวดหมู่
เกดิ ความเปน็ ระเบียบเรยี บร้อย

1.5 นิยามศพั ท์
ทีแ่ ขวนตรายาง หมายถึง ทามาจากเศษเหล็ก ฐานของที่แขวนตรายางเปน็ ช่องส่ีเหลยี่ ม

ด้านในมีหลากหลายชอ่ ง สามารถเก็บตลับชาด รวมถงึ วสั ดุสานกั งานชนิ้ เลก็ ๆ ใหอ้ ยู่ในท่ีเดียวกนั ได้
เพอ่ื สะดวกต่อการหยบิ ใชง้ าน เพอ่ื ลดปัญหาความไม่เปน็ ระเบยี บของการจดั เก็บตรายาง ช่วยให้
บนโตะ๊ ทางานเกิดความเป็นระเบยี บเรยี บร้อย

บทที่ 2
แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวขอ้ ง

ในการศึกษาเรื่อง ทีแ่ ขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack” ผูด้ าเนนิ งานได้
รวบรวมแนวคดิ ทฤษฎีและหลกั การตา่ ง ๆ จากเอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้องกับหลกั คิด หลักทฤษฎี
และงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วข้องดงั นี้

2.1 ความหมายของส่งิ ประดิษฐ์
2.2 แนวคิด 5ส ปัจจัยพื้นฐานในการเพิม่ ผลผลิตของสานักงาน
2.3 การจัดการสานกั งาน
2.4 การเชอื่ มโลหะ
2.5 งานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง

2.1 ความหมายของสิ่งประดษิ ฐ์

ความหมายของงานประดิษฐ์ หมายถงึ งานที่เกดิ จากการใชค้ วามคดิ สร้างสรรค์ของมนษุ ย์
สร้างหรือประดิษฐข์ ึน้ ตามวัตถุประสงค์ท่หี ลากหลาย หรอื เพ่ือความสวยงาม หรือประดับตกแต่งหรือ
เพอ่ื ประโยชน์ใช้สอย

ความเปน็ มาของงานประดิษฐ์ ส่งิ ประดิษฐ์เกิดข้นึ เพราะมนุษย์เปน็ ผู้สรา้ งผ้พู ัฒนา ปรบั ปรงุ
และเปลีย่ นแปลงแบบ ผลงานด้วยความคดิ สรา้ งสรรค์ท่ีมอี ยู่ในแตล่ ะบุคคล มวี ตั ถุประสงค์ในการสร้าง
สง่ิ ประดิษฐ์เพ่ือตอบสนอง ความต้องการด้านประโยชนใ์ ชส้ อย งานประดิษฐ์มีความสมั พันธ์และ
เกย่ี วขอ้ งกับชีวิตประจาวนั ของคนไทยตัง้ แตส่ มยั โบราณ เก่ียวขอ้ งกับขนบธรรมเนียมและประเพณี
ทางศาสนา

หลักการสรา้ งสรรคง์ านประดิษฐ์ การสรา้ งสรรค์งานประดิษฐใ์ หง้ านประดิษฐ์
ประสบผลสาเรจ็ น้ัน ผเู้ รียนตอ้ งมีความพงึ พอใจ ในการทางาน โดยยดึ หลักการดงั น้ี

- หมัน่ ศึกษาหาความรใู้ นงานทต่ี นเองสนใจ โดยศึกษาจากผู้เชยี่ วชาญการในชมุ ชน
โรงเรยี น จากตวั อยา่ งสิง่ ประดษิ ฐท์ ส่ี นใจ

- ศึกษาหลกั การ วิธีการ หรอื ขัน้ ตอนการปฏบิ ัตงิ าน ในการประดิษฐ์ช้นิ งานโดยการ
วิเคราะห์ ดว้ ยตนเองหรือศึกษาจากผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ หรอื จากสอื่ ต่าง ๆ เชน่ วารสาร หนังสอื เป็นต้น

- ทดลองการปฏิบตั กิ ารประดิษฐ์ ผูเ้ รียนตอ้ งศกึ ษาค้นควา้ และทดลองปฏิบตั ิตามแนวคิด
ท่ีไดส้ ร้างสรรค์ไว้ และมีการปรบั ปรุงแก้ไข ข้อบกพรอ่ งจนสาเรจ็ เปน็ ช้ินงานประดษิ ฐ์ท่ีพึงพอใจ

ทีม่ าและความสาคญั ของสิ่งประดิษฐ์
ในปจั จุบนั โลกของเราพฒั นาไปอยา่ งรวดเร็วมาก พร้อมกนั นน้ั โลกของเรากเ็ ปลี่ยนแปลง
ไปเชน่ กัน โลกรอ้ นขน้ึ เพราะมนุษยใ์ ชท้ รัพยากรอยา่ งสิ้นเปลือง ไม่คานึงถึงวา่ ทรพั ยากรจะหมดหรอื
สูญหายไปจากโลกนี้ คณะผู้จัดทาจึงคิดประดิษฐ์ส่ิงของเหลือใช้จากวัสดเุ หลือใช้ เช่นเศษเหลก็
เศษอะลมู เิ นียม นาสงิ่ ทหี่ ลายคน ๆ คดิ วา่ เปน็ ขยะมาประดิษฐ์เปน็ ของใช้ทีม่ ปี ระโยชน์ในสานกั งาน
เป็นการยงั เดนิ ตามรอยท่ี พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัว รัชกาลท่ี 9 ได้ใหแ้ นวทาง นั่นคือเศรษฐกจิ
พอเพยี ง ซงึ่ เปน็ เปน็ เศรษฐกจิ พอเพียง ทีผ่ สมผสานหลายส่งิ หลายอยา่ งเข้าดว้ ยกนั เป็นการบูรณา

การเรือ่ งเศรษฐกจิ พอเพียง เข้ากบั เรอื่ งของภาวะโลกรอ้ น การสร้างสรรคผ์ ลงานประดิษฐ์จากเศษวสั ดุ
ที่ยอ่ ยสลายยาก จากวสั ดเุ หลือใช้ประเภทเหลก็ และอะลูมิเนยี ม ซ่ึงเป็นของเหลอื ใชห้ รอื ขยะที่มีอยู่ทุก
ท่ี ซึ่งนบั วันปริมาณจะเพิ่มขึ้นเร่อื ย ๆ ดงั นนั้ การประดิษฐจ์ ากเศษวสั ดทุ ี่ย่อยสลายยาก จากขยะ
ประเภทเหล็กและอะลูมเิ นยี ม จึงเป็นวิธหี นึ่งทีจ่ ะชว่ ยลดปริมาณขยะและนาของเหลอื ใชน้ ี้ มาใช้หรือ
ดัดแปลงใหเ้ กิดประโยชนไ์ ด้ โดยนามาประดิษฐเ์ ปน็ ของเลน่ ของประดบั ตกแต่ง และของใชต้ ่าง ๆ
เพ่ือเป็นการสรา้ งความรู้ความเข้าใจและสรา้ งจิตสานกึ ที่ดตี ่อการรักษาสงิ่ แวดล้อม อีกทั้งยงั เป็นการ
นาเศษสิ่งของเหลือใช้ มาประดิษฐ์เป็นของใช้ของตกแตง่ แทนการท้ิงให้สูญเปลา่ ซึ่งจะมีผลกระทบต่อ
สภาพแวดลอ้ มในชุมชน และชว่ ยลดการเกิดภาวะโลกร้อน

ประเภทของงานประดิษฐ์
2.1.1 งานประดิษฐท์ ี่เปน็ เอกลกั ษณ์ไทย

- งานจกั สาน เป็นผลงานจากหตั ถกรรมพืน้ บ้านของไทย ซ่งึ ประดิษฐ์มาเพื่อประโยชน์
ใช้สอยในชวี ิตประจาวนั ภายในครอบครัว เช่น ตะกรา้ กระจาด กระบงุ กระติบข้าว ลอบ ไซ หมวก
เสื่อ เปน็ ต้น วัสดทุ ่นี ยิ มนามาจกั สาน ส่วนใหญเ่ ปน็ วัสดุจากธรรมชาตทิ มี่ อี ยใู่ นท้องถิ่น เช่น หวาย
ไม้ไผ่ ใบลาน ใบเตย เชือกกล้วยก้านมะพร้าว ผักตบชวา ฟาง กก กระจดู เปน็ ตน้

- งานปน้ั เปน็ ผลงานจากการนาดินเหนียวหรอื ดนิ อนื่ ๆ มาปัน้ เปน็ รปู สตั ว์หรอื
สง่ิ ต่าง ๆ ตามทีต่ ้องการ เช่น ปั้นรปู ต๊กุ ตา ปั้นรูปผักผลไม้ แจกัน ถ้วยชาม เปน็ ต้น

- งานใบตอง เปน็ ผลงานท่ีได้จากการนาใบตอง มาตดั เย็บและประกอบรูปรา่ งรปู ทรง
ตา่ ง ๆ แลว้ นามาบรรจอุ าหาร ดอกไม้หรือประดบั ตกแตง่ เพ่ือใชใ้ นงานพธิ ตี ่าง ๆ เช่น กระทง บายศรี
เป็นต้น

- งานดอกไมส้ ด เปน็ ผลงานท่ีไดจ้ ากการใชด้ อกไม้สดมาร้อย มอบเปน็ ของขวัญ
ของทรี่ ะลึกในงานต่าง ๆ เช่น มาลยั พานพุ่ม ชอ่ ดอกไม้ เป็นตน้

- งานแกะสลกั เปน็ ผลงานการสร้างลวดลายลงบนผกั ผลไม้ หรือวสั ดุเนือ้ อ่อนประเภท
ไม้ สบู่ หรือเทียนโดยใชเ้ คร่ืองมอื ท่ีมีความแหลมคม นิยมใช้ตกแตง่ บา้ น ตกแตง่ อาหาร หรือใชเ้ ป็น
ของขวัญ ของท่รี ะลึก

2.1.2 งานประดิษฐท์ ่วั ไป
1) งานปั้น หมายถงึ การนาเอาวัสดุอ่อนท่สี ามารถรวมกันได้ หรอื แบง่ แยกออก

จากกันได้ เช่น ดินเหนียว ดินนา้ มัน ข้ีผง้ึ มาตกแตง่ ทาเปน็ รปู ทรงต่าง ๆ ตามต้องการ โดยใช้วธิ ขี ยา
บบี นวด ตดั ขัด ขดู ปะ เปน็ ตน้

2) งานประดษิ ฐด์ อกไม้ ต้นไมด้ ว้ ยกระดาษหรือผ้า หมายถึง สงิ่ ประดษิ ฐข์ นึ้ จาก
วัสดมุ ีลกั ษณะคลา้ ยรูปรา่ งดอกไม้ ที่ถกู ผลิตข้ึนมาจากแรงงานฝมี ือมนุษย์ เครอื่ งจกั ร หรืออุปกรณ์
การผลติ โดยมกี ารใชว้ ัตถดุ บิ การผลติ จากธรรมชาติ หรือวัตถดุ บิ ท่เี กิดจากการสงั เคราะหม์ าผลติ
โดยผ่านขัน้ ตอนการประดิษฐ์ ดดั แปลง อบ ย้อม เผา เคลือบสารเคมี รวมทงั้ ทาการตกแต่งตดั ต่อเตมิ
เพ่ือก่อให้เกิดความสวยงาม

3) งานประดษิ ฐ์จากเศษวสั ดหุ รือวสั ดุเหลอื ใช้
- วัสดุ หมายถึง ส่งิ ของตา่ ง ๆ ท่ีเราสามารถนามาใช้ประโยชนไ์ ด้ตามความ

ตอ้ งการ เชน่ กลอ่ งกระดาษ ขวดพลาสตกิ ผ้า ไม้ แก้ว เป็นตน้
- เศษวัสดุ หมายถึง สิ่งของต่าง ๆ ทเี่ หลือใช้จากการใช้งานของวัสดแุ ล้ว

ซ่งึ อาจเป็นเปลือกหรือเศษท่เี หลอื จากวัสดุ เชน่ เศษผา้ เศษกระดาษ เศษไม้ ฝานา้ อดั ลม เปลือกไข่
เปน็ ตน้

4) งานประดิษฐจ์ ากวสั ดธุ รรมชาติ หมายถึง การใชว้ สั ดทุ ี่มีในธรรมชาติ
มาสรา้ งสรรคอ์ อกเปน็ ผลิตภัณฑท์ ี่ให้ประโยชนใ์ ชส้ อยตรงกับความต้องการ เปน็ ต้น

การออกแบบงานประดษิ ฐ์
การออกแบบงานประดิษฐ์ เป็นการสร้างรูปลกั ษณข์ องชน้ิ งาน โดยอาศยั ความคดิ
สรา้ งสรรค์ความรู้ความเข้าใจ ในหลกั การออกแบบและนามาใช้ ทาใหก้ ารออกแบบช้นิ งานน้ันมคี ณุ คา่
และนา่ สนใจยิง่
1. การออกแบบ หมายถึง การทาต้นแบบ หรอื การทาโครงสร้างของช้นิ งานท่ีต้องการ
ประดษิ ฐ์ เพื่อให้ไดผ้ ลงานสาเรจ็ ตามท่ีมุ่งหวงั โดยการเลือกวัสดุ เลอื กสี ที่นามาใชใ้ หเ้ หมาะสม
สวยงาม
2. ทมี่ าของการออกแบบงานประดษิ ฐ์

2.1 การศกึ ษาแบบของงานที่ตนสนใจจากหนังสือ นติ ยสาร แลว้ ทดลองปฏิบตั ิ
2.2 การดัดแปลงแบบท่ีมีอยเู่ ดิม หรือแบบตัวอยา่ งโดยทาการศึกษาแบบ จนเกดิ
ความเข้าใจ จึงปฏิบตั ิการสร้างแบบ โดยการนาเอาแนวความคดิ หรือความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
ไปผสมผสานทาให้ไดแ้ บบที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะไม่เหมือนใคร
2.3 การออกแบบดว้ ยตนเอง คือการออกแบบทเี่ กิดจากแนวคิดของตนเอง
และทดลองปฏบิ ัตสิ รา้ งแบบจนไดแ้ บบท่สี วยงาม เหมาะสมตามความต้องการ

ประโยชน์ของงานประดิษฐ์
1. งานประดษิ ฐ์มคี วามสัมพนั ธเ์ กย่ี วขอ้ งกับชวี ติ ประจาวนั ของไทย
2. งานประดษิ ฐ์มีความสัมพันธเ์ กยี่ วข้องขนบธรรมเนียมและประเพณที างศาสนา
3. งานประดษิ ฐ์ช่วยใหเ้ กิดความรกั ความสามคั คใี นหมู่คณะ
4. งานประดิษฐ์ช่วยใหก้ ารทางานของสมองและประสาทสัมผัสประสานสัมพันธ์กนั
5. ใช้เปน็ เคร่ืองประดบั ตกแตง่ ของเลน่ ของขวญั ทร่ี ะลกึ
6. รจู้ กั ใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์
7. เป็นการฝึกลักษณะนิสยั ในการทางานให้มีความอดทน

2.2 แนวคิด 5 ส ปัจจัยพ้ืนฐานในการเพิม่ ผลผลิตของสานกั งาน
2.2.1 5 ส คอื อะไร
กจิ กรรม 5 ส คือ การจัดความเป็นระเบยี บเรยี บร้อยในสถานทีท่ างาน อันเปน็

ปัจจยั พืน้ ฐานในการเพมิ่ ผลผลิต เพราะในกระบวนการดาเนนิ กิจกรรมนน้ั ม่งุ เน้นการพัฒนา
ทรพั ยากรมนษุ ย์อยา่ งต่อเน่ือง โดยเชื่อวา่ มนุษย์จะพัฒนางานในองค์การตนเองต่อไป ซ่ึงแนวทางน้ี
เปน็ แนวทางการบริหารงานแบบมีสว่ นรว่ ม ซ่งึ องค์การตา่ ง ๆ พยายามมุ่งเนน้ มาโดยตลอด

วตั ถุประสงคส์ าคัญ 4 ประการของกิจกรรม 5 ส
1. พัฒนาความคดิ ในการปรับปรุงอยา่ งต่อเน่ือง
2. สร้างทมี งานท่ีดี โดยการให้ทุกคนมีสว่ นร่วม
3. พฒั นาผบู้ รหิ ารและหวั หนา้ งาน โดยการฝกึ ความสามารถในการเป็นผนู้ า
4. เตรยี มความพรอ้ ม เพื่อการนาเทคโนโลยี ด้านการปรบั ปรุงอย่างต่อเน่อื งขนึ้ มาใช้
2.2.2 5 ส เปน็ กิจกรรมพ้นื ฐานเพ่อื การปรบั ปรงุ การเพ่ิมผลผลิต
ส.1 : สะสาง หมายถงึ การแยกให้ชดั ระหว่างของทีจ่ าเป็นในการใชง้ าน กับของ
ทีไ่ มจ่ าเปน็ ต้องใช้ รวมถึงของทไ่ี ม่เกี่ยวข้องในการทางาน และให้ขจัดของท่ีไม่จาเป็นออกไปจาก
สถานท่ที างาน
ส.2 : สะดวก หมายถงึ การนาของท่จี าเปน็ ในการใช้งาน มาจัดการให้เป็นระเบยี บ
ใหง้ า่ ย และสะดวกในการหยิบใช้ และทาใหท้ ุกคนดูแล้วรู้ว่าคอื อะไร
ส.3 : สะอาด หมายถงึ การทาความสะอาด สถานท่ที างานอยา่ งดี ให้น่าดูอยเู่ สมอ
เพ่อื ขจัดฝุ่นละอองที่อยบู่ นพื้น สง่ิ ของเคร่ืองใชเ้ คร่อื งมือ เครอ่ื งจักร และอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ
ส.4 : สุขลกั ษณะ หมายถงึ สภาพหมดจด สะอาดตา โดยการรักษา 3 ส แรก
ให้คงอยู่ หรือทาให้ดีขึน้ อยเู่ สมอ เพ่ือสุขภาพอนามยั และความปลอดภัย
ส.5 : สรา้ งนิสยั หมายถึง การฝึกฝนใหท้ ุกคนปฏิบัตอิ ยา่ งถูกต้อง และติดเป็นนิสัย
ตามกฎเกณฑ์การจดั ความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย ในหนว่ ยงานให้เป็นไปอยา่ งต่อเนอื่ ง

2.2.3 ประโยชน์ท่จี ะได้รับจากการทา 5 ส
- สถานที่ทางานสะอาด และเปน็ ระเบียบมากข้ึน
- การปฏบิ ตั ิงานในโรงงาน และสานักงานงา่ ย สะดวกและปลอดภยั มากยงิ่ ข้ึน
- ทกุ คนท้ังภายในและภายนอกหน่วยงาน สามารถเห็นการปรบั ปรงุ ไดช้ ดั เจน
- กอ่ ใหเ้ กดิ ความคดิ สร้างสรรคใ์ นการปรับปรงุ อื่น ๆ
- พนักงานมีระเบียบวนิ ยั ข้ึนมาอย่างอัตโนมัติ
- เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการทางาน
- ช่วยในการบารุงรกั ษาอุปกรณ์
- เพ่ิมคุณภาพสินคา้ /การบริการท่ดี ี
- ช่วยเสรมิ สร้างทัศนคตทิ ี่ดใี ห้แก่พนักงาน
- พนักงานรู้สกึ ภาคภมู ิใจในความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อย
- เสริมภาพพจน์ขององคก์ ร/ส่งผลดตี อ่ ธุรกิจ

2.3 การจัดการสานักงาน
การจัดการสานักงาน มี 3 รปู แบบ คือ สานกั งานรวม สานกั งานแบบกระจายงาน

และสานกั งานแบบประสม สานกั งานเป็นสถานที่ทาการของหนว่ ยงาน ทัง้ ภาครฐั และภาคเอกชน
กจิ กรรมทุกอย่าง ไมว่ ่าจะเปน็ การตดิ ต่องานใด ๆ ก็จะต้องติดต่อกบั สานักงานทั้งส้ิน ดงั น้ันสานักงาน
จึงเป็นศนู ยร์ วมของงานทกุ ชนิด โดยเฉพาะงานดา้ นธรุ การ ทีส่ าคัญย่งิ ก็คือ งานดา้ นเอกสาร และการ
บริหารสานกั งาน ตามความเหน็ ของ เจ ซี เด็นเยอร์ (J. C. Denyer) การบริหารสานกั งานเป็นการ
ใชท้ ้ังศาสตร์และศลิ ป์ เพื่อนาเอาทรัพยากรบรหิ ารท่ีประกอบด้วย คน เงนิ วัสดุสงิ่ ของ และการ
จัดการมาใชเ้ ป็นกลไกในการปฏบิ ตั ิงาน ความสาเร็จหรือความล้มเหลวของหนว่ ยงาน ขน้ึ อยู่กับ
คุณภาพในการบริหารงาน ดังนนั้ ผบู้ ริหารจึงตอ้ งคานึงถึงปัจจัยภายในและภายนอกหน่วยงาน เพือ่ หา
วิธกี ารทาอย่างไรจึงจะให้การบริหารงานมีประสทิ ธิภาพ

คาจากัดความของคาว่า “สานักงาน”
1. หมายถงึ อาคารสานักงาน รวมถงึ ตวั อาคารหรือสว่ นใดสว่ นหนง่ึ ของอาคาร การใชง้ าน
ส่วนใหญห่ รอื ทง้ั หมด ในฐานะทเี่ ปน็ สานักงานหรือวตั ถุประสงคใ์ นการทางาน
2. หมายถงึ วตั ถปุ ระสงค์ของสานักงาน รวมถงึ วตั ถุประสงค์ในการบริหารงาน งาน
บุคลากร การจัดการด้านการเงนิ การโทรศัพท์ และโทรเลข
3. หมายถงึ งานเอกสารต่าง ๆ รวมถึง งานขดี เขียน งานบัญชี คดั แยกเอกสาร จดั เกบ็
เอกสาร งานพิมพด์ ีด งานถา่ ยเอกสาร การใชเ้ ครอ่ื งคานวณ การวาดรูป และการจัดเตรียมงานด้าน
สารบรรณเพ่ืองานจัดพิมพ์เอกสารหนังสอื ตา่ ง ๆ
หนา้ ทขี่ องสานกั งาน ย่อมขึ้นอยู่กับการจัดเตรียมบริการดา้ นตา่ ง ๆ ทงั้ ทเ่ี กยี่ วกบั การสอื่ สาร
และการบันทกึ ข้อมูล รวมทั้งรายละเอียดต่าง ๆ ตอ่ ไปนี้
1. เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมลู ข่าวสาร (เชน่ ขอ้ เสนอ ตารางเวลา คาส่ังต่าง ๆ เปน็ ตน้ )
2. เพอื่ บันทกึ ข้อมูลขา่ วสาร (เชน่ วสั ดสุ านกั งาน ราคา ขอ้ มูลบุคลากร เปน็ ต้น)
3. เพื่อการจัดเตรียมขอ้ มลู (เช่น จัดทาต้นทนุ บัญชี สถติ ิ เป็นต้น)
4. เพือ่ การใหข้ ้อมลู (เช่น ออกใบสง่ ของ ประมาณการ เปน็ ต้น)
5. เพื่อความปลอดภัยของทรพั ยส์ นิ (เช่น การรักษาเงินสด สินค้า เอกสารสาคัญ เปน็ ต้น)
ในแงน่ ก้ี ารมปี ระกันภัยที่พอเพยี งยอ่ มเป็นสิง่ ที่มีความสาคัญยงิ่

หน้าทีข่ องสานักงานในทางธรุ กิจ
1. โดยปกตแิ ล้วมคี วามสาคัญรองลงมาจากด้านวตั ถุประสงคห์ ลัก (ฐานราก) ของธุรกิจ
(เชน่ การผลิตในโรงงานมีความสาคญั ในลาดบั ต้นก่อนการบรหิ ารสานกั งาน)
2. เป็นสว่ นทเ่ี ตมิ ตอ่ ฐานรากให้สมบูรณ์ ดังนั้นจึงมีความสาคญั ยิ่งทีจ่ ะทาใหโ้ รงงานทางาน
ไดน้ านย่งิ กว่าเดิมดว้ ยบริการสานักงานในด้านการประเมนิ และจา่ ยค่าแรง หรือการจดั การจ่ายคา่
วัตถุดบิ ต่าง ๆ เปน็ ต้น
3. ทาหน้าท่คี วบคุมปัจจยั ในการผลติ โดยเฉพาะในดา้ นการบรหิ ารจดั การ บคุ ลากร
และการควบคุมงบประมาณ

แนวทางการบริหารสานักงานให้เกิดประสิทธภิ าพ
1. วตั ถุประสงค์ สิ่งสาคัญประการหนึง่ กค็ ือการกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ของสานกั งานหรือ
ส่วนใดส่วนหน่ึงของสานกั งาน
2. องค์กร คือการจัดการในด้านบคุ ลากร การจาแนกตาแหนง่ หน้าที่ของบุคลากร
3. วธิ กี าร (ระบบ) คือลาดับของการปฏิบัติงานและส่งิ ท่ตี ้องจัดทา จดั ทาที่ไหน
ภายในกรอบเวลาท่ีกาหนด
4. บคุ ลากร จะเกยี่ วขอ้ งกบั การจดั จ้าง การกาหนดตาแหนง่ หน้าที่ การฝึกอบรม ขวญั และ
กาลังใจ การปรบั ปรงุ ตาแหน่งหน้าที่ และการลดพนกั งาน
5. สภาพแวดลอ้ ม รวมไปถึงตวั อาคารสานักงาน การจัดวางผังอาคาร แผนกต่าง ๆ
และสภาพตา่ ง ๆ ท่สี ามารถมองเหน็ ได้
6. อปุ กรณ์ รวมถึงเครื่องมือเคร่ืองใช้เพ่ือช่วยในการปฏิบตั งิ านในสานกั งาน

งานของผบู้ ริหารสานกั งาน งานหลกั ๆ ของผบู้ ริหารสานักงานก็คือการผู้นาและควบคุม
สานักงานเพื่อใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงค์ด้วยประสิทธภิ าพสูงสดุ คาวา่ “ประสทิ ธิภาพ” ย่อมเกี่ยวพนั
กบั ปริมาณและคุณภาพของงานและบรกิ ารต่าง ๆ ในเวลาท่ีกาหนด โดยประหยัดทรัพยากรและ
ดว้ ยการมีมนษุ ยสัมพันธอ์ นั ดีต่อบคุ ลากร เปน็ ตน้

ในหน่วยงานเล็ก ๆ ผบู้ รหิ ารสานกั งานยงั ทาหนา้ ท่ีหวั หนา้ สานกั งานอกี ดว้ ย ถึงแม้วา่
“หัวหน้า” อาจจะไม่ใชต่ าแหน่งผบู้ รหิ ารก็ตาม

หวั หน้าสานักงาน หวั หน้าสานกั งานคือบุคคลผซู้ ่ึงทาหนา้ ที่ควบคุมดแู ลงานสานักงาน
ทงั้ หมด หรือสว่ นหนง่ึ ส่วนใดของงานสานกั งาน จึงต้องเปน็ ผู้ท่มี ีความรู้ความสามารถในวชิ าชพี การ
บริหารสานักงานเป็นอยา่ งดี ตาแหน่งนี้อยู่ใตบ้ งั คบั บญั ชาของผู้บรหิ ารสานักงาน

งานหลกั
- ให้คาปรึกษาแนะนา
- ชกั จูง ฝกึ อบรมและควบคมุ บุคลากร
- เสริมสรา้ งให้เกิดให้มนษุ ยสัมพันธอ์ ันดีกับบคุ ลากร

งานทเ่ี ก่ยี วข้องกับการปฏิบัตงิ าน
- วางแผนงานในหน่วยงาน
- การบริหารงานบคุ คล
- บรหิ ารงานเอกสารตา่ ง ๆ
- ประสานงานกับหนว่ ยงานอนื่ ๆ
- กระจายภาระงานอย่างยุติธรรม
- พัฒนาและนาเอาวธิ กี ารใหม่ ๆ มาใชเ้ พ่ือปรับปรุงประสิทธภิ าพของงาน

หนา้ ทีต่ อ่ ผู้ใต้บังคบั บญั ชา
- ให้การฝกึ อบรมบคุ ลากร
- พัฒนาตวั แทนบุคลากร (เพอ่ื ทดแทนบุคลากรท่ีลาหยดุ พักผอ่ น ลาปว่ ย และอ่ืน ๆ)

- มอบหมายความรบั ผดิ ชอบงาน (อยา่ สบั สนกับการมอบหมายอานาจหนา้ ที่)
- ประนปี ระนอมเพอ่ื ไม่ให้บคุ ลากรเกิดความขดั แยง้
- มคี ุณธรรมในการบริหารงาน
- มีศลิ ปะในการบริหารบุคคล
- ควบคุมการทางานโดยให้มคี วามยดื หยนุ่ พอควร
หน้าที่ท่ีมีต่อผูบ้ ังคบั บัญชา
- รบั ผดิ ชอบต่องานในหน่วยงานของตนเองอยา่ งเต็มความสามารถ
- ประสานงานกบั หัวหนา้ งานอ่ืน ๆ
- มีวิธกี ารหรือหลักการทจี่ ะปรับปรงุ งาน
- มีความสามารถในการจัดระบบและวิธกี ารปฏิบตั งิ าน

2.4 การเชอื่ มโลหะ
คอื การต่อโลหะ 2 ชิน้ ใหต้ ดิ กนั โดยการให้ความร้อนแกโ่ ลหะจนหลอมละลาย ติดเป็นเน้ือ

เดียวกนั หรอื โดยการเติมลวดเช่ือมเปน็ ตัวใหป้ ระสาน
วธิ กี ารเช่ือมโลหะแบง่ ออกได้ดงั นี้

2.4.1 การเชื่อมแกส๊ (Gas Welding)
คอื การหลอมเหลวโลหะ แหล่งความร้อนที่ใช้เกิดมาจากการเผาไหมร้ ะหว่าง

แกส๊ อะเซทีลนี ซึง่ เปน็ แก๊สเชื้อเพลิง และแกส๊ ออกซิเจน อุณหภมู ิของการเผาไหมท้ ่สี มบูรณ์
ใหค้ วามรอ้ นสูง 3200°C และจะไม่มเี ขมา่ หรือควนั

2.4.2 การเชือ่ มไฟฟ้า (Arc Welding)
การเช่ือมไฟฟา้ หรือ "อาร์ค" ความร้อนท่ีใช้ในการเชื่อมเกิดจากประกายอาร์ค

ระหว่างชิ้นงาน และลวดเช่อื มซึ่งหลอมละลายลวดเช่อื ม เพ่อื ทาหนา้ ที่ประสานเนอื้ โลหะเขา้ ดว้ ยกนั
2.4.3 การเชือ่ มอัด (Press Welding)
คอื การประสานโลหะ 2 ชนิ้ โดยใชค้ วามรอ้ น กับช้ินงานในบรเิ วณทจ่ี ะทาการ

เชื่อม จากนัน้ ใชแ้ รงอดั ส่วนท่ีหลอมละลาย จนกระทงั่ ชน้ิ งานตดิ กนั เปน็ จดุ หรือเกิดแนวความร้อน
ทใี่ ช้ไดจ้ ากความต้านทานไฟฟ้า เช่น การเช่ือมจุด (Spot Welding)

2.4.4 การเชอื่ ม TIG (Tungsten Inert Gas Welding)
เป็นวธิ ีเชอื่ มโลหะดว้ ยความร้อน ท่เี กิดจากการอาร์คระหว่างลวดทงั สเตน

กบั ช้นิ งาน โดยมแี ก๊สเฉื่อยปกคลมุ บริเวณเชอ่ื ม และบ่อหลอมละลายเพื่อไม่ไห้บรรยากาศภายนอก
เข้ามาทาปฏกิ ริ ิยา

2.4.5 การเชอื่ ม MIG (Metal Inert Gas Welding)
เปน็ กระบวนการเชื่อมที่สรา้ งความร้อน ระหว่างลวดเช่ือมกับช้ินงาน ลวดเชื่อม

ที่ใชจ้ ะเป็นลวดเชื่อมเปลือยที่ส่งป้อนอยา่ งตอ่ เน่ือง ไปยังบริเวณอาร์ค และทาหนา้ ทีเ่ ป็นโลหะเตมิ
ลงยงั บ่อหลอมละลาย บริเวณบอ่ หลอมละลาย จะถูกปกคลุมไปดว้ ยแก๊สเฉอ่ื ย เพอ่ื ไม่ใหเ้ กดิ การ
รวมตัวกับอากาศ

2.4.6 การเชอ่ื มใต้ฟลักซ์ (Submerged Arc Welding)
การเชอ่ื มใตฟ้ ลักซ์เปน็ กระบวนการเชื่อมไฟฟ้าท่ีไดร้ บั ความร้อนจากการอาร์ค

ระหว่างลวดเชื่อมเปลือยกับช้ินงานเชื่อม โดยมีฟลักซช์ นดิ เมด็ (Granular Flux) ปกคลมุ บริเวณอารค์
และฟลักซ์ ส่วนที่อยู่ใกล้กบั เน้อื เชือ่ มจะหลอมละลาย ปกคลุมเนอื้ เช่ือมเพอ่ื ป้องกันอากาศภายนอก
ทาปฏกิ ริยากบั แนวเชือ่ ม สว่ นฟลักซ์ท่ีอยูห่ ่างจากเนื้อเชือ่ มจะไมห่ ลอมละลาย และไม่สามารถ
นากลับมาใช้ใหม่ได้อกี

2.5 งานวิจัยท่ีเกย่ี วข้อง

สุวทิ ย์ วรรณศรี (2550, หนา้ 22-23) ศึกษาเศรษฐกิจพอเพยี ง ความพอประมาณ
ความมเี หตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ตี อ้ งมีระบบภมู ิคุ้มกันในตวั เองท่ดี ตี ่อการทมี่ ผี ลกระทบใด ๆ
อนั เกิดจากการเปลีย่ นแปลงทั้งภายนอกและภายใน โดยต้องอาศยั ความรอบรู้ รอบคอบ ไมป่ ระมาท
และระมดั ระวงั ในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ ต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนใหม้ ีสานกึ
ในคณุ ธรรม ขยนั ประหยัด ซ่ือสตั ย์ อดทน แตอ่ ย่างไรกต็ าม ความพอเพยี งของคนหนึ่งอาจ
เปลี่ยนแปลงไดต้ ามเง่ือนไขทั้งภายนอกและภายใน

สุนยี ์ มลั ลกิ ะมาลย์ (2543, น.77-87) ศกึ ษารูปแบบการบรหิ ารจดั การ เปน็ การแก้ไข
ปัญหาขยะ เนื่องจากขยะเปน็ ต้นเหตุทท่ี าให้ เกดิ ผลกระทบต่อสภาพแวดลอ้ มในการทาใหด้ นิ เสยี
อากาศเสยี และน้าเสยี ซ่ึงส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน ในพืน้ ทีน่ ้ัน ๆ ดังนน้ั การแก้ไขปัญหา
ขยะมลู ฝอยตอ้ งแก้ไขท่ีตน้ เหตุหรือจดุ ท่ีทาให้เกิดขยะ น้ันคือผ้สู ร้างขยะหรือคนนั่นเอง การแก้ปัญหา
กับคนต้องเร่ิมต้นดว้ ยการสร้างจิตสานึกใหร้ ้จู ักความรบั ผิดชอบและ การมีสว่ นร่วมในการชว่ ยกัน
รักษาความสะอาดทงั้ ในบา้ น และนอกบ้านรวมถึงสถานทส่ี าธารณะดว้ ยการรู้จัก แยกขยะก่อนทง้ิ
การนาขยะบางอยา่ งท่ีดีมาใช้ซ้า และท้ิงขยะใหเ้ ป็นท่เี ป็นทาง ซ่งึ เปน็ การเออื้ อานวยความสะดวก
ให้กับพนักงานเก็บขยะไดร้ วดเรว็ ขน้ึ ในรูปแบบการจัดการขยะในชมุ ชนต่อไปนี้ รปู แบบการจดั การ
ขยะในชมุ ชนวดั ประยรู และชุมชนซอยวิเชียร ตาบลคคู ต อาเภอลาลกู กา จงั หวัดปทมุ ธานี
เป็นชุมชนที่อยู่ในโครงการทดลองใช้รูปแบบการคดั แยกขยะของโครงการจดั การขยะชมุ ชน
สานักงานกองทนุ สนับสนุนการวจิ ัย (สกว.) ร่วมมอื กบั สานักงานเทศบาลตาบลคูคต ในการเกบ็
ขนขยะตามรูปแบบของการวิจยั ทดลองใชร้ ูปแบบการคัดแยกขยะชมุ ชน โดยการแนะนารณรงค์
ใหป้ ระชาชนในชมุ ชน ร่วมมือกนั คดั แยกขยะเปน็ เวลา 2 เดือน ภาพของความสกปรก รกรงุ รงั
และไม่เปน็ ระเบียบเรียบร้อยของชมุ ชน เปลยี่ นแปลงไปในทางท่ีดีข้นึ คอื สะอาด ไม่มีขยะตกคา้ ง
เปน็ ปรากฏการณ์ทป่ี ระชาชนในชุมชนสัมผัสได้ จึงยอมรบั ว่าการคัดแยกขยะก่อนทิ้งสง่ ผลใหป้ ริมาณ
ขยะลดลงไดจ้ ริงทาใหภ้ าระในการเกบ็ ขนขยะของท้องถ่ิน ลดนอ้ ยลงไป จนสามารถจดั เก็บขนขยะ
ไมใ่ หเ้ หลอื ตกค้างในชุมชนได้ ไดศ้ ึกษาความต่อเนื่องในการดาเนินการคดั แยกขยะ ปญั หาอปุ สรรค
ท่เี กิดขึ้น แนวทางการแกป้ ญั หา ฯลฯ เพื่อเป็นแบบอยา่ งสาหรับชมุ ชนอ่นื โดยมีรปู แบบการคดั แยก
ขยะ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื (1.1) ขยะธรรมดา ประกอบด้วย ขยะมีมูลคา่ เชน่ แก้ว โลหะ กระดาษ
พลาสตกิ ขยะสารอนิ ทรยี เ์ ปน็ ขยะเศษอาหาร พชื ผกั ใบไม้ตา่ ง ๆ ทเี่ ปน็ ของสด และขยะทิง้ เป็นขยะ
ท่ผี ่านการคัดแยก ขยะท่ีมีมลู คา่ และขยะสารอินทรีย์ออกไปแล้ว สว่ นทีเ่ หลือ คือ ขยะที่ไมต่ ้องการ
ดังน้ันจงึ เป็นสว่ นท่ีจะทิ้งไป (1.2) ขยะอันตราย เป็นขยะที่มีสารมีพิษ ตกคา้ งอยู่ เชน่ ถงุ ปุย๋ เคมี

กระป๋องสเปรย์ กระป๋องยาฆ่าแมลง หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย แบตเตอร่ี เป็นตน้ เป็นประเภทขยะทีต่ อ้ ง
คัดแยกทิ้งตา่ งหากออกไป

ศศเิ กษม ทองยงค์ (2520:11) ศึกษาโลหะ ในชว่ งระยะเวลาที่ผ่านมาปริมาณการใช้
โลหะไดเ้ พ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว เนือ่ งจากโลหะถูกนามาใชใ้ นทุกกจิ กรรม ไมว่ า่ จะเปน็ การกอ่ สร้างทอ่ี ยู่
อาศยั โรงงานการคมนาคม สาธารณปู โภครวมถึงการนามาผลติ เป็นสินค้าเพ่ือใชใ้ นการบรโิ ภค จาก
ความต้องการดงั กล่าว จึงทาใหป้ รมิ าณของโลหะที่เหลือใช้เพม่ิ มากข้ึนตามมา จากเหตุผลนี้เองทาให้มี
การนาเอาโลหะท่ีเหลอื ใชน้ ากลับมาใชป้ ระโยชนใ์ หม่

ประเภทและคุณสมบัติของโลหะ โลหะสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ดังน้ี
1. เหลก็ เป็นโลหะทจี่ ากการหลอมละลายแรเ่ หล็กในเตาถลงุ เหล็กท่ผี ลิตจากเตาถลุงจะยงั

ไม่บรสิ ุทธ์ิ เรยี กวา่ Pig iron เหลก็ สามารถแบ่งออกได้ดังนี้เหลก็ กล้า คอื เหล็กทนี่ าเอา Pig iron
ท่ียงั ไมบ่ รสิ ุทธิม์ าทาให้บรสิ ุทธ์ิ โดยการผสมคาร์บอนเขา้ ไปจะกลายเปน็ เหล็กกลา้ เหลก็ หล่อ คอื
เหล็กท่ีนาเอาPig iron มาหลอมอกี ครั้งหน่ึงแลว้ เทลงในแม่แบบ เหลก็ หล่อมีหลายประเภท เชน่
เหล็กหล่อเทา เหล็กหล่อคณุ ภาพพเิ ศษ เหล็กหลอ่ กราไฟท์ เหล็กหล่อเยน็ เหลก็ เหนียวหลอ่ เป็นตน้
เหล็กหลอ่ จะมีราคาถกู นิยมมาใช้ในโรงงานอตุ สาหกรรม เหล็กอ่อน คอื เหล็กที่ได้มาจากการทาให้
Pig iron บริสทุ ธ์ิขึ้นบ้าง แต่ยงั คงมีวัตถุอ่ืนเป็นก้อน ๆ ปนอยู่ในเนื้อเหล็ก ปัจจบุ ันไมค่ ่อยนามาใช้กัน
มากนกั เหลก็ กล้าสแตนเลส เปน็ เหล็กกลา้ ที่ผสมโครเม่ียมและนเิ กลิ ทาให้มีคุณสมบตั ิพเิ ศษ คอื
ไม่เกิดการสกึ กร่อนหรือรอยด่าง มผี ิวมันวาวตลอดเวลา

2. โลหะท่ีไมใ่ ชเ่ หล็ก หมายถึง โลหะที่ไม่มีเหลก็ เป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ เชน่ ทองแดง
อลูมิเนียม สงั กะสี ตะกว่ั ดีบุก และโลหะผสม (ทองเหลืองบรอนซ)์ และโลหะทีไ่ มใ่ ช่เหล็กทจี่ ดั อยู่ใน
ประเภทโลหะมคี ่าสงู เช่น ทองคา และทองคาขาว (กรมโรงงานอุตสาหกรรม,2541:2-1) ซ่งึ แตล่ ะ
ประเภทมีรายละเอยี ด สรปุ ได้ดงั นี้ อลมู ิเนยี ม เป็นโลหะทีม่ ีคณุ ค่า มนี ้าหนกั เบากว่าเหล็กมาก โลหะ
ผสมของอลมู เิ นียมบางชนิดมีความแข็งแรงมากกว่าเหลก็ อลมู เิ นียมมีคุณสมบัติไมส่ กึ กร่อนเมือ่ ถูก
อากาศ อลูมเิ นียมสามารถซมึ ซับความเย็นไดร้ วดเรว็ ทาอลูมเิ นยี มเป็นทน่ี ิยมนามาเปน็ บรรจุภัณฑ์
อาหารประเภทเครอื่ งดมื่ ทองเหลอื ง เปน็ โลหะผสมระหว่างทองแดงกบั สงั กะสี ซ่งึ มีหลายประเภท
ตามสดั ส่วนการผสมของทองแดงและสงั กะสี คือ ถา้ ผสมสังกะสีมากทองเหลืองจะแข็ง และในบาง
กรณีท่ีต้องการให้ทองเหลอื งมีความแข็งแรงมาก กจ็ ะใสส่ ว่ นผสมของอลูมิเนยี มหรือเหลก็ ทองแดง
เป็นโลหะทีม่ สี สี ม้ ค่อนข้างแดง สามารถตใี หเ้ ป็นแผ่นบาง ๆ ไดง้ ่าย ทาให้เปน็ รปู แบบตา่ ง ๆ หรือทาให้
เปน็ เส้นลวดเล็ก ๆ ได้ เป็นตัวนาไฟฟา้ ไดด้ ี ตะก่ัวเป็นโลหะทไ่ี ม่แข็งแรง มเี นื้ออ่อน สามารถทาใหเ้ ปน็
รูปรา่ งต่าง ๆ ได้ง่าย ไม่สึกกร่อนเร็ว เหมอื นเหลก็ สังกะสี เป็นโลหะทน่ี าใช้มากในรูปโลหะผสมสงั กะสี
มีความต้านทานการเกิดสนมิ และการสึกกร่อนไดด้ ี ดบี ุก เปน็ โลหะที่นิยมนามาเคลอื บกระปอ๋ ง
ท่ีทามาจากเหลก็ กล้าแผน่ บาง ๆ ซ่ึงทาให้ไม่เกิดสนิม

Fenton (1998) ศกึ ษาการบรโิ ภคของเหล็ก และเศษเหล็กและสถานภาพของ
อุตสาหกรรมเศษเหล็กข้นึ โดยตรงสถานภาพของอุตสาหกรรม การผลิตเหล็กในประเทศสหรัฐอเมริกา
เชน่ เดยี วกบั ประเทศสว่ นใหญข่ องโลก ท่ีมีการคาดการวา่ ปริมาณความต้องการ การใช้เศษเหลก็

เพ่มิ ข้นึ เร่ือย ๆ ตามปรมิ าณความต้องการผลิตภัณฑ์เหลก็ อ่ืน ๆ ซงึ่ มีการคาดการณว์ ่าจานวนของ
เศษเหล็กทจ่ี ะเกดิ ขึน้ ในอนาคตจะมีปริมาณ เพียงพอสาหรับความต้องการ การใช้งานในอนาคต
อันใกล้ประมาณ 75 ลา้ นตัน (MT) ของเศษเหล็กที่จะมีมากขึ้นชว่ งระหว่างปี ค.ศ. 1998
ในสหรัฐอเมริกาจานวน 35 ล้านตนั เศษจากเศษเหล็กเกา่ และ 18 ลา้ นตนั คือเศษเหล็กทีเ่ กิดขนึ้
ใหม่จากการบรโิ ภคสามารถคานวณปรมิ าณเศษเหล็ก ทส่ี ามารถนากลับมาใชใ้ หม่ได้ท้ังหมดร้อยละ
52และพบวา่ สามารถนามารีไซเคลิ ได้ รอ้ ยละ 41 เหลก็ ซึ่งรวมถึงผลติ ภณั ฑ์ ท่ีมสี ่วนประกอบของ
เหล็ก มใี ชก้ ันอย่างแพรห่ ลายมากที่สดุ ของโลหะทงั้ หมด ผลติ ภณั ฑ์เหล็กและเหล็กกล้าที่ใช้ในการ
ก่อสรา้ งและการประยุกตใ์ ชใ้ นอุตสาหกรรม เป็นจานวนมากเชน่ เคร่อื งใช้ไฟฟา้ สะพาน อาคารบรรจุ
ภัณฑเ์ คร่ืองจักร เคร่ืองมือและยานพาหนะ ดงั นน้ั จึงเหน็ ได้วา่ การรไี ซเคลิ เหลก็ และเศษเหลก็ เปน็
กจิ กรรมทส่ี าคญั ท่วั โลกโดยเฉพาะในประเทศสหรฐั อเมริกา ปริมาณ 73 ล้านตนั (MT) ของเศษเหล็ก
เก่าและเศษเหล็กใหม่ ถูกนาใช้สาหรบั ผลิตเปน็ เหลก็ ใหม่สาหรับการบริโภค ภายในประเทศ ในชว่ งปี
ค.ศ. 1998 ผลติ ภณั ฑ์เหล็ก และเหล็กกล้าที่ถูกยกเลิกการใช้งาน รวมไปถงึ เศษเหลก็ ทเ่ี กิดข้นึ
การผลิตสนิ คา้ ในโรงงาน จะถูกเกบ็ รวบรวมกลับมาใช้ใหม่ เพราะมนั เป็นข้อได้เปรียบทางเศรษฐกจิ
ในการรไี ซเคลิ ผลิตภณั ฑ์เหล็ก และเหลก็ กล้า โดยทาการหลอมละลาย และการเปล่ยี นสภาพ
ให้เป็นวัตถุดิบในรูปแบบกึง่ สาเรจ็ รปู สาหรบั ใช้ในการผลติ ผลิตภณั ฑเ์ หลก็ ใหม่ ตลาดเศษเหลก็
เป็นตลาดขนาดใหญ่ และมีประสิทธภิ าพสูง จากการรวบรวมขอ้ มลู อัตราการรีไซเคิลเหล็ก
ของสถาบนั การรีไซเคลิ เหล็ก พบวา่ มอี ัตราการใช้เหล็กรีไซเคลิ เพม่ิ ขึ้น เมอ่ื เทยี บกบั อัตราการผลิต
เหล็กดิบ โดยรวมเกินร้อยละ 50 ทกุ ปตี งั้ แตส่ งครามโลกคร้ังท่สี อง และมีปริมาณมากกว่ารอ้ ยละ 60
ในชว่ งสองทศวรรษที่ผา่ นมาเหล็ก และเศษเหลก็ สาหรับรไี ซเคิลจงึ มีคุณคา่ มากกวา่ เพียงแค่ การเพมิ่
คณุ ค่าทางเศรษฐกิจ ซึง่ เปน็ ประโยชน์ต่อผผู้ ลติ เหล็ก เนื่องจากการรีไซเคิลเศษเหล็กเปน็ สว่ นหนึ่งของ
การจัดการทีช่ าญฉลาดของการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรเหล็ก การนาเศษเหลก็ กลบั มาใชใ้ หม่ 1 ตัน (T) ของ
เศษเหล็ก สามารถอนุรักษแ์ ร่เหล็กไดป้ ระมาณ 1,030 กโิ ลกรัม (กก.)ถ่านหนิ ประมาณ 580 กก.
และแร่หนิ ปูน ประมาณ 50 กิโลกรมั ในแต่ละปีมีการรไี ซเคิลเหลก็ ซึง่ สามารถชว่ ยประหยดั พลงั งาน
เทยี บเทา่ ทีจ่ าเป็นในการใชพ้ ลังงานไฟฟ้าประมาณหนึ่งในหา้ ของปริมาณการใช้พลังงานของประชากร
ของสหรัฐอเมริกา (ประมาณ 18 ล้านครวั เรือน) เป็นเวลา 1 ปี (Steel Recycling Institute,
1999)

ศาสตราจารย์แคธนี วอหส์ (Kathleen Vohs) นกั วทิ ยาศาสตร์ดา้ นจิตวิทยา และทีม
นกั วิจยั จากมหาวิทยาลยั มนิ นิโซตา สหรฐั อเมรกิ า ได้ทาการวิจัยพบว่า การทางานบนโต๊ะทางานรก ๆ
มสี งิ่ ของตา่ ง ๆ วางระเกะระกะ มีแนวโนม้ เกดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์มากกวา่ เพราะสภาพแวดลอ้ ม
ทีย่ ุ่งเหยิงจะชว่ ยปลดปลอ่ ยความคดิ ใหอ้ อกนอกกรอบ ชว่ ยกระตนุ้ ให้เกดิ ความคดิ ใหม่ ๆ ขน้ึ ได้
มากกวา่ ผู้ที่ทางานอย่บู นโต๊ะทางานทีส่ ะอาดจัดวางอย่างมีระเบียบเรยี บร้อย ในการทดลอง
ทีมนักวจิ ยั ได้แบ่งผเู้ ข้ารบั การทดลองเปน็ 2 กลุ่ม กลมุ่ แรกใหน้ ั่งทางานที่โตะ๊ ทางานสะอาด
เป็นระเบยี บ สว่ นอกี กลมุ่ หน่ึงให้นง่ั ทางานอยูบ่ นโต๊ะ ท่ีมีกองเอกสารและเครื่องใช้สานักงานกองสุม
กระจัดกระจายอยู่เกลื่อนโต๊ะ หลงั จากนั้น ให้ทัง้ 2 กลมุ่ น้ันทาแบบทดสอบ โดยให้ตอบคาถามว่า
พวกเขาจะนาโตะ๊ ปิงปอง มาใชป้ ระโยชน์อย่างไรบ้างผลการทดลองพบว่า ไอเดียหรือความคิด

สรา้ งสรรคใ์ หม่ ๆ ทไ่ี ดจ้ ากกล่มุ ทีท่ างานบนโต๊ะทางานรก ๆ นนั้ มีความนา่ สนใจมากกวา่ การทดลองน้ี
สะทอ้ นให้เหน็ วา่ ในองคก์ รที่ให้ความสาคญั กับความริรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ ไอเดยี ใหม่ ๆ ของพนักงาน
มักให้อสิ ระกบั คนทางาน ทัง้ ในเรอ่ื งของเวลาทางาน การแตง่ กายมาทางาน รวมทั้ง โตะ๊ ทางาน
ที่ไม่จาเป็นตอ้ งจดั ระเบยี บกไ็ ด้ หากช่วยใหเ้ กิดความคิดให้โต๊ะทางาน เปน็ ทที่ ี่เราต้องนั่งทางาน
อยา่ งน้อยวันละ 5-6 ชว่ั โมง และต้องทางานให้สาเร็จลุล่วง ในเวลาทกี่ าหนด จงึ ควรเป็นทท่ี ที่ าใหเ้ รา
มีความสขุ และส่งเสรมิ ให้ทางานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ดงั นน้ั เราแตล่ ะคนจึงควรพิจารณาวา่
ลักษณะงานของเราควรมีโตะ๊ ทางานแบบใดจงึ เหมาะสม ยกตัวอยา่ งเชน่ โตะ๊ โล่งเพ่ิมประสิทธิภาพโต๊ะ
ทางานทจ่ี ดั วางสง่ิ ต่าง ๆ อยา่ งเปน็ ระเบียบ เหมาะกับงานที่เก่ยี วขอ้ งกบั เอกสาร ข้อมลู รวมทง้ั งานที่
ตอ้ งต้อนรบั ผ้ทู ่มี าติดต่อ การที่โตะ๊ โลง่ ย่อมทาใหเ้ ราทางานไดส้ ะดวกกว่า มพี ืน้ ทีใ่ ช้สอยมากกว่า ของ
ใชต้ ่าง ๆ หยบิ ใช้สะดวก ท่ีสาคัญ เหมาะกับงานท่ีตอ้ งทาให้เสร็จส้นิ ไปในแต่ละวนั การทโี่ ต๊ะโลง่ ยอ่ ม
แสดงวา่ เราไม่มีงานท่ีค่ังค้างกองสมุ ไว้ แต่ทาเสร็จเรียบรอ้ ยภายในวนั น้ัน นอกจากนี้การที่โต๊ะจดั วาง
สิง่ ต่าง ๆ อยา่ งเป็นระเบยี บ ย่อมชว่ ยลดเวลาในการคน้ หาเอกสารสง่ิ ของต่าง ๆ เช่น หากเราไม่จัดโต๊ะ
ทางานใหเ้ ป็นระเบยี บ ไมไ่ ด้จัดหมวดหมเู่ อกสารสาคญั เข้าแฟม้ ใหเ้ รยี บร้อย เมื่อถงึ เวลาหาอาจต้องใช้
เวลาร้ือค้นนานกว่า 10 นาที ในขณะท่ีหากเราจดั แฟ้มให้เป็นระเบียบ จะใช้เวลาไมถ่ งึ 1 นาที หรอื
หากเรากองสมุ สิ่งตา่ ง ๆ ไว้บนโต๊ะทางาน ทง้ั เกา่ ท้ังใหม่ โดยไม่ทิ้งอะไรเลย นอกจากจะทาใหเ้ ราหา
ของทีต่ ้องการยากขึ้นแลว้ ยงั เท่ากับเปน็ การสะสมฝุ่นและส่ิงต่าง ๆ ทีไ่ มไ่ ด้ใช้งานมากขน้ึ เร่ือย ๆ ซงึ่
นอกจากจะทาให้เรามีพน้ื ท่ีใช้สอยบนโตะ๊ น้อยลงแลว้ เราอาจเปน็ ภมู แิ พ้ฝ่นุ ตามมาได้ด้วย โต๊ะรกเพิ่ม
ประสทิ ธภิ าพในช่วงเวลาท่ตี อ้ งคิด เพื่อให้ไดไ้ อเดยี ใหม่ ๆ ทางออกหรอื ทางแก้ปัญหาที่แตกตา่ ง
มมุ มองใหม่ ๆ การทม่ี ีตวั เข่ียความคิด หรือสิง่ ต่าง ๆ ทเี่ รามองเห็น จับต้องได้ ทวี่ างอยูบ่ รเิ วณโดยรอบ
ยอ่ มเปน็ ประโยชน์ทจ่ี ะชว่ ยใหส้ มอง สามารถเช่ือมโยงเข้ากับปญั หาท่ตี ้องการหาคาตอบ อาจชว่ ยให้
เราเกดิ ไอเดียใหม่ ๆ ขนึ้ มาได้ ดงั น้ัน การทีโ่ ตะ๊ ทางานรก จึงเปน็ แหล่งรวมของตวั เขยี่ ความคิด ของคน
ท่ีตอ้ งใช้ความคิดสรา้ งสรรค์

บทที่ 3
ข้ันตอนการประดิษฐท์ แี่ ขวนตรายาง

ในการดาเนินโครงการครงั้ นี้มีวตั ถุประสงค์เพ่ือ ให้สามารถค้นหาตรายางไดง้ ่าย สะดวก
ต่อการหยบิ ใชต้ รายางและตลบั ชาด โต๊ะทางานมีระเบยี บ และมพี ้นื ท่ใี นการปฏิบัติงานเพิ่มมากขึน้
ซึง่ คณะผู้จัดทาไดด้ าเนนิ การประดิษฐด์ ังน้ี

3.1 การวางแผนวธิ ีดาเนนิ การ
3.2 วสั ดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการทา ท่ีแขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp
Rack”
3.3 ข้นั ตอนการดาเนินงาน

3.1 การวางแผนวิธดี าเนนิ การ
3.1.1 เตรยี มอปุ กรณ์ และติดตอ่ ผู้ชานาญในการเช่ือมวสั ดุเหลก็ สาหรับทา ที่แขวนตรายาง

3 in 1 “Rubber Stamp Rack”
3.1.2 กาหนดกลุม่ เปา้ หมาย นัดหมายวัน เวลา กลมุ่ เปา้ หมายเพ่ือใหท้ ดลองใช้ ท่ีแขวนตรา

ยาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack”
3.1.3 วิเคราะห์ขอ้ มลู เพื่อหาความพึงพอใจในการทดลองใช้ ท่ีแขวนตรายาง 3 in 1

“Rubber Stamp Rack”
3.1.4 ติดตามผล และประเมนิ การใช้ ที่แขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack”

จากกลุม่ เปา้ หมาย

3.2ปกรณ์ เคร่ืองมือท่ีใช้ ที่แขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack”

1. เศษเหล็กทเี่ หลือใช้

2. ภาพเครื่องตดั แผน่ เหล็ก
3. ภาพหวั เชือ่ ม เช่อื มสแตนเลส
4. เครื่องเจียเหล็ก
5. ตะไบเหลก็

6. สสี เปรย์อเนกประสงค์
7. กาวตราชา้ ง

3.3 ขน้ั ตอนการดาเนินงาน
3.3.1 เรม่ิ วัด และเจาะแผ่นเหล็กตามรูปแบบท่ีวางไว้

ภาพขณะเจาะแผ่นเหลก็ เพื่อเตรยี มทาช่องสาหรบั ใส่ตรายาง

ภาพขณะใช้เครื่องเจยี ตดั ใหม้ ีช่องสาหรบั ใสต่ รายาง

3.3.2 ทาชอ่ งใสท่ แี่ ขวนตรายางตามรูปแบบท่ีวางไว้
ภาพขณะตะไบช่องใส่ตรายางเพื่อลบคมเหล็ก

ภาพขณะใชเ้ ครื่องเชอ่ื มเชื่อมแผ่นเหล็กเข้ากับเหล็กแท่ง เพ่ือทาแกนกลางของที่แขวนตรายาง

3.3.3 เริ่มเช่อื มชอ่ งสี่เหลย่ี ม ไวใ้ สข่ องอเนกประสงค์
ภาพขณะใชเ้ ครื่องเชื่อม เช่อื มแผ่นเหล็กเพ่ือทาฐานที่แขวนตรายาง

3.3.4 เร่มิ ประกอบรปู รา่ ง และตกแต่งดว้ ยการพ่นสี เพ่อื ใหเ้ กิดความสวยงาม
ภาพขณะตกแตง่ ท่ีแขวนตรายางใหส้ วยงาม

ภาพขณะประกอบท่ีแขวนตรายาง และพน่ สี

บทท่ี 4
ผลการประเมนิ

จากการศึกษาคร้ังน้ี มวี ัตถุประสงคเ์ พ่อื ให้สามารถคน้ หาตรายางได้ง่าย สะดวกต่อการหยิบ
ใช้ตรายางและตลับชาต โต๊ะทางานมรี ะเบยี บ และมีพื้นท่ีในการปฏิบตั เิ พ่ิมมากข้นึ ซง่ึ คณะผจู้ ัดทาได้
ดาเนนิ การศึกษาดังน้ี
4.1 การทดลองใช้ ที่แขวนตรายาง 3 in 1 Rubber Stamp Rack

การวจิ ัยครั้งน้ีผูศ้ ึกษาไดก้ าหนดกล่มุ ตัวอย่างประชากร สาหรับการหาคุณภาพ การหา
ประสิทธภิ าพ และศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ทีแ่ ขวนตรายาง 3 in 1 โดยมขี นั้ ตอนดงั นี้

4.1.1 กาหนดกล่มุ ตัวอยา่ งประชากร สาหรบั การหาคณุ ภาพและความพึงพอใจในการใช้
ทีแ่ ขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack” พิจารณาจากคณะครู บุคลากร และนักศึกษา
วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาเชยี งใหม่ โดยผู้จดั ทาโครงการได้ทาการทดลองใช้ และประเมินความพงึ พอใจ
ในการใช้ทีแ่ ขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack” ท่ี วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเชยี งใหม่

4.2 เครื่องมือในการประเมิน
แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้ใช้ ท่แี ขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack”

ซึ่งแบบสอบถามแบง่ ออกเป็น 3 ตอน ดังน้ี
1) ตอนท่ี 1 ข้อมลู เบือ้ งตน้
2) ตอนท่ี 2 แบบสอบถามความคิดเห็นดา้ นความพึงพอใจ 10 ข้อ
3) ตอนที่ 3 คาถามปลายเปิด เพื่อให้ผู้ตอบแบบสอบถามได้แสดงความคิดเหน็ และ

ขอ้ เสนอแนะ

4.3 การวิเคราะหข์ ้อมลู ทั่วไป จานวน รอ้ ยละ
ตารางท่ี 1 เพศ 5 17
25 83
เพศ 30 100
ชาย
หญงิ
รวม

ตารางที่ 1 แสดงรอ้ ยละของเพศชาย เพศหญิง
จากตารางที่ 1 แสดงให้เหน็ ว่าผ้เู ข้าร่วมการตอบแบบสอบถามเป็นเพศชาย จานวน 5 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 17 เพศหญงิ จานวน 25 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 83

แผนภมู ิแสดงจานวนเพศผ้เู ข้ารว่ มตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจ

ตารางท่ี 2 สถานภาพ

สถานภาพ จานวน รอ้ ยละ
14
ครู 4 6
80
บุคลาร 2 100

นกั เรยี น นกั ศึกษา 24

รวม 30

ตารางที่ 2 แสดงร้อยละของสถานภาพผปู้ ระเมนิ

จากตารางท่ี 2 แสดงใหเ้ หน็ ว่าผู้เขา้ ร่วมตอบแบบสอบถามมีสถานภาพ ครู/อาจารย์ จานวน

4 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 14 บคุ ลากร จานวน 2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 6 นักเรยี น/นกั ศึกษา จานวน 25

คน คิดเปน็ ร้อยละ 80

แผนภูมิแสดงร้อยละสถานภาพของผเู้ ขา้ ร่วมตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ

ตารางท่ี 3 การวเิ คราะหค์ ่าเฉล่ยี และค่าเบย่ี งเบนมาตรฐานตอ่ โครงการ ทีแ่ ขวนตรายาง
3 in 1 “Rubber Stamp Rack”
ผลจากการทดลองใช้ ที่แขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack”

เม่ือดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมลู จากกลุ่มตวั อย่างที่ใช้ ที่แขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber
Stamp Rack” แลว้ ขัน้ ตอนตอ่ ไป ผู้จดั ทาโครงการจะทาการวเิ คราะห์ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ตามหลักการ
ทางสถติ ิ เพื่อหาคณุ ภาพ ประสทิ ธภิ าพ และความพึงพอใจของผู้ใช้ ท่แี ขวนตรายาง 3 in 1
“Rubber Stamp Rack” ซง่ึ มีรายละเอยี ดดังนี้
การหาคา่ คะแนนเฉลยี่ ของระดับความคดิ เห็นของกลมุ่ ตัวอยา่ งซ่ึงกาหนดน้าหนักคะแนนเป็น 5 ระดับ
มีเกณฑค์ วามเหมาะสมในการแปลความหมาย เพื่อจดั ระดบั คา่ เฉลี่ยและสรุปผลความพงึ พอใจของ
ผู้ใชข้ อง ท่ีแขวนตรายาง 3in1 ดังตอ่ ไปน้ี

ค่าเฉลีย่ 4.50 – 5.00 หมายถงึ มากทส่ี ุด
คา่ เฉลย่ี 3.50 – 4.49 หมายถึง มาก
ค่าเฉล่ยี 2.50 – 3.49 หมายถึง ปานกลาง
คา่ เฉลีย่ 1.50 – 2.49 หมายถงึ น้อย
คา่ เฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายถงึ นอ้ ยทส่ี ุด
เกณฑ์ที่กาหนดไว้ > 3.50 (ระดบั ดี)

การหาค่าสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของระดบั ความคิดเห็น มีเกณฑ์ความเหมาะสมในการแปล
ความหมายเพ่อื จดั ระดบั หาค่าสว่ นเบยี่ งเบนมาตราฐานและสรุปผลคุณภาพของ ทีแ่ ขวนตรายาง
3in1 ไว้ดงั ตอ่ ไปนี้

เม่อื S.D. = ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานของกลมุ่ ตัวอย่าง
X = ขอ้ มูล หรือ คะแนน
N = จานวนขอ้ มลู ทั้งหมด
x = คา่ เฉลย่ี

ผลจากการทดลองใช้ ที่แขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack” โดย คณะครู
บุคลากร และนักศึกษาวทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาเชียงใหม่ จานวน 30 คน

รายการประเมิน ผลการประเมนิ

1. สามารถนาไปใช้งานไดจ้ รงิ คา่ เฉลย่ี ค่า S.D ระดับความพึงพอใจ
2. มคี วามทนทนต่อการใชง้ าน
3. มรี ูปรา่ งเหมาะสมต่อการใชง้ าน 4.77 0.25 มากท่ีสดุ
4. ช่วยจดั ระเบยี บบนโตะ๊ ทางานได้
5. มสี สี นั เหมาะสม สวยงาม 4.70 0.25 มากที่สุด
6. มีความปลอดภัยต่อการใช้งาน
7. สามารถเคลื่อนยา้ ยไดส้ ะดวก 4.67 0.46 มากท่ีสดุ
8. การนาเศษเหลก็ ท่ีได้มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์
9. ลดขยะจากการทิง้ เศษเหล็ก 4.93 0.41 มากทส่ี ุด
10. สามารถตอ่ ยอดสูเ่ ชงิ พาณชิ ย์ได้
4.80 0.41 มากที่สุด
รวม
4.93 0.50 มากทส่ี ดุ

4.80 0.53 มากที่สดุ

4.83 0.60 มากทสี่ ุด

4.70 0.53 มากที่สุด

4.70 0.61 มากทส่ี ดุ

4.78 0.46 มากที่สดุ

แผนภูมทิ ่ี 3 แผนภูมิแสดงความพึงพอใจ ของกลุ่มตัวอย่าง 30 คน

ค่าเฉลยี่
4.93 4.93

4.77 4.70 4.67 4.80 4.80 4.83
4.70 4.70

จากตารางท่ี และแผนภูมิที่ 3 แสดงค่าความคดิ เห็นการใชง้ านทีแ่ ขวนตรายาง 3 in 1
“Rubber Stamp Rack” ของคณะครู บคุ ลากร และนักศกึ ษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชยี งใหม่

มผี ลการประเมินดังนี้
1) ทีแ่ ขวนตรายางช่วยจดั ระเบียบบนโต๊ะทางานได้ คา่ เฉลี่ยที่ 4.93 และค่าสว่ นเบีย่ งเบน
มาตรฐาน (S.D) ท่ี 0.25 อยใู่ นระดับความพึงพอใจ มากทสี่ ุด
2) มีความปลอดภยั ต่อการใช้งาน ค่าเฉลย่ี ที่ 4.93 และคา่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D)
ท่ี 0.25 อยู่ในระดับความพงึ พอใจ มากทสี่ ุด
3) การนาเศษเหลก็ ที่ไดม้ ีใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ คา่ เฉลี่ยที่ 4.83 และค่าส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (S.D) ที่ 0.46 อยู่ในระดบั ความพึงพอใจ มากที่สดุ
4) ท่ีแขวนตรายางมสี สี นั เหมาะสม สวยงาม คา่ เฉลยี่ ที่ 4.80 และค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน
(S.D) ที่ 0.41 อยู่ในระดับความพงึ พอใจ มากทสี่ ุด
5) สามารถเคลื่อนย้ายไดส้ ะดวก ค่าเฉล่ียที่ 4.80 และค่าสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D)
ท่ี 0.41 อยใู่ นระดบั ความพึงพอใจ มากที่สดุ
6) ทแ่ี ขวนตรายางสามารถนาไปใช้งานไดจ้ รงิ ค่าเฉลี่ยท่ี 4.77 และคา่ สว่ นเบีย่ งเบน
มาตรฐาน (S.D) ท่ี 0.50 อยู่ในระดบั ความพงึ พอใจ มากท่สี ดุ
7) ทแี่ ขวนตรายางมคี วามทนทานต่อการใช้งาน ค่าเฉลย่ี ที่ 4.70 และค่าส่วนเบยี่ งเบน
มาตรฐาน (S.D) ท่ี 0.53 อยูใ่ นระดบั ความพงึ พอใจ มากท่สี ดุ
8) ลดขยะจากการทิ้งเศษเหล็ก ค่าเฉลยี่ ท่ี 4.70 และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D)
ที่ 0.60 อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด
9) สามารถต่อยอดสูเ่ ชิงพาณิชย์ได้ ค่าเฉลย่ี ท่ี 4.70 และคา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D)
ท่ี 0.53 อยใู่ นระดบั ความพงึ พอใจ มากท่สี ุด
10) ที่แขวนตรายางมีรปู ร่างเหมาะสมต่อการใช้งาน คา่ เฉล่ียท่ี 4.67 และคา่ สว่ นเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (S.D) ท่ี 0.61 อยู่ในระดับความพงึ พอใจ มากที่สุด

จากตารางและแผนภูมิที่ 3 แสดงให้เห็นว่าผู้เข้ารว่ มตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจตอ่
ชนิ้ งาน ภาพรวมอย่ใู นระดบั มากท่สี ดุ คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.78

จากผลการประเมนิ แบบสอบถามความพงึ พอใจ ท่แี ขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp
Rack” ภาพรวมอยูใ่ นระดับความพึงพอใจมากทีส่ ุด โดยเรียงลาดบั ดังน้ี ชว่ ยจัดระเบียบบนโตะ๊ ทางาน
ได้ ค่าเฉลีย่ ท่ี 4.93 และค่าส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D) ที่ 0.25 มีความปลอดภยั ต่อการใชง้ าน
คา่ เฉล่ยี ที่ 4.93 และค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D) ที่ 0.25 การนาเศษเหลก็ ท่ไี ด้มใี ชใ้ หเ้ กดิ
ประโยชน์ ค่าเฉลย่ี ท่ี 4.83 และคา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D) ท่ี 0.46 ทแ่ี ขวนตรายางมีสีสนั
เหมาะสม สวยงาม ค่าเฉลย่ี ท่ี 4.80 และคา่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D) ท่ี 0.41 สามารถ
เคลื่อนยา้ ยได้สะดวก ค่าเฉล่ียท่ี 4.80 และคา่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D) ท่ี 0.41 ทแี่ ขวนตรายาง
สามารถนาไปใช้งานได้จริง ค่าเฉลยี่ ที่ 4.77 และค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D) ท่ี 0.50 ทแ่ี ขวน
ตรายางมีความทนทานต่อการใชง้ าน คา่ เฉล่ยี ที่ 4.70 และคา่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D) ท่ี 0.53
ลดขยะจากการทิ้งเศษเหลก็ คา่ เฉลีย่ ท่ี 4.70 และค่าสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) ที่ 0.60

สามารถตอ่ ยอดสูเ่ ชิงพาณิชยไ์ ด้ ค่าเฉล่ียท่ี 4.70 และค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ท่ี 0.53 ที่
แขวนตรายางมีรปู รา่ งเหมาะสมต่อการใชง้ าน คา่ เฉลยี่ ท่ี 4.67 และค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D)
ที่ 0.61 ตามลาดับ

บทท่ี 5
สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

ในการจัดทาโครงการครั้งนีม้ วี ัตถุประสงคค์ ือ เพ่ือให้สามารถค้นหาตรายางได้งา่ ย สะดวก
ต่อการหยิบใชต้ รายาง และตลับชาด โต๊ะทางานมีระเบยี บ และมีพ้ืนท่ีในการปฏบิ ัติเพ่ิมมากขึน้ โดยมี
สมมุติฐานในการทาโครงการ คือ ผูท้ ดลองใชห้ ยิบใช้งานตรายางและตลับชาดได้สะดวกขน้ึ และโตะ๊
ทางานมีพนื้ ทใ่ี นการปฏบิ ตั งิ านมากข้นึ กลุม่ ตวั อย่างท่ีใช้ในครงั้ น้ี ประกอบด้วย คณะครู บุคลากร
และนักศึกษาชนั้ ปวส. 2/7 วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเชยี งใหม่ เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการทาโครงงานได้ทาแบบ
ประเมินความพงึ พอใจของผูใ้ ช้ ทแี่ ขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack” ซง่ึ แบบสอบถาม
แบง่ ออกเป็น 3 ตอน ผลของการทาโครงการมดี ังนี้

5.1 สรปุ ผลการทดลองใช้ท่ีแขวนตรายาง
จากการดาเนินการประดิษฐท์ ี่แขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack” ตามโครงการ

สาเร็จลุลว่ งไปด้วยดี และเป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ทไ่ี ด้ตั้งไว้ ให้สามารถคน้ หาตรายางได้งา่ ย งา่ ยตอ่
การหยบิ ใชต้ รายาง และตลบั ชาดอกี ท้ังยังชว่ ยทาให้โต๊ะทางานมรี ะเบยี บ และมีพื้นทใี่ นการทางาน
เพ่มิ มากขึน้

จากการดาเนินงานตามโครงการ ทีแ่ ขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack” ได้รับ
ความพงึ พอใจจากกลมุ่ ตัวอยา่ งทัง้ หมด 30 คน พบว่า ท่ีแขวนตรายางสามารถนาไปใชง้ านได้จรงิ
และหลังจากการใชง้ านได้ผลการประเมินความพงึ พอใจรวมมี ค่าเฉลยี่ ท่ี 4.78 และค่าสว่ นเบยี่ งเบน
มาตรฐานที่ 0.46 ดังนน้ั สรปุ ได้วา่ จากผลการประเมนิ แบบสอบถามความพงึ พอใจ ท่ีแขวนตรายาง
3 in 1 “Rubber Stamp Rack” ภาพรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด โดยเรยี งลาดบั ดังน้ี
ช่วยจัดระเบยี บบนโตะ๊ ทางานได้ ค่าเฉลย่ี ที่ 4.93 และค่าสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D) ท่ี 0.25
มคี วามปลอดภยั ต่อการใช้งาน คา่ เฉลยี่ ที่ 4.93 และคา่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D) ท่ี 0.25
การนาเศษเหลก็ ที่ไดม้ าใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ ค่าเฉลยี่ ที่ 4.83 และคา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D)
ท่ี 0.46 ทแ่ี ขวนตรายางมสี สี ันเหมาะสม สวยงาม ค่าเฉลี่ยที่ 4.80 และคา่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
(S.D) ที่ 0.41 สามารถเคล่ือนย้ายได้สะดวก ค่าเฉลี่ยที่ 4.80 และค่าสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D)
ที่ 0.41 ทแ่ี ขวนตรายางสามารถนาไปใชง้ านได้จรงิ ค่าเฉลี่ยที่ 4.77 และคา่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(S.D) ที่ 0.50 ท่แี ขวนตรายางมีความทนทานต่อการใช้งาน คา่ เฉล่ียท่ี 4.70 และคา่ ส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (S.D) ท่ี 0.53 ลดขยะจากการท้ิงเศษเหลก็ ค่าเฉล่ียที่ 4.70 และคา่ ส่วนเบย่ี งเบน
มาตรฐาน (S.D) ท่ี 0.60 สามารถต่อยอดสเู่ ชงิ พาณชิ ยไ์ ด้ ค่าเฉลยี่ ที่ 4.70 และค่าส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (S.D) ที่ 0.53 ทแ่ี ขวนตรายางมรี ูปร่างเหมาะสมตอ่ การใชง้ าน คา่ เฉลีย่ ท่ี 4.67
และคา่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ท่ี 0.61 ตามลาดับ

5.2 อภปิ รายผล
การจัดทาโครงการที่แขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp Rack” สามารถประดิษฐ์ได้ 3 ชนิ้

และสามารถรวบรวมแบบประเมินความพึงพอใจจากผทู้ ดลองใช้ ทีแ่ ขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber
Stamp Rack” จานวน 30 คน

สาหรับระดบั ความพงึ พอใจของผู้ทดลองใช้ ที่แขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp
Rack” ความพึงพอใจระดบั มากที่สดุ ไดแ้ ก่ “ชว่ ยจดั ระเบยี บบนโตะ๊ ทางาน” และ “มีความปลอดภยั
ตอ่ การใช้งาน” ไดร้ ับความพงึ อยู่ในระดับมากที่สดุ (4.93) เหตุทีเ่ ป็นเชน่ นอ้ี าจเปน็ เพราะผู้จดั ทา
ไดม้ ีการสารวจ และขอความคิดเห็นจากครูที่ปรกึ ษาโครงการ รวมถงึ ผูท้ ่ใี ช้งานในสานักงานตา่ ง ๆ
วา่ ควรออกแบบที่แขวนตรายางในลักษณะอย่างไรเพ่ือใหเ้ หมาะสมสาหรับการใช้งาน เมื่อใชแ้ ลว้
เกดิ ความปลอดภยั และสามารถเกบ็ ของตา่ ง ๆ ใหอ้ ยู่ในท่เี ดยี วกนั เชน่ ออกแบบให้ที่แขวนตรายาง
อยู่รวมกนั กับที่ใส่ตลับชาด และมชี อ่ งเล็ก ๆ สาหรบั ใส่วัสดุสานักงาน ทาให้โต๊ะทางานดูเป็นระเบียบ
และทาให้มีพื้นทบี่ นโตะ๊ ทางานเพมิ่ มากขนึ้ โต๊ะโลง่ ยิ่งทาให้สามารถทางานไดส้ ะดวกกว่า หยิบใชข้ อง
ไดส้ ะดวก ช่วยลดปัญหาในการค้นหาสง่ิ ของต่าง ๆ นอกจากนัน้ แลว้ ยังเป็นการลดปรมิ าณฝ่นุ ละออง
จากการค้นหาวัสดุ อุปกรณส์ านกั งานต่าง ๆ ไมเ่ กิดผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ อีกดว้ ย

รายการประเมินที่ไดร้ ับความพึงพอใจในลาดับต่อมา คือ การนาเศษเหล็กทีไ่ ด้มาใช้ใหเ้ กิด
ประโยชน์ ไดร้ ับความพึงพอใจในระดบั มากที่สุด (4.83) อาจเป็นเพราะเศษเหลก็ ที่นามาประดิษฐ์
หากทิ้งไว้กจ็ ะกลายเปน็ ขยะที่สูญเปลา่ ไมเ่ กดิ ประโยชน์ใด ๆ แตเ่ มอ่ื ผู้จดั ทาเล็งเหน็ ถึงคุณค่าของเศษ
เหลก็ เหลา่ น้ัน เมือ่ นามาประดิษฐ์รวมกบั ใชค้ วามคิดสร้างสรรค์ ก็จะเกดิ เปน็ ชนิ้ งานที่สร้างประโยชน์
ในสานักงานได้ไม่มากก็น้อย ซึ่งมีความสอดคล้องกับงานวจิ ยั ของ (ศศเิ กษม ทองยงค์, 2520 : 11)
ศึกษาโลหะ ในช่วงระยะเวลาท่ผี า่ นมาปริมาณการใชโ้ ลหะไดเ้ พม่ิ ขึ้นอย่างรวดเร็ว เนื่องจากโลหะถูก
นามาใชใ้ นทุกกนิ กรรม ไม่ว่าจะเปน็ การกอ่ สรา้ งทอ่ี ยู่อาศยั โรงงานการคมนาคม สาธารณูปโภครวมถึง
การนามาผลิตเปน็ สนิ ค้าเพื่อใช้ในการบริโภค จากความต้องการดงั กล่าว จงึ ทาใหป้ รมิ าณของโลหะที่
เหลือใช้เพม่ิ มากขึ้นตามมา จากเหตุผลน้ีเองทาใหม้ ีการนาเอาโลหะท่ีเหลอื ใชน้ ากลับมาใช้ประโยชน์
ใหม่ประเภทและคุณสมบัตขิ องโลหะ โลหะสามารถแบ่งออกได้เปน็ 2 ประเภทใหญ่ ดังน้ี
1. เหล็ก เปน็ โลหะทจ่ี ากการหลอมละลายแรเ่ หล็กในเตาถลงุ เหล็กทีผ่ ลิตจากเตาถลุงจะยงั ไม่บริสุทธิ์
เรยี กวา่ Pig iron เหล็กสามารถแบง่ ออกได้ดังน้ีเหลก็ กล้า คอื เหลก็ ทีน่ าเอา Pig iron ที่ยงั ไม่บริสุทธิ์
มาทาให้บรสิ ุทธิ์ โดยการผสมคาร์บอนเข้าไปจะกลายเปน็ เหลก็ กลา้ เหลก็ หลอ่ คือ เหล็กทน่ี าเอา Pig
iron มาหลอมอกี คร้ังหนึ่งแล้วเทลงในแม่แบบ เหล็กหล่อมีหลายประเภท เช่น เหล็กหลอ่ เทา
หลก็ หลอ่ คุณภาพพเิ ศษ เหลก็ หล่อกราไฟท์ เหล็กหล่อเย็น เหล็กเหนียวหลอ่ เปน็ ตน้ เหลก็ หล่อจะมี
ราคาถูก นยิ มมาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม เหลก็ อ่อน คือ เหล็กท่ไี ด้มาจากการทาให้ Pig iron
บรสิ ุทธขิ์ ึ้นบ้าง แตย่ งั คงมวี ตั ถุอืน่ เปน็ ก้อน ๆ ปนอยู่ในเนื้อเหลก็ ปจั จบุ นั ไมค่ ่อยนามาใชก้ นั มากนัก
เหล็กกล้าสแตนเลส เปน็ เหลก็ กล้าทีผ่ สมโครเม่ียมและนเิ กิล ทาใหม้ ีคุณสมบัตพิ เิ ศษ คือ ไมเ่ กิดการ
สกึ กรอ่ นหรือรอยด่าง มีผิวมันวาวตลอดเวลา
2. โลหะที่ไมใ่ ช้เหล็ก หมายถงึ โลหะทไี่ มม่ เี หล็กเปน็ องค์ประกอบส่วนใหญ่ เช่น ทองแดง อลมู ิเนยี ม
สงั กะสี ตะก่วั ดีบุก และโลหะผสม (ทองเหลืองบรอนซ)์ และโลหะทไี่ ม่ใช่เหล็กท่ีจัดอยใู่ นประเภท
โลหะมีค่าสงู เช่น ทองคา และทองคาขาว (กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2541 : 2-1)

ซง่ึ แตล่ ะประเภทมรี ายละเอยี ด สรปุ ไดด้ งั น้ี อลมู ิเนยี ม เปน็ โลหะทม่ี คี ณุ ค่า มีนา้ หนักเบากวา่ เหลก็ มาก
โลหะผสมของอลมู เิ นยี มบางชนิด มคี วามแข็งแรงมากกว่าเหล็ก อลูมเิ นียมมีคณุ สมบัติไม่สึกกรอ่ น
เม่ือถูกอากาศ อลมู เิ นยี มสามารถซมึ ซบั ความเย็นได้รวดเร็ว ทาอลูมิเนียมเป็นทน่ี ิยมนามาเปน็ บรรจุ
ภัณฑ์อาหารประเภทเคร่ืองด่ืม ทองเหลือง เปน็ โลหะผสมระหวา่ งทองแดงกับสงั กะสี ซ่ึงมีหลาย
ประเภท ตามสดั สว่ นการผสมของทองแดงและสังกะสี คือ ถา้ ผสมสงั กะสีมากทองเหลืองจะแขง็
และในบางกรณีทต่ี ้องการให้ทองเหลือง มีความแข็งแรงมาก กจ็ ะใสส่ ่วนผสมของอลมู ิเนียมหรอื เหลก็
ทองแดง เปน็ โลหะทมี่ ีสีส้มคอ่ นข้างแดง สามารถตีใหเ้ ปน็ แผ่นบาง ๆ ไดง้ ่าย ทาให้เป็นรูปแบบต่าง ๆ
หรอื ทาใหเ้ ปน็ เส้นลวดเล็ก ๆ ได้ เปน็ ตัวนาไฟฟา้ ได้ดตี ะก่ัว เปน็ โลหะท่ีไม่แข็งแรง มีเนื้ออ่อน สามารถ
ทาใหเ้ ป็นรปู ร่างตา่ ง ๆ ไดง้ ่าย ไม่สกึ กร่อนเร็ว เหมอื นเหล็ก สงั กะสี เป็นโลหะทน่ี าใชม้ ากในรปู โลหะ
ผสมสงั กะสมี ีความต้านทานการเกิดสนิม และการสกึ กรอ่ นได้ดี ดบี ุก เปน็ โลหะทนี่ ยิ มนามาเคลือบ
กระป๋องที่ทามาจากเหลก็ กลา้ แผ่นบาง ๆ ซง่ึ ทาให้ไมเ่ กิดสนิม

รายการประเมนิ ที่ได้รบั ความพงึ พอใจในลาดับต่อมา คือ ลดขยะจากการทิง้ เศษเหล็ก
ไดร้ ะดับความพึงพอใจ มากที่สดุ (4.70) เพราะผู้จัดทาได้นาเศษเหล็กทเ่ี หลือใช้ จากโรงงานเชื่อม
เหล็กในชุมชนมาสร้างมลู คา่ จงึ ช่วยลดขยะทีเ่ กิดจากเศษเหลก็ ไดม้ ากทาให้ชุมชนสะอาด ลดขยะท่ี
ก่อให้เกิดมลพษิ แกช่ มุ ชน และโลกของเราในปจั จุบนั ซ่ึงมีความสอดคลอ้ งกับงานวจิ ยั ของ (สุนยี ์
มลั ลกิ ะมาลย์, 2543, น. 77 - 87) ศกึ ษารูปแบบการบรหิ ารจดั การ เป็นการแก้ไขปัญหาขยะ
เน่ืองจากขยะเป็นตน้ เหตุท่ีทาให้ เกดิ ผลกระทบต่อสภาพแวดลอ้ มในการทาให้ดินเสยี อากาศเสีย
และนา้ เสยี ซง่ึ สง่ ผลต่อสขุ ภาพของประชาชน ในพน้ื ทนี่ ้นั ๆ ดงั นั้นการแก้ไขปัญหา ขยะมลู ฝอยต้อง
แก้ไขทีต่ ้นเหตหุ รือจดุ ท่ีทาใหเ้ กดิ ขยะ น้ันคอื ผู้สร้างขยะหรือคนนน่ั เอง การแก้ปัญหากับคนต้องเร่มิ ตน้
ดว้ ยการสร้างจติ สานกึ ให้รจู้ กั ความรับผดิ ชอบและ การมีสว่ นรว่ มในการชว่ ยกันรักษาความสะอาด
ทั้งในบ้าน และนอกบา้ นรวมถึงสถานที่สาธารณะดว้ ยการรจู้ ัก แยกขยะก่อนทิ้งการนาขยะบางอย่าง
ท่ดี มี าใช้ซ้า และท้งิ ขยะให้เป็นท่ีเปน็ ทาง ซง่ึ เป็นการเอ้ืออานวยความสะดวก ใหก้ บั พนักงานเก็บขยะ
ได้รวดเรว็ ขึ้น ในรปู แบบการจัดการขยะในชมุ ชนต่อไปน้ี รูปแบบการจัดการขยะในชมุ ชนวดั ประยูร
และชมุ ชนซอยวิเชียร ตาบลคูคต อาเภอลาลูกกา จงั หวดั ปทุมธานี เป็นชมุ ชนท่อี ยใู่ นโครงการทดลอง
ใช้รปู แบบการคัดแยกขยะของโครงการจัดการขยะชุมชน สานักงานกองทุนสนบั สนนุ การวิจยั (สกว.)
รว่ มมอื กับ สานักงานเทศบาลตาบลคคู ต ในการเก็บขนขยะตามรูปแบบของการวจิ ยั ทดลองใช้
รปู แบบการคดั แยกขยะชุมชน โดยการแนะนารณรงคใ์ หป้ ระชาชนในชมุ ชน ร่วมมือกันคัดแยกขยะ
เป็นเวลา 2 เดอื น ภาพของความสกปรก รกรุงรงั และไม่เปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยของชุมชน
เปลย่ี นแปลงไปในทางท่ีดีขึน้ คอื สะอาด ไม่มีขยะตกค้าง เปน็ ปรากฏการณ์ทีป่ ระชาชนในชุมชน
สมั ผสั ได้ จึงยอมรับวา่ การคดั แยกขยะก่อนท้ิงสง่ ผลใหป้ ริมาณขยะลดลงได้จริงทาใหภ้ าระในการเกบ็
ขนขยะของท้องถิ่น ลดน้อยลงไป จนสามารถจดั เก็บขนขยะไม่ใหเ้ หลือตกค้างในชุมชนได้ ได้ศกึ ษา
ความตอ่ เน่ืองในการดาเนนิ การคดั แยกขยะ ปญั หาอปุ สรรคท่ีเกิดขนึ้ แนวทางการแกป้ ญั หา ฯลฯ
เพ่ือเป็นแบบอย่างสาหรบั ชมุ ชนอ่ืน โดยมีรูปแบบการคัดแยกขยะ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ (1.1)
ขยะธรรมดา ประกอบดว้ ย ขยะมมี ูลค่า เชน่ แก้ว โลหะ กระดาษ พลาสติก ขยะสารอินทรียเ์ ป็นขยะ
เศษอาหาร พืช ผกั ใบไมต้ ่าง ๆ ท่ีเป็นของสด และขยะทิ้ง เป็นขยะทผ่ี ่านการคดั แยก ขยะทมี่ ีมลู ค่า
และขยะสารอนิ ทรีย์ออกไปแล้ว สว่ นท่ีเหลือ คอื ขยะท่ีไม่ต้องการ ดังนนั้ จึงเป็นส่วนทีจ่ ะทิ้งไป

(1.2) ขยะอันตราย เปน็ ขยะท่ีมสี ารมีพิษ ตกค้างอยู่ เช่น ถงุ ป๋ยุ เคมี กระป๋องสเปรย์ กระปอ๋ งยา
ฆ่าแมลง หลอดไฟ ถา่ นไฟฉาย แบตเตอร่ี เปน็ ตน้ เป็นประเภทขยะที่ตอ้ งคัดแยกทิ้งตา่ งหากออกไป

ดงั น้ัน สรปุ โดยรวมความพงึ พอใจของผู้ใชง้ าน ที่แขวนตรายาง 3 in 1 “Rubber Stamp
Rack” อยใู่ นระดับมากที่สุด คิดเปน็ ร้อยละ 4.78 เหตุทไ่ี ด้รบั ผลการประเมนิ ดังกล่าว ทงั้ นอี้ าจเปน็
เพราะส่ิงประดิษฐต์ ามโครงการสามารถใช้งานไดใ้ นระยะยาว และเปน็ การสร้างมลู ค่าเพิ่มให้กับ
เศษเหลก็ ทยี่ ังไมไ่ ดน้ ามาแปรรูปไมถ่ ูกมองขา้ ม และทิ้งไว้อยา่ งสูญเปลา่ ใหก้ ลายเป็นขยะทสี่ ร้างปัญหา
มลภาวะใหโ้ ลก สิ่งประดิษฐม์ ีสีสนั สวยงาม และลกั ษณะพิเศษจากท่แี ขวนตรายางทม่ี ีขายตาม
ทอ้ งตลาด โดยมีช่องเกบ็ วัสดุ อุปกรณ์สานักงานขนาดเลก็ รวมไวใ้ นท่เี ดียวกัน

5.3 ปัญหาและอุปสรรคในการทดลองใช้ที่แขวนตรายาง
5.3.1 พน่ สสี เปรย์สว่ นแกนกลางไม่ตดิ เนอ่ื งจากทามาดว้ ยสแตนเลส
5.3.2 พน่ สสี เปรยไ์ ม่เปน็ กะระยะของการพ่นได้ไม่ดีในชว่ งแรก ทาใหส้ ีไหลมารวมกัน

เป็นกอ้ นไม่สวยงาม และไม่เรียบเนียน
5.3.3 ชิ้นงานแรกออกแบบลิน้ ชกั สาหรบั ใสต่ ลับชาด และวัสดสุ านักงานขนาดใหญ่เกินไป

มีน้าหนกั มาก ทาให้ไมส่ ามารถเคลื่อนยา้ ยทีแ่ ขวนตรายางไดส้ ะดวก

5.4 วิธีแก้ไขปัญหา
5.4.1 นาสก็อตเทปใสมาพันตรงบริเวณแกนกลาง ของเสาทแี่ ขวนตรายางหลงั พ่นสีแลว้

เพอ่ื ป้องกนั การขดู ขดี จากตวั ทแี่ ขวนตรายางกับเสาสแตนเลส
5.4.2 เรียนร้จู ากการดคู ลปิ การพน่ สสี เปรย์ และมน่ั ฝกึ ฝนไปเรือ่ ย ๆ จนสามารถ

พน่ สีสเปรย์ไดส้ วย และเรยี บเนียนมากกวา่ เดิม
5.4.3 ออกแบบพน้ื ทสี่ าหรบั เกบ็ ตลบั ชาด และวสั ดสุ านักงานใหม่เพ่ือให้มีขนาดเล็ก

และน้าหนักเบา เคลื่อนย้ายสะดวก

5.5 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา
5.5.1 ขอ้ เสนอแนะ
- ทแ่ี ขวนตรายางควรเพ่มิ ช่องแขวนให้มากขึน้ เพ่อื รองรบั ตรายางที่มีจานวนมาก

ของกลมุ่ ผใู้ ช้งาน
- ทแี่ ขวนตรายางควรปรับให้หมนุ ได้ เพ่ือให้สะดวกต่อการหยิบใช้หลังนาตรายาง

แขวน
- ควรศึกษาวัสดุทดแทนอน่ื ทเ่ี หลือใช้ นอกเหนือจากเศษเหลก็ ในการประดิษฐ์
- ควรปรบั รปู แบบทีแ่ ขวนตรายางใหท้ ันสมัย มีหลากหลายรปู แบบ เพ่ือใช้ตามความ

เหมาะสมของพน้ื ที่สานักงาน เช่น สามารถตดิ ผนังได้ เปน็ ต้น

บรรณานกุ รม

ความหมายของสิ่งประดิษฐ์ (ระบบออนไลน์)
เขา้ ถงึ ได้จาก https://sites.google.com สืบค้นเม่ือวนั ท่ี 13 ธันวาคม 2562

ทมี่ าและความสาคัญของส่ิงประดิษฐ์ (ระบบออนไลน)์
เขา้ ถึงไดจ้ าก https://recycleprincess.wordpress.com. สืบค้นเม่อื วนั ท่ี 13 ธันวาคม 2562

แนวคิด 5 ส ปจั จัยพ้นื ฐานในการเพิม่ ผลผลติ ของสานักงาน (ระบบออนไลน์)
เขา้ ถึงไดจ้ าก https://sites.google.com/ สืบค้นเมือ่ วนั ที่ 13 ธนั วาคม 2562

การจดั การสานักงาน (ระบบออนไลน)์
เข้าถึงไดจ้ ากhttps://sites.google.com/site/wichakheruxngchisanakngan/home/d สืบค้นเม่ือ
วนั ท่ี 13 ธันวาคม 2562

การเช่อื มโลหะ (ระบบออนไลน์)
เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://www.maxsteelthai.com/ สืบค้นเมือ่ วนั ที่ 13 ธันวาคม 2562

งานวิจยั ท่เี ก่ียวข้อง (ระบบออนไลน์)
เข้าถึงได้จาก http://digital_collect.lib.buu.ac.th/ สุวิทย์ วรรณศรี (2550, หน้า 22-23) สืบคน้
เมื่อวันท่ี 14 ธนั วาคม 2562

งานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวข้อง(ระบบออนไลน์)
เข้าถึงได้จาก http://203.157.181.2/ (สนุ ีย์มลั ลิกะมาลย์, 2543, น.77-87) สืบคน้ เมื่อวันท่ี 14
ธันวาคม 2562

งานวิจัยทเ่ี ก่ียวขอ้ ง(ระบบออนไลน์)
เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.ssruir.ssru.ac.th/ (ศศเิ กษม ทองยงค์,2520:11) สืบคน้ เม่ือวันท่ี 14
ธนั วาคม 2562

งานวิจยั ท่เี กี่ยวข้อง(ระบบออนไลน์)
เขา้ ถึงไดจ้ าก https://l.facebook.com/l.php ศาสตราจารยแ์ คธนี วอหส์ (Kathleen Vohs) สืบคน้
เมอ่ื วนั ท่ี 14 ธนั วาคม 2562

งานวิจัยทเี่ กี่ยวข้อง(ระบบออนไลน)์
เขา้ ถงึ ได้จาก http://www2.dede.go.th/ Fenton (1998) สบื ค้นเม่ือวันที่ 14 ธันวาคม 2562

ภาคผนวก ก

แบบนาเสนอขออนุมัตโิ ครงการวิชาชีพ
วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเชียงใหม่

รายวิชา โครงการ รหสั วิชา 3216-8501 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562
ช่ือโครงการ ทแ่ี ขวนตรายาง 3 in 1 Rubber Stamp Rack
ระยะเวลาดาเนนิ งาน ตงั้ แต่วนั ท่ี 15 ตลุ าคม 2562 ถงึ 31 มกราคม 2563
สถานที่ดาเนนิ งาน หอพักปุณภาวัต ร้านชา้ งเผือกกิจการชา่ ง
ประมาณการคา่ ใชจ้ า่ ย 250 บาท (สองร้อยห้าสิบบาทถ้วน)
คณะผู้จัดทาโครงการ นักศกึ ษา ระดับช้ัน ปวส. 2/7

1. นางสาวชูรภี รณ์ แกว้ ยะ
2. นางสาวณัฏฐณิชา บญุ ชยั

โครงการ ลงชอื่ ............................................หัวหนา้

(นางสาวชูรีภรณ์ แกว้ ยะ)
.............../......................../..................

ความเหน็ ของอาจารย์ประจาวิชาโครงการ .......................................................................................

ลงชื่อ ...............................................
(นางอรนิ ทยา ใจเอ)

อาจารยป์ ระจาวิชาโครงการ

แบบเสนอโครงการ

1. ชื่อโครงการ ทแ่ี ขวนตรายาง 3in1 Rubber Stamp Rack

2. ผจู้ ดั ทาโครงการ
1. นางสาวชรู ภี รณ์ แก้วยะ ระดบั ชน้ั ปวส. สาขาวิชาการจดั การสานักงาน ห้อง 2/7
2. นางสาวณฏั ฐณชิ า บุญชัย ระดับชัน้ ปวส. สาขาวชิ าการจดั การสานักงาน ห้อง 2/7

3. ครทู ่ปี รึกษาโครงการ ครอู รนิ ทยา ใจเอ

4. ความเปน็ มาและความสาคญั ของโครงการ

การจดั ระเบียบโต๊ะทางาน ถอื เป็นการบง่ ชีป้ ระสิทธภิ าพในการทางาน ยง่ิ โต๊ะทางานรกมากเทา่ ใด
อาจหมายความว่าไม่สามารถจดั ระเบยี บชีวติ หรอื การทางานท่ีไม่มปี ระสทิ ธิภาพ การจดั โต๊ะทางาน
ให้มีระเบียบ และเหลอื ส่งิ ของบนโต๊ะทางานน้อย จะทาใหร้ ู้สกึ โล่งสบายและทางานสะดวกข้ึน สง่ิ ท่ี
ทาใหโ้ ตะ๊ ทางานไมเ่ ป็นระเบยี บส่วนใหญ่ มาจากเอกสารที่กองสมุ จนท่วมโต๊ะ วัสดสุ านักงานตา่ ง ๆ ไมว่ ่า
จะเป็น เคร่ืองเย็บกระดาษ เครื่องเจาะกระดาษ ปากกา ดินสอ ลวดเสียบ รวมไปถงึ ตรายางต่าง ๆ
สิง่ เหล่านค้ี วรจดั อยู่ในหมวดหมทู่ ค่ี วรจะเปน็ เพ่ือให้สามารถหยิบใชง้ านได้งา่ ยและสะดวก
หากต้องการเก็บของช้นิ เล็ก ๆ ใหใ้ ช้กล่องใบเล็ก ลดสง่ิ ของให้เหลือแต่ในกล่อง สิ่งของต่าง ๆ บนโต๊ะ
ทางานก็ดูไม่รกหูรกตา กระบวนการหนึ่งที่เปน็ ระบบมแี นวปฏิบัติ ทีส่ ามารถนามาใชเ้ พ่ือปรบั ปรงุ แก้ไข
โตะ๊ ทางาน และรกั ษาสิง่ แวดล้อมในสถานที่ทางานใหด้ ีขึน้ คือการนาเอาหลัก 5ส มาปรับใชก้ ับการ
ทางานเอกสารและโตะ๊ ทางานได้ คอื แยกเอกสารใหเ้ ปน็ หมวดหมู่ จดั เก็บเอกสารตามหมวดหมูท่ ี่แยก
ไว้ในทเี่ ดยี วกนั เพอื่ ความสะดวกในการคน้ หา ทาความสะอาด จัดเกบ็ โต๊ะทางานและเอกสารใน
สถานท่ที ี่เหมาะสม และหมน่ั ตรวจสอบทาความสะอาดโต๊ะทางาน ตเู้ กบ็ เอกสาร แฟ้มเอกสาร
อยา่ งสมา่ เสมอ เพื่อป้องกันมใิ ห้เอกสารเกิดการชารุดเสยี หาย และโต๊ะทางานโลง่ กวา้ งสะดวกแก่
การทางาน ท้ังน้คี วรปฏบิ ตั เิ ป็นประจาเพ่ือสรา้ งนสิ ยั ในการจัดระเบียบอย่างต่อเน่ืองและเพือ่ ปรับปรุง
แกไ้ ขงานและรกั ษาสง่ิ แวดล้อมในโต๊ะทางานให้ดีขึ้นไม่เกิดสิง่ รกหูรกตา

วสั ดสุ านักงานทีใ่ ช้บ่อย และมใี ชอ้ ยู่ในทุกสานักงานในท่ีนี้ขอกล่าวถึงตรายาง ตรายางทใี่ ชอ้ ยูใ่ น
ปจั จุบันมีจานวนมาก และมีการจัดเก็บที่ไม่เปน็ ระเบยี บเรียบร้อย สว่ นใหญ่มกั ใช้การใส่กลอ่ งรวมกัน
ไว้ ซง่ึ ดูไมเ่ ปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย ยากต่อการหยบิ ใช้และคน้ หา อกี ทง้ั การเก็บตรายางและตลับชาด
มีการจดั เก็บแยกกนั ทาให้เปลืองพน้ื ทใี่ ชง้ านบนโตะ๊ ทางาน และเสียเวลาในการหยบิ ใชง้ านตลับชาด
และโดยทั่วไปท่ีแขวนตรายางจะเหน็ ไดว้ า่ ใช้ประโยชน์ได้เพียงแคแ่ ขวนตรายางเท่านน้ั ไม่สามารถเก็บ
ตลบั หมกึ หรอื สิ่งของอนื่ ๆ ได้ ต้องแยกเก็บตลบั ชาดไว้อกี ท่ีหน่งึ ทาใหต้ ้องเสียเวลาในการหาท้งั
ตลับชาดและตรายางไปพร้อม ๆ กัน

ดงั นนั้ กลุ่มของขา้ พเจ้าจึงได้คิดโครงการประดษิ ฐ์ ท่ีแขวนตรายาง 3 in 1 เพื่อรวบรวมตรา
ยางให้อยใู่ นทเี่ ดียวกันชว่ ยลดปญั หา ความไม่เป็นระเบียบของการจัดเก็บตรายาง ตลบั ชาด รวมถึงวัสดุ
สานกั งานช้ินเล็กอ่ืน ๆ สะดวกในการใชง้ านมากยิ่งขึน้ ยังเป็นการจัดระเบียบอีกท้ังยังชว่ ยให้บนโต๊ะ
ทางาน เกิดความเป็นระเบียบเรยี บร้อยและเพม่ิ พ้นื ทีใ่ นการทางานได้อีกด้วย

5. วัตถุประสงคข์ องโครงการ
1. เพอ่ื ใหส้ ามารถค้นหาตรายางได้งา่ ย
2. เพือ่ ใหง้ ่ายต่อการหยิบใช้ตรายางและตลบั ชาด
3. เพือ่ ให้โต๊ะทางานมีระเบียบและมีพน้ื ท่ีในการทางานเพิ่มมากข้ึน

6. ขอบเขตโครงการ (เป้าหมาย, กลมุ่ ประชากร)
เปา้ หมายของโครงการ
6.1 เชงิ ปรมิ าณ ท่ีแขวนตรายางพร้อมทีเ่ ก็บของ จานวน 3 ชนิ้
6.2 เชิงคณุ ภาพ รอ้ ยละ 80 จากผปู้ ระเมินโครงการมีความพงึ พอใจ
6.3 ระยะเวลาและสถานที่ในการดาเนนิ งาน
ระยะเวลาดาเนินงาน ตัง้ แต่วนั ที่ 15 ตุลาคม 2562 ถงึ 31 มกราคม 2563
สถานทด่ี าเนินงาน หอพักปณุ ภาวัต ร้านช้างเผือกกิจการช่าง

7. ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รบั
1. สามารถหยบิ ใช้งานตรายางไดง้ ่ายและสะดวก
2. ตรายางและตลับชาดถกู จัดเป็นหมวดหมู่ ทาให้สามารถหยิบใช้งานไดง้ ่ายและสะดวก
3. โต๊ะทางานเกิดความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย มพี ้ืนทีใ่ นการปฏบิ ตั งิ านไดส้ ะดวก
4. ลดปรมิ าณขยะจากเศษเหลก็ เหลอื ใช้

8. นิยามศพั ท์
ที่แขวนตรายาง หมายถึง ทามาจากเศษเหล็ก ฐานของที่แขวนตรายางเป็นช่องส่ีเหลยี่ ม

ด้านในมีหลากหลายชอ่ ง สามารถเกบ็ ตลบั ชาด รวมถึงวสั ดุสานกั งานช้นิ เลก็ ๆ ใหอ้ ยู่ในท่ีเดียวกันได้
เพ่อื สะดวกต่อการหยบิ ใชง้ าน เพื่อลดปัญหาความไม่เป็นระเบยี บของการจัดเกบ็ ตรายาง ช่วยให้
บนโตะ๊ ทางานเกดิ ความเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย

9. วธิ ดี าเนนิ โครงการ
1. เสนอโครงการเพ่ือขออนุมัติ
2. จดั เตรยี มทาโครงการ
3. ดาเนินการตามโครงการ
4. ประเมนิ ผลประสทิ ธภิ าพ ความพึงพอใจ
5. สรุปและรายงานผล

10. แผนดาเนนิ โครงการ

ลาดับขัน้ ตอน ระยะเวลาดาเนินการ (สปั ดาห์ท่ี 1- 18 )

ดาเนินงาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

1. เสนอโครงการ
เพอื่ ขออนุมัติ

2. จดั เตรียมการ
ทาโครงการ

3. ดาเนนิ งานตาม
โครงการ

4. สรปุ และ
รายงานผล

11. งบประมาณและทรัพยากร จานวน 250 บาท

11.1 รายรบั จานวน 250 บาท

เกบ็ จากสมาชิกกลมุ่ จานวน 2 คน คนละ 125 บาท รวมเปน็ เงนิ 250 บาท

11.2 รายจา่ ย 80 บาท
1. สสี เปรย์ 2 กระป๋อง กระป๋องละ 40 บาท 50 บาท
2. เศษเหล็ก 20 บาท
3. ค่าเช่อื ม 70 บาท
4. เอกสารการพิมพ์ 30 บาท
5. อนื่ ๆ 250 บาท
รวมงบประมาณ (สองร้อยห้าสบิ บาทถว้ น)

12. การติดตามประเมินผล

ตวั ชี้วัดความสาเรจ็ วธิ ปี ระเมนิ เครือ่ งมือท่ใี ช้ประเมิน
จานวนชน้ิ งาน แบบบันทึก
เชงิ ปรมิ าณ
ท่ีแขวนตรายางพร้อมท่ีเก็บ สอบถามความพงึ พอใจ แบบสอบถาม
ของ จานวน 3 ชิน้

เชิงคุณภาพ
รอ้ ยละ 80 จากผปู้ ระเมนิ
โครงการมีความพงึ พอใจ

ภาคผนวก ข

นาเสนอช้นิ งานแก่ผู้ที่มคี วามสนใจในช้นิ งาน

อธบิ ายความเป็นมาของโครงให้แกร่ ุ่นนอ้ งที่มีความสนใจ

นาเสนอโครงการ

อธบิ ายความเปน็ มาในการจดั ทาโครงการให้แก่ ผอ.

คณุ ครูเซน็ รับมอบชิ้นงาน

ผ้สู นใจในโครงการ ท่แี ขวนตรายาง 3 in 1

บคุ ลากรเซน็ รับมอบชิ้นงาน


Click to View FlipBook Version