The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการกระเป๋าใส่โทรศัพท์พกพา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Arintaya Jaiaye, 2020-03-05 02:43:38

โครงการกระเป๋าใส่โทรศัพท์พกพา

โครงการกระเป๋าใส่โทรศัพท์พกพา

กระเป๋าใสโ่ ทรศพั ทพ์ กพา
(Bag for phone)

กัญญา ศกั ดคิ์ งนันทกุล
เกศินี อัศววราการ

โครงการนี้เป็นส่วนหนึง่ ของการศกึ ษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชั้นสงู
สาขาวิชาการจัดการสานกั งาน ประเภทวชิ าบริหารธุรกิจ
วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเชียงใหม่
ปกี ารศกึ ษา 2562

ใบรบั รองโครงการ
วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเชียงใหม่

เรือ่ ง โครงการกระเป๋าใสโ่ ทรศัพท์พกพา (Bag for phone)
โดย นางสาวกญั ญา ศักดค์ิ งนนั ทกลุ รหัส 6132160002

นางสาวเกศินี อัศววราการ รหัส 6132160005

ไดร้ ับการรบั รองให้นบั ว่าเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ
ชนั้ สูง สาขาวิชาการจดั การสานักงาน ประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กิจ

(นางร่งุ ทพิ ย์ เตจะโส) (นายณรงคศ์ ักด์ิ ฟองสินธ)ุ์

หวั หนา้ แผนกวิชาการเลขานกุ าร รองผู้อานวยการฝา่ ยวชิ าการ

วนั ท่ี เดอื น พ.ศ. วันที่ เดือน พ.ศ.

คณะกรรมการสอบโครงการ

ประธานกรรมการ

(นางอรนิ ทยา ใจเอ)

กรรมการ

(นางลภัสรดา สมบรู ณ์)

กรรมการ

(นางสาวพรสวรรค์ ปนั ธ)ิ

กิตตกิ รรมประกาศ

โครงการเรือ่ ง กระเป๋าใสโ่ ทรศัพท์พกพา (Bag for phone) สาเร็จลลุ ่วงไปได้ด้วยดี ผู้จดั ทา
โครงการไดร้ บั ความช่วยเหลอื และคาแนะนาด้านต่าง ๆ ตลอดจนไดร้ บั กาลงั ใจจากหลาย ๆ ทา่ นเป็น
อยา่ งดี ในโอกาสนี้ ขอขอบคุณทกุ ๆ ทา่ น ดังน้ี

ขอขอบคุณ ครูอรินทยา ใจเอ ครทู ี่ปรึกษาโครงการที่ไดใ้ ห้คาเสนอแนะ แนวคดิ ในการเขยี น
โครงการตง้ั แต่แรกเรมิ่ ในการทาโครงการ จนโครงการเลม่ น้ีเสร็จสมบูรณ์

ขอขอบคุณ นางนุชิดา กนั ทะ เจา้ ของรา้ นตดั เยบ็ ท่ีใหค้ วามรู้ในการออกแบบตัดเย็บแก่
ผจู้ ดั ทา ขอขอบคณุ คุณพ่อ คุณแม่ ท่ีให้คาปรึกษา สนับสนนุ และเปน็ กาลังใจทดี่ เี สมอมา

สดุ ท้ายขอขอบคณุ เจ้าหนา้ ทบี่ ุคลากร นักเรียน นักศึกษา สาขาวชิ าการจดั การสานักงาน
วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเชียงใหม่ ท่ีได้ใหค้ วามรว่ มมอื ในการทาแบบสอบถาม จนทาให้โครงการสาเร็จ
ลลุ ว่ งไปไดด้ ว้ ยดี

นางสาวกญั ญา ศกั ดิ์คงนนั ทกุล
นางสาวเกศินี อศั ววราการ

ชอื่ นางสาวกัญญา ศักดิ์คงนนั ทกลุ

ชื่อเรือ่ ง นางสาวเกศนิ ี อศั ววราการ
สาขาวชิ า กระเป๋าใส่โทรศพั ทพ์ กพา (Bag for phone)
ประเภท การจัดการสานักงาน
ครทู ่ปี รึกษาโครงการ บรหิ ารธรุ กิจ
ปีการศกึ ษา นางอรินทยา ใจเอ
๒๕6๒

บทคดั ย่อ

โครงการเร่ืองกระเป๋าใสโ่ ทรศัพท์พกพา (Bag for phone) มวี ัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพ่ือ
ปอ้ งกันการทาโทรศพั ทต์ กและเกิดรอยขีดข่วน 2) เพ่ือเปน็ แนวทางในการสร้างรายได้ให้กับชุมชน
3) เพื่อเป็นการรกั ษาเอกลกั ษณก์ ารปกั ผ้าของชนเผา่

กลมุ่ ตวั อย่างในศึกษาครั้งน้ี ได้แก่ ครแู ละบคุ ลากร นักเรียน นกั ศึกษา วิทยาลยั อาชีวศึกษา
เชียงใหม่

วิธีเครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลในการจดั โครงการครง้ั นี้ ไดแ้ กแ่ บบสอบถาม
ความพงึ พอใจ โดยแบบประเมนิ มีการประมาณค่า 5 ระดับ

ผลการดาเนินงาน จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ประเมินโครงการ สรุปได้ดังน้ี คอื
ความพงึ พอใจต่อสิ่งประดิษฐ์ในภาพรวมอยู่ในระดับมากทสี่ ุดคิดเปน็ รอ้ ยละ (4.58 ) เม่อื พิจารณา
เป็นรายข้อพบวา่ ได้รบั ความพึงพอใจตามลาดับ ดังน้ี การอนรุ กั ษง์ านฝมี ือของภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน
(4.76) สรา้ งรายได้ใหก้ บั ชุมชน (4.76) การถนอมรักษา ป้องกนั รอยขีดข่วนให้กบั โทรศพั ท์ (4.65)
สามารถพัฒนาตอ่ ในเชิงพาณิชย์ (4.59) ชว่ ยให้การพกพาโทรศพั ท์มีความสะดวกมากขึ้น (4.55)
ความสวยงาม ประณตี ในการตดั เย็บ (4.53) ความคิดสร้างสรรคใ์ นการออกแบบ (4.53)
ความแข็งแรง ทนทาน (4.47) ลดความเสยี หายจากการทาโทรศพั ทต์ กหล่น (4.45) รูปแบบ
เหมาะสมกะทดั รดั (4.43)

สารบัญ

เรอ่ื ง หน้า

ใบรบั รองโครงการ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทคดั ย่อ ค
สารบัญ ง
สารบัญ (ตอ่ ) จ
สารบัญตาราง ฉ
สารบัญรปู ภาพ ช
บทที่ 1 บทนา
1
1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของโครงการ 2
1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงการ 2
1.3 ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะได้รบั 2
1.4 ขอบเขตของโครงการ 2
1.5 นยิ ามศัพท์เฉพาะ
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กย่ี วข้อง 3
2.1 ความหมายของการประดิษฐ์ 3
2.2 ความสาคญั ของกระเป๋าใส่โทรศพั ท์พกพา (Bag for phone) 4
2.3 ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน (Local wisdom) 4–5
2.4 ความรู้เก่ยี วกับการทอผา้ 5–8
2.5 งานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้อง
บทที่ 3 วิธีการดาเนินการ 9
3.1 การวางแผน 9 – 13
3.2 จดั เตรยี ม วัสดุ อปุ กรณใ์ นการผลิตกระเปา๋ ใสโ่ ทรศัพท์พกพาฯ 14 – 17
3.3 ขน้ั ตอนการผลติ กระเป๋าโทรศพั ท์พกพา (Bag for phone)
บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน 18 – 19
4.1 การวเิ คราะห์ข้อมลู เกี่ยวกบั รอ้ ยละของผู้ตอบแบบประเมนิ 19 – 21
4.2 การวเิ คราะหค์ วามคดิ เห็นของผตู้ อบแบบประเมนิ
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายและขอ้ เสนอแนะ 22
5.1 สรปุ ผลการดาเนนิ งาน 22 – 24
5.2 อภปิ รายผลการดาเนนิ งาน
บรรณานุกรม

สารบญั (ต่อ)

เรอื่ ง หน้า
ภาคผนวก

ภาคผนวก ก โครงรา่ งโครงการ
ภาคผนวก ข แบบรายงานความกา้ วหนา้
ภาคผนวก ค แบบประเมิน
ภาคผนวก ง รปู ภาพ
ประวัตผิ ู้จดั ทา

สารบัญตาราง

เรื่อง หน้า
ตารางที่ 1 แสดงจานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบประเมิน 18
ตารางที่ 2 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน 18
ตารางที่ 3 แสดงค่าเฉลย่ี และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน 19

สารบัญรปู ภาพ

เรอื่ ง หนา้
รปู ภาพ 3.2.1 ผ้าชนเผ่ากระเหร่ียง 9
รูปภาพ 3.2.2 ลายปักเผ่าอาข่า 10
รปู ภาพ 3.2.3 ใยสังเคราะห์ 10
รปู ภาพ 3.2.4 เขม็ 11
รูปภาพ 3.2.5 กรรไกร 11
รูปภาพ 3.2.6 ซิปล็อค 12
รปู ภาพ 3.2.7 ด้าย 12
รปู ภาพ 3.2.8 ตีนตุก๊ แก 13
รูปภาพ 3.2.9 จักรเยบ็ ผ้า 13
รูปภาพ 3.3.1 วดั ขนาดผา้ และใยสังเคราะหต์ ามท่อี อกแบบไว้ 14
รูปภาพ 3.3.2 ตดั ผา้ และใยสังเคราะหต์ ามท่วี ดั ไว้ 14
รปู ภาพ 3.3.3 นาผา้ และใยสังเคราะห์เยบ็ ติดกัน ให้เป็นตวั กระเป๋าท่อี อกแบบไว้ 15
รูปภาพ 3.3.4 นาซปิ มาเย็บตดิ กบั ผ้าอาขา่ 16
รปู ภาพ 3.3.5 นาผ้าอาข่ามาเย็บติดกับตัวกระเป๋าอกี ที 16
รปู ภาพ 3.3.6 ได้สิ่งประดิษฐ์ตามทตี่ ้องการ 17

บทท่ี 1
บทนา

1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของโครงการ

ภูมิปัญญาชนเผ่าเปน็ องคค์ วามรขู้ องชาวบ้านหรือส่ิงที่กระทาขึน้ จากสติปัญญา ความรู้
ความสามารถ เดิมมกี ารถา่ ยทอดเฉพาะในกลุ่มชนเผ่าไม่ว่าจะเปน็ พิธีกรรม ประเพณี การแตง่ กาย
และท่ีสาคัญคือการเย็บปักถักรอ้ ย เช่น เสอ้ื ผา้ เครือ่ งนุ่งห่ม ในยคุ สมยั ก่อนจาเปน็ อยา่ งย่ิงท่ีผู้หญงิ
ทกุ คนต้องเย็บปักถักร้อยเป็นเผา่ กระเหร่ยี ง หรือเผา่ อาข่า ผู้หญิงจะสอนใหป้ นั่ ด้าย พนั ด้ายจากไม้
ด้วยมือ ตง้ั แต่อายุ 6-7 ขวบ เผ่าอาขา่ เสื้อผา้ สว่ นใหญค่ ือสีดาเป็นหลกั และเนน้ สีแดงในการตกแตง่
ใหม้ ีความโดดเด่น ปัจจุบนั มสี ีสันที่เพ่ิมมากขึ้นพร้อมกับลวดลาย ลูกไม้ต่าง ๆ ท่ีหลากหลาย ประณีต
สวยงามกวา่ เดิม แต่การเยบ็ ปกั ยังคงเอกลักษณ์ของชนเผ่าอาข่า ส่วนเผา่ กระเหรยี่ งเส้อื ผา้ สว่ นใหญ่
ใชก้ ารทอเป็นพืน้ ฐานสาคัญ กวา่ จะทอได้แตล่ ะผืนยังมีขนั้ ตอนอีกมากมาย เชน่ การเก็บฝา้ ย นามา
ตากแห้ง การทาให้ฝา้ ยละเอียดนมุ่ การปน่ั ดา้ ย และการย้อมสี ชนเผา่ กะเหรี่ยงมภี มู ิปัญญาด้านการ
ทอผา้ จนเป็นวฒั นธรรมประจาชนเผ่า ซึ่งถือเปน็ งานศิลปะแขนงหน่งึ ของกลุ สตรี จงึ ถกู สืบทอดจากรนุ่
สู่รนุ่ จนถงึ ปัจจุบันน้ี ลวดลายการปกั ยงั สะท้อนถึงความเชือ่ ของชนเผ่า เปน็ ผ้าทม่ี ีเอกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั
สวยงาม ประณีต เส้นใยหนา แขง็ แรง มีความทนทาน ไม่มีการตกสี ลวดลายบนผนื ผ้าทอกะเหรยี่ ง
จะมที ้งั ลวดลายท่ีมาจากการทอยกดอก การปักดว้ ยเสน้ ด้ายทห่ี ลากสี การปกั ด้วยลกู เดอื ย ผา้ ท่ีปัก
ลกู เดอื ยนนั้ สามารถไปพัฒนาเป็นผลติ ภณั ฑ์อ่ืน ๆ เชน่ ปกหนังสือ ทค่ี าดผม เข็มขัด กาไลข้อมือ
นอกจากนผ้ี ้ากะเหร่ยี งยงั เปน็ ที่นิยมของชาวตา่ งชาติ เพราะมลี วดลายที่สวยงาม และแปลกตา

โทรศัพท์มอื ถอื เปน็ เครอ่ื งมืออปุ กรณ์ติดตอ่ ส่ือสารท่ีมีความสาคัญในชวี ติ อย่างย่งิ ของผคู้ น
ในยุคสมยั ปจั จบุ นั คนสว่ นใหญแ่ ทบทุกคนตา่ งก็มโี ทรศัพท์มือถือเปน็ ของตัวเอง มีการใช้งานท่ี
แพร่หลาย มีการใช้งานทุกเพศ ทกุ วัย ตงั้ แตเ่ ด็กจนกระท่งั ผใู้ หญ่ ปัญหาในการพกพาโทรศัพท์จงึ
เกิดข้นึ ไมว่ ่า จะเปน็ รอยขีดข่วน หรอื ตกหล่นเสียหาย เม่อื โทรศพั ท์มือถือน้ัน เป็นสิ่งสาคัญและจาเปน็
ตอ่ การใชช้ ีวิตในทุก ๆ วนั ของผู้คน ดงั ทีก่ ล่าวมาแล้ว กระเป๋าใสโ่ ทรศัพท์ จึงเปน็ ส่งิ สาคัญอยา่ งหน่งึ ท่ี
ช่วยใหก้ ารพกพาโทรศัพท์เป็นเรื่องที่สะดวกยงิ่ กวา่ เดมิ ชว่ ยถนอมรักษาใหเ้ กดิ ความปลอดภัย หรือลด
ความเสียหายท่เี กิดจากการทาโทรศพั ท์หล่นกระแทกได้มากขน้ึ

ดังนนั้ คณะผ้จู ดั ทาจงึ ได้จดั ทาโครงการกระเป๋าใส่โทรศัพท์พกพา โดยนาวัสดุผ้าชนเผ่าที่มี
ความงดงาม แปลกตา มาตกแตง่ เพ่ือใหเ้ กิดความสวยงาม ลดความสญู เสยี ของอนั ตรายท่ีจะเกิดขน้ึ
จากการทาโทรศพั ทต์ กหล่น รวมทง้ั เปน็ แนวทางในการสร้างรายไดใ้ ห้กับชมุ ชนอีกทางหน่ึง เป็นที่รจู้ กั
และพฒั นาในเชงิ พาณิชยต์ อ่ ได้

1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
1.2.1 เพื่อป้องกนั การทาโทรศัพทต์ กและเกิดรอยขดี ขว่ น
1.2.2 เพ่ือเป็นแนวทางในการสรา้ งรายให้กับชมุ ชน
1.2.3 เพ่ือเปน็ การรักษาเอกลกั ษณ์การปกั ผา้ ของชนเผ่า

1.3 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ บั
1.3.1 ช่วยปอ้ งกันการทาโทรศัพทต์ กและเกดิ รอยขีดข่วน
1.3.2 เปน็ แนวทางในการสรา้ งรายได้ในชุมชนจากการผลิตกระเปา๋ ใส่โทรศพั ท์
1.3.3 ช่วยในการสบื ทอดเอกลกั ษณข์ องผา้ ชนเผ่า
1.3.4 สะดวกในการพกพาและทาใหโ้ ทรศัพท์เกดิ ความเสียหายน้อยลง

1.4 ขอบเขตของโครงการ
เชิงปริมาณ กระเป๋าใส่โทรศัพท์ จานวน 6 ใบ
เชงิ คณุ ภาพ กระเป๋าใส่โทรศัพท์ สามารถปอ้ งกันการทาโทรศัพทต์ กหล่น ไม่หล่นแตกงา่ ย

เกิดความเสยี หายน้อยลง มคี วามสวยงามลวดลายแปลกตา

1.5 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ
กระเป๋าใส่โทรศัพทม์ ือถอื คือกระเปา๋ ท่ชี ่วยปอ้ งกนั การตกหล่นหรอื ทาใหเ้ กิดรอยขดี ขว่ น

ตา่ ง ๆ จากการใชง้ าน ลดการเสยี หายของโทรศัพท์ทีอ่ าจจะเกิดข้ึนโดยไมค่ าดคดิ และมีความสะดวก
ในการพกพาโทรศัพท์มือถือมากยิ่งขนึ้

โทรศัพทม์ ือถอื คืออุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ทใ่ี ช้ในการสอ่ื สารสองทางผ่าน โทรศัพท์มอื ถือ
ใช้คลนื่ วิทยุในการตดิ ต่อกับเครอื ขา่ ยโทรศัพท์มอื ถือโดยผา่ นสถานฐี าน โดยเครอื ข่ายของ
โทรศัพท์มอื ถอื แตล่ ะผูใ้ ห้บรกิ าร จะเช่ือมต่อกับเครอื ขา่ ยของโทรศัพท์บ้าน และเครือขา่ ย
โทรศพั ท์มือถือของผ้ใู ห้บริการอ่ืน โทรศัพทม์ ือถือที่มีความสามารถเพิ่มขึน้ ในลักษณะคอมพวิ เตอร์
พกพาจะถูกกล่าวถึงในชือ่ สมาร์ตโฟน

ผา้ ชนเผ่า ผ้าชนเผ่าจากอาข่าส่วนมากเป็นผา้ ที่มีการเย็บและปักไม่วา่ จะเปน็ เสอื้ ผ้าหรอื
กระเป๋าการเยบ็ เส้อื หรือกระเป๋าอาข่าน้นั เพ่ืออนรุ ักษว์ ฒั นธรรมของชนเผ่าไวเ้ พ่ือให้ชนเผา่ อ่ืนไดเ้ หน็
ความสวยงามศิลปะการเย็บลายอาข่าและยงั ปลูกจติ สานกึ ให้ลกู หลานไดส้ ืบทอดตอ่ ไปไม่ใหศ้ ิลปะ
การเยบ็ อันสวยงามของอาข่านัน้ หายไป

บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจยั ท่เี กี่ยวข้อง

ในการทาโครงการ “กระเป๋าใส่โทรศัพท์พกพา Bag for phone” กลมุ่ ผู้จดั ทาโครงการ
ไดร้ วบรวมแนวคดิ ทฤษฎีหลักการตา่ ง ๆ จากเอกสารและงานวิจยั ที่เก่ยี วข้อง ดังหัวขอ้ ต่อไปนี้

2.1 ความหมายของการประดิษฐ์
2.2 ความสาคญั ของกระเป๋าใสโ่ ทรศัพท์พกพา (Bag for phone)
2.3 ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น (local wisdom)
2.4 ความรูเ้ ก่ยี วกับการทอผ้าชนเผา่
2.5 งานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง

2.1 ความหมายของการประดิษฐ์
ความหมายของงานประดิษฐ์ หมายถึง งานท่ีเกดิ จากการใช้ความคดิ สร้างสรรค์ของมนุษย์

สรา้ งหรือประดิษฐข์ นึ้ ตามวตั ถุประสงค์ทีห่ ลากหลาย หรือเพอ่ื ความสวยงาม หรือประดบั ตกแต่งหรือ
เพือ่ ประโยชนใ์ ชส้ อย ความเป็นมาของงานประดษิ ฐ์ สิ่งประดษิ ฐเ์ กดิ ขนึ้ เพราะมนษุ ย์เปน็ ผสู้ รา้ ง
ผูพ้ ัฒนา ปรับปรงุ และเปลีย่ นแปลงแบบ ผลงานดว้ ยความคิดสร้างสรรคท์ ม่ี ีอยใู่ นแตล่ ะบุคคล
มวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการสร้างสิ่งประดิษฐเ์ พอื่ ตอบสนอง ความต้องการดา้ นประโยชน์ใช้สอย
งานประดษิ ฐ์มคี วามสัมพนั ธแ์ ละเก่ียวข้องกับชวี ิตประจาวันของคนไทยตัง้ แตส่ มัยโบราณ เก่ียวข้องกับ
ขนบธรรมเนียมและประเพณีทางศาสนา

หลักการสรา้ งสรรค์งานประดษิ ฐ์ การสรา้ งสรรคง์ านประดษิ ฐ์ใหป้ ระดิษฐ์ให้ประสบผลสาเร็จ
นั้น ผู้เรยี นตอ้ งมีความพึงพอใจ ในการทางาน โดยยึดหลกั การดงั นี้

1. หมน่ั ศกึ ษาหาความรใู้ นงานที่ตนเองสนใจ โดยศึกษาจากผูเ้ ชี่ยวชาญการในชุมชน
การโรงเรียน จากตัวอยา่ งสงิ่ ประดษิ ฐ์ที่สนใจ

2. ศึกษาหลักการ วิธกี าร หรอื ขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน ในการประดษิ ฐ์ชนิ้ งานโดยการ
วเิ คราะห์ ด้วยตนเองหรือศึกษาจากผรู้ ู้ ผู้เชยี่ วชาญ หรอื จากสื่อต่าง ๆ เช่น วารสาร หนังสอื เป็นต้น

3. ทดลองการปฏิบัติการประดิษฐ์ ผูเ้ รยี นต้องศกึ ษาค้นคว้าและทดลองปฏิบตั ิตามแนวคดิ
ทไี่ ด้สร้างสรรค์ไว้ และมีการปรบั ปรงุ แก้ไข ข้อบกพรอ่ งจนสาเรจ็ เป็นชิ้นงานประดิษฐ์ท่ีพึงพอใจ

2.2 ความสาคญั ของกระเป๋าใส่โทรศพั ทพ์ กพา (Bag for phone)
กระเปา๋ ใสโ่ ทรศพั ท์พกพา (Bag for phone) เป็นสง่ิ สาคัญอย่างหนง่ึ ท่ีชว่ ยให้การพกพา

โทรศพั ท์เปน็ เรื่องที่สะดวกยิง่ กวา่ เดมิ ลดความสูญเสยี ของอนั ตรายท่จี ะเกิดข้ึน จากการทาโทรศพั ท์
ตกหล่น ช่วยถนอม รักษาใหเ้ กดิ ความปลอดภัยหรอื ลดการสญู เสียท่เี กดิ จากการทาโทรศัพท์ตกหล่น
ไดม้ ากขึ้น

2.3 ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน (local wisdom )
ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ (local wisdom ) หรอื ภมู ิปญั ญาชาวบ้านหมายถงึ ทุกส่งิ ทุกอย่างที่

ชาวบ้านคดิ ข้นึ ได้เองและนามาใช้ในการแก้ปัญหา เป็นเทคนิควิธีเป็นองค์ความรู้ของชาวบา้ น ทง้ั ทาง
กวา้ งและทางลกึ ทชี่ าวบ้านคดิ เอง ทาเอง โดยอาศัยศักยภาพทม่ี ีอยู่แกป้ ญั หาการดาเนนิ ชีวิตในท้องถิน่
ได้อยา่ งเหมาะสมกบั ยุคสมยั ความเหมือนกนั ของภูมิปญั ญาไทยและภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ คือ เป็นองค์
ความรู้ และเทคนคิ ที่นามาใช้ในการแก้ปัญหาและการตดั สินใจ ซง่ึ ได้สืบทอดและเชื่อมโยงมาอย่าง
ต่อเนื่องตัง้ แต่อดตี ถงึ ปัจจบุ นั

2.4 ความรู้เกยี่ วกับการทอผ้าชนเผ่า
เสื้อผ้า คือ เคร่ืองแตง่ กายท่ีควรสวมใสไ่ ว้เพอื่ ความสวยงามและเพื่อใช้ ปกปดิ ร่างกายของ

ตนเอง ในขณะเดยี วกันมนุษย์เราตา่ งกม็ หี ลากหลายชนเผา่ เช่น ชนเผ่ากะเหรี่ยง ชนเผ่าม้ง เป็นตน้
แต่ละเผ่าต่างก็มวี ัฒนธรรมท่แี ตกต่างกนั เช่น วฒั นธรรมการแต่งกาย ลกั ษณะความเปน็ เฉพาะเผ่า
แสดงถงึ ความคิดสร้างสรรค์ บวกกบั วฒั นธรรมภูมิปญั ญาและสภาพที่ตง้ั ของแตล่ ะเผ่าที่มีลักษณะทาง
ภมู ศิ าสตร์ท่แี ตกต่างกัน จึงทาให้เกดิ ความหลากหลายทางวัฒนธรรมการแตง่ กาย ชนเผา่ กะเหรี่ยง
และชนเผา่ ละวา้ เปน็ ชนเผา่ ท่ีมีความหลากหลายทางภาษาและมศี าสนาความเช่ือท่ตี ่างกัน กะเหร่ยี ง
ดั้งเดมิ จะนับถอื ผี เช่อื ในเรอ่ื งตน้ ไม้ ละว้าก็เชน่ เดยี วกันทม่ี ีความเชือ่ ในเรื่องของผแี ต่อาจมีความ
แตกต่างจากชาวกะเหรย่ี งในบางสว่ น

งานทอผ้าละวา้ ทง้ั ในอดีตและปัจจุบันยงั คงใช้ก่ีขนาดเลก็ ท่เี รยี กว่า “ก่ีเอว” ใชเ้ ปน็ อปุ กรณ์
ในการทอผา้ ฝา้ ยและด้ายท่ใี ช้ในการทอผ้ามีทัง้ ฝ้ายท่ีถกู ปลูกเองและซ้ือมา เช่นเดียวกบั สที ใี่ ชใ้ นการ
ทอผา้ จะไดจ้ ากสธี รรมชาตแิ ละสีเคมี ลวดลายผา้ ของชาวละวา้ ตั้งแตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจบุ นั จะพบ
เพยี ง 2 ลาย คอื ลายเส้นท่ีเกิดจากการมดั ยอ้ มเส้นยืนบนผนื ผา้ ซ่ินและอีกลายหนึง่ คือ ลายขา้ วหลาม
ตดั ซึง่ ทอไว้เป็นผา้ คลุมศพคนตาย งานทอผา้ ของชาวกะเหรี่ยงนยิ มใส่เส้อื ผ้าฝ้ายทอมือ ชาวกะเหร่ยี ง
นนั้ จะปลกู ฝา้ ยเอง ซึง่ การย้อมผ้าของชาวกะเหรี่ยงน้ันจะนาฝ้ายปน่ั เสน้ ด้ายแล้วยอ้ มด้วยสีธรรมชาติ
สรา้ งลวดลายด้วยการทอ การปักด้ายเสน้ ไหมและลกู เดือย ลายที่นยิ มนามาทอและปกั มี ๔ ลาย คอื
โยหอ่ กือ เกอ่ เปเผลอะ ฉุ่ยข่อลอ และ ลายทขี ่า ปจั จุบนั มลี ายท่ชี าวกะเหรีย่ งนิยมนามาทอ คอื
เกอ่ แนเดอ หรือลายรังผ้งึ และอีกลายหน่งึ คือ เสอ่ กอพอ หรอื ลายดอกมะเขือ การย้อมผ้าฝ้าย
สธี รรมชาติของชาวกะเหรีย่ งจะใชเ้ ปลือกไม้ทเี่ รยี กกันวา่ “ซาโกสะมอ” จะไดส้ ีน้าตาล และผล
“มะขามป้อม” จะได้สเี ทา ดา้ ยท่ีใช้ในการทอผา้ ของชาวกะเหรย่ี งได้แก่ เสน้ ไหมยืน หรอื เสน้ ไหม
เรียบ เป็นเสน้ ไหมท่ีต้องนามาตเี กลียวอีกครั้งหน่ึง และเสน้ ไหมพุ่ง แบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท คอื
เส้นไหมเส้นเดียวแต่มีขนาดใหญ่ เช่น เส้นไหมดูเปย้ี น และ เส้นไหมพน้ื เมือง หรือไหมสาวมือ และ
ยงั มอี ีกประเภทหนง่ึ คอื เสน้ ไหมควบตเี กลียวโดยการนาเส้นไหมดิบหลาย ๆ เสน้ นามาควบตีเกลยี ว
ใหม้ ีจานวนเกลียวประมาณ ๑๕๐-๑๘๐ เกลยี วต่อเมตร ลวดลายผา้ ไดแ้ ก่ ลายในเนอ้ื ผา้ ลวดลาย
จะปรากฏเป็นเส้นนูนตามแนวตง้ั หรือแนวนอนก็ได้ ลวดลายสลบั สีเป็นการทอผ้าแบบธรรมดา คอื
ใช้ดา้ ยยนื และดา้ ยขวางจานวนเท่าปกติแตแ่ ทรกดว้ ยสีตา่ ง ๆ สลับเข้าไป ลายจกเป็นการทอลวดลาย
โดยการสอดด้าย ลายขิด คอื การทอผา้ โดยใหล้ วดลายท่ีปรากฏเหมือนกนั ท้งั ผืน ลักษณะของลายขิด
จะเปน็ แบบยกดอกในตัวโดยกาหนดสีตามดา้ ยยืน

การทอธรรมดาหรือทอพน้ื เปน็ การทอลายขัดมโี ครงสร้างหลักโดยการสอดด้ายขวางเขา้ ไป
ระหว่างด้ายยืน การทอผา้ แบบเป็นลวดลาย ผา้ ทช่ี าวกะเหรย่ี งนิยมใช้ทอบ่อย ๆ สว่ นใหญ่จะมี
ลวดลายประกอบ ทั้งนี้ขึน้ อยู่กบั การใชป้ ระโยชนแ์ ละความนิยม เชน่ ลายแบบดั้งเดิมเป็นลวดลาย
โบราณทน่ี ิยมสืบทอดต่อกนั มา ลกั ษณะลวดลายเปน็ รปู ทรงเรขาคณิต ความสวยงามของลวดลาย
แบบดง้ั เดิม ต้องจกลวดลายใหเ้ ตม็ พน้ื ที่ มคี วามนนู ออกมาอย่างเห็นไดช้ ัดเจน นิยมใช้สีสดใส เชน่
สีขาว สีเหลอื ง สีเขยี ว และลายใหมค่ ือ ลายท่เี กดิ จากการคิดลายขึ้นมาใหม่ หรือมีการประยุกต์
ดัดแปลงจากโครงสรา้ งของลายเก่าให้กลายเปน็ ลายใหม่ หรือลายที่เกิดจากการทอผดิ จากลวดลาย
เดมิ แล้วเกิดเปน็ ลายใหม่

งานทอผา้ นั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท คอื งานทอผา้ ท่แี บ่งตามวัตถุดิบทใี่ ช้ในการทอ
และงานทอผ้าที่แบง่ ตามกรรมวิธใี นการทอ ผา้ ทที่ อนนั้ มีความสาคัญเพราะผา้ ทอนั้นชว่ ยตอบสนอง
ความจาเป็นข้ันพืน้ ฐานของผู้หญงิ กระเหร่ยี ง อกี ท้ังยังชใ้ี หเ้ ห็นถึงความเป็นหญิงอยา่ งเดน่ ชดั เพราะ
ในการทอผ้าน้นั ต้องใช้ความขยัน ความอดทน ความพยายาม ความประณีต ความละเอียดอ่อน ซึ่ง
สงิ่ เหลา่ น้ีล้วนแตเ่ ปน็ อุปนิสยั ของหญิง เพราะฉะนั้นเราควรอนุรกั ษ์งานผ้าทอกะเหร่ียง-ละว้า ไวใ้ หอ้ ยู่
กับเรายนื นาน และทาให้คนต่างถิน่ นนั้ สนใจในงานผา้ ทอและพวกเขาจะไดน้ าไปบอกกล่าวแกค่ นอ่นื

2.5 งานวิจยั ทเี่ กี่ยวข้อง
จนิ ตนา อินภักดี (บทคดั ย่อ 2555)
ได้นาทีมวิจยั ศกึ ษาลายผา้ ปักชาวเขาเผ่าอาข่า เพื่อถ่ายทอดองค์ความร้สู ูช่ ุมชนบ้านห้วยโป่ง

ตาบลหวั ช้าง อาเภอแม่แตง จังหวดั เชยี งใหมโ่ ดยมีวตั ถุประสงค์เพ่ือ 1) ศกึ ษาลวดลายทเ่ี ปน็
เอกลกั ษณ์ผ้าปักของชาวเขาเผา่ อาขา่ บ้านห้วยโปง่ ตาบลบ้านชา้ ง อาเภอแมแ่ ตง จังหวัดเชยี งใหม่
2) สรา้ งคูม่ ือลวดลายผ้าปักชาวเขาเผา่ อาข่า บา้ นหว้ ยโป่ง ตาบลบา้ นช้าง อาเภอแม่แตง จงั หวัด
เชยี งใหม่ และ 3) ถ่ายทอดองค์ความรู้เก่ียวกับลวดลายผ้าปกั ชาวเขาเผ่าอาข่าสชู่ ุมชนบา้ นห้วยโป่ง
ตาบลบา้ นชา้ ง อาเภอแมแ่ ตง จังหวดั เชียงใหม่ ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ งที่ใช้ในการวจิ ัย คอื
1) กลุ่มชาวบ้าน บ้านหว้ ยโป่ง ตาบลบา้ นช้าง อาเภอแมแ่ ตง จังหวดั เชียงใหม่ โดยเลือกกลุ่มตัวอยา่ ง
แบบเจาะจง เฉพาะผ้ทู ี่มีความรู้เร่อื งลวดลายผ้าปัก จานวน 30 คน 2) ผเู้ ชี่ยวชาญในการประเมิน
ค่มู อื ลวดลายผา้ ปักชาวเขาอาขา่ จานวน 3 คน 3) กลมุ่ ชาวบา้ น บ้านหว้ ยโป่ง ตาบลบ้านช้าง
อาเภอแม่แตง จงั หวัดเชียงใหม่ โดยมุ่งศกึ ษาที่กลุ่มสตรี ครู และนกั เรยี นประจาโรงเรียนในพ้ืนที่
เพือ่ ถา่ ยทอดองค์ความรเู้ กี่ยวกับลวดลายผ้าปกั ชาวเขาเผ่าอาขา่ สู่ชุมชน จานวน 30 คน เครือ่ งมือ
ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั ได้แก่ แบบสมั ภาษณแ์ บบมโี ครงสรา้ งคมู่ ือลวดลายผ้าปักเผา่ อาข่าแบบประเมนิ
คณุ ภาพของคู่มือ แบบสอบถามความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉล่ยี และส่วนเบีย่ งเบน
มาตรฐาน ส่วนขอ้ มลู เชงิ คุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวจิ ัยพบว่า ลวดลายผ้าปักทเ่ี ปน็
เอกลกั ษณ์ของชาวอาข่าแบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ได้แก่ ลายพนื้ ฐาน ลายปักแบบดั้งเดมิ และลายปกั
แบบประยกุ ต์ ซึ่งลายพนื้ ฐานเป็นลายปกั สาหรบั ผูท้ ีฝ่ กึ หดั ปักผา้ ขนั้ ตน้ ทจี่ าเปน็ ต้องเรียนรู้ ได้แก่
ลายเส้นตรง ลายกากบาท ลายกา้ งปลา ลายซกิ แซกรูปสามเหลีย่ มชี้ขน้ึ และลายซิกแซกรูป
สามเหล่ยี มช้ีลง สว่ นลายปกั แบบดั้งเดิม เปน็ ลวดลายทไี่ ด้สืบทอดวธิ กี ารปักมาจากบรรพบุรษุ ได้แก่
ลายปกี ผเี สอ้ื ลายปีกผเี สอ้ื ขา้ งเดียว และลายหนวดผีเสื้อ ซึ่งกล่มุ ลายประเภทนี้ใช้เทคนิคการปัก

เฉพาะ โดยนาผ้าสี (ผา้ โทเร) ตัดเปน็ รูปใหม้ ลี กั ษณะสามเหลี่ยมมมุ แหลม หรอื สีเ่ หลยี่ มขนมเปยี กปูน
แล้วนาผา้ ไปวางทาบบนผ้าพ้ืนทต่ี อ้ งการปักลาย สอยยึดถี่ ๆ ด้วยตะเขบ็ มือ และใชไ้ หมพรมปิดทับ
เสน้ รอยตะเข็บ สอยตรึงให้แน่น ส่วนลายแบบดงั้ เดิมอื่น ๆ ใช้เทคนิคการปักแบบคลอสติซ ได้แก่
ลายภูเขา ลายหนวดผีเสือ้ แบบปกั ลายดอกดาวเรอื ง ลายสามเหลี่ยมชนกนั และลายสามเหล่ียม
สาหรับลายปกั แบบประยุกต์ เปน็ ลวดลายท่ีผสมผสานระหวา่ งลวดลายเดิมและลวดลายใหม่ที่
พฒั นาข้นึ มาจากสิง่ ที่พบเหน็ ในชีวติ ประจาวัน ไดแ้ ก่ ลายสามเหลี่ยมใบพัด ลายดอกไม้ ลายลูกศร
ลายรอยเท้าสนุ ัข ลายใบเฟริ ์น ลายก้นกบ ลายหวั ใจ และลายหมวกผชู้ ายอาข่า การเลือกใชส้ ีในการ
ปกั ผ้าชาวอาขา่ นิยมใชส้ แี ดงเปน็ หลกั เนอื่ งจากสแี ดงเปน็ สีตดั กันกบั ผา้ สดี าทเี่ ป็นผา้ พืน้ อยา่ งไรกต็ าม
ลวดลายและสีสันของผ้าปักอาขา่ อาจมผี ิดเพ้ยี นจากในอดีตบ้างเล็กน้อย ทัง้ นีข้ น้ึ อยกู่ ับวัสดุแต่ละ
ชนดิ ท่ีผูป้ ักนามาปักลวดลายสาหรบั คมู่ ือลวดลายผา้ ปกั ชาวเขาเผ่าอาขา่ มเี น้ือหาประกอบไปดว้ ย
บริบททัว่ ไปชมุ ชนบ้านหว้ ยโปง่ การแต่งกายของชาวอาขา่ ลักษณะลวดลายผา้ ปกั อาข่า เทคนิคการ
ปักผา้ ของชาวอาข่า โครงสร้างลวดลายผ้าปักอาข่า และบทสรุป เม่ือนาคมู่ ือไปให้ผ้เู ช่ียวชาญทงั้ 3 คน
ทาการประเมนิ คุณภาพของคู่มอื พบวา่ คมู่ ือลวดลายผา้ ปกั ชาวเขาเผ่าอาข่ามีคุณภาพอยู่ในระดับมาก
ซึ่งมคี า่ คะแนนเฉลยี่ โดยรวม 3.96 ส่วนการถ่ายทอดองค์ความรสู้ ชู่ ุมชน ใชว้ ิธีการเปิดเวทีแลกเปลยี่ น
เรยี นรู้ เพื่อแลกเปล่ยี นหรอื แบ่งปนั องค์ความรเู้ ก่ียวกบั ลวดลายผ้าปักอาข่า และจดั กจิ กรรมปฏิบตั ิการ
(Work Shop) โดยพฒั นาผลิตภัณฑจ์ ากลวดลายผ้าปกั อาข่า จานวน 5 ชนิ้ ไดแ้ ก่ กระเป๋าผา้ ท่เี กบ็
ช้อนส้อม ทีเ่ กบ็ ตะเกยี บ ทต่ี ิดต้เู ยน็ และพวงกุญแจ ซ่ึงผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมให้ความสนใจเป็นอย่างมาก
โดยความพงึ พอใจของผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมที่มตี ่อการการถ่ายทอดองค์ความรู้มีค่าคะแนนเฉลีย่ รวม
4.50 นอกจากน้ียังได้ใหข้ ้อเสนอแนะให้ผวู้ จิ ยั จดั กจิ กรรมอนรุ ักษ์วัฒนธรรมการทอผา้ ของชนเผ่า
อาขา่ และต้องการใหม้ กี ารพัฒนาผลติ ภณั ฑใ์ ห้มคี วามหลากหลาย สาหรบั ใช้เป็นแนวทางในการผลติ
ผลติ ภัณฑท์ ีป่ ระยุกต์จากผ้าปักอาขา่ เพ่ือนาไปจัดจาหนา่ ยภายในชุมชน และสรา้ งรายได้ให้แก่
ครอบครัวต่อไป

รัฐนันท์ พงศ์วริ ทิ ธธ์ิ ร, ภาคภมู ิ ภคั วิภาส, สธุ ีมนต์ ทรงศริ โิ รจน์, และเบญญาภา กันทะ
วงศ์วาร (บทคดั ยอ่ 2560)

การวจิ ยั มีจดุ ประสงค์เพื่อศึกษาสว่ นประสมทางการตลาดทมี่ ผี ลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซ้ือ
หตั ถกรรม ส่ิงทอจากภมู ิปัญญาชนเผา่ ปกาเกอะญอ โดยใชแ้ บบสอบถามในการรวบรวมขอ้ มลู
กลมุ่ ตัวอยา่ งไดแ้ ก่ บคุ คลทีม่ ีอายุ ต้ังแต่ 20 ปขี ึ้นไป ทเ่ี คยมปี ระสบการณ์ในการซื้อสินค้าหัตถกรรม
ส่ิงทอชนเผ่าปกาเกอะญอในเขตอาเภอเมือง จังหวดั เชยี งใหม่ ใช้การสุ่มตัวอยา่ งแบบกาหนดจานวน
ตัวอยา่ ง จานวน 250 ราย พบวา่ ปจั จยั สว่ นประสมทางการตลาด ที่มตี ่อการตัดสินใจซื้อสนิ ค้า
หัตถกรรมสิง่ ทอจากภูมปิ ญั ญาชนเผา่ ปกาเกอะญอ พบว่า สว่ นประสมทางการตลาด ในภาพรวมให้
ความสาคัญอยู่ในระดับความสาคญั มาก (X = 6.08, S.D. = 0.68) ซง่ึ ดา้ นผลติ ภณั ฑใ์ ห้ความสาคญั
ระดับมากท่สี ดุ (X = 6.55, S.D. = 0.51) ดา้ นราคาใหค้ วามสาคญั ระดบั คอ่ นขา้ งมาก (X = 5.22,
S.D. = 0.68) ดา้ นชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ยให้ความสาคัญระดบั มาก (X = 6.15, S.D. = 0.66) และ
ด้านการส่งเสริมทางการตลาด ใหค้ วามสาคัญระดบั มากทส่ี ุด (X = 6.38, S.D. = 0.62) การทดสอบ
สมมตฐิ านของผู้บริโภคทีม่ ีลักษณะขอ้ มูลส่วนบคุ คล แตกต่างกันในด้านอายุ ระดับการศึกษา อาชพี

และรายไดเ้ ฉลีย่ ตอ่ เดือน มีค่าเฉลีย่ ความสาคญั ต่อสว่ นประสมทาง การตลาดแตกต่างกัน ที่ระดบั
นยั สาคญั ทางสถิติ 0.05 แนวทางการพัฒนาส่วนประสมทางการตลาดที่มตี อ่ การตดั สินใจ ซอ้ื
หตั ถกรรมสิ่งทอจากภูมปิ ัญญาชนเผ่าชาติพนั ธ์ุลา้ นนา: ชนเผา่ ปกาเกอะญอ ควรมุ่งเน้นดังนี้
1) การมงุ่ ผลติ โดยเนน้ คุณภาพ ผลิตภณั ฑห์ ลากหลาย 2) ควรเนน้ และคงอัตลกั ษณ์ เอกลกั ษณข์ อง
ผลติ ภณั ฑ์ส่งิ ทอแบบดง้ั เดิม ลวดลาย สีสันท่สี ามารถแสดงถึงศิลปะท้องถิน่ ของชนเผ่าปกาเกอะญอ
3) บรรจภุ ัณฑ์สวยงาม 4) การมีจาหน่ายในระบบ E-Commerce และผ่านสอ่ื สงั คมออนไลน์
5) ส่งเสรมิ ทางการตลาดรว่ มกบั หน่วยงานภาครฐั บาล เอกชน คาสาคญั : ปกาเกอะญอ ภมู ิปญั ญา
ชนเผ่าส่วนประสมทางการตลาด

สุวภทั ร ศรีสังข์ (บทคัดย่อ 2560)
โครงการวทิ ยานพิ นธม์ ีการมุ่งเนน้ ถึงการเผยแพร่ความร้เู กยี่ วกบั การใช้วสั ดเุ หลอื ใชจ้ าก
การเกษตรนามาใชใ้ นการออกแบบอาคาร ซ่ึงปัจจุบนั น้นี วัตกรรมที่เกย่ี วข้องกบั การใช้วัสดุเหลือใช้
จากการเกษตรนามาทาเป็นวัสดกุ อ่ สรา้ งในงานสถาปัตยกรรมนนั้ เร่มิ มกี ารใช้งานบ้างในบางสถานท่ี
แตย่ งั ไม่ได้ถกู นามาใชอ้ ยา่ งแพร่หลายเท่าท่ีควรนัก วิธกี ารศกึ ษาและผลการศึกษา ด้วยเหตุนี้จึงมี
แนวคดิ ท่ีจะเผยแพรค่ วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับนวตั กรรมวัสดเุ หลอื ใช้จากการเกษตร เพ่ือใชใ้ นงาน
สถาปัตยกรรมให้กับบุคคลทส่ี นใจหรือบุคคลทีย่ ังไม่รู้ ได้เขา้ ใจวา่ ในปจั จบุ นั มีอาคารท่ีทาจากวสั ดุ
เหล่าน้ี ในเทคนคิ แบบใด ข้นั ตอนการกอ่ สร้าง การผลิต และการตดิ ตง้ั มีรปู แบบอยา่ งไร ลักษณะ
โครงสรา้ งที่ใช้เปน็ อย่างไร เหมาะกับการนามาใชใ้ นอาคารประเภทใด ข้อดีข้อเสยี ของรูปแบบการใช้
งาน สามารถนาไปใชพ้ ฒั นาต่อยอดใหเ้ กดิ สิง่ ใหม่ไดโ้ ดยไม่มีท่สี ิ้นสดุ การนาผลการศึกษาไปประยกุ ต์
ใช้ในออกแบบโครงการ มีแนวคิดในการออกแบบคอื การใช้ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ เข้ามาชว่ ยในการผลิต
วัสดแุ ละใหค้ นในชมุ ชนได้มีส่วนร่วมและเป็นการกระจายความรหู้ รือภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ใหม้ ีการ
แพร่หลาย แสดงศักยภาพของชมุ ชนวา่ ชุมชนน้นั สามารถใช้ประโยชนจ์ ากวัสดุใดได้บา้ ง และการเข้า
มามีสว่ นร่วมในการผลติ วสั ดุ โดยการออกแบบสถาปตั ยกรรมนน้ั เน้นการใช้คุณสมบัตขิ องวัสดุเหลอื ใช้
ทางการเกษตร เปิดมมุ มอง ใหก้ บั ผู้คนภายนอกได้รบั รู้ และใหค้ วามรู้กับบคุ คลท่ีมาเย่ยี มชมโครงการ
ได้เรยี นรู้ความเปน็ มาของวัสดุเหลือใชท้ างจากเกษตร การผลติ วสั ดุ การไดล้ งมือทดลองผลิตวัสดุดว้ ย
ตนเอง มีการแปรรูปวสั ดเุ หลอื ใชใ้ ห้เปน็ ผลิตภณั ฑต์ า่ ง ๆ และยงั ได้เรียนรู้การนามาใช้ในงาน
สถาปตั ยกรรม

พงษศ์ ักดิ์ อยมู่ ่นั (บทคัดย่อ 2556 ปีที่ 6 ฉบับท่ี 2 กรกฎาคม 2556 – ธันวาคม
2556) การวิเคราะห์ศกั ยภาพพลงั งานชีวมวลจากวัสดุเหลอื ใช้ในจังหวัดลาปาง
กรณีศึกษา : อาเภอแมท่ ะ

โครงการวจิ ยั คร้ังนี้มีจดุ ประสงค์ เพื่อรวบรวมขอ้ มลู ปรมิ าณชีวมวลจากวัสดุเหลอื ใชข้ องกล่มุ
เกษตรกรในเขตอาเภอแมท่ ะ จงั หวัดลาปาง จากน้ันนามาคานวณหาศักยภาพพลังงานจากชีวมวลของ
กลุ่มเกษตรกรที่ควรสง่ เสรมิ ให้มีการใชพ้ ลังงานชวี มวลในรปู แบบตา่ ง ๆ เพื่อใชเ้ ป็นฐานข้อมลู สาหรบั
นกั วจิ ัย นกั วชิ าการ และผู้สนใจในการศึกษา สาหรบั การพัฒนาการใช้พลังงานชวี มวลในเขตอาเภอ
แม่ทะ จงั หวัดลาปาง ซ่งึ จากการลงพนื้ ท่ีศึกษาเพื่อวเิ คราะห์ศักยภาพพลงั งานจากเศษวสั ดุทาง
การเกษตรเหลือใชท้ ี่มีศกั ยภาพทางพลังงานจากพชื 13 ชนดิ ได้แก่ ข้าวโพด ถัว่ ลิสง ถัว่ เหลือง

มนั สาปะหลงั อ้อย ขา้ ว ลาไย กาแฟ ยางพารา ไผ่ กระเทียม หอมแดง และเห็ด ในปี พ.ศ. 2554
ถงึ 2555 พบวา่ ขา้ วเปน็ พืชทม่ี ีพื้นทกี่ ารเพาะปลกู มากทส่ี ุดคดิ เป็น 47,393 ไร่ ทาให้ข้าวเปน็ พืช
ทมี่ ีปรมิ าณผลผลติ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 35.37 ของผลผลติ ทางการเกษตรท้ังหมด ซ่ึงร้อยละ
การนาวสั ดเุ หลอื ใชไ้ ปใชป้ ระโยชน์ของเกษตรกรทัง้ หมด โดยรวมแลว้ คดิ เป็นร้อยละ 36.67
ถึง 43.81 ถอื ไดว้ า่ เปน็ การใช้ประโยชนท์ ี่น้อย เมื่อเปรียบเทียบกับสดั ส่วนการใชป้ ระโยชน์โดยรวม
เมอื่ คานวณ หาปริมาณพลังงานท่ไี ม่มีการใชป้ ระโยชน์ คิดเปน็ พลงั งานมากกว่า 582.81 TJ หรือ
คดิ เปน็ ปริมาณน้ามนั ดิบได้มากกว่า 13.80 ktoe และสามารถใช้เป็นเชอื้ เพลิงในการผลิต
กระแสไฟฟ้า ไดม้ ากกวา่ 32.38 GWhr หรือเทยี บเท่ากบั โรงไฟฟ้าที่มอี ัตราการผลิตไฟฟ้า ขนาด
4,609.28 kW จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ จะเหน็ ได้ว่า อาเภอแมท่ ะ จังหวดั ลาปาง มีศักยภาพในด้านการใช้
พลงั งานจากเศษวัสดุ ทางการเกษตรเหลือใช้ คิดเป็นร้อยละ 0.1 ของศักยภาพพลงั งานใน
ระดับประเทศท่สี ูงถงึ 617,151 TJ คาสาคญั : ศกั ยภาพพลังงาน, พลงั งานชีวะมวล, พืชพลังงาน,
เศษวัสดุทางการเกษตร, อาเภอแม่ทะ

พชิ ิตชัย รชั ตามพร (บทคดั ย่อ 2553)
การศกึ ษาวจิ ยั เร่อื งคณุ คา่ และกระบวนการถา่ ยทอดภมู ิปัญญาไทยจากการประดิษฐเ์ รือจิ๋ว
ในเขตพ้นื ที่ภาคกลาง เป็นการวิจยั เชงิ คุณภาพ มีวตั ถปุ ระสงค์ 1) เพอ่ื ศึกษาคุณค่าของภมู ปิ ัญญาไทย
ขอ้ ดแี ละข้อจากัดของการประดิษฐเ์ รือจิ๋ว 2) เพ่ือศกึ ษากระบวนการถา่ ยทอดภูมปิ ญั ญาไทย วธิ กี าร
ถา่ ยทอด ขนั้ ตอนการถ่ายทอดและรปู แบบการถา่ ยทอดการประดษิ ฐเ์ รอื จิว๋ และ 3) เพอ่ื หาแนวทาง
การพฒั นาคุณค่าและกระบวนการถา่ ยทอดภูมปิ ญั ญาไทยจากการประดษิ ฐเ์ รือจวิ๋ ประชากรท่ีใช้
ในการศึกษาการวิจัยครงั้ นป้ี ระกอบดว้ ยผู้ใหข้ ้อมลู หลกั สองกลุม่ ได้แก่ ปราชญช์ าวบ้าน จานวน
3 ท่าน และผูท้ ี่ได้รับการถ่ายทอดภมู ิปญั ญาชาวบ้าน จานวน 7 ทา่ น วิธีการเก็บรวบรวมขอ้ มูล
ประกอบด้วยการสัมภาษณ์แบบหยงั่ ลึกและการสนทนากลุ่ม และวิเคราะห์ข้อมลู ด้วยการวิเคราะห์
เน้ือหา ผลการศึกษาพบว่า 1) คุณคา่ ของภูมปิ ัญญาไทยจากการประดิษฐเ์ รือจวิ๋ ประกอบดว้ ย 5 ด้าน
คือ ดา้ นความสวยงาม ด้านศิลปกรรม ดา้ นประวตั ิศาสตร์ ดา้ นภมู ปิ ัญญา ของช่างประดิษฐเ์ รอื จวิ๋
ดา้ นศลิ ปวัฒนธรรมและดา้ นคตคิ วามเชือ่ และขนบธรรมเนียมประเพณนี ยิ ม ท้ังตอ่ ผปู้ ระดิษฐ์เรือจิว๋
และผู้ครอบครองเรือจ๋วิ ข้อดีที่พบคือ สามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพได้ และข้อจากัด คอื
ผสู้ นใจจะตอ้ งปฏิบตั ิตามหลกั สูตรท่ปี ราชญ์ผถู้ ่ายทอดกาหนดไว้เท่านนั้ 2) กระบวนการถา่ ยทอด
ภูมิปญั ญาไทยจากการประดิษฐ์เรือจ๋ิวมาจากปราชญ์ชาวบา้ นท่แี ตกฉานและมีประสบการณ์
มายาวนาน โดยมีวิธกี ารถ่ายทอดจากการคัดเลอื กผทู้ ี่สนใจจรงิ ๆ และมีคุณสมบัตติ รงตามความ
ต้องการ อาศยั ขั้นตอนการถ่ายทอดโดยการใหผ้ ู้สืบทอดได้ฝกึ ทาสว่ นตา่ ง ๆ ของเรอื ออกมาเป็น
รูปทรงท่ตี ้องการโดยให้รุน่ พีเ่ ปน็ ผคู้ อยฝกึ รุ่นน้องและปราชญ์ชาวบ้านคอยเป็นทีป่ รึกษา ยงั มีรูปแบบ
การถา่ ยทอดท่ีปราชญ์ชาวบ้านคดั เลอื กผู้มีประสบการณ์ด้านศลิ ปะงานไมโ้ ดยตรงมาเป็นผสู้ บื ทอด
และ 3) แนวทางการพัฒนาคุณค่าและกระบวนการถา่ ยทอดภูมิปัญญาไทยจากการประดิษฐ์เรอื จว๋ิ
เกย่ี วขอ้ งกบั ปจั จัยดา้ นคา่ ตอบแทน โดยสามารถขายได้ราคาสงู จากการขายตามงานแสดงสนิ คา้ ตา่ ง ๆ
ทาให้มีผู้สนใจเข้ามาศึกษามากขนึ้ รวมท้ังความภาคภมู ใิ จในผลงานทผ่ี ูผ้ ลิตเรือจ๋วิ สามารถสบื ทอด
กระบวนการผลิตไดค้ รบตามขั้นตอนจนออกมาเป็นผลงานที่สวยงาม

บทที่ ๓
วิธกี ารดาเนนิ งาน

การจดั ทาโครงการ“กระเปา๋ ใส่โทรศพั ท์พกพา (Bag for phone) ผู้จัดทาโครงการได้
ดาเนินการตามข้ันตอนดังน้ี

3.1 การวางแผน
3.2 จัดเตรยี ม วัสดุ อุปกรณ์ในการผลิตกระเป๋าใสโ่ ทรศัพท์พกพา (Bag for phone)
3.3 ข้นั ตอนการผลิตโทรศพั ท์กระเป๋าใสโ่ ทรศัพท์พกพา (Bag for phone)
3.1 การวางแผน
3.3.1 สารวจรูปแบบและลายนยิ มกระเป๋าใสโ่ ทรศัพทใ์ นท้องตลาด
3.3.2 สารวจขนาดของโทรศพั ท์มือถือรุ่นต่างๆ
3.3.3 ศึกษาและออกแบบกระเปา๋ ใส่โทรศัพทด์ ้วยผา้ ชนชนเผา่
3.2 จัดเตรยี ม วัสดุ อุปกรณ์ในการผลิตกระเปา๋ ใสโ่ ทรศพั ทพ์ กพา (Bag for phone)

3.2.1 ผ้าชนเผ่ากะเหรีย่ ง

3.2.2 ลายปักชนเผา่ อาข่า
3.2.3 ใยสังเคราะห์

3.2.4 เขม็
3.2.5 กรรไกร

3.2.6 ซิปพินลอ็ ค
3.2.7 ด้าย

3.2.8 ตีนต๊กุ แก
3.2.9 จักรเย็บผา้

บทท่ี 4
ผลการดาเนนิ งาน

การดาเนินงานตามโครงการกระเปา๋ ใส่โทรศัพท์พกพา (Bag for phone) ในคร้ังน้ี ผจู้ ัดทา
ได้วิเคราะห์เกยี่ วกับขอ้ มลู รอ้ ยละตามลาดบั ดงั นี้

4.1 การวิเคราะหข์ ้อมูลเกี่ยวกับรอ้ ยละของผตู้ อบแบบประเมิน
4.1.1 สรปุ เพศของผู้ตอบแบบประเมนิ เป็นรอ้ ยละ

เพศ จานวน รอ้ ยละ

ชาย 1 2

หญงิ 50 98

รวม 51 100

ตารางท่ี 1 แสดงจานวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบประเมนิ

จากตารางที่ 1 พบวา่ ผู้ตอบแบบประเมนิ เป็นเพศชาย จานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 2
และพบว่าผู้ตอบแบบประเมนิ เป็นเพศหญิง จานวน 50 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 98

เพศ 2%

98%

ชาย หญิง

แผนภูมิท่ี 1 แสดงเพศและรอ้ ยละของผ้ตู อบแบบประเมิน

4.1.2 สรุปผู้ประเมนิ เป็นร้อยละ

ผ้ปู ระเมนิ จานวน (คน) ร้อยละ
10
ครู อาจารย์ 5 6
84
เจ้าหน้าที่ บุคลากร 3 100

นักเรียน นักศึกษา 43

รวม 51

ตารางท่ี 2 แสดงรอ้ ยละของผตู้ อบแบบประเมิน

จากตารางที่ 2 พบว่าผู้ตอบประเมินเป็นครู อาจารย์ จานวน 5 คน เจา้ หน้าท่ี บุคลากร
จานวน 3 คน นักเรียน นกั ศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ จานวน 43 คน

ผู้ประเมิน 10%
6%

84%

ครู อาจารย์ เจ้าหน้าท่ี บคุ ลากร นกั เรียน นกั ศกึ ษา

แผนภมู ทิ ่ี 2 ผ้ปู ระเมนิ คดิ เปน็ ร้อยละ

4.2 การวิเคราะห์ความคิดเห็นของผ้ตู อบแบบประเมินท่ีมตี ่อโครงการกระเป๋าใสโ่ ทรศัพท์พกพา
(Bag for phone)

ระดับความพึงพอใจ

ลาดับ รายการ ̅ S.D การแปร
ผล

1 การถนอมรักษา ปอ้ งกันรอยขีดข่วนให้กบั โทรศัพท์ 4.65 0.59 ดีมาก

2 ลดความเสยี หายจากการทาโทรศัพท์ตกหลน่ 4.45 0.64 ดี

3 ช่วยใหก้ ารพกพาโทรศัพทม์ ีความสะดวกมากข้ึน 4.55 0.54 ดีมาก

4 รูปแบบเหมาะสมกะทดั รดั 4.43 0.73 ดี

5 ความสวยงาม ประณตี ในการตัดเยบ็ 4.53 0.61 ดมี าก

6 ความแขง็ แรง ทนทาน 4.47 0.70 ดี

7 ความคิดสรา้ งสรรค์ในการออกแบบ 4.53 0.76 ดีมาก
8 การอนรุ ักษ์งานฝีมือของภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน 4.76 0.51 ดมี าก
9 สร้างรายไดใ้ ห้กับชุมชน 4.76 0.51 ดมี าก
10 สามารถพฒั นาต่อในเชิงพาณิชย์ 4.59 0.54 ดีมาก
4.58 6.14 ดีมาก
รวม

ตารางที่ 3 แสดงค่าเฉลย่ี และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเหน็ ของผตู้ อบแบบประเมิน

จากตารางท่ี 3 พบว่า ระดบั ความพงึ พอใจของครู อาจารย์ เจ้าหน้าท่ี บุคลากรและนักเรยี น

นกั ศกึ ษาวิทยาลยั อาชวี ศึกษาเชียงใหม่ ไดร้ บั ความพึงพอใจในระดบั ดมี าก (4.58) โดยเรยี งคะแนน
ตามลาดบั ดงั นี้ การอนุรักษง์ านฝมี ือของภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน ( ̅4.76) สรา้ งรายไดใ้ ห้กับชมุ ชน
( ̅4.76) การถนอมรกั ษา ป้องกนั รอยขีดขว่ นใหก้ บั โทรศัพท์ ( ̅4.65) สามารถพฒั นาต่อในเชิง
พาณชิ ย์ ( ̅4.59) ชว่ ยให้การพกพาโทรศัพท์มีความสะดวกมากขนึ้ ( ̅4.55) ความสวยงาม ประณตี
ในการตดั เย็บ ( ̅4.53) ความคิดสร้างสรรคใ์ นการออกแบบ ( ̅4.53) ความแขง็ แรง ทนทาน
( ̅4.47) ลดความเสยี หายจากการทาโทรศัพท์ตกหล่น ( ̅4.45) รูปแบบเหมาะสมกะทัดรดั
( ̅4.43)

แสดงร้อยละความพงึ พอใจ

4.76 4.76

4.65 4.59

4.55 4.53 4.53
4.45 4.43 4.47

แผนภมู ทิ ่ี ๓ แผนภมู แิ สดงร้อยละความพงึ พอใจ

หมายเหตุ

เกณฑ์ทใ่ี ช้วเิ คราะห์ข้อมูล โดยกาหนดคา่ เป็น ๕ ระดับ ดงั น้ี
1 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดบั มากทส่ี ุด
2 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดบั มาก
3 หมายถงึ มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง
4 หมายถึง มีความพงึ พอใจในระดับน้อย
5 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจในระดบั น้อยท่สี ุด

การหาคา่ เฉล่ีย ดงั น้ี

ค่าเฉลีย่ ระดับ 4.51 – 5.00 มีความพึงพอใจมากทีส่ ุด
ค่าเฉลี่ยระดบั 3.51 – 4.50 มคี วามพงึ พอใจมาก
คา่ เฉลย่ี ระดบั 2.51 – 3.50 มีความพงึ พอใจปานกลาง
ค่าเฉลย่ี ระดบั 1.51 – 2.50 มคี วามพงึ พอใจน้อย
ค่าเฉลย่ี ระดบั 1.00 – 1.50 มีความพึงพอใจนอ้ ยท่สี ุด

บทท่ี 5
สรปุ ผล อภิปราย และขอ้ เสนอแนะ

การดาเนินโครงการกระเป๋าใส่โทรศัพท์พกพา (Bag for phone) มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อชว่ ยให้
การพกพาโทรศัพทเ์ ปน็ เร่อื งท่ีสะดวกย่งิ กวา่ เดิม ลดความสูญเสยี ของอนั ตรายท่ีจะเกดิ ขึ้น จากการทา
โทรศัพทต์ กหล่น ช่วยถนอม รกั ษาใหเ้ กิดความปลอดภยั หรือลดการสญู เสยี ท่เี กดิ จากการทาโทรศพั ท์
ตกหล่นได้มากข้ึน ผูจ้ ัดทาขอสรปุ ผลการดาเนนิ งานของโครงการ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ดังน้ี

5.1 สรปุ ผลการดาเนินงาน
5.2 อภปิ รายผล
5.3 ปญั หาและอุปสรรค
5.4 วิธีแก้ปญั หา
5.5 ขอ้ เสนอแนะ

5.1 สรุปผลการดาเนนิ งาน
จากการสอบความพึงพอใจโครงการกระเปา๋ ใสโ่ ทรศัพท์พกพา (Bag for phone)

โดยภาพรวมของความคิดเห็นจากผูต้ อบแบบสอบถาม ซง่ึ เป็นครู เจ้าหนา้ ท่ี บคุ ลากร และนกั เรียน
นักศึกษา วิทยาลยั อาชีวศึกษาเชยี งใหม่ จานวน 51 คน พบวา่ ภาพรวมคา่ เฉลีย่ อย่ใู นระดับดมี าก
คิดเป็นรอ้ ยละ (4.58) เมือ่ พิจารณาเป็นรายข้อที่ได้รบั ความพึงพอใจ โดยเรียงตามลาดับ ดังนี้
การอนรุ ักษง์ านฝมี ือของภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ (4.76) สร้างรายไดใ้ หก้ บั ชมุ ชน (4.76) การถนอมรักษา
ปอ้ งกนั รอยขีดขว่ นให้กับโทรศัพท์ (4.65) สามารถพัฒนาตอ่ ในเชงิ พาณชิ ย์ (4.59) ชว่ ยให้การพกพา
โทรศพั ท์มีความสะดวกมากขึ้น (4.55) ความสวยงาม ประณีตในการตัดเยบ็ (4.53) ความคดิ
สร้างสรรคใ์ นการออกแบบ (4.53) ความแข็งแรง ทนทาน (4.47) ลดความเสียหายจากการทา
โทรศพั ท์ตกหล่น (4.45) รูปแบบเหมาะสมกะทดั รัด (4.43)

5.2 อภิปรายผลการดาเนินงาน
จากความคิดเหน็ ของผตู้ อบแบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการกระเป๋าใส่โทรศัพท์พกพา

(Bag for phone) พบวา่ รายการหัวข้อประเมินอยู่ในระดับมากที่สุดได้แก่ การอนรุ ักษ์งานฝมี ือ
ของภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ (4.76) อาจเปน็ เพราะผ้จู ัดทาตระหนักวา่ หากปล่อยให้คุณคา่ งานฝีมือที่เปน็
เอกลักษณ์ของกลุม่ ทอผ้าชนเผา่ สืบทอดกันอยแู่ ต่ในเฉพาะกลมุ่ ในวงแคบ ภูมิปัญญาอันทรงคุณค่า
ทางวฒั นธรรมและวถิ ีชีวติ เหล่าน้กี จ็ ะคอ่ ย ๆ สูญหายไปจากการรบั รู้ของคนรุ่นใหม่ จงึ นาเอาผ้าทอ
และผ้าทมี่ ีลวดลายปักทีง่ ดงามของกลุ่มชาติพนั ธ์ุ มาปรบั ให้มีรปู แบบเปน็ สิ่งของเครอื่ งใชท้ ีส่ อดคล้อง
กับการใชง้ านในปัจจบุ ัน เช่น กระเป๋าใสโ่ ทรศพั ท์ นบั เป็นการสืบทอดและอนรุ ักษ์การใช้ผ้าชนเผา่
ใหเ้ กิดประโยชนท์ หี่ ลากหลาย และขยายวงกวา้ งออกไปในการใชง้ านผา้ เหล่านี้ ซ่ึงสอดคล้องกับ
งานวิจัยของ จนิ ตนา อนิ ภักดี (บทคดั ย่อ 2555) ได้วจิ ยั ศกึ ษาลายผ้าปักชาวเขาเผ่าอาข่า

เพ่ือถา่ ยทอดองค์ความรู้ส่ชู มุ ชนบา้ นหว้ ยโปง่ ตาบลหวั ชา้ ง อาเภอแม่แตง จงั หวัดเชยี งใหม่ โดยมี
วัตถปุ ระสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์ผ้าปกั ของชาวเขาเผา่ อาข่า บา้ นห้วยโป่ง ตาบล
บ้านช้าง อาเภอแมแ่ ตง จงั หวัดเชียงใหม่ 2) สรา้ งคู่มือลวดลายผา้ ปกั ชาวเขาเผา่ อาข่าบา้ นหว้ ยโปง่
ตาบลบา้ นช้าง อาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ และ 3) ถา่ ยทอดองค์ความรู้เกย่ี วกับลวดลายผ้าปัก
ชาวเขาเผา่ อาขา่ ส่ชู มุ ชนบ้านห้วยโป่ง ตาบลบา้ นชา้ ง อาเภอแม่แตง จงั หวดั เชยี งใหม่ ประชากรและ
กลุ่มตวั อย่างท่ใี ช้ในการวจิ ยั คือ 1) กล่มุ ชาวบา้ น บ้านหว้ ยโป่ง ตาบลบา้ นช้าง อาเภอแมแ่ ตง จังหวดั
เชียงใหม่ โดยเลอื กกลุ่มตวั อย่างแบบเจาะจง เฉพาะผู้ที่มคี วามร้เู รื่องลวดลายผ้าปัก จานวน 30 คน
2) ผเู้ ช่ยี วชาญในการประเมนิ คมู่ อื ลวดลายผา้ ปกั ชาวเขาอาขา่ จานวน 3 คน 3) กลุม่ ชาวบ้าน
บา้ นห้วยโปง่ ตาบลบ้านชา้ ง อาเภอแม่แตง จังหวัดเชยี งใหม่ โดยมุง่ ศึกษาที่กลุ่มสตรี ครู และนักเรียน
ประจาโรงเรยี นในพื้นท่ี เพ่ือถ่ายทอดองค์ความรู้เก่ียวกบั ลวดลายผา้ ปักชาวเขาเผ่า อาข่าสู่ชมุ ชน
จานวน 30 คน เครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย ได้แก่ แบบสอบถามความพงึ พอใจ วเิ คราะห์ข้อมลู โดยหา
คา่ เฉลี่ย และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน สว่ นข้อมูลเชงิ คณุ ภาพใชก้ ารวิเคราะหเ์ น้ือหา ผลการวจิ ยั พบว่า
ลวดลายผ้าปกั ที่เปน็ เอกลกั ษณ์ของชาวอาข่าแบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท ได้แก่ ลายพนื้ ฐาน ลายปักแบบ
ดง้ั เดิม และลายปักแบบประยุกต์ ซง่ึ ลายพ้นื ฐานเปน็ ลายปักสาหรับผู้ที่ฝกึ หดั ปกั ผา้ ขน้ั ต้นท่จี าเปน็ ต้อง
เรียนรู้ ไดแ้ ก่ ลายเส้นตรง ลายกากบาท ลายก้างปลา ลายซกิ แซกรูปสามเหลยี่ มชข้ี ึ้น และลายซิกแซ
กรูปสามเหล่ยี มช้ีลง สว่ นลายปักแบบด้ังเดิม เปน็ ลวดลายท่ีได้สืบทอดวธิ ีการปกั มาจากบรรพบรุ ุษ
ไดแ้ ก่ ลายปีกผีเส้ือ ลายปกี ผเี ส้ือข้างเดียว และลายหนวดผเี สือ้ ซึง่ กล่มุ ลายประเภทนใี้ ชเ้ ทคนิคการปัก
เฉพาะ

สว่ นรายการประเมินที่ได้รับความพงึ พอใจในลาดับต่อมาคือ สร้างรายได้ให้กบั ชุมชน (4.76)
อาจเปน็ เพราะผจู้ ดั ทาไดน้ าเอาผา้ ชนเผ่ามาพฒั นาต่อยอดจากผนื ผ้าธรรมดาทีต่ ัดเย็บและใชก้ นั อยู่
เฉพาะกลุ่ม นามาดัดแปลง คิดสร้างสรรค์ เปน็ กระเป๋าใส่โทรศัพทท์ ีส่ ามารถเข้าถงึ วิถชี ีวิตและ
การใช้งานของผูค้ นในยุคปัจจุบันได้อย่างเหมาะสม คาดวา่ หากมกี ารดาเนนิ การอยา่ งต่อเนอื่ ง อาจ
ส่งผลให้เกดิ ความต้องการผา้ ชนเผ่าและผ้าปกั ที่มลี วดลายสวยงามในท้องตลาดมากขน้ึ ซง่ึ จะนาไปสู่
รายได้ทจี่ ะกระจายเขา้ ไปสชู่ ุมชน และสร้างความภาคภมู ิใจ ในฝีมอื แรงงานท้องถ่นิ ควบคู่กันไป
อกี ด้วย ซง่ึ สอดคล้องกับงานวิจยั ของ พชิ ติ ชยั รัชตามพร (บทคดั ย่อ 2553) การศึกษาวิจัยเรือ่ ง
คณุ คา่ และกระบวนการถา่ ยทอดภมู ิปญั ญาไทยจากการประดิษฐเ์ รอื จว๋ิ ในเขตพนื้ ทภ่ี าคกลาง เป็นการ
วจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ มีวตั ถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาคุณคา่ ของภูมิปัญญาไทย ข้อดีและขอ้ จากดั ของการ
ประดิษฐ์เรือจวิ๋ 2) เพ่ือศกึ ษากระบวนการถา่ ยทอดภูมิปญั ญาไทย วิธกี ารถา่ ยทอด ขน้ั ตอนการ
ถา่ ยทอดและรปู แบบการถ่ายทอดการประดิษฐ์เรือจ๋วิ และ 3) เพ่อื หาแนวทาง การพฒั นาคณุ ค่าและ
กระบวนการถา่ ยทอดภูมิปญั ญาไทยจากการประดษิ ฐ์เรือจิ๋ว ประชากรท่ใี ช้ ในการศกึ ษาการวิจัยคร้งั นี้
ประกอบดว้ ยผ้ใู หข้ ้อมลู หลกั สองกลุม่ ได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้าน จานวน 3 ท่าน และผู้ทีไ่ ด้รับการ
ถ่ายทอดภมู ิปัญญาชาวบา้ น จานวน 7 ท่าน วิธีการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ประกอบด้วยการสัมภาษณ์
แบบหยั่งลึกและการสนทนากลุ่ม และวเิ คราะห์ขอ้ มูล ด้วยการวเิ คราะหเ์ น้ือหา ผลการศึกษาพบว่า
1) คณุ ค่าของภมู ปิ ัญญาไทยจากการประดิษฐ์เรือจว๋ิ ประกอบด้วย 5 ดา้ น คือ ด้านความสวยงาม
ด้านศลิ ปกรรม ด้านประวตั ิศาสตร์ ด้านภูมิปญั ญา ของช่างประดษิ ฐ์เรอื จิ๋ว ด้านศิลปวัฒนธรรมและ
ด้านคตคิ วามเช่ือ และขนบธรรมเนยี มประเพณนี ยิ ม ทงั้ ต่อผูป้ ระดษิ ฐ์เรือจิ๋วและผคู้ รอบครองเรือจิ๋ว

ข้อดีท่ีพบคอื สามารถนาความร้ไู ปประกอบอาชีพได้ และข้อจากัด คือ ผู้สนใจจะต้องปฏิบัตติ าม
หลกั สูตรที่ปราชญ์ ผู้ถ่ายทอดกาหนดไวเ้ ทา่ นนั้ 2) กระบวนการถา่ ยทอดภูมปิ ัญญาไทยจากการ
ประดิษฐ์เรือจ๋ิวมาจากปราชญ์ชาวบา้ นที่แตกฉานและมปี ระสบการณ์มายาวนาน โดยมวี ิธกี าร
ถ่ายทอดจากการคดั เลือกผูท้ ่ีสนใจจรงิ ๆ และมีคุณสมบัตติ รงตามความต้องการ อาศัยข้ันตอนการ
ถ่ายทอดโดยการให้ผ้สู บื ทอดไดฝ้ ึกทาสว่ นต่าง ๆ ของเรอื ออกมาเปน็ รูปทรงทต่ี อ้ งการโดยให้รุ่นพีเ่ ปน็
ผคู้ อยฝกึ รุ่นน้องและปราชญ์ชาวบา้ นคอยเป็นท่ปี รกึ ษา ยังมีรูปแบบการถ่ายทอดที่ปราชญช์ าวบา้ น
คัดเลือกผู้มีประสบการณ์ดา้ นศิลปะงานไมโ้ ดยตรงมาเป็นผู้สบื ทอด และ 3) แนวทางการพัฒนาคณุ คา่
และกระบวนการถ่ายทอด ภูมิปญั ญาไทยจากการประดิษฐ์เรือจิ๋ว เก่ยี วข้องกบั ปัจจยั ดา้ นคา่ ตอบแทน
โดยสามารถขายได้ราคาสูงจากการขายตามงานแสดงสนิ คา้ ตา่ ง ๆ ทาใหม้ ีผู้สนใจเข้ามาศึกษามากขน้ึ
รวมท้งั ความภาคภูมิใจในผลงานท่ผี ู้ผลติ เรือจวิ๋ สามารถสบื ทอดกระบวนการผลิตได้ครบตามขน้ั ตอน
จนออกมาเป็นผลงานทส่ี วยงาม

5.3 ปญั หาและอุปสรรค
5.3.1 ผ้จู ัดทาใหช้ า่ งเย็บผ้าทดลองตัดเยบ็ ให้ 1 ช้ิน ปรากฏว่าเยบ็ ยาก เขม็ จักรไม่สามารถ

เยบ็ ได้ อาจเป็นเพราะใยสังเคราะหท์ ีม่ ีความหนา และทาให้ตัวกระเปา๋ ไมเ่ รยี บ
5.3.2 จากขัน้ ตอนแรกทผ่ี ู้จัดทาไดเ้ ลือกใชผ้ ้าพื้นเมืองที่ขายตามท้องตลาดมาประกอบเปน็

ตวั กระเป๋าน้นั พบวา่ ผ้าพน้ื เมืองกับผา้ ปักอาขา่ มีลักษณะเนื้อผา้ ตา่ งกัน เนื้อผา้ อาขา่ มคี วามหนากว่า
เน้อื ผ้าพื้นเมอื ง สง่ ผลใหช้ น้ิ งานขาดความสวยงาม ประณตี เท่าที่ควร

5.4 วิธีแกไ้ ขปัญหา
5.4.1 ผู้จดั ทาได้เปล่ยี นใยสังเคราะห์ท่ีมีขนาดบางลง และเพ่ิมความหนาของผ้าซบั ขา้ งใน

กระเปา๋ ใหม้ ีความหนาแทน เพือ่ ให้เย็บได้และมีความเรยี บเสมอกัน
5.4.2 ผูจ้ ัดทาไดป้ รึกษาช่างตัดเยบ็ ช่างตดั เยบ็ ได้นาเสนอเศษผ้าทม่ี ีในรา้ น ผูจ้ ดั ทา

จงึ ปรบั เปลีย่ นเป็นผ้ากระโปรงกระเหรี่ยงท่เี หลอื จากการตัดเย็บของทางร้าน นามาดัดแปลงเป็น
กระเปา๋ ใส่โทรศัพท์ แทนผา้ พื้นเมือง สว่ นผ้าพ้นื เมืองท่ีเหลอื จงึ ทาเปน็ ผา้ ซับข้างในโทรศัพท์

5.5 ขอ้ เสนอแนะ
5.5.1 ช้ินงานกระเป๋าใส่โทรศพั ท์ ควรเพมิ่ ความยาวของตีนตุ๊กแก เพือ่ ใหป้ ิดผ้าให้

สนิทยงิ่ ขึ้นและเพ่ือใหม้ ีการพัฒนาโครงการต่อไป
5.5.2 ควรสืบคน้ ข้อมูล เพ่ือหาแนวคดิ ในการออกแบบชน้ิ งาน จากหลาย ๆ ชอ่ งทาง เชน่

อนิ เทอร์เน็ต ตาราการออกแบบ

บรรณานกุ รม

ความหมายของสิ่งประดิษฐ์ (ระบบออนไลน)์ เขา้ ถึงได้จาก https://sites.google.com
สบื ค้นเมอ่ื วันที่ 28 ธนั วาคม 2563

โทรศพั ท์มอื ถือ (ระบบออนไลน์) เข้าถงึ ไดจ้ าก https://th.wikipedia.org/
สบื ค้นเมื่อวนั ที่ 28 ธันวาคม 2563

ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ (Local wisdom) (ระบบออนไลน)์ เข้าถึงได้จาก http://biodiversity.forest.go.th/
สืบค้นเมือ่ วันที่ 28 ธนั วาคม 2563

ความรเู้ กย่ี วกับการทอผา้ ชนเผา่ (ระบบออนไลน์) เข้าถึงได้จาก https://www.sacict.or.th/
สืบค้นเม่ือวันท่ี 28 ธนั วาคม 2563

ภาคผนวก ก

แบบนาเสนอขออนมุ ัตโิ ครงการวิชาชพี
วิทยาลยั อาชีวศึกษาเชียงใหม่

รายวชิ า โครงการ รหสั วชิ า 3216-8501 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2562
ชอื่ โครงการ กระเป๋าใส่โทรศัพท์พกพา (Bag for phone)
ระยะเวลาดาเนินงาน ต้งั แตว่ ันท่ี 15 ตลุ าคม 2562 ถงึ วันที่ 31 มกราคม 2563
สถานที่ดาเนนิ งาน เลขที่ 122/5 เออ้ื งผึง้ คอรท์ ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชยี งใหม่
50200
ประมาณการคา่ ใชจ้ ่าย 500 บาท
คณะผ้จู ัดทาโครงการ นกั ศึกษาระดับชัน้ ปวส.2/7 สาขาวชิ าการจดั การสานักงาน

1. นางสาวกญั ญา ศกั ดค์ิ งนนั ทกุล
2. นางสาวเกศินี อัศววราการ

ลงชอ่ื ........................................หวั หนา้ โครงการ
(นางสาวเกศนิ ี อัศววราการ)

.............../......................../..................

ความเหน็ ของอาจารย์ประจาวชิ าโครงการ
......................................................................................................

ลงช่ือ
(นางอรนิ ทยา ใจเอ)

แบบเสนอโครงการ

1. ชื่อโครงการ กระเป๋าใสโ่ ทรศพั ทพ์ กพา (Bag for phone)
2. ผจู้ ัดทาโครงการ

1. นางสาวกัญญา ศกั ดคิ์ งนันทกลุ ระดบั ช้นั ปวส. 2/7 สาขาวิชาการจดั การสานักงาน
2. นางสาวเกศินี อัศววราการ ระดบั ชน้ั ปวส. 2/7 สาขาวชิ าการจดั การสานกั งาน

3. ครทู ่ปี รกึ ษาโครงการ ครูอรนิ ทยา ใจเอ
4. ความเป็นมาและความสาคญั ของโครงการ

ภมู ิปญั ญาชนเผา่ เปน็ องค์ความรู้ของชาวบา้ นหรือสง่ิ ท่ีกระทาข้ึนจากสตปิ ัญญา
ความรู้ ความสามารถ เดิมมีการถ่ายทอดเฉพาะในกลุ่มชนเผ่าไม่วา่ จะเป็น พธิ กี รรม ประเพณี
การแตง่ กายและทส่ี าคัญคือการเยบ็ ปกั ถักร้อย ในยุคสมัยก่อนจาเปน็ อย่างยงิ่ ท่ีผู้หญงิ ทุกคนต้อง
เย็บปกั ถักรอ้ ยเปน็ ซึ่งถือเป็นงานศิลปะแขนงหนง่ึ ของกุลสตรี จึงถูกสืบทอดจากรนุ่ สรู่ ่นุ จนถงึ
ปัจจบุ ันนี้ โดยผา้ ชนเผา่ น้ันจะมลี วดลายตา่ ง ๆ ทส่ี วยงาม ประณีต เปน็ ผา้ ที่มีเอกลกั ษณ์เฉพาะตัว
คอื เส้นใยหนา แขง็ แรง มีความทนทาน ไม่มีการตกสี นอกจากนี้ยงั เป็นทนี่ ยิ มของชาวต่างชาติ
เพราะมลี วดลายทสี่ วยงามและแปลกตา แตค่ นไทยส่วนน้อยทรี่ ู้จักและใหค้ วามสนใจผา้ ชนเผา่
จงึ อยากเผยแพร่และใหเ้ ป็นที่รู้จกั มากขน้ึ

โทรศพั ท์มือถือ เป็นเคร่อื งมอื อุปกรณ์ติดต่อส่ือสารท่มี ีความสาคัญในชีวิตอย่างยิ่ง
ของผคู้ นในยุคสมยั ปัจจุบัน คนส่วนใหญ่แทบทุกคนตา่ งก็มโี ทรศพั ทม์ ือถือเป็นของตัวเอง มกี ารใช้
งานท่แี พรห่ ลาย มกี ารใชง้ านทกุ เพศ ทกุ วัย ต้งั แตเ่ ดก็ จนกระท่ังผใู้ หญ่ ปัญหาในการพกพา
โทรศพั ท์จึงเกดิ ขึน้ ไม่วา่ จะเป็นรอยขดี ข่วน หรอื ตกหล่น สูญหาย เม่ือโทรศัพท์มือถือนั้น เป็นสง่ิ
สาคญั และจาเป็นตอ่ การใช้ชีวิตในทุก ๆ วัน ของผู้คน ดงั ที่กลา่ วมาแล้ว กระเปา๋ ใสโ่ ทรศัพท์ จงึ
เป็นสิ่งสาคญั อย่างหน่งึ ท่ีชว่ ยให้การพกพาโทรศัพทเ์ ป็นเรอื่ งทส่ี ะดวกยิง่ กวา่ เดิม ชว่ ยถนอม รักษา
ให้เกิดความปลอดภยั หรอื ลดการสูญเสียท่เี กดิ จากการทาโทรศพั ท์ตกหลน่ ไดม้ ากข้ึน

ดงั นั้น คณะผู้จัดทาจึงไดจ้ ดั ทาโครงการกระเปา๋ โทรศัพท์พกพา โดยนาวสั ดผุ า้ ชนเผ่า
ทีม่ คี วามที่มคี วามงดงาม แปลกตา มาตกแตง่ เพื่อให้เกิดความสวยงาม ลดความสญู เสียของ
อันตรายท่จี ะเกดิ ขนึ้ จากการทาโทรศพั ทต์ กหล่น รวมทั้งเป็นแนวทางในการสรา้ งรายได้ให้กับ
ชมุ ชนอีกทางหนึ่ง

5. วตั ถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อปอ้ งกนั การทาโทรศัพท์ตกและเกดิ รอยขีดข่วน
2. เพ่อื เปน็ แนวทางในการสร้างรายไดใ้ ห้กับชมุ ชน
3. เพอ่ื เปน็ การรกั ษาเอกลักษณก์ ารปักผ้าของชนเผา่

6. ขอบเขตโครงการ
เป้าหมายของโครงการ

6.1 เชิงปรมิ าณ กระเปา๋ ใส่โทรศพั ท์ จานวน 6 ใบ
6.2 เชงิ คุณภาพ กระเปา๋ ใสโ่ ทรศัพท์ สามารถป้องกนั การทาโทรศพั ท์ตกหล่น
ไม่หลน่ แตกงา่ ย เกดิ ความเสยี หายน้อยลง มีความสวยงามลวดลายแปลกตา
6.3 ระยะเวลาและสถานท่ีในการดาเนินงาน
ระยะเวลาดาเนนิ งาน ตั้งแตว่ ันที่ 15 ตลุ าคม 2562 ถึง 31 มกราคม 2563
สถานท่ดี าเนนิ งาน เลขท่ี 122/5 เอื้องผงึ้ คอรท์ ต.พระสงิ ห์ อ.เมอื ง จ.เชียงใหม่
50200
7. ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รับ
1. ชว่ ยปอ้ งกนั การทาโทรศัพท์ตกและเกิดรอยขีดข่วน
2. เป็นแนวทางในการสร้างรายได้ในชมุ ชนจากการผลติ กระเปา๋ ใสโ่ ทรศัพท์
3. ชว่ ยในการสบื ทอดเอกลักษณข์ องผ้าชนเผา่
4. สะดวกในการพกพาและทาให้โทรศัพท์เกิดความเสยี หายนอ้ ยลง

8. นิยามศพั ท์
กระเป๋าใส่โทรศัพท์มือถอื คือกระเป๋าทีช่ ว่ ยป้องกนั การตกหล่นหรือทาให้เกิดรอยขีดข่วน

ต่างๆ จากการใช้งาน ลดการเสยี หายของโทรศัพท์ที่อาจจะเกดิ ขึ้นโดยไมค่ าดคดิ และมคี วามสะดวก
ในการพกพาโทรศัพท์มือถือมากย่งิ ข้นึ

โทรศพั ทม์ ือถอื คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีใชใ้ นการส่ือสารสองทางผ่าน โทรศัพท์มอื ถอื ใช้
คลนื่ วทิ ยุในการตดิ ต่อกับเครือขา่ ยโทรศัพท์มือถอื โดยเครือขา่ ยของโทรศัพท์มือถือ แต่ละผู้ให้บริการ
จะเชอื่ มต่อกบั เครือข่ายของโทรศัพทบ์ ้านและเครือข่ายโทรศัพท์มือถือของผู้ใหบ้ รกิ ารอ่นื
โทรศัพท์มือถอื ท่ีมีความสามารถเพ่มิ ขนึ้ ในลกั ษณะคอมพิวเตอร์พกพาจะถูกกลา่ วถึงในชื่อสมารต์ โฟน

ผา้ ชนเผา่ ผา้ ชนเผ่าจากอาขา่ ส่วนมากเปน็ ผา้ ทม่ี ีการเยบ็ และปักไม่วา่ จะเป็นเสื้อผ้าหรือ
กระเปา๋ การเย็บเสื้อหรือกระเปา๋ อาขา่ น้นั เพื่ออนุรักษ์วฒั นธรรมของชนเผา่ ไว้เพื่อให้ชนเผ่าอืน่ ไดเ้ ห็น
ความสวยงามศลิ ปะการเยบ็ ลายอาขา่ และยังปลูกจติ สานกึ ใหล้ กู หลานได้สืบทอดต่อไปไม่ใหศ้ ลิ ปะการ
เย็บอนั สวยงามของ อาขา่ นัน้ หายไป

9. วิธดี าเนินโครงการ
1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
2. จดั เตรียมวางแผนทาโครงการ
3. ดาเนินการตามโครงการ
4. ประเมินผลประสิทธิภาพความพึงพอใจ
5. สรุปและรายงานผล

10. แผนดาเนินโครงการ

ลาดับขนั้ ตอน ระยะเวลาดาเนนิ การ (สปั ดาห์ที่ 1- 18 )
ดาเนินงาน
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

1. เสนอโครงการ
เพอื่ ขออนมุ ตั ิ
2. จัดเตรียม
วางแผนทา
โครงการ
3. ดาเนนิ การตาม
โครงการ

4. สรุปและ
รายงานผล

11. งบประมาณและทรัพยากร จานวน 500 บาท

11.1 รายรบั จานวน 250 บาท

รายรับจากสมาชิกกลมุ่ จานวน 2 คน คนละ 250 บาท รวมเป็นเงิน 500 บาท

11.2 รายจา่ ย

1. วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครอ่ื งใช้

รายละเอยี ด ดังนี้

ผ้า 300 บาท

คา่ เย็บซปิ 100 บาท

ซิป ตีนตุ๊กแก 100 บาท

รวมงบประมาณ 500 บาท

( หา้ รอ้ ยบาทถว้ น )

12. การตดิ ตามประเมนิ ผล

ตัวช้ีวัดผลสาเรจ็ วธิ ีการประเมิน เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ประเมิน
แบบบนั ทกึ
-เชงิ ปริมาณ นบั จานวน
กระเป๋าใส่โทรศพั ท์ จานวน 6 ใบ แบบสอบถามความพงึ
สอบถามความ พอใจ
-เชิงคณุ ภาพ คดิ เหน็
กระเป๋าใส่โทรศพั ท์ สามารถปอ้ งกนั การทา
โทรศพั ท์ ตกหล่น ไม่หลน่ แตกง่าย เกิดความ
เสียหายน้อยลง มีความสวยงาม ลวดลายแปลกตา

13. เอกสารอา้ งอิง

https://ammpachareeporn.wordpress.com

ภาคผนวก ข

แบบบนั ทึกโครงการ
การรบั มอบกระเปา๋ ใสโ่ ทรศพั ท์พกพา (Bag for phone)

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่

ลาดบั ที่ ช่อื -สกุล ลายเซน็ หมายเหตุ
1
2
3
4
5
6

แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
โครงการกระเป๋าใส่โทรศพั ทพ์ กพา (Bag for phone)

คาชีแ้ จง แบบประเมนิ นีส้ าหรับผูท้ ดลองใชง้ านกระเปา๋ ใสโ่ ทรศพั ท์พกพา (Bag for phone)

มีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อศกึ ษาความพงึ พอใจของผูใ้ ช้งานต่อประสทิ ธภิ าพของ

กระเปา๋ ใสโ่ ทรศัพท์พกพา (Bag for phone)

แบบสอบถามน้ีมี 3 ตอน ประกอบด้วย

ตอนที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบประเมิน

ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจของผตู้ อบแบบประเมนิ

ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ

ตอนที่ 1 ข้อมลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน

คาชแ้ี จง โปรดเติมเครื่องหมาย  ลงใน □ ให้สมบูรณค์ รบถว้ นตามความเปน็ จริง

1. เพศ □ ชาย □ หญงิ

2. สถานภาพ □ ครู □ เจ้าหนา้ ท/ี่ บุคลากร □ นักเรียน/นกั ศึกษา

ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจของผ้ตู อบแบบประเมิน

คาชีแ้ จง โปรดใสเ่ คร่ืองหมาย  ในชอ่ งท่ตี รงกับความคิดเห็นของท่าน

ระดบั ความพงึ พอใจ 5 = มากทส่ี ดุ 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = นอ้ ยที่สุด

ข้อ รายการ ระดบั ความคิดเหน็
(5) (4) (3) (2) (1)
1 การถนอมรกั ษา ปอ้ งกนั รอยขีดขว่ นใหก้ บั โทรศัพท์
2 ลดความเสียหายจากการทาโทรศัพทต์ กหล่น
3 ช่วยให้การพกพาโทรศัพท์มีความสะดวกมากขึ้น
4 รูปแบบเหมาะสมกะทัดรัด
5 ความสวยงาม ประณตี ในการตัดเย็บ
6 ความแขง็ แรง ทนทาน
7 ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ
8 การอนุรักษ์งานฝีมือของภูมปิ ัญญาท้องถิ่น
9 สรา้ งรายได้ใหก้ ับชุมชน
10 สามารถพัฒนาต่อในเชงิ พาณิชย์

ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................

ขอขอบคุณในความร่วมมือ

แบบประเมินความพึงพอใจ
โครงการกระเป๋าใส่โทรศัพท์พกพา (Bag for pone)

ภาคผนวก ค







ชือ่ – สกุล ประวตั ิสว่ นตัว
ช่อื โครงการ
สาขาวิชา นางสาวกัญญา ศกั ดิ์คงนนั ทกุล ช่ือเล่น ออม
ประเภทวชิ า โครงการกระเปา๋ ใส่โทรศัพท์พกพา (Bag for phone)
การจัดการสานักงาน
บรหิ ารธุรกิจ

ประวตั ิส่วนตัว เกิดวันท่ี 2๖ มกราคม 2542
ท่ีอยู่ 15 ม.๘ ต.ปางหินฝน อ.แมแ่ จ่ม จ.เชียงใหม่ 50๒๗0

ประวตั กิ ารศึกษา ปี 2559 ม.6 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑
ปี 2563 กาลงั ศกึ ษาประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) สาขาวิชาการ
จัดการสานกั งาน วิทยาลยั อาชีวศึกษาเชยี งใหม่

ประวัตสิ ว่ นตวั

ช่ือ – สกลุ นางสาวเกศนิ ี อัศววราการ ชอ่ื เลน่ กีตา้ ร์
ช่อื โครงการ
สาขาวิชา โครงการกระเปา๋ ใส่โทรศัพท์พกพา (Bag for phone)
ประเภทวิชา
การจดั การสานักงาน

บรหิ ารธรุ กิจ

ประวตั ิสว่ นตวั เกิดวันที่ 13 มีนาคม 2543
ทอ่ี ยู่ 19 ม.8 ต.เมืองแหง อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม่ 50350

ประวตั ิการศึกษา ปี 2559 ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) สาขาวชิ าการบัญชี
วทิ ยาลัยสารพดั ช่างเชยี งใหม่
ปี 2563 กาลงั ศกึ ษาประกาศนียบัตรวชิ าชีพชน้ั สูง (ปวส.) สาขาวิชาการ
จัดการสานกั งาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่


Click to View FlipBook Version