The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การถ่ายภาพเพื่อประชาสัมพันธ์ของกองช่างเทศบาลบางพลีน้อย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by comm, 2021-03-29 23:38:02

การถ่ายภาพเพื่อประชาสัมพันธ์ของกองช่างเทศบาลบางพลีน้อย

การถ่ายภาพเพื่อประชาสัมพันธ์ของกองช่างเทศบาลบางพลีน้อย

การถ่ายภาพ
เพื อประชาสัมพั นธ์
ของกองช่างเทศบาล

บางพลีน้อย

สา ขา กา รโ ฆษณา คณะ นิ เ ทศศา สตร์
มหา วิ ทยา ลั ยศรี ปทุ ม วิ ทยา เ ขตชลบุ รี

ปกา รศึ กษา 2562

กิ จจา เผื อกนวม

SPU CHONBURIการถ่ายภาพเพ่ือประชาสัมพนั ธ์ของกองช่างเทศบาลบางพลนี ้อย
PHOTOGRAPHY FOR PUBLIC RELATIONS OF THE DIVISION OF

PUBLIC WORK OF BANGPHLINOI MUNICIPALITY

กจิ จา เผือกนวม
KITCHA PHUAKNUAM
รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศึกษา

สาขาการโฆษณา
คณะนิเทศศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม วทิ ยาเขตชลบุรี
ปี การศึกษา2562

SPU CHONBURIการถ่ายภาพเพื่อประชาสัมพนั ธ์กองช่างเทศบาลบางพลนี ้อย
PHOTOGRAPHY FOR PUBLIC RELATIONS OF THE DIVISION OF

PUBLIC WORK OF BANGPHLINOI MUNICIPALITY

กจิ จา เผือกนวม
KITCHA PHUAKNUAM
ปฎบิ ัตงิ าน ณ เทศบาลบางพลนี ้อย
เลขท่ี: 1/1 หมู่ 2 ต.บางพลนี ้อย อ.บางบ่อ จ.สมทุ รปราการ 10560

I

ช่ือหวั ขอ้ การถ่ายภาพเพ่ือการประชาสมั พนั ธ์ของกองช่างเทศบาลตาํ บลบางพลีนอ้ ย
PHOTOGRAPHY FOR PUBLIC RELATIONS OF THE DIVISION OF
ช่ือนกั ศึกษา PUBLIC WORK OF BANGPHLINOI MUNICIPALITY
สาขาวชิ า นายกิจจา เผือกนวม
คณะ การโฆษณา

นิเทศศาสตร์

คณะกรรมการสอบโครงงานสหกิจศึกษา
...................................................................................อาจารยท์ ี่ปรึกษาสหกิจศึกษา
( ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ ราพร ดาํ จบั )
SPU CHONBURI
...................................................................................คณะกรรมการสอบ
( ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินวฒั น์ ประยรู รัตน์ )

....................................................................................คณะกรรมการสอบ
( อาจารยท์ ิพยส์ ุคนธ์ เพชรโอภาส )

คณะนิเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม วทิ ยาเขตชลบุรี อนุมตั ิใหร้ ายงานปฏิบตั ิงาน
สหกิจศึกษาเป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ าสหกิจศึกษา

…….…………………………………………………………..รองคณบดีคณะนิเทศศาสตร์
(รองศาสตราจารย์ ดร.เยาวนารถ พนั ธุ์เพง็ )
วนั ที่ ...........เดือน.................พ.ศ. 2563

II
วนั ท่ี 8 พฤษภาคม 2563
เรื่อง ขอส่งรายงานการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา
เรียน อาจารยท์ ี่ปรึกษาสหกิจ สาขาวชิ าการโฆษณา
( ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ ราพร ดาํ จบั )
ตามที่กระผม นายกิจจา เผือกนวม นักศึกษาสาขาวิชาการโฆษณา คณะนิเทศศาสตร์
มหาวิทยาลยั ศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี ไดป้ ฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา ระหวา่ ง วนั ที่ 13 มกราคม2563 ถึง
วนั ท่ี 8 พฤษภาคม 2563 ในตาํ แหน่ง ช่างภาพ ณ เทศบาลตาํ บลบางพลีนอ้ ย และไดร้ ับมอบหมายให้
นาํ เสนอรายงานหวั ขอ้ การถ่ายภาพและการคดั เลือกภาพของกองช่างเทศบาลตาํ บลบางพลีนอ้ ย
บดั น้ีการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษาไดส้ ิ้นสุดลงแลว้ จึงขอส่งรายงานการปฏิบตั ิงานสหกิจ
ศึกษา ดงั กล่าวจาํ นวน 1 เล่ม เพ่อื ขอรับคาํ ปรึกษาตอ่ ไป
จึงเรียนมาเพือ่ โปรดพิจารณา

ขอแสดงความนบั ถือ
(นายกิจจา เผอื กนวม)
SPU CHONBURI

IV

หวั ขอ้ สหกิจศึกษา การถ่ายภาพประชาสมั พนั ธ์ของกองช่างเทศบาลตาํ บลบางพลีนอ้ ย
ชื่อนกั ศึกษา นาย กิจจา เผอื กนวม
อาจารยท์ ่ีปรึกษา ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ ราพร ดาํ จบั

หลกั สูตร นิเทศศาสตรบณั ฑิต

สาขาวชิ า การโฆษณา

พ.ศ. 2563

SPU CHONBURI
บทคดั ย่อ

จากการดาํ เนินโครงงานเรื่อง การถ่ายภาพเพอ่ื ประชาสมั พนั ธ์ของกองช่างเทศบาลตาํ บล
บางพลีนอ้ ย ในระยะเวลา 4 เดือน ต้งั แต่วนั ท่ี 13 มกราคม 2562 ถึง 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ผจู้ ดั ทาํ
โครงงานไดร้ ับมอบหมายใหถ้ ่ายชิ้นงานจาํ นวน 10 ชิ้นงานมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือศึกษาข้นั ตอนการถ่าย
ของกองช่างเทศบาลบางพลีนอ้ ยและเพอ่ื ศึกษาข้นั ตอนการคดั เลือกภาพของกองช่างเทศบาลบางพลี
นอ้ ยการถ่ายภาพเพอ่ื ประชาสัมพนั ธ์ของกองช่างเทศบาลบางพลีนอ้ ย ไดน้ าํ เทคนิคการถ่ายภาพ มา
ใชป้ ระกอบในการถ่ายภาพเพ่ือใหไ้ ดภ้ าพท่ีสวยและเป็นภาพท่ีบอกเร่ืองราวตา่ ง ๆ การถ่ายภาพที่
ถ่ายมาจะส่งมอบใหค้ ุณ ฐิติณฐั รุจิโกไศยตาํ แหน่งนายช่างโยธารชาํ นาญการ รักษาการแทน
ผอู้ าํ นวยการกองช่างเพ่ือท่ีจะนาํ รูปไปทาํ รายงานช่างเสนอคณะกรรมการ จากการถ่ายภาพพบวา่
ส่วนใหญจ่ ะเป็ นการถ่ายภาพบุคคล เนน้ ไปท่ีบรรยากาศโดยรอบ เพ่ือท่ีจะใหเ้ ห็นกิจกรรมที่กาํ ลงั ทาํ
อยนู่ ้นั เป็ นจุดเด่นและภาพของการก่อสร้างทาํ ใหไ้ มส่ ามารถเซ็ตทา่ ทางก่อนถ่ายไดผ้ ถู้ ่ายภาพจึงตอ้ ง
อาศยั จงั หวะในการถ่ายเป็นอยา่ งยง่ิ

ปัญหาและอุปสรรคที่พบ คือ ในการถ่ายภาพของกองช่างเทศบาลตาํ บลบางพลีนอ้ ยไม่
สามารถถ่ายไดท้ ุกการก่อสร้าง เน่ืองจากมีการก่อสร้างในหลายพ้นื ท่ีในวนั เดียวกนั และไม่สามารถ
ถ่ายภาพไมไ่ ดต้ ามมุมท่ีตอ้ งเน่ืองจากเป็ นการก่อสร้างทาํ บางสถานท่ีไมอ่ าํ นวย วธิ ีแกไ้ ขคือช่างภาพ
ควรศึกษาสถานท่ีของส่ิงก่อสร้าง เพือ่ ท่ีจะไดจ้ ดั เตรียมพร้อมในการถ่ายภาพและหามุมกลอ้ งและ
เตรียมอุปกรณ์ใหพ้ ร้อม

III

กติ ตกิ รรมประกาศ

การท่ีกระผม ไดม้ าปฏิบตั ิงานตามโครงการสหกิจศึกษา ณ เทศบาลบางพลีนอ้ ย ต้งั แต่
วนั ท่ี 13 มกราคม ถึงวนั ที่ 8 พฤษภาคม 2563 ทาํ ใหก้ ระผมไดร้ ับความรู้และประสบการณ์มากมาย
ในการทาํ งานจริงรวมท้งั ทกั ษะในการทาํ งานดา้ นต่างๆ ท่ีมีคุณค่า สําหรับรายงานสหกิจฉบบั น้ี
สาํ เร็จลงไดด้ ว้ ยดี เน่ืองจากการสนบั สนุนและความร่วมมือจากหลายฝ่ าย ดงั น้ี
1. ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ ราพร ดาํ จบั อาจารยค์ ณะนิเทศศาสตร์
นายช่างโยธาชาํ นาญการ
2. คุณฐิติณฐั รุจิโกไศย
SPU CHONBURI
นอกจากน้ียงั มีบุคคลทา่ นอื่นๆ ท่ีมิไดก้ ล่าวไว้ ณ ที่น้ี ซ่ึงทา่ นเหล่าน้ีไดก้ รุณาใหค้ าํ แนะนาํ
ในการจดั ทาํ รายงานฉบบั น้ี
กระผมขอขอบพระคุณทุกท่านท่ีได้มีส่วนร่วมในการให้ขอ้ มูล คาํ แนะนาํ และเป็ นที่

ปรึกษาในการจดั ทาํ รายงานฉบบั น้ีจนเสร็จสมบูรณ์

นาย กิจจา เผอื กนวม
ผจู้ ดั ทาํ รายงาน

วนั ท่ี 8 พฤษภาคม 2563

SPU CHONBURI V

สารบัญ

หนา้
ใบรับรองรายงานการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา ................................................................................I
จดหมายนาํ ส่งรายงานการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา ....................................................................... II
กิตติกรรมประกาศ...................................................................................................................... III
บทคดั ยอ่ ..................................................................................................................................... IV
สารบญั ........................................................................................................................................ V
สารบญั ภาพ ................................................................................................................................ VI
บทที่ 1 บทนาํ ............................................................................................................................... 1

ประวตั ิความเป็นมา .......................................................................................................... 1
การจดั การองคก์ ร ............................................................................................................. 2
ลกั ษณะทางธุรกิจ ............................................................................................................. 3
ตาํ แหน่งและลกั ษณะงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย..................................................................... 3
บุคลากรผนู้ ิเทศงาน .......................................................................................................... 3
บทท่ี 2 แนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้ ง........................................................................................... 4
บทท่ี 3 รายละเอียดของโครงงาน ............................................................................................... 23
สภาพการณ์ปัญหา...........................................................................................................23
วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน............................................................................................. 23
ขอบเขตการดาํ เนินงาน................................................................................................... 23
เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการศึกษา.............................................................................................. 23
ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับจากการดาํ เนินโครงงาน.................................................................. 23
บทท่ี 4 ผลการดาํ เนินโครงงาน................................................................................................... 24
บทท่ี 5 สรุปผลการศึกษา............................................................................................................ 45
สรุปผลการดาํ เนินงาน.................................................................................................... 45
ปัญหาและขอ้ เสนอแนะ ................................................................................................. 45
บรรณานุกรม.................................................................................................................. 48
ภาคผนวก ....................................................................................................................... 50

VI

สารบัญภาพSPU CHONBURI หนา้
1
ภาพท่ี 2
3
1 สญั ลกั ษณ์เทศบาลตาํ บลบา้ งพลีนอ้ ย................................................................................. 18
18
2 แผนผงั เทศบาลตาํ บลบางพลีนอ้ ย...................................................................................... 19
20
3 บุคลากรผนู้ ิเทศงาน............................................................................................................. 21
4 รูรับแสง f-stop (ค่าต่าง ๆ)................................................................................................... 21
5 ภาพชิงชา้ กาํ ลงั หมุน............................................................................................................ 22
6 ภาพรถกาํ ลงั เคลื่อนไหวดว้ ยความเร็ว................................................................................. 22
7 รถกาํ ลงั เคล่ือนไหวบนถนน................................................................................................ 23
23
8 ภาพการจดั องคป์ ระกอบทางศิลปะของภาพ……………………………………………... 24
9 ภาพสาธิตจุดตดั เกา้ ช่อง...................................................................................................... 24
24
10 ภาพอนุสาวรียป์ ระชาธิปไตย…………………………………………………………… 25
25
11 ภาพอาคารสถานที่……………………………………………………………………… 26
12 ภาพถ่ายเส้นนาํ สายตา…………………………………………………………………... 26
27
13 ภาพโบราณสถาน.............................................................................................................. 32
33
14 ภาพยอ้ นแสง………………………………………………………................................. 33
34
15 ภาพกรอบภาพ………………………………………………………………………….. 35

16 ภาพซ้าํ ซอ้ น.......................................................................................................................
17 ภาพพ้ืนผวิ ……………………………………………………………………………….
18 ภาพการประชุมของคณะกรรมการแผนงานของเทศบาลบางพลีนอ้ ย...............................
19 ภาพท่ีไม่ไดก้ ารคดั เลือกชิ้นงางานท่ี 1...............................................................................
20 ภาพของการขดุ ลอกถนนในการวางท่อระบายน้าํ .............................................................
21 ภาพท่ีไม่ไดร้ ับการคดั เลือกชิ้นงานที่ 2..............................................................................
22 ภาพของกรรมการตรวจงานการปรับฟ้ื นผวิ จราจร............................................................
23 ภาพท่ีไมผ่ า่ นการคดั เลือกชิ้นงานที่ 3................................................................................
24 ภาพของช่างก่อสร้างกาํ ลงั ดาํ เนินการวางโครงสร้างพ้นื ผวิ ถนน.......................................
25 ภาพที่ไม่ไดร้ ับการคดั เลือกชิ้นงานท่ี 4..............................................................................
26 ภาพของช่างก่อสร้างท่ีกาํ ลงั เทคอนกรีตพ้นื ถนน………………………………………..

VII

สารบัญภาพ(ต่อ) หนา้
35
ภาพที่ 36
37
27 ภาพที่ไมไ่ ดร้ ับการคดั เลือกชิ้นงานท่ี 5.............................................................................. 37
28 ภาพของพนกั งานบริษทั คอนกรีตกาํ ลงั เกบ็ ตวั อยา่ งคอนกรีต…………………………... 38
38
29 ภาพท่ีไม่ไดร้ ับการคดั เลือกชิ้นงานที่ 6………………………………………………….. 39
30 ภาพของการการใชร้ ถบรรทุกเทคอนกรีตพ้นื ผวิ ถนน....................................................... 39
31 ภาพท่ีไม่ไดร้ ับการคดั เลือกชิ้นงานท่ี 7.............................................................................. 40
32 ภาพของการเจาะวดั ความลึกของถนน.............................................................................. 40
41
33 ภาพที่ไม่ไดร้ ับการคดั เลือกชิ้นงานที่ 8..............................................................................
34 ภาพของการตีเส้นจราจร...................................................................................................

35 ภาพท่ีไม่ไดร้ ับการคดั เลือกชิ้นงานที่ 9..............................................................................
36 ภาพของการเทพ้นื ยางมะตอย...........................................................................................
37 ภาพท่ีไมไ่ ดร้ ับการคดั เลือกชิ้นงานที่ 10............................................................................
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 1

บทที่ 1
บทนํา

โครงการสหกิจศึกษาเนน้ การปฎิบตั ิงานในสถานประกอบการเป็นกลไกลความร่วมมือ
ทางวชิ าการระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั และสถานประกอบการอยา่ งต่อเน่ืองตลอดไปโดยเนน้ ความ
ร่วมมือ ทุก ๆ ฝ่ ายที่เกี่ยวขอ้ งเพ่ือใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดและมีการดูแลอยา่ งใกลช้ ิดของพนกั งาน ที่
ปรึกษากบั นกั ศึกษาโครงการสหกิจน้ีดว้ ย

ภาพท่ี 1 สญั ลกั ษณ์เทศบาลตาํ บลบางพลีนอ้ ย
ท่ีต้งั : เทศบาลตาํ บลบางพลีนอ้ ย
1/1 หมู่ 2 ต.บางพลีนอ้ ย อ.บางบอ่ จ.สมุทรปราการ 10560
Tele : 02-3376241

ประวตั คิ วามเป็ นมาขององค์กร

ตาํ บลบางพลีนอ้ ย เป็นตาํ บลท่ีเก่าแก่ก่อต้งั ข้ึนมาเม่ือปี พ.ศ. 2430 จากคาํ บอกเล่าของ
ชุมชนในตาํ บลบางพลีนอ้ ย เกิดจากการขดุ ลอกคลองสาํ โรงพบเทวรูปสาํ ริด 2 องค์ จารึกชื่อวา่
“พญาแสนตา และมหาสังขกร” จึงไดม้ ีการทาํ พธิ ีบวงสรวงโดยใช้ “บตั รพลี” (ถาดทาํ ดว้ ยกา้ นกลว้ ย
รูปสามเหลี่ยมใส่อาหารคาวหวานเพื่อบวงสรวงเทวดา) ต่อมาประสบกบั ความแหง้ แลง้ จึงใชเ้ ครื่อง
บวงสรวง “บตั รพลีขนาดเลก็ ” ต่อมาจึงเรียกบางพลีนอ้ ย

เทศบาลตาํ บลบางพลีนอ้ ยจดั ต้งั ข้ึนตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ือง จดั ต้งั เทศบาล

SPU CHONBURI 2
ตาํ บล เม่ือวนั ที่ 12 กนั ยายน 2554 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128 ตอนพเิ ศษ 156 ง ลง
วนั ที่ 23 ธนั วาคม 2554

การจดั การองค์กร

ภาพที่ 2 แผนผงั เทศบาลตาํ บลบางพลีนอ้ ย
โครงสร้างและอาํ นาจหน้าทใ่ี นการบริหาร

เทศบาลตาํ บลบางพลีนอ้ ย ประกอบดว้ ยองคก์ ร 2 องคก์ ร คือ สภาเทศบาล และคณะ
ผบู้ ริหาร

-สภาเทศบาล ประกอบดว้ ย สมาชิกสภาเทศบาลที่ราษฎรเลือกต้งั จาํ นวน 12 คน มี
หนา้ ที่ ตราเทศบญั ญตั ิ อนุมตั ิงบประมาณและพจิ ารณาตามท่ีกฎหมายกาํ หนด และตรวจสอบ
ควบคุมการทาํ งานของฝ่ ายบริหาร

ฝ่ ายบริหาร คือนายกเทศมนตรี ซ่ึงมาจากการเลือกต้งั เป็นผแู้ ตง่ ต้งั รองนายกเทศมนตรี
จาํ นวน 2 คน ท่ีปรึกษาและเลขานุการ

3

อาํ นาจหน้าทีข่ องสภาเทศบาล
1. ตราเทศบญั ญตั ิของเทศบาล
2. ควบคุมการบริหารงานของคณะเทศมนตรี
3. ใหค้ วามเห็นชอบในการแตง่ ต้งั คณะเทศมนตรี
4. พิจารณาแตง่ ต้งั คณะกรรมการต่าง ๆ
5. พจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบเร่ืองตา่ ง ๆ ตามท่ีกฎหมายกาํ หนด

อาํ นาจหน้าทข่ี องคณะผู้บริหารท้องถนิ่
1. ควบคุมและรับผดิ ชอบการบริหารกิจการของเทศบาลตามกฎหมาย
2. อาํ นาจหนา้ ท่ี ตามท่ีกฎหมายกาํ หนดใหเ้ ป็นหนา้ ที่ของคณะผบู้ ริหาร
3. อาํ นาจหนา้ ที่ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการปกครองทอ้ งถ่ิน

ลกั ษณะทางธุรกจิ

เป็นหน่วยงานราชการในรูปแบบการปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน

ตําแหน่งและลกั ษณะงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย

ทาํ หนา้ ท่ีถ่ายภาพเพอื่ ส่งใหผ้ ูเ้ ป็นหวั หนา้ กองช่างในการทาํ รายงานช่าง

บุคลากรผู้นิเทศงาน

นาย ฐิติณัฐ รุจิโกไศย
ตาํ แหน่ง นายช่างโยธาชาํ นาญงาน รักษาการแทนผอู้ าํ นวยการกองช่าง
SPU CHONBURI

ภาพท่ี 3 บุคลากรผนู้ ิเทศงาน

4

บทท่ี 2
แนวคดิ และทฤษฏที เี่ กยี่ วข้อง

จากการศึกษาเรื่องการถ่ายภาพเพอ่ื ประชาสมั พนั ธ์กองช่างเทศบาลบางพลีนอ้ ย มีการใช้
แนวคิด และทฤษฏีที่เก่ียวขอ้ ง ดงั น้ี

1. แนวคิดเก่ียวกบั หลกั การถ่ายภาพ
2. แนวคิดเก่ียวการถ่ายภาพเพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์
3. แนวคิดเกี่ยวกบั การคดั เลือกภาพถ่าย

1.แนวคดิ เกยี่ วกบั หลกั การถ่ายภาพ

ภาพถ่ายท่ีเราเห็นอยูน่ ้นั ก่อนท่ีจะมาเป็นภาพถ่ายที่สวยงาม ผถู้ ่ายภาพจะตอ้ งอาศยั ความรู้
ความเขา้ ใจเรื่องการใชก้ ลอ้ งถ่ายภาพดิจิทลั เลนส์ อุปกรณ์เสริม และแสงแลว้ ความรู้พ้ืนฐานใน
การปรับส่วนตา่ งๆ ของกลอ้ งถ่ายภาพเพอื่ ใหไ้ ดภ้ าพตามที่ตอ้ งการน้นั เป็นสิ่งสาํ คญั เช่นเดียวกนั ซ่ึง
ในบทน้ี ผูเ้ ขียนได้กล่าวถึงหลกั การถ่ายภาพท่ีอธิบายถึง ค่ารูรับแสง และความเร็วชัตเตอร์
ตลอดจนผลจากการปรับค่าท้งั สองส่วนดงั กล่าววา่ นาํ ไปใชใ้ นการสร้างสรรคภ์ าพไดอ้ ยา่ งไร เช่น
การควบคุมปริ มาณแสง การควบคุมความชัดการถ่ายภาพเคลื่อนไหว โดยรวมท้ังการจัด
องคป์ ระกอบภาพ เพื่อเป็ นพ้ืนฐานของการถ่ายภาพท่ีสําคญั ซ่ึงอธิบายไดด้ งั น้ี (เยาวนารถ พนั ธุ์
เพง็ ,2558,หนา้ 56-66)
รูรับแสงและความเร็วชัตเตอร์

รูรับแสงและความเร็วชตั เตอร์ เป็นส่วนสาํ คญั ในควบคุมปริมาณของแสงเขา้ ไปในกลอ้ ง
ขณะถ่ายภาพ เม่ือแสงสะทอ้ นยงั วตั ถุแลว้ หกั เหแสงเขา้ มาในกลอ้ งถ่ายภาพโดยผา่ นเลนส์เขา้ มาแลว้
จะผา่ นรูรับแสงซ่ึงมีขนาดกวา้ งหรือแคบ ท่ีผถู้ ่ายภาพควบคุม และผา่ นไปยงั ส่วนมา่ นชตั
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 5
เตอร์ มื่อผูถ้ ่ายภาพกดบนั ทึกภาพ ม่านชตั เตอร์จะทาํ การเปิ ด จึงลอดผ่านเขา้ ไปกระทบยงั หน่วย
ประมวลผลของกลอ้ งถ่ายภาพ คือการปรับให้แคบ หรือกวา้ ง ยงั ส่งผลให้ภาพถ่ายมีช่วงความชดั
แตกต่างกนั ในส่วนของความเร็วชตั เตอร์เช่นกนั เมื่อม่านชัตเตอร์ในค่าต่างๆมีการ เปิ ดปิ ดเร็ว
หรือชา้ ยอ่ มทาํ ใหป้ ริมาณแสง เขา้ ไปในกลอ้ งถ่ายภาพดิจิทลั ไดม้ าก นอ้ ย เช่นกนั และการปรับค่า
ความเร็วชตั เตอร์น้นั ยงั ส่งผลในการถ่ายภาพเคลื่อนไหวใหไ้ ดผ้ ลตามความตอ้ งการของผถู้ ่ายภาพใน
แบบต่างๆซ่ึงท้งั รูรับแสงและความเร็วชตั เตอร์น้นั ผเู้ ขียนจึงนบั เป็นหลกั ในการถ่ายภาพ หากศึกษา
ไม่เขา้ ใจท้งั สองส่วนน้ี ในการศึกษารายละเอียด เทคนิคการถ่ายภาพแบบอื่นๆ อาจจะทาํ ให้ไม่
เขา้ ใจเน้ือหา ดงั น้ัน ตอ้ งทาํ ความเขา้ ใจท้งั สองส่วนน้ี เพ่ือจะได้ถ่ายภาพให้ได้ภาพตามความ
ตอ้ งการมากท่ีสุด
รูรับแสง (Aperture/ f-stop)

รูรับแสง (Aperture/ f-stop /f Number) เปรียบเสมือนรูม่านตา (Pupil) ของดวงตามนุษย์
ท่ีคอยควบคุมปริมาณแสง เม่ืออยใู่ นท่ีมีแสงนอ้ ย รูม่านตาจะขยายกวา้ งข้ึน ในทางกลบั กนั เม่ืออยู่
ในที่แสงมาก รูม่านตาจะหดแคบลง เพื่อให้แสงที่สะทอ้ นวตั ถุเขา้ ไปในดวงตาไดพ้ อดีท่ีจะมอง
ภาพน้นั (เยาวนารถ พนั ธุ์เพง็ ,2558,หนา้ 56-58)

เม่ืออยใู่ นกลอ้ งในภาพดิจิทลั การปรับรูรับแสงใหก้ วา้ ง หรือแคบน้นั จะมีผลกบั ปริมาณ
แสง เพอ่ื ใหแ้ สงเขา้ ไปในกลอ้ งถ่ายภาพไดค้ ่าแสงพอดี โดยท่ีคา่ ของรูรับแสงจะกาํ หนดเป็นตวั เลข
เช่น f 1.4 4 5.6 8 11 16 เม่ือตวั เลขมาก รูรับแสงจะหดแคบลง เม่ือตวั เลขนอ้ ยรูรับแสงจะขยาย
กวา้ งข้ึน ดงั ภาพดา้ นล่าง

ภาพท่ี 4 รูรับแสง (f-stop) ค่าตา่ งๆ
ท่ีมา : https://petapixel.com

การปรับรูรับแสงยงั มีผลกบั ช่วงความคมชดั ของภาพถ่าย (Depth of Field) เม่ือปรับค่า
ของรูรับแสงมากส่งผลให้มีช่วงความคมชดั มาก ปรับคา่ ของรูรับแสงนอ้ ยส่งผลใหช้ ่วงความคมชดั
นอ้ ย เช่น f 2.8 มีช่วงความคมชดั นอ้ ยกวา่ f 8 และ f 8 มีช่วงความชดั นอ้ ยกวา่ f 22

SPU CHONBURI 6

ซ่ึงหมายความวา่ ในระยะท่ีถ่ายภาพเท่ากนั และช่วงของเลนส์เท่ากนั เพราะนอกจากค่า
ของรูรับแสงแลว้ ปัจจยั ที่มีผลในเร่ืองของความชดั อีก 2 ปัจจยั น้นั คือ ระยะของการถ่ายภาพ
และช่วงของเลนส์

ระยะของการถ่ายภาพ หมายถึง ระยะห่างระหวา่ งกลอ้ งถ่ายภาพจนถึงวตั ถุ ซ่ึงมีผลกบั
ช่วงความชดั เช่นเดียวกนั คือ

ระยะของการถ่ายภาพมาก ช่วงความชดั จะมาก หรือเรียกวา่ ชดั ลึก
ระยะของการถ่ายภาพนอ้ ย ช่วงความชดั จะนอ้ ย หรือเรียกวา่ ชดั ต้ืน
ความเร็วชัตเตอร์ (Shutter Speed)
ความเร็วชตั เตอร์ หมายถึง เวลาในการเปิ ด-ปิ ด ม่านชตั เตอร์ที่ชา้ หรือเร็วทาํ ใหป้ ริมาณ
แสงเขา้ ไปในกลอ้ งถ่ายภาพไม่เท่ากนั มีหน่วยเวลาเป็ นวินาทีและใช้ตวั เลขเศษส่วน เช่น 1/8 1/15
1/30 1/60 1/125 1/250 1/500 1/1000 วนิ าที ซ่ึงแตล่ ะคา่ จะปริมาณแสงจะลดลงคร่ึงหน่ึง
(เยาวนารถ พนั ธ์เพง็ ,2558,หนา้ 58-60)
ในกรณีท่ีปรับคา่ รูรับแสงเท่ากนั แลว้ ปรับคา่ ความเร็วชตั เตอร์ต่างกนั ไดผ้ ลต่อไปน้ี
- ปรับความเร็วชตั เตอร์ 1/250 ม่านชตั เตอร์เปิ ด-ปิ ด ไดน้ านกวา่ ปริมาณแสงเขา้ ไปได้
มากกวา่ ปรับความเร็วชตั เตอร์ 1/500
- ปรับความเร็วชตั เตอร์ 1/500 ม่านชตั เตอร์เปิ ด-ปิ ด ไดน้ านกวา่ ปริมาณแสงเขา้ ไปได้
มากกวา่ ปรับความเร็วชตั เตอร์ 1/1000
ในความเป็ นจริงแลว้ ส่วนของ 1/8 คร่ึงหน่ึงควรจะกลายเป็ น 1/16 วินาที แต่มีการ
อนุโลมให้ใช้เป็ น 1/15 และจาก 1/60 คร่ึงหน่ึงควรจะเป็ น 1/120 แต่ก็กลายเป็ น 1/125 แทน
เพราะวา่ ตอ้ งการให้เป็ นเลขจาํ นวนง่ายๆ เนื่องจากความเร็ว 1/15 กบั 1/16 และ 1/120 กบั 1/125
วนิ าที น้นั แทบจะไมม่ ีผลใดๆเลยกบั ปริมาณแสงที่ผา่ นเขา้ มาในกลอ้ ง จึงนิยมใชต้ วั เลขดงั กล่าว
การปรับความเร็วชตั เตอร์เพื่อการควบคุมปริมาณแสงแลว้ ยงั นาํ ไปใชใ้ นการถ่ายภาพส่ิง
เคลื่อนไหวต่างๆ ให้ไดผ้ ลของภาพตามความตอ้ งการของผูถ้ ่าย ไดแ้ ก่ การถ่ายภาพเคลื่อนไหว
การถ่ายภาพหยดุ น่ิง การถ่ายภาพกาํ ลงั เคล่ือนไหว ซ่ึงอธิบายไดต้ อ่ ไปน้ี
1. การถ่ายภาพเคล่ือนไหว (Action) ภาพท่ีถ่ายออกมาจะมีลกั ษณะวตั ถุเคล่ือนไหว (ไม่
ชดั ) อยบู่ นฉากหลงั ที่นิ่ง (มีความชดั ) ซ่ึงตอ้ งใชห้ ลกั ในการถ่ายภาพโดยการปรับความเร็วชตั เตอร์
ชา้ ๆ อาจจะตอ้ งใชข้ าต้งั กลอ้ งมาช่วยเป็ นอุปกรณ์เสริม เช่น การถ่ายภาพน้าํ ตก ปรับความเร็วชัต
เตอร์ 1/15 จะไดภ้ าพน้าํ ตกที่ไหลลงมาเป็นสาย บนฉากหลงั ท่ีเป็นววิ ทิวทศั น์ กอ้ นหิน ตน้ ไม้

SPU CHONBURI 7

ภาพท่ี 5 ภาพชิงชา้ กาํ ลงั หมุน
ท่ีมา : http://photobytoon.blogspot.com
2. การถ่ายภาพหยุดนิ่ง (Stop Action) ภาพที่ถ่ายออกมาจะมีลกั ษณะวตั ถุท่ีเคลื่อนไหวอยู่
น้ันชัดเจน และฉากหลงั ก็ชัดด้วย ซ่ึงอาศยั ความปรับความเร็วชัตเตอร์เร็วตามวตั ถุ เช่น การ
ถ่ายภาพกีฬารถแข่ง ปรับความเร็วชตั เตอร์ 1/1000 จะไดภ้ าพรถแข่งท่ีชดั ฉากหลงั ที่เป็ นทางและ
ผชู้ มชดั ไปดว้ ย แต่ท้งั น้ีตอ้ งข้ึนอยกู่ บั การปรับรูรับแสงดว้ ย หากปรับค่ารูรับแสงกวา้ งมากเพ่ือให้
แสงพอดี อาจจะทาํ ใหช้ ่วงความชดั นอ้ ยลงได้

ภาพที่ 6 ภาพรถกาํ ลงั เคลื่อนไหวดว้ ยความเร็ว
ที่มา : https://chumpholphotoart.wikispaces.com
3. การถ่ายภาพกาํ ลงั เคล่ือนไหว (Panning) ภาพท่ีถ่ายออกมาจะมีลกั ษณะวตั ถุชัดกว่า
ฉากหลงั และฉากหลงั จะเป็ นลกั ษณะเส้นๆ (ไม่ชดั ) เพราะเน่ืองจากขณะถ่ายภาพน้นั ซ่ึงตอ้ งปรับ
ความเร็วชตั เตอร์ชา้ หรือไม่มากกวา่ 1/30 และตอ้ งทาํ การเลื่อนกลอ้ งไปตามทิศทางการเคล่ือนที่
ของวตั ถุ อาจจะใชข้ าต้งั กลอ้ งช่วยเป็นอุปกรณ์เสริม เช่น การถ่ายภาพรถยนตแ์ ล่นบนถนน เคลื่อน
จากด้านซ้ายมาด้านขวา ปรับความเร็วชัตเตอร์ 1/30 การเคลื่อนกล้องให้เคล่ือนตามวตั ถุจาก
ดา้ นซ้ายมาดา้ นขวา กลอ้ งถ่ายภาพจะเล่ือนขนานไปกบั วตั ถุและทาํ การถ่ายภาพ ส่วนฉากหลงั เป็น
สิ่งอยนู่ ่ิง พอกลอ้ งเลื่อนฉากหลงั จึงเกิดเป็นเส้นๆ (ไม่ชดั )

SPU CHONBURI 8

ภาพที่ 7 รถกาํ ลงั เคลื่อนไหวบนถนน
ท่ีมา : Gunyanut Jareanmunkongwong
การจัดองค์ประกอบภาพ
จุดความสนใจ (Rule of Third) ผทู้ ี่ถ่ายภาพส่วนใหญ่ มกั จะวางจุดสนใจไวต้ รงกลางภาพ
ทาํ ใหภ้ าพดูธรรมดา ไม่ค่อยน่าสนใจ แต่หากใชก้ ฎสามส่วนหรือจุดตดั เกา้ ช่องมาช่วยในการเนน้
จุดสนใจ จะทาํ ใหภ้ าพสามารถสื่อความหมายไดม้ ากกวา่ (เยาวนารถ พนั ธ์เพง็ ,2558,หนา้ 60-62)
กฎสามส่วน หรือจุดตดั เกา้ ช่องช้นั ทาํ ไดง้ ่ายๆดงั น้ี
ก่อนที่จะถ่ายภาพน้นั ใหแ้ บ่งภาพเป็นสามช่องในดา้ นในแนวนอนและดา้ นแนวต้งั ซ่ึงจะ
ไดท้ ้งั หมดเกา้ ช่อง จากน้นั จะเห็นเส้นตดั กนั ในแนวนอนและแนวต้งั เป็ นจุดตดั เกา้ ช่องท้งั ส่ีจุดดงั
ภาพ

ภาพท่ี 8 ภาพการจดั องคป์ ระกอบทางศิลปะของภาพ
ใหว้ างตาํ แหน่งของจุดสนใจในภาพ เช่น ถ่ายภาพคน โดนจะเนน้ ที่ใบหนา้ วางตาํ แหน่ง
ของใบหนา้ จุดใดจุดหน่ึงในสี่จุดน้ี ตามภาพตวั อยา่ ง

SPU CHONBURI 9

ภาพท่ี 9 ภาพสาธิตจุดตดั เกา้ ช่อง
ท่ีมา : amateurbehindthecamera
ความสมดุล (Balance) ภาพถ่ายถือเป็นศิลปะแขนงหน่ึงที่ตอ้ งอาศยั หลกั การสมดุล ซ่ึง
แบง่ ออกได้ 2 แบบ คือ
ความสมดุลแบบเทา่ กนั ภาพท่ีถ่ายออกมาแลว้ ดูมีความเทา่ กนั ท้งั 2 ดา้ น ซา้ ยขวา หรือ
บนล่าง ซ่ึงอาจจะเป็นวตั ถุเหมือนกนั หรือคลา้ ยกนั

ภาพที่10 ภาพอนุสาวรียป์ ระชาธิปไตย
ที่มา : http://www.thaieditorial.com
ความสมดุลแบบไม่เท่ากนั ภาพที่ถ่ายออกมาแลว้ ดูมีความสมดุลแต่ไม่เท่ากนั หมายถึง
ภาพที่ถ่ายออกมาแลว้ แต่ท้งั 2 ดา้ น อาจไม่เหมือนกนั เช่น ดา้ นซา้ ยเป็ นวตั ถุเล็ก ดา้ นขวาเป็ นวตั ถุ
ใหญห่ รือดา้ นบนและล่างเป็นวตั ถุเทา่ กนั แต่คนละอยา่ ง

SPU CHONBURI 10

ภาพที่ 11 ภาพอาคารสถานท่ี
ที่มา : http://www.thaieditorial.com
เส้น รูปทรง(line/form) เส้นเป็นองคป์ ระกอบหน่ึงท่ีช่วยใหภ้ าพส่ือความหมายไดต้ าม
ลกั ษณะของเส้น เช่น เส้นโคง้ แสดงถึงความอ่อนชอ้ ย นุ่มนวล เส้นแนวต้งั แสดงถึงความมนั่ คง
แข็งแรง ฯลฯ นอกจากน้ัน เส้นยงั นาํ สายตาให้ผูด้ ูภาพมองไปท่ีจุดสนใจของภาพไดอ้ ีก หากผู้
ถ่ายภาพสังเกตส่ิงท่ีอยู่ในบริเวณท่ีถ่ายภาพ ถ้ามีวตั ถุหรือสถานท่ีมีส่วนของเส้นต่างๆอาจจะ
นาํ มาใชเ้ ป็นหลกั การถ่ายภาพไดเ้ หมือนกนั

ภาพที่ 12 ภาพถ่ายเส้นนาํ สายตา
รูปทรง หมายถึง มุมกวา้ ง ยาว ลึก ของอาคาร สถานท่ี วตั ถุส่ิงของ และส่ิงแวดลอ้ ม
ตามธรรมชาติ การใชร้ ูปทรงในการจดั องคป์ ระกอบน้นั เป็นการนาํ รูปทรงของส่ิงต่างๆ ในภาพมา
เป็นจุดเด่นหรือจุดสนใจของภาพ ประกอบกบั ทิศทางของแสง ที่ช่วยใหร้ ูปทรงน้นั น้นั มีมิติมากข้ึน
ฉะน้ันตอ้ งหามุมในการถ่ายภาพให้ดี เพ่ือท่ีจะไดแ้ สงและเงา เช่น การถ่ายภาพสถาปัตยกรรม
โบราณสถาน การเนน้ ใหภ้ าพน่าสนใจน้นั อาจจะถ่ายภาพรูปทรงของโบราณสถาน ไดแ้ ก่ เจดีย์
สิ่งก่อสร้างปรักหกั พงั โดยให้ทิศทางของแสงส่องมาทางดา้ นขา้ ง เพื่อแสดงให้เห็นภาพโบราณ
สถานที่น่าสนใจ หรือแมแ้ ตก่ ารถ่ายภาพดอกไมก้ ม็ ีการเนน้ รูปทรงของดอกไม้

SPU CHONBURI 11

ภาพท่ี 13 ภาพโบราณสถาน
ย้อนแสง (silhouette) การถ่ายภาพยอ้ นแสง เป็ นการถ่ายภาพโดยมีทิศทางแสงมาจาก
ดา้ นหลงั ของวตั ถุ ภาพท่ีออกมาจะเห็นโครงร่างของวตั ถุเป็ นลกั ษณะอีกแบบหน่ึงของภาพถ่าย ที่
ไม่ตอ้ งการซ่ึงรายละเอียดของวตั ถุแต่ตอ้ งการให้เห็นโครงร่างวตั ถุ ประกอบกบั แสงขอบๆ ของ
วตั ถุ

ภาพที่ 14 ภาพยอ้ นแสง
กรอบภาพ (framing) ภาพถ่ายท่ีเนน้ จุดสนใจโดยวธิ ีใชก้ ดสามส่วนหรือจุดตดั เกา้ ช่อง
แลว้ ยงั สามารถทาํ ใหภ้ าพน่าสนใจมากข้ึนโดยการใส่กรอบภาพ ใหภ้ าพเด่นข้ึนมา เสมือนการนาํ
ภาพติดลงบนผนงั เปรียบเทียบกบั ภาพท่ีถูกใส่กรอบแลว้ คอ่ ยติดลงบนผนงั ภาพท่ีถูกใส่กรอบจะดู
น่าสนใจกวา่ ดงั น้นั ในการถ่ายภาพใหส้ งั เกตในองคป์ ระกอบที่จะถ่ายภาพ วา่ มีส่วนใดท่ีสามารถ
เป็นกรอบภาพไดห้ รือไม่ เช่น กรอบประตู หนา้ ตา่ งตน้ ไมท้ ่ีโนม้ เขา้ หากนั ฯลฯ ซ่ึงไมจ่ าํ เป็นตอ้ ง
เป็นสิ่งที่มนุษยส์ ร้างข้ึนเทา่ น้นั

SPU CHONBURI 12

ภาพที่ 15 ภาพกรอบภาพ
ท่ีมา : http://www.bpsthai.org
ความซํ้าซ้อน (repetition) การถ่ายภาพวตั ถุส่ิงของ หรือสถานที่ต่างๆท่ีซ้าํ ๆเหมือนๆ
กนั น้นั แสดงถึงพลงั ให้น่าสนใจมากข้ึน เพราะวา่ หากถ่ายภาพวตั ถุส่ิงของต่างๆ ที่ถูกวางอยู่โดด
เด่ียว อาจจะไม่รู้สึกสะดุดตาหรือน่าสนใจ แต่เม่ือเอามารวมกนั มากๆ จะทาํ ให้รู้วา่ น่าสนใจ แต่
ตอ้ งจดั วางให้มีจงั หวะไม่จาํ เป็ นตอ้ งมีระเบียบหรือเที่ยงตรง แต่จดั วางให้ดูมีความสมดุล เป็ น
ธรรมชาติ

ภาพที่ 16 ภาพซ้าํ ซอ้ น
พืน้ ผวิ (texture) พ้ืนผวิ ท่ีแตกตา่ งกนั ออกไปยอ่ มเป็ นลกั ษณะของเฉพาะส่วนของสิ่ง
น้นั ๆ เช่นผวิ หนงั ของคนชรา ผวิ ของกอ้ นหิน ผิวไม้ เป็ นตน้ การบนั ทึกลกั ษณะพ้ืนผวิ ของสิ่ง
ตา่ งๆ โดยตอ้ งคาํ นึงถึงส่ิงท่ีมีผลต่อลกั ษณะพ้นื ผวิ ดว้ ยคือ ลกั ษณะและทิศทางของแสง แสงจากทาง
ดา้ นหนา้ (front light) ใหภ้ าพแบน มองเห็นลกั ษณะผวิ ยาก จึงควรหลีกเลี่ยง แสงจากทางดา้ นขา้ ง
(side light) ใหล้ กั ษณะของพ้ืนผวิ ไดด้ ี แต่กค็ วรลบเงาที่เกิดข้ึนทางดา้ นตรงขา้ มกบั ทิศทางท่ีมา
ของแสงดว้ ยเล็กนอ้ ย เพ่ือลดความรุนแรงของแสงและเงา มิฉะน้นั จะทาํ ใหภ้ าพดูแขง็ และขาด
รายละเอียดในส่วนที่เป็ นลวดลายพ้นื ผวิ เลก็ ๆได้ แตภ่ าพบางลกั ษณะอาจตอ้ งการแสงและเงาท่ีตดั

SPU CHONBURI 13
กนั รุนแรงก็ได้ ลกั ษณะพ้ืนผวิ ของวตั ถุในภาพน้นั ยอ่ มก่อใหเ้ กิดอารมณ์ความรู้สึกตา่ งๆกนั ออกไป
โดยอาจใชล้ กั ษณะพ้นื ผวิ ของวตั ถุที่แตกต่างกนั และเพอื่ การตดั กนั (contrast) ของภาพทาํ ใหจ้ ุด
สนใจในภาพดูเด่นข้ึนไดอ้ ีกดว้ ย

ภาพท่ี 17 ภาพพ้ืนผวิ
ท่ีมา : https://panassayawongsri.wordpress.com

2. แนวคดิ การถ่ายภาพเพอื่ การประชาสัมพนั ธ์

ภาพถ่ายเพื่อการประชาสมั พนั ธ์ (เยาวนารถ พนั ธุ์เพง็ ,2558, หนา้ 1-16) หมายถึงภาพถ่ายที่
ถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อส่ือสาร เล่าเรื่องราว ในแง่มุมชีวติ เหตุการณ์สําคญั
โดยแสดงถึงขอ้ เทจ็ จริง อารมณ์ ความรู้สึก ความสวยงาม ดูดี มีคุณคา่ หรือภาพลกั ษณ์ที่ก่อให้เกิด
ความรู้สึกที่ดี ดงั น้นั การถ่ายภาพท่ีจะนาํ มาใชใ้ นการประชาสมั พนั ธ์ ตอ้ งส่ือถึงวตั ถุประสงคข์ อง
งานมากที่สุด และตอ้ งตรงกบั ความตอ้ งการของช่างภาพ ข้นั ตอนของการถ่ายภาพจึงตอ้ งใชค้ วามรู้
ความสามารถของผูถ้ ่ายมาก ต้งั แต่การเลือกมุมกล้อง การจดั องค์ประกอบภาพ การแก้ปัญหา
เฉพาะหน้าในเหตุการณ์ทนั ด่วน ภาพถ่ายประชาสัมพนั ธ์สามารถแยกแนวทางการถ่ายภาพให้
ชดั เจนข้ึน ดงั น้ี

2.1 การถ่ายภาพทต่ี ้องการเน้นบุคคล ภาพถ่ายประชาสมั พนั ธ์ประเภทน้ีมกั ใชใ้ นกรณีท่ี
จะแนะนาํ ตวั บุคคล เช่น บุคคลสําคญั ในฝ่ ายบริหารของหน่วยงาน บุคคลท่ีเขา้ รับตาํ แหน่งใหม่
หรือกิจกรรมอนั เป็นผลงานที่เจาะจงตวั บุคคล การถ่ายภาพประเภทน้ีควรยึดแนววา่ ตอ้ งถ่ายให้เห็น
บุคลิกภาพของบุคคลน้ันให้ดีท่ีสุด เร่ิมต้งั แต่การแต่งกาย เครื่องแต่งกายตอ้ งเรียบร้อยสวยงาม
กิริยาท่าทางควรดูงามสง่า ภาพถ่ายอาจเป็ นลกั ษณะของการโพส หรือต้งั ท่าจดั เพ่ือถ่ายภาพ แต่ก็
ไม่ควรจดั ท่าใหด้ ูนิ่งเฉย วิธีที่ดีควรอยใู่ นอิริยาบถอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง อาจมีบุคคลอื่นเขา้ มาเสริมใน
ภาพดว้ ย เช่น เพ่ิมเร่ืองราวเป็ นวา่ มีบุคคลอื่นเขา้ มาแสดงความยินดีหรือมาปรึกษาหารือ โดยใช้
วิธีการเลือกมุมกลอ้ งถ่ายภาพ และจดั องคป์ ระกอบของภาพในตวั บุคคลสําคญั เป็ นส่วนประธาน

SPU CHONBURI 14

และบุคคลท่ีจดั เขา้ มาเสริมเป็ นส่วนรองหรือเป็ นส่วนประกอบ เป็นตน้ นอกจากตวั บุคคลแลว้ ส่ิง
อ่ืนๆที่จะปรากฎอยู่ เช่น พวกโต๊ะเกา้ อ้ีทาํ งาน เคร่ืองใชอ้ ่ืนๆ ตลอดจนหนงั สือและสถานท่ีซ่ึงจะ
ปรากฎในฉากหลงั ส่วนตา่ งๆ ที่เห็นเหล่าน้ีตอ้ งอยใู่ นลกั ษณะที่ดูดีและเป็ นระเบียบเรียบร้อย เม่ือได้
ภาพถ่ายที่บรรจุรวมทุกสิ่งทุกอยา่ งแลว้ ก็จะทาํ ใหผ้ ทู้ ่ีเห็นภาพเกิดวามรู้สึกวา่ ตวั บุคคลที่ไดร้ ับการ
ประชาสัมพนั ธ์ในภาพน้นั เป็นคนที่มีบุคลิกดี เป็นระเบียบเรียบร้อยน่านบั ถือ น่านิยมยกยอ่ ง โดยผู้
ที่เห็นภาพถ่ายอาจจะยงั ไมร่ ู้จกั ตวั จริงเลยวา่ เป็นอยา่ งไร แต่เกิดความเลื่อมใสโดยไดเ้ ห็นจากในภาพ

ถ่ายภาพข่าวบุคคล หมายถึง ข่าวประชาสัมพนั ธ์ที่มุ่ง “ใคร” เป็ นสําคญั เพ่ือเผยแพร่ให้
ผอู้ า่ นไดร้ ู้จกั บุคคลผเู้ ป็นความสาํ คญั กบั ข่าวน้นั ภาพที่ใชป้ ระกอบข่าวน้นั จึงตอ้ งเลือกสรรภาพของ
บุคคลน้นั ๆ เป็ นจุดเด่น (highlight) เม่ือไดด้ ูภาพและคาํ บรรยายก็จะเกิดความเขา้ ใจและรู้จกั หนา้ ตา
ทา่ ทางได้ เป็นการช่วยใหผ้ อู้ า่ นจดจาํ ขา่ วท่ีมุ่งประชาสมั พนั ธ์น้นั ไดด้ ียงิ่ ข้ึน

2.2 การเน้นถ่ายภาพตัวอาคารหรือสถานท่ีตลอดจนกิจกรรมภายนอก ไดแ้ ก่ ภาพถ่ายที่
ต้องการประชาสัมพนั ธ์ให้รู้จกั สํานักงาน หรือที่ทาํ การของหน่วยงานใดหน่วยงานหน่ึง หรือ
ตอ้ งการแนะนาํ สถานที่สําคญั ให้เป็ นที่รู้จกั กนั อย่างกวา้ งขวางมากข้ึน การถ่ายภาพประเภทน้ีอาจ
ต้องคดั เลือกหรือสรรหาอุปกรณ์ทางการถ่ายภาพมาใช้ให้เหมาะสม เน่ืองจากการถ่ายภาพ
สถาปัตยกรรมหรือสิ่งก่อสร้างบางแบบต้องอาศยั กล้องถ่ายภาพบางประเภทจึงจะถ่ายภาพได้
สวยงามการเลือกมุมกลอ้ งถ่ายภาพเพื่อให้สถานท่ีดูงามสง่า การเลือกเวลาท่ีจะใชถ้ ่ายภาพลว้ นเป็น
สิ่งจาํ เป็ น เช่น ตอนเชา้ แสงแดดส่องจากทางตะวนั ออก ตอนบ่ายแสงแดดส่องทางตะวนั ตก และ
การเลือกทอ้ งฟ้าวนั ท่ีทอ้ งฟ้าแจ่มใส โดยอาจตอ้ งพิจารณาและรอใหม้ ีหมู่เมฆสวยงามเกิดข้ึนก่อน
เพราะส่ิงเหล่าน้ีช่วยใหเ้ ราถ่ายภาพไดด้ ีท้งั สิ้น

ส่ิงที่ตอ้ งพจิ าณาต่อไปคือความเป็ นระเบียบเรียบร้อยในภาพถ่าย เช่น ตวั อาคารเรียบร้อย
ดีหรือไม่ มีรอยสกปรกท่ีน่าเกลียดและมองเห็นเด่นชดั หรือไม่ สนามหญา้ สวยงามเรียบร้อยดีและ
ชวนสดชื่นข้ึนบา้ งหรือไม่ อาจจดั ดอกไมห้ รือต้นไมข้ นาดย่อมประเภทไมก้ ระถาง เสริมข้ึมา
เพ่ือให้สวยงามได้ บางคร้ังก็ตอ้ งอาศยั ตน้ ไมเ้ พอ่ื ปิ ดบงั จุดที่ไม่สวยงามบางส่วนเพื่อให้ภาพมีความ
สมบูรณ์ เน่ืองจากเมื่อปรากฎเป็ นภาพถ่ายแลว้ ผูช้ มมีโอกาสดูอย่างพินิจพิจารณาเป็ นเวลานาน
ขอ้ บกพร่องตา่ งๆ หากมีอยใู่ นภาพก็จะมองเห็นไดโ้ ดยง่าย และหากเกิดขอ้ บกพร่องอยา่ งหน่ึงอย่าง
ใดข้ึนแลว้ ก็จะกระทบเทือนถึงภาพพจนข์ องสถานที่น้นั ๆ

ภาพขา่ วสถานท่ี หมายถึง ขา่ วประชาสัมพนั ธ์ที่มุ่ง “ท่ีไหน” เป็นสาํ คญั จุดเด่นของภาพ
จึงมุ่งท่ีตวั สถานที่อย่างชัดเจน โดยอาจเน้นภูมิทศั น์ หรือช่ือสถานที่ หรือเป้าหมายที่บอกถึง
สถานที่ท่ีเกิดเหตุการณ์น้นั ภาพข่าวสถานที่มกั นิยมใชใ้ นการประชาสัมพนั ธ์ที่จูงใจ เพื่อพรรณนา
และเพื่ออธิบายเป็นสาํ คญั

SPU CHONBURI 15

2.1การใช้ภาพถ่ายเพ่ือการส่ือสาร
การใชภ้ าพถ่ายเพอื่ การส่ือสารระหวา่ งบุคคล (เยาวนารถ พนั ธุ์เพง็ ,2558,หนา้ 6-10)
เนื่องจากการถ่ายภาพมีเร่ืองราว เหตุการณ์ วตั ถุ หรือภาพบุคคลปรากฎอยู่ ดงั น้ัน
ภาพถ่ายจึงสามารถบอกกล่าวเร่ืองราวหรือทาํ หน้าท่ีส่ือสาร เพื่อให้ผูท้ ี่ดูภาพทราบเรื่องได้ท้งั
ภาพถ่ายยงั มีลกั ษณะพิเศษหลายประการดว้ ยกนั คือ

2.1.1 ภาพถ่ายสามารถถ่ายทอดความเหมือนจริงไดด้ ี เน่ืองจากการถ่ายภาพเป็ นการ
สร้างภาพข้ึนมาจากของจริงโดยอาศยั แสงสวา่ ง ภาพถ่ายจึงใหค้ วามเหมือนจริงไดด้ ีตามสภาพของ
แสงสวา่ งที่ใชถ้ ่ายภาพน้นั ภาพวาดหรือภาพเขียนไม่อาจทาํ ไดเ้ หมือนจริงเท่ากบั ภาพถ่าย

2.1.2 ภาพถ่ายสามารถถ่ายทอดรายละเอียดได้อย่างครบถ้วน ไม่ว่าส่ิงท่ีตอ้ งการ
ถ่ายภาพจะมีรายละเอียดมากหรือน้อยขนาดไหน การถ่ายภาพจะช่วยให้ไดภ้ าพที่มีรายละเอียด
ครบถว้ น

2.1.3 ภาพถ่ายจะแสดงสีปรากฎตามธรรมชาติได้ โดยในภาพถ่ายขาวดาํ จะมีระดบั สี
ต้งั แต่สีขาว เทาอ่อน และค่อยเขม้ ข้ึนจนกระทง่ั เป็ นสีดาํ สนิท ส่วนในภาพถ่ายสีก็จะให้สีต่างๆ
หลากหลายดงั ที่เป็ นอยูต่ ามธรรมชาติ ซ่ึงภาพวาดหรือภาพเขียนจะทาํ สีเหล่าน้ีใหค้ รบถว้ นไดย้ าก
มาก

2.1.4 ภาพถ่ายตรึงความเคล่ือนไหวได้ ไม่วา่ จะเป็นลกั ษณะในการเคลื่อนไหวใด เมื่อ
บนั ทึกภาพถ่ายแลว้ การเคลื่อนไหวน้นั จะปรากฎในลกั ษณะหยดุ นิ่ง ทาํ ใหเ้ ห็นอิริยาบถหรืออาการ
น้นั ได้

2.1.5 ภาพถ่ายสามารถบนั ทึกเหตุการณ์เอาไวอ้ ยา่ งถาวรได้ เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึน
น้นั ผทู้ ่ีอยูร่ ่วมเหตุการณ์เห็นและรับรู้การณ์น้นั แลว้ ก็จะผา่ นไป ผูท้ ี่ไม่อยเู่ หตุการณ์ก็ไม่มีโอกาสได้
เห็นวา่ มีอะไรเกิดข้ึน ภาพถ่ายสามารถบนั ทึกเหตุการณ์เอาไวไ้ ด้ เพ่ือใหผ้ ูท้ ี่เคยเห็นแลว้ ดูซ้าํ อีกได้
และใหผ้ ทู้ ี่ยงั ไมเ่ คยเห็นมีโอกาสไดเ้ ห็น

จากลกั ษณะพิเศษดงั กล่าว เป็ นเหตุให้ภาพถ่ายช่วยในการส่ือสารไดเ้ ป็ นอย่างดี โดย
เฉพาะท่ีเห็นไดใ้ กลต้ วั คือ การสื่อสารระหวา่ งบุคคล ไม่วา่ จะเป็ นการสื่อสารในระยะใกล้ซ่ึงใช้
คาํ พดู หรือการสื่อสารทางไกลท่ีใชจ้ ดหมาย สามารถอาศยั ประโยชนจ์ ากภาพถ่ายไดม้ าก

ในการบอกกล่าวเร่ืองอยา่ งหน่ึงอยา่ งใด ผเู้ ล่าสามารถอธิบายรายละเอียดต่างๆ ท่ีตอ้ งการ
บอกกบั ผฟู้ ังไดโ้ ดยละเอียด หากผูฟ้ ังไม่เขา้ ใจก็อาจบอกซ้าํ หรืออธิบายเพิ่มเติมไดอ้ ีก แต่บางคร้ัง
การบอกเล่าไม่สามรถสร้างความเขา้ ใจไดด้ ีพอ หรือไม่สามารถสร้างความเขา้ ใจที่ถูกตอ้ งได้ เช่น
การพูดถึงสถานที่ ผคู้ น หรือส่ิงที่มีรูปร่างลกั ษณะเฉพาะตวั คาํ พดู ไมอ่ าจทาํ ใหผ้ ฟู้ ังรู้จกั ส่ิงน้นั ๆ ให้
ถูกตอ้ งได้ ไมว่ า่ จะเป็นการอธิบายใหล้ ะเอียดมากๆ หรือใชว้ ธิ ีเปรียบเทียบกบั สิ่งท่ีผฟู้ ังรู้จกั ได้ เช่น

SPU CHONBURI 16

เขารู้จกั แพะเป็ นอย่างดีอยู่แลว้ จึงเปรียบเทียบแกะกบั แพะเพื่อให้เห็นภาพแกะ ซ่ึงจะไม่ประสบ
ความสําเร็จ นอกจากน้ีก่อให้เกิดความเขา้ ใจผิดไดอ้ ีก เหมือนอยา่ งเร่ืองของผูใ้ หญ่ลีที่สรุปไดว้ า่
สุกรคือหมานอ้ ยธรรมดา ดงั น้นั หากเม่ือพดู ถึงแกะแลว้ มีภาพถ่ายใหด้ ู หรือมีภาพถ่ายของสุกรให้
ดู กจ็ ะช่วยใหผ้ ฟู้ ังรู้จกั สตั วท์ ่ีกล่าวถึงและไม่เกิดการเขา้ ใจผดิ พลาดดว้ ย

การใช้ภาพถ่ายประกอบการบอกเล่า ยงั อาจก่อให้เกิดความเข้าใจละเอียดมากข้ึน
นอกจากทาํ ให้ผูด้ ูภาพถ่ายรู้จกั สิ่งน้นั ๆ ว่าเป็ นอย่างไรแลว้ ยงั บอกรายละเอียดเพ่ิมเติมหรือช่วย
ยืนยนั ขอ้ เท็จจริงไดเ้ ป็ นอย่างดี เช่น การบอกเล่าเร่ืองพระปฐมเจดียใ์ ห้กบั ผูท้ ี่ไม่เคยรู้จกั มาก่อน
การใชภ้ าพถ่ายประกอบจะช่วยใหผ้ ฟู้ ังรู้จกั วา่ องคเ์ จดียม์ ีลกั ษณะอยา่ งไร และเห็นไดว้ า่ แตกตา่ งจาก
เจดียอ์ ่ืนๆ สิ่งท่ีจะไดท้ ราบเพิ่มเติมอีกก็คือ ในภาพถ่ายสามารถแสดงให้เห็นวา่ เจดียอ์ งคน์ ้ีใหญ่โต
แค่ไหน ซ่ึงการบอกเล่าสามรถช้ีแจงไดว้ า่ องคเ์ จดียส์ ูงก่ีฟุตหรือกี่เมตร การบอกลกั ษณะน้ีไม่ทาํ ให้
เกิดความรู้สึกวา่ ใหญ่โตมากนอ้ ยแค่ไหน แต่ถา้ จะให้ดูจากภาพถ่าย ความรู้สึกท่ีมีต่อเจดียอ์ งคน์ ้ีวา่
ใหญ่โตมโหฬารจริงๆ จะเห็นจากขนาดของตน้ ไม้ อาคารโดยรอบ และผูค้ นในภาพ จะช่วยแสง
สัดส่วนจะช่วยใหท้ ราบวา่ องคพ์ ระปฐมเจดียส์ ูงใหญม่ าก

ภาพถ่ายของบุคคลมีความสาํ คญั อีกอยา่ งหน่ึงคือ ใชเ้ ป็ นหลกั ฐานเพ่ือแสดงตวั ให้ทราบ
วา่ เป็นใคร เช่น ใชเ้ ป็นหลกั ฐานในบตั รประจาํ ตวั ซ่ึงจะเห็นไดจ้ ากภาพถ่ายในบตั รวา่ บุคคลผูน้ ้ีเป็ น
ใคร ชื่ออะไร หรือใช้เป็ นหลักฐานในการประกอบเอกสารสําคญั ต่างๆ เช่น ใบแสดงคุณวุฒิ
ใบรับรอง ใบสมคั รงาน ฯลฯ ซ่ึงเป็ นที่ยอมรับกนั โดยทว่ั ไปวา่ ภาพถ่ายช่วยเป็ นหลกั ฐานในการ
แสดงตวั ของบุคคลไดเ้ ป็ นอยา่ งดี ในกรณีน้ีอาจกล่าวไดอ้ ีกอยา่ งหน่ึงวา่ ทุกๆคนเคยถ่ายภาพ อยา่ ง
นอ้ ยกถ็ ่ายภาพเพือ่ ทาํ บตั รประจาํ ตวั

2.2 การใช้ภาพถ่ายเพื่อการสื่อสารระหว่างกลุ่ม
คนที่อยู่ร่วมกนั เป็ นกลุ่ม อาจจะเร่ิมจากจาํ นวนคนไม่มากนักจนกระทงั่ ถึงกลุ่มคนที่มี
จาํ นวนมากพอสมควรอยา่ งเช่น หมู่บา้ น องคก์ รหรือหน่วยงานต่างๆ ตลอดจนบริษทั ห้างร้าน ที่
ยงั มิไดด้ าํ เนินการดา้ นประชาสัมพนั ธ์อยา่ งจริงจงั ในการติดต่อสื่อสารภายในกลุ่มและระหวา่ งกลุ่ม
สามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากภาพถ่ายไดเ้ ป็นอยา่ งดี ไม่วา่ จะเป็นเรื่องเกี่ยวกบั งานหรือกิจกรรมต่างๆใน
กลุ่ม (เยาวนารถ พนั ธ์เพง็ ,2558,หนา้ 7-9)
ในองคก์ รหรือหน่วยงานอนั ประกอบดว้ ยบุคคลกลุ่มหน่ึง ยอ่ มจะตอ้ งมีการสื่อสารเพ่ือ
เสริมสร้างความเข้าใจและความสามคั คีอยู่เสมอ นับต้งั แต่การเสริมสร้างความเขา้ ใจเก่ียวกบั
หน่วยงาน ความเขา้ ใจในวิธีการทาํ งาน หรือเร่ืองราวเกี่ยวกบั ปัญาหาต่างๆ ตลอดจนการสร้างศูนย์
รวมแห่งจิตใจ การสร้างความรู้สึกร่วมกนั ในฐานะผทู้ ี่อยใู่ นหน่วยงานหรือองคก์ รเดียวกนั สิ่งตา่ งๆ

SPU CHONBURI 17

เหล่าน้ี เป็นเรื่องท่ีตอ้ งอาศยั การสื่อสารเพื่อใหท้ ุกคนไดร้ ับทราบเร่ืองราวเหมือนๆกนั ท้งั หมด และ
ใชภ้ าพถ่ายช่วยการส่ือสารดงั กล่าวน้ีไดเ้ ป็นอยา่ งดี

การสื่อสารในองคก์ รหรือหน่วยงาน อาจจะเริ่มจากการแนะนาํ ผบู้ ริหารใหพ้ นกั งานรู้จกั
อาจใชว้ ธิ ีจดั ทาํ เป็ นป้ายประกาศ มีภาพถ่ายตวั ผูบ้ ริหารประกอบคาํ บรรยายเพื่อแนะนาํ ให้รู้จกั ซ่ึง
จะช่วยให้ทุกๆคนรู้จกั ผูบ้ ริหารเป็ นอยา่ งดี ท้งั รายละเอียดต่างๆ ที่เก่ียวขอ้ งกบั ตวั ผูบ้ ริหาร ซ่ึงอ่าน
ไดจ้ ากขอ้ ความต่างๆ และหนา้ ตาของผบู้ ริหารซ่ึงอยใู่ นฐานะเป็ นหวั หนา้ ซ่ึงพนกั งานมีโอกาสเห็น
ภาพถ่ายพร้อมกนั ไปดว้ ยจนคุน้ เคยและสามารถทกั ทายปราศยั กนั ไดใ้ นภายหลงั

นอกจากน้ีอาจใชว้ ธิ ีดงั กล่าวแนะนาํ พนกั งานดว้ ยกนั เอง เพ่ือให้ต่างคนต่างก็รู้จกั กนั มาก
ยง่ิ ข้ึน การมีรายละเอียดเป็ นขอ้ ความแนะนาํ แต่ละคน ก็ข้ึนอยกู่ บั วา่ จะสามารถรวบรวมขอ้ มูลอนั
เป็ นรายละเอียดของแต่ละคนใหค้ รบถว้ นไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด แต่สิ่งท่ีจะช่วยแนะนาํ ไดด้ ีที่สุดและ
ทุกคนคงจะใชป้ ระโยชน์ไดด้ ีที่สุดก็คือภาพถ่ายของแต่ละคน ซ่ึงจะช่วยใหร้ ู้จกั ซ่ึงกนั และกนั เป็ น
อยา่ งดี

ในบางคร้ังท่ีมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเปลี่ยนตวั ผูบ้ ริหาร หรือมีการรับพนกั งานเขา้
ใหม่ การแนะนาํ ใหร้ ู้จกั กบั ผรู้ ่วมงาน หรือหวั หนา้ งานคนใหม่กเ็ ป็นส่ิงที่จาํ เป็นตอ้ งทาํ เช่นกนั

2.3 การใช้ภาพถ่ายเพื่อการสื่อสารในสังคม
ในสังคมจะประกอบด้วยบุคคลจาํ นวนมาก การติดต่อสื่อสารให้สมาชิกในสังคมได้
ทราบข่าวสารต่างๆ อย่างทว่ั ถึง จาํ เป็ นจะตอ้ งอาศยั สื่อท่ีผูค้ นสนใจและเป็ นสื่อที่ทาํ หน้าท่ีในการ
สื่อสารใหไ้ ดผ้ ล สื่อมวลชนประเภทต่างๆ คือ หนงั สือพิมพ์ วิทยกุ ระจายเสียงและวิทยุโทรทศั น์
ลว้ นมีบทบาท แต่อย่างไรก็ตามขอบข่ายท่ีสื่อมวลชนดังกล่วงสามารถแพร่กระจายข่างสารน้ัน
กวา้ งขวางมาก หากเป็ นการส่ือสารท่ีไม่ตอ้ งการความกวา้ งขวางในระดบั น้นั ๆ ก็อาจเล่ียงการใช้
ส่ือมวลชนดงั กล่าว เพอื่ ลดค่าใชจ้ ่ายมิใหส้ ูงจนเกินไป และใชส้ ่ืออยา่ งอ่ืนที่ทาํ ไดอ้ ยา่ งประหยดั กวา่
เช่น การทาํ ป้ายประกาศ จาํ ทาํ โปสเตอร์ หรือใชว้ ิธีเผยแพร่อื่นๆ(เยาวนารถ พนั ธ์เพง็ ,2558,หนา้ 9-
10)
การเผยแพร่หรือการสื่อสารในลกั ษณะดงั กล่าว ใชภ้ าพถ่ายช่วยการส่ือสารไดเ้ ป็ นอยา่ งดี
เน่ืองจากภาพถ่ายมีคุณสมบตั ิครบถว้ นในอนั ที่จะทาํ หนา้ ที่การส่ือสาร และตวั ภาพถ่ายก็สามารถใช้
เป็ นสื่อไดโ้ ดยตรง ไม่ว่าจะเป็ นการใช้ตวั ภาพถ่ายเพียงอย่างเดียว หรือมีการเขียนขอ้ ความหรือ
อธิบายประกอบกนั ไปด้วย การผลิตภาพถ่ายเพื่อใช้ในการสื่อสาร สามารถทาํ ได้โดยง่ายและ
สะดวกดงั น้ี
2.3.1 การผลิตจาํ นวนนอ้ ย ภาพถ่ายอาจอดั ขยายเพียงภาพเดียวหรือเพิ่มข้ึนเป็ น 2-3 ภาพ
ได้ โดยสะดวก และอาจเป็ นเพียงภาพถ่ายขนาดเล็กหรือจะขยายใหเ้ ป็ นขนาดใหญ่ก็สามารถทาํ ได้

SPU CHONBURI 18

โดยที่เวลาในการทาํ งานและค่าใชจ้ ่ายในการทาํ งานจะเป็ นไปตามจาํ นวนหรือขนาดภาพท่ีตอ้ งการ
ซ่ึงยอ่ มจะสะดวกสาํ หรับการผลิตจาํ นวนนอ้ ย

2.3.2 การผลิตจาํ นวนมากทาํ ไดโ้ ดยสะดวก ไม่วา่ จะเป็ น 10 ภาพ 20 ภาพ หรือมากกวา่
ซ่ึงสามารถใชเ้ วลาผลิตไมม่ ากนกั หากใชภ้ าพถ่ายที่มีขอ้ ความอธิบายประกอบอาจเขียนขอ้ ความลง
บนแผน่ กระดาษแยกต่างหาก แลว้ นาํ ภาพถ่ายมาปิ ดเขา้ ดว้ ยกนั ซ่ึงสามารถเตรียมการหรือทาํ ไป
พร้อมๆกบั การผลิตภาพถ่ายได้

2.4 การใช้ภาพถ่ายเพ่ือการเผยแพร่
การเผยแพร่และการประชาสัมพนั ธ์ เป็ นคาํ กล่าวที่นิยมพูดถึงพร้อมๆ กนั หรือพูดรวม
รวมกนั อยูเ่ สมอ ซ่ึงตามความเป็ นจริงแลว้ การเผยแพร่และการประชาสัมพนั ธ์มีความแตกต่างกนั
อยา่ งเห็นไดช้ ดั โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในแง่ของการใชภ้ าพถ่าย ภาพถ่ายเพื่อการเผยแพร่และภาพถ่าย
เพอื่ การประชาสัมพนั ธ์น้นั ตา่ งกนั (เยาวนารถ พนั ธุ์เพง็ ,2558,หนา้ 11-13)
การเผยแพร่เป็ นการเสนอเรื่องราวอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงใหป้ ระชาชนทราบ ซ่ึงส่วนใหญ่มกั
เป็ นเรื่องของทางราชการ ในฐานะเป็ นผูป้ กครองหรือเป็ นผูด้ ูแลความสงบเรียบร้อยต่างๆ ตอ้ งการ
ให้ประชาชนไดท้ ราบขอ้ กาํ หนด ประกาศ หรือคาํ แนะนาํ จึงตอ้ งใช้วิธีการเผยแพร่ให้ทราบกนั
การเผยแพร่อาจใช้สื่อมวลชนเพื่อให้เร่ืองราวกระจายกวา้ งขวาง เช่น วิทยุกระจายเสียง วิทยุ
โทรทศั น์ หนงั สือพมิ พแ์ ละนิตยสารการใชส้ ื่อตา่ งๆ เหล่าน้ี จะช่วยเผยแพร่ใหข้ า่ วสารแพร่กระจาย
กวา้ งขวาง ส่วนการจดั ทาํ เอกสารเผยแพร่แบบประเภท โปสเตอร์ ใบปลิว แผน่ พบั เพื่อแจกจ่าย
แก่ประชาชนแทนการลงพมิ พใ์ นหนงั สือพมิ พห์ รือนิตยสาร จะช่วยลดวงจาํ กดั ขอบเขตการเผยแพร่
ในการเผยแพร่บางอยา่ งอาจใชว้ ิธีหลายๆ อย่างเพ่ือให้ครอบคลุมท้งั หมดโดยกระทาํ ท้งั
ทางสื่อมวลชนสาขาต่างๆ และการใชต้ วั บุคคลเผยแพร่ดว้ ยการใชว้ ิธีประกาศและแจกจ่ายเอกสาร
ซ่ึงทาํ ใหก้ ารเผยแพร่ไดผ้ ลดียงิ่ ข้ึน
ดงั ไดก้ ล่าวแลว้ วา่ เรื่องราวที่ตอ้ งการเผยแพร่น้นั เป็ นเร่ืองที่หน่วยงานหรือหน่วยราชการ
มีความประสงคท์ ี่จะแจง้ ใหป้ ระชาชนทราบ ดงั น้นั ในการเผยแพร่จึงตอ้ งพยายามเสนอเน้ือหาให้
เขา้ ใจง่ายน่าสนใจและกระจ่างชดั ความจาํ เป็ นท่ีจะตอ้ งใชภ้ าพถ่ายเพื่อช่วยการเผยแพร่จึงเกิดข้ึน
เน่ืองจากภาพถ่ายมีคุณสมบตั ิดงั กล่าว สามารถดึงดูดความสนใจ ตลอดจนการเสริมสร้างความ
เขา้ ใจอนั ดี และถูกตอ้ ง รวมท้งั การใชภ้ าพถ่ายสามารถทาํ ไดส้ ะดวกในสื่อประเภทสิ่งพิมพ์ และ
การผลิตเอกสารเผยแพร่ตา่ งๆ
เร่ืองต่างๆท่ีตอ้ งการเผยแพร่หากใช้ภาพถ่ายเขา้ มาช่วยแล้ว มกั จะทาํ ให้การเผยแพร่
ประสบผลดีและถูกตอ้ ง ยกตวั อยา่ งง่ายๆ ในเร่ืองการประชุมเพ่ือแนะนาํ ส่งเสริมชาวบา้ นให้เล้ียง

SPU CHONBURI 19

สุกร คาํ วา่ สุกรอาจก่อให้เกิดปัญหาไดเ้ น่ืองจากไม่ใช่ภาษาพดู ท่ีชาวบา้ นคุน้ เคย เม่ือไดย้ ินคาํ น้ีอาจ
มีความเขา้ ใจแตกต่างกนั ไป

บางคนก็เขา้ ใจวา่ สุกรคือหมู หรือบางคนอาจเขา้ ใจผดิ วา่ สุกรคือสุนขั เป็ นตน้ ในกรณีน้ี
หากมีภาพถ่ายให้ดูดว้ ยก็จะสร้างความเขา้ ใจที่ถูกตอ้ งไดท้ นั ที และยิ่งจาํ เป็ นมากข้ึนสําหรับการ
เพาะปลูกพืชตามโครงการส่งเสริมดา้ นการเกษตรเพ่ือชนิดต่างๆ มกั มีชื่อเรียกแตกต่างกนั ไปในแต่
ละทอ้ งที่ การใชแ้ ต่คาํ พูดหรือตวั หนงั สือ อาจเขา้ ใจเป็ นคนละอยา่ งกนั ได้ ภาพถ่ายจึงสามารถช่วย
ใหเ้ ผยแพร่เรื่องตา่ งๆไดอ้ ยา่ งชดั เจนข้ึน

ในชนบทหรือในพ้ืนที่บางแห่งประชาชนมีการศึกษาไม่สูงนัก และบางคร้ังผูท้ ่ีจบ
การศึกษาภาคบงั คบั อาจอ่านหนังสือไม่ออก หรืออ่านได้ค่อนขา้ งลาํ บาก อ่านได้แต่ไม่เขา้ ใจ
ลกั ษณะของประชากรดงั กล่าวน้ีลว้ นเป็นปัญหาในการสื่อสาร ซ่ึงอาจพิจารณาไดด้ งั น้ี

2.4.1 การเผยแพร่โดยใช้เสียงจากการประกาศ การพูดในการประชุม ตลอดจน
วิทยุกระจายเสียง เป็ นวิธีที่ชาวบา้ นสามารถรับสารได้อยา่ งทว่ั ถึง แต่อาจเกิดปัญหาในดา้ นของ
ความเขา้ ใจ ซ่ึงถา้ เป็ นการประชุมก็อาจซักถามเพ่ิมเติมจนเขา้ ใจได้ แต่ถา้ เป็ นการรับฟังจากการ
ประกาศจากวิทยกุ ระจายเสียง เมื่อฟังแลว้ ยงั ไม่กระจ่างชดั เจนก็ยากท่ีจะทาํ ใหเ้ ขา้ ใจ อีกท้งั เร่ืองที่
ฟังน้นั ก็จะผา่ นเลยไป นอกจากน้ีเร่ืองที่ชาวบา้ นรับทราบท้งั ที่เขา้ ใจหรือไม่เขา้ ใจก็ตามเคา้ จะจดจาํ
ไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใดหากเป็นเรื่องที่ไม่เขา้ ใจจะไม่มีใครจดจาํ เลย

2.4.2 การเผยแพร่โดยใช้ส่ือสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์และหนังสือพิมพ์ต่างๆ
ลกั ษณะของส่ือประเภทน้ีเป็ นสื่อมวลชน ซ่ึงมีเป้าหมายของผรู้ ับข่าวสารเป็นประชาชนโดยทว่ั ๆไป
ดงั น้นั จึงเป็นสื่อที่ค่อนขา้ งจะรับไดย้ ากสาํ หรับชาวบา้ นผมู้ ีการศึกษาไม่สูงนกั เช่น ตวั หนงั สืออ่าน
ยาก เน้ือหาและถอ้ ยคาํ สาํ นวนอ่านยาก เขา้ ใจยาก ดงั น้นั สื่อมวลชนประเภทหนงั สือพมิ พ์ หนงั สือ
และนิตยสาร โดยทวั่ ไปจึงอาจเป็นปัญหาไม่สามารถทาํ หนา้ ที่สื่อสารไดห้ ลายพ้นื ที่บางแห่ง

2.5 การใช้ภาพถ่ายเพื่อการประชาสัมพนั ธ์
การประชาสัมพนั ธ์เป็ นวิธีการที่หน่วยงานแห่งใดแห่งหน่ึงทางหน่วยงานราชการและ
เอกชนพยายามที่จะเผยแพร่ข่าวสารใหก้ บั ประชาชนซ่ึงมีวตั ถุประสงคข์ องการประชาสัมพนั ธ์ดงั น้ี
(เยาวนารถ พนั ธุ์เพง็ ,2558,หนา้ 13-15)
2.5.1 เพื่อแนะนาํ ให้รู้จกั หน่วยงานหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็ นทางราชการหรือเอกชน
หน่วยงานท่ีประกอบธุรกิจเฉพาะของตนเอง เหมือนอย่างท่ีโรงงานซ่ึงผลิตสินคา้ ออกมาจาํ หน่าย
อาจตอ้ งการทาํ งานอยา่ งเงียบๆ ไม่ตอ้ งการติดต่อหรือมีความสมั พนั ธ์กบั ผอู้ ่ืน และไม่จาํ เป็ นตอ้ งให้
รู้จกั กนั ก็ได้ เพราะไม่มีผลต่อการทาํ งานแต่อย่างใด แต่การทาํ งานของหน่วยงานส่วนใหญ่มีส่วน
เก่ียวขอ้ งกบั ประชาชนเป็ นอนั มากงานหลายอยา่ งหากมีผรู้ ู้จกั มากข้ึนจะย่งิ พลอยเกิดผลสืบเนื่องให้

SPU CHONBURI 20

ธุรกิจน้นั ๆ ดาํ เนินไปดว้ ยดียิง่ ข้ึน ดงั น้นั หน่วยงานประเภทน้ีจาํ เป็ นที่จะตอ้ งมีการประชาสัมพนั ธ์
เพื่อใหป้ ระชาชนไดร้ ู้จกั วา่ มีหน่วยงานซ่ึงมีหนา้ ที่ประกอบธุรกิจดงั กล่าว เมื่อเป็นที่รู้จกั แลว้ จะมีผล
พลอยไดส้ ืบเน่ือง หากเป็ นหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การแสวงหากาํ ไรหรือตอ้ งมีลูกคา้ เช่น ธนาคาร
จะสังเกตไดว้ า่ ธนาคารท่ีมีการประชาสมั พนั ธ์มากกจ็ ะมีคนรู้จกั มากและมีลูกคา้ มากตามไปดว้ ย

2.5.2 ก่อให้เกิดประชามติ ประชามติเป็ นการแสดงความคิดเห็นของประชาชนจาํ นวน
มาก ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีเกิดทนั กนั เป็นปกติในบา้ นเมืองท่ีมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย ประชามติ
แสดงออกเมื่อมีปัญหาอย่างใดอย่างหน่ึงข้ึนมา หรือเมื่อต้องการหยงั่ เชิงประชามติก็ใช้วิธีการ
ประชาสัมพนั ธ์ เพ่ือเผยแพร่เรื่องราวดา้ นที่ตอ้ งการให้ประชาชนทราบกนั อยา่ งกวา้ งขวาง หาก
สามารถดาํ เนินการประชาสัมพนั ธ์ได้ดี อาจชักจูงประชามติให้มีผลออกมาตามตอ้ งการได้ ดงั
ตวั อยา่ งการทาํ ประชาสัมพนั ธ์เพอื่ ชกั จูงให้คนรักษาความสะอาด โดยทิ้งขยะเป็นท่ีเป็นทาง ตามถงั
ขยะที่จดั ไวใ้ ห้ หากใครทาํ สกปรกจะมี “ตาวิเศษ” คอยดูแล การประชาสัมพนั ธ์กรณีน้ีทาํ ไดด้ ีจน
เกิดประชามติในความรู้สึกของคนทว่ั ไปวา่ จะไม่พยายามทาํ สกปรกเนื่องจากตาวเิ ศษเห็น

2.5.3 ก่อให้เกิดภาพพจน์ที่ดี การประชาสัมพนั ธ์ของหน่วยงานท่ีสืบเนื่องต่อจากการให้
เป็ นที่รู้จกั ในแง่ดี หรือมีภาพพจน์ท่ีดี ซ่ึงวิธีการทางประชาสัมพนั ธ์จะช่วยไดเ้ ป็ นอยา่ งดี การที่
หน่วยงานมีบทบาทช่วยเหลือสังคมในดา้ นต่างๆ เช่น ช่วยอุดหนุนสาธารณูปโภค ช่วยส่งเสริม
การศึกษา โดยสร้างโรงเรียน ใหท้ ุนการศึกษา หรือวิจยั สงเคราะห์ช่วยเหลือผูค้ นในสงั คม ส่ิงต่างๆ
เหล่าน้ีตอ้ งอาศยั การประชาสัมพนั ธ์เพื่อเผยแพร่ใหเ้ ป็นที่ทราบกนั อยา่ งกวา้ งขวางต่อไปดว้ ย

2.5.4 เพ่ือแกไ้ ขภาพพจน์ การแกไ้ ขภาพพจน์ปรากฏเป็ นวธิ ีการประชาสัมพนั ธ์ท่ีสําคญั
ประการหน่ึง ซ่ึงหากหน่วยงานใดเกิดปัญหาในเร่ืองภาพพจน์ จาํ เป็ นอย่างย่ิงที่จะต้องรีบ
ดาํ เนินการประชาสัมพนั ธ์ เพื่อแกไ้ ขให้หมดไป มิฉะน้นั จะก่อให้เกิดความเสียหายแก่กิจการอยา่ ง
ย่ิงข้ึน ดงั ตวั อย่างเร่ืองของการประกนั ภยั หรือการประกนั ชีวิตซ่ึงเป็ นธุรกิจที่ดาํ เนินไปไดต้ อ้ งใส่
ความเช่ือถือศรัทธาของประชาชนหากประชาชนมีความรู้สึกวา่ การประกนั ภยั หรือการประกนั ชีวติ
เป็ นสิ่งท่ีไม่ให้ประโยชน์แก่ประชาชนเลย ผูเ้ อาประกนั ภยั เสียเปรียบ หรือบางรายถูกคดโกง
ความรู้สึกดงั กล่าวเกิดข้ึนหมายถึงวา่ ภาพพจน์ของการประกนั ภยั เสียไปแลว้ ต่างไปจากท่ีควรจะ
เป็ นว่าผูเ้ อาประกนั ยอ่ มจะไดร้ ับผลประโยชน์เต็มที่ตามท่ีไดป้ ระกนั ภยั ไว้ และตอ้ งประสบเหตุ
เภทภยั ต่างๆ กรณีเช่นน้ีย่อมจาํ เป็ นจะทาํ การประชาสัมพนั ธ์เพ่ือแกไ้ ขภาพพจน์ เช่นการเผยแพร่
เพอ่ื ใหเ้ ห็นวา่ ผทู้ ่ีทาํ ประกนั ภยั ไดร้ ับผลประโยชน์เตม็ ที่ตามที่ไดป้ ระกนั ภยั ตามปกติ ไมม่ ีปัญหาไม่
ตอ้ งวติ กกงั วลแต่ประการใด

SPU CHONBURI 21

3. แนวคดิ เกยี่ วกบั การคดั เลือกภาพถ่าย

เม่ือมีความตอ้ งการจะใชภ้ าพถ่ายเพ่อื การเผยแพร่หรือจะใชใ้ นการประชาสมั พนั ธ์ การใช้
ภาพจาํ เป็นจะตอ้ งมีความสามารถในการพจิ ารณาคดั เลือกภาพถ่าย จึงจะนาํ ภาพถ่ายไปใชใ้ หเ้ กิด
ประโยชนต์ ามความเหมาะสมเทา่ น้นั (เยาวนารถ พนั ธุ์เพง็ , 2558, หนา้ 97-99) ประสงคไ์ ด้
หลกั เกณฑใ์ นการพจิ ารณาคดั เลือกภาพถ่าย มีดงั น้ี

1 พจิ ารณาเน้ือหาของภาพ ภาพถ่ายท่ีดีซ่ึงนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการส่ือสารโดยเฉพาะใน
การเผยแพร่ และการประชาสมั พนั ธ์น้นั เน้ือหาของภาพถ่ายเป็นส่ิงสาํ คญั ที่สุดท่ีจะตอ้ งพจิ ารณาเป็ น
อนั ดบั แรกโดยจะตอ้ งดูวา่ ถา้ น้นั จะใชบ้ อกเร่ืองราวใดและบอกมาไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด เช่น เกี่ยวกบั
บุคคล ใหร้ ายละเอียดไดไ้ หมวา่ คนในภาพเป็ นใคร หนา้ ตาเป็นอยา่ งไร จุดเด่นท่ีน่าจดจาํ ตรงไหน
กิริยาท่าทางเป็นอยา่ งไร ลกั ษณะเป็นคนเรียบร้อย คนน่ารัก น่าคบหาสมาคม น่ากลวั ไมน่ ่าไวใ้ จส่ิง
ตา่ งๆ เหล่าน้ีเป็ นรายละเอียดที่อาจเห็นไดจ้ ากภาพถ่ายเก่ียวกบั สถานท่ีก็จะพิจารณาเป็ นรายละเอียด
ตา่ งๆ ใหม้ ากเช่นกนั วา่ อยสู่ ถานท่ีไหนมีรูปร่างอยา่ งไรการก่อสร้างสวยงามมีการตกแต่งประดบั
ประดามากนอ้ งเพียงไร ดูสง่างามหรือแออดั บรรยากาศร่มเยน็ หรือดูลึกลบั เร่ืองต่างๆเหล่าน้ีใน
ภาพถ่ายอาจจะแสดงไวไ้ มไ่ ดห้ มด แตก่ ็อาจบอกใหผ้ ทู้ ่ีดูทราบไดเ้ ป็ นส่วนใหญ่ ส่วนภาพถ่ายที่
เกี่ยวกบั การกระทาํ หรือเหตุการณ์ตา่ งๆ ก็อาจพจิ ารณาคลา้ ยๆ กบั ภาพข่าวคือตอ้ งใหม้ ีรายละเอียดวา่
ใครทาํ ทาํ อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อยา่ งไร ซ่ึงถา้ หากมีรายละเอียดใหท้ ราบมากเทา่ ใดกจ็ ะยง่ิ ดีมากข้ึน
เท่าน้นั

เน้ือหาของภาพถ่ายวา่ จะเพ่ือการเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์ตอ้ งใหเ้ ห็นไดช้ ดั เจนหรือ
สามารถถ่ายทอดเรื่องราวใหผ้ ดู้ ูไดโ้ ดยง่าย ดูแลว้ เขา้ ใจง่ายไม่มีสลบั ซบั ซอ้ น หากเป็นภาพที่ดูแลว้
เกิดความสงสัยกส็ ามารถใชว้ ธิ ีแยกข้นั ตอนตา่ งๆ เป็นภาพหรือจดั ทาเป็ นภาพชุดเพ่ือการใหด้ ูได้
ชดั เจนและติดตา หรือทาบกิ่งก็ตอ้ งถ่ายภาพข้นั ตอนต่างๆ อยา่ งชดั เจนเป็นภาพชุดแลว้ นามาใหด้ ู
ติดต่อกนั ไจจะช่วยใหเ้ ขา้ ใจง่าย เขา้ ใจถูกตอ้ ง และดูแลว้ ไม่เกิดความสงสัยซ่ึงอาจเป็นไปไดใ้ นกรณี
ที่เป็นภาพถ่ายที่ใกลม้ ากๆ แลว้ เวลาดูภาพดูเพียงภาพเดียวจะทาใหด้ ูยากหรือดูไมอ่ อก
การถ่ายทอดเน้ือหาของภาพในภาพถ่ายส่ิงที่เก่ียวขอ้ งดา้ นเทคนิคการถ่ายภาพประกอบอยดู่ ว้ ย คือ
เร่ืองการจดั องคป์ ระกอบและเรื่องของแสงสวา่ งช่วยภาพถ่ายมีความสวยงามดึงดูดความรู้สึกใหค้ น
สนใจช่วยใหเ้ ห็นรายละเอียดและช่วยสร้างอารมณ์ใหเ้ กิดกบั ผดู้ ูชดั เจน เช่น ดูแลว้ รู้สึกต่ืนตาต่ืนใจ
รู้สึกเบิกบาน รู้สึกสลดหดหู่ เน้ือหาของภาพถ่ายประกอบกบั การจดั แสงช่วยเนน้ ความรู้สึกตา่ งๆ
เหล่าน้ีไดเ้ ป็ นอยา่ งดี ดงั น้นั เมื่อพิจารณาคดั เลือกภาพถ่ายจึงตอ้ งดูสิ่งเหล่าน้ีดว้ ย และพิจารณาต่อไป
วา่ ถา้ จดั องคป์ ระกอบเสียใหม่จะดีกวา่ หรือหากการจดั แสงเป็นอยา่ งอื่นจะดีข้ึนหรือไม่

22

2. พิจารณาเทคนิคของการถ่ายภาพ นอกเหนือจากพจิ ารณาเน้ือหาของภาพเทคนิคอนั
เก่ียวเนื่องกบั เน้ือหา คือเร่ืองราวของการจดั แสงและการจดั องคป์ ระกอบแลว้ กจ็ าํ เป็ นตอ้ งพิจารณา
เทคนิคของการถ่ายภาพโดยตรง นบั แต่เรื่องของการต้งั หนา้ กลอ้ งการถ่ายภาพดีกจ็ ะไดภ้ าพที่มีสี
ถูกตอ้ งสวยงามรายละเอียดในบริเวณที่สวา่ งหรือบริเวณเงาดาํ ก็ยงั จะมีครบถว้ น ความลึกของระยะ
ชดั เป็นไปตามตอ้ งการ ความคมชดั และชดั เจนแจม่ ใส และหากพิจารณาคุณภาพในข้นั สรุปตอ้ งดู
ต่อไปวา่ การใชภ้ าพถ่ายจะใชอ้ ยา่ งไร ภาพถ่ายที่ใชใ้ นการเผยแพร่หรือการประชาสัมพนั ธ์มกั จะ
นาํ ไปพมิ พใ์ นเอกสารหรือหนงั สือต่างๆ ดงั น้นั ตอ้ งแยกพจิ ารณาอีก คือ

2.1 ภาพถ่ายขาวดาํ ใชเ้ ป็นตน้ ฉบบั สาหรับการพิมพส์ ีเดียว ซ่ึงก่อนถ่ายงานตอ้ งสอบถาม
และทาํ ความเขา้ ใจใหด้ ีก่อนนาํ ส่ง เช่น การพิมพเ์ ป็ นภาพขาวดาํ ตามตน้ ฉบบั ภาพท่ีจะใหพ้ มิ พไ์ ดด้ ี
นอกจากจะมีความคมชดั และถ่ายภาพต้งั หนา้ กลอ้ งถ่ายภาพถูกตอ้ งแลว้ ในการลา้ งฟิ ลม์ และการ
ขยายภาพ จาเป็นจะตอ้ งมีการลา้ งฟิ ลม์ ท่ีดีและถูกตอ้ ง คุณภาพในการขยายตอ้ งดี มีรายละเอียด
ครบถว้ นชดั เจน ไมด่ า เกินไปหรือขาวเกินไป

2.2 ภาพถ่ายสี เป็นภาพท่ีนิยมถ่ายกนั มากในปัจจุบนั โดยเป็นภาพที่ผลิตไดส้ ะดวกและ
รวดเร็ว โดยมีเครื่องมืออตั โนมตั ิประกอบกบั คอมพิวเตอร์ลา้ งฟิ ลม์ และอดั ขยายไดโ้ ดยเวลาส้ันมาก
ตวั ภาพเป็นภาพท่ีอดั ขยายบนกระดาษ ซ่ึงเหมาะสมสาํ หรับเอาไวด้ ู หรือเก็บเอาไวใ้ นอลั บ้มั รูปแต่
ในการเผยแพร่หรือการประชาสัมพนั ธ์กส็ ามารถนาํ มาใชป้ ระโยชน์ได้ โดยการใชภ้ าพถ่ายน้นั เป็น
ตน้ ฉบบั ในการพมิ พส์ ีเดียวเหมือนภาพขาวดาํ โดยผถู้ ่ายทาํ แมพ่ มิ พ์ ตอ้ งมีความสามารถจงั จะทาํ
แมพ่ ิมพแ์ ละพมิ พอ์ อกมาไดด้ ีเหมือนภาพถ่ายจากตน้ ฉบบั ขาวดาํ

2.3 ภาพสไลดส์ ี เป็นภาพที่ใชต้ น้ ฉบบั สาํ หรับการพิมพโ์ ดยทวั่ ไป ซ่ึงตามความจริงภาพสี
ประเภทน้ีเป็นภาพโพสิทีฟบนฟิ ลม์ ซ่ึงมีชื่อเรียกเฉพาะวา่ ภาพโปร่งแสง แตล่ กั ษณะของภาพเหมือน
ภาพสไลด์ ทาํ ใหเ้ รียกกนั โดยทวั่ ไปวา่ ภาพสไลดท์ ้งั ๆท่ีฟิ ลม์ หลายขนาดแตกตา่ งจากฟิ ลม์ สไลด์ ภาพ
สไลดท์ ี่จะนาํ ทาํ แมพ่ มิ พภ์ าพสีตอ้ งเป็นภาพถ่ายออกมาอยา่ งประณีต

2.4 ภาพดิจิตอล เป็นภาพท่ีใชใ้ นการทาส่ือประชาสมั พนั ธ์ง่าย สะดวกสบาย เนื่องจาก
ภาพดิจิตอลน้นั ไดม้ าจากการใชก้ ลอ้ งดิจิตอลถ่ายภาพ เมื่อถ่ายภาพเสร็จเรียบร้อยแลว้ สามารถดูภาพ
และนาํ ภาพสู่คอมพิวเตอร์ไดท้ นั ที นอกจากน้ียงั สามารถนาํ ไปใชง้ านในโปรแกรมประยกุ ตใ์ นการ
ออกแบบทาํ ส่ือประชาสมั พนั ธ์ไดเ้ ลย
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 23

บทท่ี 3
รายละเอยี ดของโครงงาน

โครงงานสหกิจศึกษาการถ่ายภาพเพอื่ ประชาสมั พนั ธ์ของกองช่างเทศบาลบางพลีนอ้ ยซ่ึงมี
รายละเอียดดงั ต่อไปน้ี

สภาพการณ์ของปัญหา

การปฏิบตั ิการงานจากเทศบาลตาํ บลบางพลีนอ้ ยน้นั เป็นประสบการณ์ท่ีหาไม่ไดจ้ ากใน
หอ้ งเรียน จึงมีความสนใจในการเรียนรู้เรื่องการถ่ายภาพของกองช่างเทศบาลตาํ บลบางพลีนอ้ ย
เพื่อที่จะนาํ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการประกอบวชิ าชีพในอนาคต

วตั ถุประสงค์ของโครงงาน

1. เพือ่ ศึกษาข้นั ตอนการถ่ายของกองช่างเทศบาลบางพลีนอ้ ย
2. เพอ่ื ศึกษาข้นั ตอนการคดั เลือกภาพของกองช่างเทศบาลบางพลีนอ้ ย

ขอบเขตของการดําเนินงานของโครงงาน

ศึกษาเกี่ยวกบั การถ่ายภาพและการคดั เลือกภาพของกองช่างเทศบาลบางพลีนอ้ ยต้งั แต่
วนั ท่ี 13 มกราคม พ.ศ. 2563 ถึง 18 มีนาคม พ.ศ. 2563 จาํ นวน 10 ชิ้นงาน

ผลทคี่ าดว่าจะได้รับจากการดําเนินโครงงาน

1.ไดท้ ราบการถ่ายภาพของกองช่างเทศบาลตาํ บลบางพลีนอ้ ย
2. ไดท้ ราบถึงหลกั ในการคดั เลือกภาพถ่ายท่ีเหมาะสมในการนาํ ไปเผยแพร่
3. ไดท้ ราบถึงปัญหาและอุปสรรคในการถ่ายภาพและการคดั เลือกภาพของกองช่าง
เทศบาลบางพลีนอ้ ย

24

บทที่ 4
ผลการดาํ เนินงาน

จากการศึกษาเรื่องการถ่ายภาพเพอื่ ประชาสัมพนั ธ์ของเทศบาลตาํ บลบางพลีนอ้ ยต้งั แต่
วนั ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2563 ถึง 18 มีนาคม 2563 โดยมีผลศึกษา ดงั ตอ่ ไปน้ี
อปุ กรณ์ทใี่ ช้ในการทาํ งาน

Canon EOS 70 D

สําหรับกล้อง Canon 70 D ผูป้ ฏิบตั ิงานได้เลือกมาใช้ในการถ่ายภาพท้งั หมดท่ีได้รับ
มอบหมาย โดยเลือกใชเ้ ลนส์ 18-55 ม.ม. และ เลนส์ 50 ม.ม. (CCTV-Manual Focus)
SPU CHONBURI

25

ชิ้นงานท่ี 1 ภาพการประชุมของคณะกรรมการแผนงานของเทศบาลบางพลนี ้อย

SPU CHONBURI
ภาพท่ี 18 ภาพการประชุมของคณะกรรมการแผนงานของเทศบาลบางพลีนอ้ ย

การสื่อความหมาย
เป็นการถ่ายภาพในการประชุมของคณะกรรมการเป็ นการส่ือสารภายในองคก์ รในการ

ประชุม
การตกแต่งภาพ
รูปน้ีไมไ่ ดร้ ับการตกแตง่ ภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพ
อุปกรณ์การถ่ายภาพ กลอ้ ง 70D 17 – 50 mm.

ความไวชตั เตอร์ 1/60 Sec.
คา่ รูรับแสง
คา่ ความไวแสง 3.5

การจัดองค์ประกอบภาพ 1600

เทา่ กนั การจดั องคป์ ระกอบแบบสมดุลแบบไมเ่ ทา่ กนั ถ่ายออกมาแลว้ ดูมีความสมดุลแตไ่ ม่

หลกั การคัดเลือกภาพ
พจิ ารณาจากเน้ือหาของภาพ โดยคดั เลือกจากคุณภาพของภาพและความชดั ของภาพ

26

ภาพทไี่ ม่ได้ผ่านการคดั เลือก

SPU CHONBURI
ภาพที่ 19 ภาพที่ไม่ไดก้ ารคดั เลือกชิ้นงางานท่ี 1
ภาพท่ี 19 ท่ีไม่ไดร้ ับการคดั เลือกเนื่องจากภาพเอียงไมไ่ ดส้ ดั ส่วนขององคป์ ระกอบภาพ
และไม่สามารถสื่อความหมายได้

27

ชิ้นงานที่ 2 ภาพของการขดุ ลอกถนนในการวางท่อระบายนํา้

SPU CHONBURI
ภาพที่ 20 ภาพของการขดุ ลอกถนนในการวางทอ่ ระบายน้าํ

การส่ือความหมาย
เป็นการสื่อความหมายท่ีถ่ายภาพท่ีถ่ายทอดความจริงเพอ่ื ใหผ้ คู้ นไดร้ ับรู้ถึงการวางท่อ

ระบายน้าํ
การตกแต่งภาพ
รูปน้ีไดท้ าํ การครอปรูปภาพเขา้ มาเพื่อใหภ้ าพสมบูรณ์มากยง่ิ ข้ึน
เทคนิคการถ่ายภาพ
อุปกรณ์การถ่ายภาพ กลอ้ ง 70D 17 – 50 mm.

ความไวชตั เตอร์ 1/600 Sec.
คา่ รูรับแสง
คา่ ความไวแสง 3.5

การจัดองค์ประกอบภาพ 500

ใชก้ ารจดั องคแ์ บบพ้ืนผวิ ที่แตกต่างกนั ออกไปทาํ ใหเ้ กิดจุดสนใจข้ึนมา

28

หลกั การคัดเลือกภาพ
จากภาพที่ 20 พจิ ารณาจากเน้ือหาของภาพและคุณภาพของภาพ

ภาพทไี่ ม่ได้รับการคดั เลือก

SPU CHONBURI
ภาพท่ี 21 ภาพที่ไม่ไดร้ ับการคดั เลือกชิ้นงานท่ี 2
ภาพที่ 21 ท่ีไม่ไดร้ ับการคดั เลือกเนื่องจากองคป์ ระกอบของภาพไมไ่ ดแ้ สดงถึงการ
ดาํ เนินการและไม่สามารถส่ือความหมายได้

29

ชิ้นงานท่ี 3 ภาพของกรรมการตรวจงานการปรับพืน้ ผิวจราจร

SPU CHONBURI
ภาพที่ 22 ภาพของกรรมการตรวจงานการปรับฟ้ื นผิวจราจร

การสื่อความหมาย
เป็นการส่ือถึงคณะกรรมการกาํ ลงั คุยกบั ผรู้ ับเหมาเป็นการถ่ายภาพท่ีเนน้ บุคคล
การตกแต่งรูปภาพ
ภาพน้ีไมไ่ ดร้ ับการตกแตง่ ภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพ
อุปกรณ์การถ่ายภาพ กลอ้ ง 70D 17 – 50 mm.

ความไวชตั เตอร์ 1/600 Sec.

คา่ รูรับแสง 5.6
ค่าความไวแสง
การจัดองค์ประกอบภาพ 200

ใชอ้ งคป์ ระกอบภาพจุดความสนใจทาํ ใหจ้ ุดสนอยทู่ ่ีกลางรูประหวา่ งคณะกรรมการและ

ผรู้ ับเหมา

30

หลกั การคัดเลือกภาพ
จากภาพที่ 22 พิจารณาจากเน้ือหาของภาพและคุณภาพของภาพ

ภาพทไี่ ม่ได้การคัดเลือก

SPU CHONBURI
ภาพที่ 23 ภาพที่ไมผ่ า่ นการคดั เลือกชิ้นงานท่ี 3
ภาพท่ี 23 ไม่ไดร้ ับการคดั เลือกเน่ืองจากผถู้ ่ายรีบถ่ายมากเกินไปจนท่ีใหห้ วั ของกรรมการ
ขาดไปและภาพเอียงทาํ ใหอ้ งคป์ ระกอบของภาพไมส่ มบูรณ์

31

ชิ้นงานที่ 4 ภาพของช่างก่อสร้างกาํ ลงั ดําเนินวางโครงสร้างพืน้ ผวิ ถนน

SPU CHONBURI
ภาพที่ 24 ภาพของช่างก่อสร้างกาํ ลงั ดาํ เนินการวางโครงสร้างพ้นื ผวิ ถนน

การสื่อความหมาย
เป็นการสื่อถึงช่างก่อสร้างกาํ ลงั ทาํ งานเป็นการถ่ายภาพเพื่อบนั ทึกเหตุการณ์
การตกแต่งรูปภาพ
รูปภาพน้ีใชก้ ารตกแตง่ โดนครอปรูปภาพเพ่ือใหอ้ งคป์ ระกอบสมบูรณ์ข้ึน
เทคนิคการถ่ายภาพ
อุปกรณ์การถ่ายภาพ กลอ้ ง 70D 17 – 50 mm.

ความไวชตั เตอร์ 1/600 Sec.
ค่ารูรับแสง
ค่าความไวแสง 5.6

การจัดองค์ประกอบ 200

ใชก้ ารจดั องคป์ ระกอบภาพจุดตดั เกา้ ช่องโดยใหล้ ุงช่างก่อสร้างเป็นจุดสนใจ

32

หลกั การคดั เลือกภาพ
จากภาพท่ี 24 พจิ ารณาจากเน้ือหาของภาพและองคป์ ระกอบของภาพ

ภาพทไี่ ม่ได้รับการคดั เลือก

SPU CHONBURI
ภาพท่ี 25 ท่ีไม่ไดร้ ับการคดั เลือกชิ้นงานที่ 4
ภาพท่ี 25 ไมไ่ ดร้ ับการคดั เลือกเน่ืองจากมีคนเขา้ เฟรมมาทางซา้ ยทาํ ใหภ้ าพดูไมส่ วยงาม
แลว้ ทาํ ใหด้ ึงดูดสายตามากเกินไป

33

ชิ้นงานที่ 5 ภาพของช่างก่อสร้างทกี่ าํ ลงั เทคอนกรีตพืน้ ถนน

SPU CHONBURI
ภาพที่ 26 ภาพของช่างก่อสร้างที่กาํ ลงั เทคอนกรีตพ้นื ถนน

การสื่อความหมาย
เป็นการส่ือถึงช่างกาํ ลงั ทาํ งานเป็นการถ่ายภาพแบบบนั ทึกเหตุการณ์ขณะนน่ั
การตกแต่งรูปภาพ
รูปภาพใชก้ ารตกแต่งโดยการครอบรูปภาพเพื่อให้ภาพสมบูรณ์
เทคนิคการถ่ายภาพ
อุปกรณ์การถ่ายภาพ กลอ้ ง 70D 17 – 50 mm.

ความไวชตั เตอร์ 1/600 Sec.

ค่ารูรับแสง 5.6
ค่าความไวแสง
การจัดองค์ประกอบ 250

ใชก้ ารจดั องคป์ ระกอบแบบจุดตดั เกา้ ช่องทาํ ใหจ้ ุดสนใจอยตู่ รงท่ีช่างกาํ ลงั ทาํ งาน
หลกั การคัดเลือกภาพ
จากภาพท่ี 26 พจิ ารณาจากเน้ือหาของภาพสามารถถ่ายทอดเรื่องราวไดด้ ี

34

ภาพทไ่ี ม่ได้รับการคดั เลือก

SPU CHONBURI
ภาพท่ี 27 ภาพที่ไมไ่ ดร้ ับการคดั เลือกชิ้นงานท่ี 5
ภาพที่ 27 ไม่ไดร้ ับการคดั เลือกเนื่องจากผถู้ ่ายไดซ้ ูมเขา้ ไปทาํ ใหภ้ าพดูแคบทาํ ใหเ้ ป็ นภาพ
ที่ดูไมส่ วยงามเท่าที่ควร

35

ชิ้นงานที่ 6 ภาพของพนักงานบริษัทคอนกรีตกาํ ลงั ทาํ การเกบ็ ตวั อย่างคอนกรีต

SPU CHONBURI
ภาพที่ 28 ภาพของพนกั งานบริษทั คอนกรีตกาํ ลงั เกบ็ ตวั อยา่ งคอนกรีต

การส่ือความหมาย
เป็นการถ่ายภาพเพอื่ บนั ทึกเหตุการณ์ขณะน้นั ของคนที่กาํ ลงั เก็บตวั อยา่ งคอนกรีต
การตกแต่งรูปภาพ
รูปภาพน้ีไม่ไดร้ ับการตกแตง่ รูปภาพ
เทคนิคของการถ่ายภาพ
อุปกรณ์การถ่ายภาพ กลอ้ ง 70D 17 – 50 mm.

ความไวชตั เตอร์ 1/800 Sec.

ค่ารูรับแสง 3.5
คา่ ความไวแสง
การจัดองค์ประกอบภาพ 200

ใชก้ ารจดั องคป์ ระกอบแบบจุดตดั เกา้ ช่องเพ่ือใหเ้ นน้ ไปท่ีบุคคล
หลกั การคดั เลือกภาพ
จากภาพท่ี 28 พจิ ารณาจากเน้ือหาของภาพท่ีสามารถถ่ายทอดไดอ้ ยา่ งชดั เจน

36

ภาพทไี่ ม่ได้รับการคัดเลือก

SPU CHONBURI
ภาพที่ 29 ภาพที่ไม่ไดร้ ับการคดั เลือกชิ้นงานที่ 6
ภาพที่ 29 ท่ีไม่ไดร้ ับการคดั เลือกเน่ืองจากถ่ายภาพเห็นหนา้ บุคคลไม่ชดั แลว้ เป็นภาพท่ีมืด
ทาํ ใหด้ ูไม่สวยงามเท่าที่ควรและเน้ือหาของภาพไมไ่ ดส้ ่ืออยา่ งชดั เจน

37

ชิ้นงานที่ 7 ภาพของการใช้รถบรรทุกเทคอนกรีตพืน้ ผวิ ถนน

SPU CHONBURI
ภาพท่ี 30 ภาพของการการใชร้ ถบรรทุกเทคอนกรีตพ้ืนผวิ ถนน

การสื่อความหมาย
เป็นการถ่ายภาพเพื่อบนั ทึกเหตุการณ์ขณะน้นั ของการเทคอนกรีตพ้นื ถนน
การตกแต่งรูปภาพ
รูปภาพน้ีไดร้ ับการตกแตง่ โดยการครอปรูปภาพ
เทคนิคการถ่ายรูป
อุปกรณ์การถ่ายภาพ กลอ้ ง 70D 17 – 50 mm.

ความไวชตั เตอร์ 1/500 Sec.

คา่ รูรับแสง 5.6
คา่ ความไวแสง
การจัดองค์ประกอบ 320

ใชก้ ารจดั องคป์ ระกอบแบบจุดตดั เกา้ ช่องเพื่อใหร้ ถบรรทุกเป็นจุดท่ีน่าสนใจ
หลกั การคดั เลือก
จากภาพท่ี 30 พจิ ารณาจากเน้ือหาของภาพและคุณภาพของภาพ

38

ภาพทไ่ี ม่ได้รับการคัดเลือก

SPU CHONBURI
ภาพที่ 31 ภาพที่ไม่ไดร้ ับการคดั เลือกชิ้นงานท่ี 7
ภาพท่ี 31 ท่ีไมไ่ ดร้ ับการคดั เลือกเนื่องจากภาพมืดทาํ ใหภ้ าพไมไ่ ดด้ ีเทา่ ที่ควร

39

ชิ้นงานท่ี 8 ภาพของการเจาะวดั ความลกึ ของถนน

SPU CHONBURI
ภาพท่ี 32 ภาพของการเจาะวดั ความลึกของถนน

การส่ือความหมาย
เป็นการถ่ายภาพเพื่อบนั ทึกเหตุการณ์ขณะท่ีกาํ ลงั ทาํ การทดสอบถนน
การตกแต่งภาพ
ภาพน่ีไมไ่ ดร้ ับการตกแตง่ รูปภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพ
อุปกรณ์การถ่ายภาพ กลอ้ ง 70D 17 – 50 mm.

ความไวชตั เตอร์ 1/1600 Sec.

คา่ รูรับแสง 3.5
ค่าความไวแสง
การจัดองค์ประกอบ 200

ใชก้ ารจดั องคป์ ระกอบแบบจุดสนใจเพ่อื ทาํ ให้จุดสนใจอยทู่ ่ีกลางภาพ
หลกั การคดั เลือกภาพ
จากภาพที่ 32 พจิ ารณาจากเน้ือหาของภาพและคุณภาพของภาพและความชดั ของภาพ

40

ภาพทไี่ ม่ได้รับการคดั เลือก

SPU CHONBURI
ภาพที่ 33 ภาพที่ไม่ไดร้ ับการคดั เลือกชิ้นงานท่ี 8
ภาพท่ี 33 ที่ไม่ไดร้ ับการคดั เลือกเนื่องจากเป็นภาพท่ีไมไ่ ดร้ ับการจดั องคป์ ระกอบทาํ ให้
เป็นท่ีไม่สวยงามเทา่ ท่ีควร


Click to View FlipBook Version