The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การตัดต่อรายการคิดส์สนุกของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by comm, 2021-03-19 00:30:42

การตัดต่อรายการคิดส์สนุกของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

การตัดต่อรายการคิดส์สนุกของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

การตัดตอ่ รายการคดิ ส์สนุก
ของสถานโี ทรทัศน์ไทยพีบเี อส

สาขาวชิ าวทิ ยกุ ระจายเสยี งและวทิ ยโุ ทรทศั น์ คณะนเิ ทศศาสตร์
มหาวิทยาลยั ศรปี ทมุ วิทยาเขตชลบรุ ี
ปกี ารศกึ ษา 2562

นภัสสร ศริ ประภาพรสกลุ

SPU CHONBURIการตดั ต่อรายการคดิ ส์สนุกของสถานีโทรทศั น์ไทยพบี ีเอส
EDITING KID SANOOK OF TELEVISION STATION THAI PBS

นภสั สร ศิรประภาพรสกลุ
NAPATHSORN SIRAPARPAPRONSAKUL

รายงานฉบบั นีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการปฏบิ ัตติ ิงานสหกจิ ศึกษา
สาขาวชิ าวทิ ยุกระจายเสียงและวทิ ยุโทรทศั น์
คณะนิเทศศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม วทิ ยาเขตชลบุรี
ปี การศึกษา 2562

SPU CHONBURIการตดั ต่อรายการคดิ ส์สนุกของสถานีโทรทศั น์ไทยพบี ีเอส
EDITING KID SANOOK OF TELEVISION STATION THAI PBS

นภัสสร ศิรประภาพรสกลุ
NAPATHSORN SIRAPARPAPRONSAKUL

ปฏบิ ตั งิ าน ณ บริษทั สถานีโทรทศั น์ไทยพบี เี อส
เลขท1ี่ 45 ถนนวภิ าวดรี ังสิต

แขวงตลาดบางเขน เขต หลกั ส่ี จงั หวดั กรุงเทพมหานคร
รหัสไปรษณยี ์ 10210

I

ชื่อหวั ขอ้ การตดั ตอ่ รายการคิดสส์ นกุ ของสถานีโทรทศั น์ไทยพบี เี อส
EDITING KID SANOOK OF TELEVISION STATION THAI PBS
ชื่อนกั ศึกษา นางสาว นภสั สร ศริ ประภาพรสกุล รหัสประจาตวั 59707973
สาขา วิทยุกระจายเสียงและวิทยโุ ทรทศั น์
คณะ นิเทศศาสตร์

คณะกรรมการสอบโครงงานสหกิจศกึ ษา

SPU CHONBURI ...................................................................อาจารยท์ ป่ี รึกษาสหกจิ ศกึ ษา
( ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ ราพร ดาจบั )

...................................................................................คณะกรรมการสอบ
( ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชินวฒั น์ ประยรู รตั น์ )

....................................................................................คณะกรรมการสอบ
( อาจารยท์ พิ ยส์ ุคนธ์ เพชรโอภาส )

คณะนิเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ วทิ ยาเขตชลบรุ ี อนุมตั ิใหร้ ายงานปฏิบตั งิ าน
สหกจิ ศึกษาเป็นส่วนหน่ึงของรายวิชาสหกจิ ศกึ ษา

…….……………………………………….รองคณบดคี ณะนิเทศศาสตร์
(รองศาสตราจารย์ ดร.เยาวนารถ พนั ธุ์เพง็ )

วนั ที่................เดอื น..................พ.ศ. 2563

II
วนั ท่ี 8 พฤษภาคม 2563
เรื่อง ขอส่งรายงานการปฏิบตั ิงานสหกิจศกึ ษา
เรียน อาจารยท์ ปี่ รึกษาสหกิจศกึ ษา สาขาวชิ าวิทยกุ ระจายเสียงและวทิ ยุโทรทศั น์
(ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยว์ ราพร ดาจบั )
ตามที่ดิฉนั นางสาว นภสั สร ศริ ประภาพรสกุล นกั ศกึ ษาสาขาวชิ าวิทยกุ ระจายเสียงและ
วทิ ยุโทรทศั น์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม วิทยาเขตชลบรุ ี ไดป้ ฏิบตั ิงานสหกจิ ศกึ ษา
ระหว่างวนั ท่ี 13 มกราคม 2563 ถึง วนั ท่ี 8 พฤษภาคม 2563 ในตาแหน่ง ตดั ตอ่ รายการคดิ ส์สนุก
ณ สถานีโทรทศั นไ์ ทยพีบเี อส และไดร้ ับมอบหมายใหน้ าเสนอรายงานหวั ขอ้ การตดั ต่อรายการคิดส์
สนุกของสถานีโทรทศั นไ์ ทยพบี เี อส
บดั น้ี การปฏบิ ตั ิงานสหกจิ ศกึ ษาไดส้ ิ้นสุดลงแลว้ จึงขอส่งรายงานการปฏบิ ตั งิ านสหกิจ
ศกึ ษา ดงั กล่าวจานวน 1 เลม่ เพอื่ ขอรบั คาปรึกษาตอ่ ไป
จึงเรียนมาเพอื่ โปรดพจิ ารณา

ขอแสดงความนบั ถือ
(นางสาวนภสั สร ศิรประภาพรสกุล)
SPU CHONBURI

IV

หัวขอ้ สหกจิ ศกึ ษา การตดั ตอ่ รายการคิดส์สนุกของสถานีโทรทศั น์ไทยพีบีเอส

ชื่อนกั ศึกษา นภสั สร ศิรประภาพรสกุล

อาจารยท์ ีป่ รึกษาสหกิจ ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ ราพร ดาจบั

หลกั สูตร นิเทศศาสตร์

สาขาวิชา วทิ ยุกระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์

พ.ศ. 2563

SPU CHONBURI บทคดั ย่อ

จากการทาโครงงานเรื่อง การตดั ต่อรายการคดิ ส์สนุกของสถานีโทรทศั น์ไทยพบี เี อส ใน
ระยะเวลาสองเดือน ต้งั แตว่ นั ที่ 13 มกราคม 2563 – 20 มนี าคม 2563 ผจู้ ดั ทาไดร้ บั หมอบหมายให้
ตดั ตอ่ รายการคดิ ส์สนุกและแจง้ ควิ ผงั รายการเดก็ เผยแพร่ผ่านทางสถานีโทรทศั นไ์ ทยพีบีเอส โดยมี
วตั ถุประสงคเ์ พ่อื ศกึ ษากระบวนการตดั ตอ่ และเพือ่ ศึกษาโปรแกรม Velocity ESX

จากการปฏิบตั ิตงิ านสหกจิ ศกึ ษาทาให้ผจู้ ดั ทาไดร้ ูว้ า่ การตดั ต่อทใี่ ช้ เป็นระบบนอนลิเนียร์
(Non-Linear) เป็นการตดั ตอ่ โดยใชโ้ ปรแกรม Velocity ESX โดยข้นั ตอนของการตดั ต่อจะแบง่ เป็น
สามข้นั ดว้ ยกนั คือ ข้นั แรกเป็นการตรวจดภู าพ หรือ Footage ท่ีมกี ารบนั ทึกเอาไวแ้ ลว้ เป็นการ
ตรวจสอบความถูกตอ้ งและความเรียบรอ้ ยของงานก่อนนามาตดั ตอ่ ข้นั ตอ่ ไปเป็นการนา Footage ท่ี
เลอื กนามาใส่บน Timeline เพอื่ ทาการเรียบเรียงตาม Rundown ของรายการทไี่ ดก้ าหนดเอาไว้ และ
ข้นั สุดทา้ ยเป็นการตดั ต่อรายการให้สมบูรณแ์ บบดว้ ยการลาดบั ภาพ,ปรบั เสียงให้มเี กณฑเ์ สียงท่ี
พอดี ไม่ดงั และไมเ่ บาจนเกนิ ไป, ปรับสี หากมบี างชว่ งของภาพทมี่ ืดหรือมีคา่ สีไมเ่ ท่ากนั และใส่
เอฟเฟคพเิ ศษเพื่อเพิม่ ความน่าสนใจให้กบั รายการ การใชเ้ อฟเฟคพเิ ศษในการตดั ต่อส่วนใหญ่เป็น
การตดั แบบ Cut หรือการชนภาพแบบธรรมดา ซ่ึงเทคนิคน้ีจะใชบ้ อ่ ยมากท่ีสุดในรายการ,การเล่ือน
ภาพจะใช้ Fade White หรือ Dissolve เนน้ ความลืน่ ไหลและความตอ่ เนื่องของเน้ือหา จากน้นั
ตรวจสอบความเรียบร้อยอีกคร้ังถงึ ความถกู ตอ้ ง กอ่ น Export งานเขา้ สู่ระบบเซฟเวอร์กลางเพอื่ ให้
ฝ่ ายเซ็นเซอร์ตรวจสอบและนาไปออกอากาศ

ปัญหาและอปุ สรรคในการตดั ตอ่ พบวา่ โปรแกรมทีใ่ ชใ้ นการตดั ต่อ เป็นโปรแกรมทีไ่ ม่
คนุ้ เคยและไมร่ ูจ้ กั มาก่อนจงึ มีปัญหาในเร่ืองของการใชเ้ คร่ืองมือต่างๆในโปรแกรม นอกจากน้ียงั มี
เรื่องของคยี บ์ อร์ดคอมพวิ เตอร์ท่ีไมม่ ตี วั อกั ษรในการพมิ พซ์ ีจีและเครื่องคอมพิวเตอร์ทีใ่ ชใ้ นการตดั
ตอ่ มปี ัญหาบอ่ ยทาให้เกิดความล่าชา้ ในการทางาน

III

กติ ติกรรมประกาศ

การที่ดฉิ ันไดม้ าปฏบิ ตั งิ านโครงการสหกจิ ศกึ ษา ณ บริษทั สถานีโทรทศั นไ์ ทยพบี ีเอส

ต้งั แต่วนั ท่ี 13 มกราคม 2563 ถงึ วนั ท่ี 8 พฤษภาคม 2563 ทาใหด้ ฉิ นั ไดร้ ับความรูแ้ ละประสบการณ์

ในการทางานจริงรวมท้งั ทกั ษะในการทางานดา้ นต่างๆ ท่มี ีคณุ ค่า สาหรบั รายงานสหกิจฉบบั น้ี

สาเร็จลงไดด้ ว้ ยดีเนื่องจากการสนบั สนุนและความร่วมมือจากหลายฝ่าย ดงั น้ี

1. ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ ราพร ดาจบั อาจารยค์ ณะนิเทศศาสตร์

2.คุณภูริพนั ธ์ สิงหจนั ทร์ ผจู้ ดั การฝ่ายตดั ตอ่ รายการและ playout
SPU CHONBURI
3. คณุ ศภุ รตั น์ สมบูรณ์ ฝ่ายตดั ต่อรายการและ Playout

นอกจากน้ียงั มบี คุ คลทา่ นอน่ื ๆทีม่ ไิ ดก้ ล่าวถงึ ไว้ ณ ที่น้ี ซ่ึงท่านเหลา่ น้ีไดก้ รุณาให้

คาแนะนาในการจดั ทารายงานฉบบั น้ี

ดฉิ นั ขอขอบพระคณุ ทุกทา่ นท่ีไดม้ ีส่วนร่วมในการให้ขอ้ มลู คาแนะนา และเป็นที่

ปรึกษาในการจดั ทารายงานฉบบั น้ีจนเสร็จสมบูรณ์

นภสั สร ศริ ประภาพรสกุล
ผจู้ ดั ทารายงาน
8 พฤษภาคม 2563

V

สารบญั

เร่ืองSPU CHONBURI หนา้
ใบรบั รองรายงานการปฏิบตั ติ งิ านสหกจิ ศกึ ษา……………………………………………. I
จดหมายนาส่งรายงานการปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศกึ ษา………………………………………… II
กติ ตกิ รรมประกาศ………………………………………………………………………… III
บทคดั ยอ่ …………………………………………………………………………………... IV
สารบญั ……………………………………………………………………………………. V
สารบญั ตาราง……………………………………………………………………………... VI
สารบญั ภาพ………………………………………………………………………………..
บทท่ี 1 บทนา....................................................................................................................... VII
1
ประวตั คิ วามเป็นมา.................................................................................................... 2
การจดั การองคก์ ร........................................................................................................ 3
ลกั ษณะทางธุรกจิ ........................................................................................................ 3
ตาแหน่งและลกั ษณะงานท่ีไดร้ ับหมอบหมาย............................................................ 4
บุคลากรผนู้ ิเทศงาน..................................................................................................... 4
บทท่ี 2 แนวคิด และ ทฤษฎีท่ีเกีย่ วขอ้ ง................................................................................. 5
บทที่ 3 รายละเอียดของโครงการ.......................................................................................... 54
สภาพการณ์และปัญหา............................................................................................... 54
วตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ................................................................................................ 54
ขอบเขตของการดาเนนิ งานของโครงการ................................................................... 55
ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั จากการดาเนินงานโครงการ........................................................ 55
บทที่ 4 ผลการศึกษา............................................................................................................ 56
บทท่ี 5 สรุปผลการศึกษา.................................................................................................... 78
สรุปผลการดาเนินงาน............................................................................................... 78
ปัญหาและขอ้ เสนอแนะ............................................................................................. 79
บรรณานุกรม............................................................................................................. 80
ภาคผนวก.................................................................................................................. 81

V

สารบญั

เร่ืองSPU CHONBURI หนา้
ใบรบั รองรายงานการปฏิบตั ติ งิ านสหกจิ ศกึ ษา……………………………………………. I
จดหมายนาส่งรายงานการปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศกึ ษา………………………………………… II
กติ ตกิ รรมประกาศ………………………………………………………………………… III
บทคดั ยอ่ …………………………………………………………………………………... IV
สารบญั ……………………………………………………………………………………. V
สารบญั ตาราง……………………………………………………………………………... VI
สารบญั ภาพ………………………………………………………………………………..
บทท่ี 1 บทนา....................................................................................................................... VII
1
ประวตั คิ วามเป็นมา.................................................................................................... 2
การจดั การองคก์ ร........................................................................................................ 3
ลกั ษณะทางธุรกจิ ........................................................................................................ 3
ตาแหน่งและลกั ษณะงานท่ีไดร้ ับหมอบหมาย............................................................ 4
บุคลากรผนู้ ิเทศงาน..................................................................................................... 4
บทท่ี 2 แนวคิด และ ทฤษฎีท่ีเกีย่ วขอ้ ง................................................................................. 5
บทที่ 3 รายละเอียดของโครงการ.......................................................................................... 54
สภาพการณ์และปัญหา............................................................................................... 54
วตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ................................................................................................ 54
ขอบเขตของการดาเนนิ งานของโครงการ................................................................... 55
ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั จากการดาเนินงานโครงการ........................................................ 55
บทที่ 4 ผลการศึกษา............................................................................................................ 56
บทท่ี 5 สรุปผลการศึกษา.................................................................................................... 78
สรุปผลการดาเนินงาน............................................................................................... 78
ปัญหาและขอ้ เสนอแนะ............................................................................................. 79
บรรณานุกรม............................................................................................................. 80
ภาคผนวก.................................................................................................................. 81

VI

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา้

1 ตารางเปรียบเทยี บเน้ือหาแฟนซีและเน้ือหาท่เี ป็นจริง………………………………….. 49

2 ตารางเคา้ โครงรายการคดิ ส์สนุก……………………………………………………….. 50

SPU CHONBURI

VI

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา้

1 ตารางเปรียบเทยี บเน้ือหาแฟนซีและเน้ือหาท่เี ป็นจริง………………………………….. 49

2 ตารางเคา้ โครงรายการคดิ ส์สนุก……………………………………………………….. 50

SPU CHONBURI

SPU CHONBURI VII

สารบญั ภาพ

ภาพท่ี หนา้
1โลโกอ้ งคก์ ารกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย................................ 1
2 แผนผงั สถานีโทรทศั น์ไทยพบี เี อส……………………………………………………... 3
3 บุคลากรผนู้ ิเทศงาน…………………………………………………………………….. 4
4 คณิตคดิ สนุก…………………………………………………………………………… 27
5 คู่หูคูว่ าด………………………………………………………………………………... 27
6 ชว่ งสมาชิกคดิ ส์สนุกประจาวนั ………………………………………………………… 28
7 คาถามชวนคดิ สนุก…………………………………………………………………….. 28
8 ช่วงสมาชิกคดิ สส์ นุกรกั สิ่งแวดลอ้ ม…………………………………………………… 28
9 การเช่ือมตอ่ LLM ผ่าน Network LAN ………………………………………………... 29
10 Icon Velocity NX…………………………………………………………………….. 29
11 การ Logon เขา้ โปรแกรม……………………………………………………………... 30
12 หนา้ ตา่ ง Startup เพอ่ื เรียกโปรเจคเดมิ หรือสร้างโปรเจคใหม่…………………………. 31
13 การเลอื กโปรเจคที่บนั ทกึ ไวแ้ ลว้ ……………………………………………………… 32
14 การต้งั ช่ือโปรเจคท่ี New Project……………………………………………………… 32
15 การต้งั ช่ือ Timeline ของโปเจค……………………………………………………….. 33
16 แถบเคร่ืองมือต่างๆในโปรแกรม Velocity ESX……………………………………… 33
17 หนา้ ตา่ ง Timeline…………………………………………………………………….. 33
18 Timeline Status Bar ที่ใชค้ วบคุม Timeline…………………………………………... 34
19 การ Delete Track……………………………………………………………………... 34
20 การเรียกใชโ้ ปรแกรม Inscriber………………………………………………………. 35
21 Timeline Work Area …………………………………………………........................ 35
22 Segment Bar …………………………………………………………………………. 36
23 Time code Bar ……………………………………………………………………….. 36
24 Clip Information ……………………………………………………………………... 37
25 การเลือกใช้ Fade และ Strobe………………………………………………………… 37
26 แถบ Video Effects กาหนดค่า Fade………………………………………………….. 38
27 แถบ Video Effects กาหนดค่า Strobe............................................................................ 38

SPU CHONBURI VIII

สารบัญภาพ (ต่อ)

ภาพท่ี หนา้
28 การ Copy/Past เอฟเฟคพิเศษ…………………………………………………….. 38
29 Keyframe indicators……………………………………………………………… 39
30 VUMeter ใชแ้ สดงระดบั เสียง……………………………………………………. 39
31 Volume Clip Nodes……………………………………………………………… 40
32 การดึงจดุ เสียงใน Timeline………………………………………………………. 41
33 แถบเครื่องมือตา่ งๆใน Volume Clip Nodes……………………………………… 41
34 Trim Window ……………………………………………………………............. 42
35 แถบเคร่ืองมอื บน Trim Window ………………………………………………… 42
36 การ Lock VDO ………………………………………………………………….. 44
37 การ Mark in และ Mark out………………………………………………………. 44
38 Footage ในช่อง Media Base …………………………………………………….. 45
39 การเรียกดูขอ้ มูลไฟล…์ …………………………………………………............... 45
40 ไฟลต์ ่างๆในการคน้ หา Media Base……………………………………………… 46
41 แถบเคร่ืองมอื Transition…………………………………………………………. 51
42 การใส่เอฟเฟคให้กบั วิดีโอ……………………………………………………….. 51
43 การใส่เอฟเฟค Picture in picture…………………………………………………. 52
44 การใส่เอฟเฟค Binary Color …………………………………………………….. 52
45 การใส่ Fade Effect ……………………………………………............................. 53
46 การคน้ หาไอดี Footage รายการ………………………………………………….. 54
47 หนา้ ต่างการคน้ หา Footage และการ์ตนู ในชอ่ ง Media base…………………….. 58
48 Rundown รายการคิดส์สนุกท่ใี ชอ้ อกอกาศในแต่ละวนั ………………………….. 58
49 การตดั ตอ่ รายการท้งั หมดบน Timeline…………………………………………... 59
50 VUMeter ทใ่ี ชแ้ สดงเกณฑเ์ สียง………………………………………………….. 60
51 การดงึ เสียงที่เกนิ ลบสิบส่ี………………………………………………………… 60
52 ข้นั ตอนการยา้ ยโปรเจคเขา้ มาใน Timeline………………………………………. 61
53 หนา้ ต่างการยา้ ยโปรเจค.......................................................................................... 62
54 การใส่เอฟเฟค Fade ในวิดีโอ.................................................................................. 62

SPU CHONBURI IX

สารบัญภาพ (ต่อ)

ภาพที่ หนา้
55 การแสดงผลเม่ือใส่เอฟเฟค Fade ในวดิ โี อ..................................................................... 63
56 หนา้ ต่าง Segment Rendering Options………………………………………………... 63
57 หนา้ ตา่ ง Change Movie Starting / Ending Time……………………………………... 64
58 แถบเมนู Output………………………………………………………………………. 64
59 หนา้ ตา่ ง Create Edit ID………………………………………………………………. 65
60 ใบแจง้ ไอดสี าหรับส่งรายการ………………………………………………………… 65
61 Scrip แจง้ ควิ ผงั รายการเดก็ …………………………………………………………… 66
62 Rundown แจง้ คิวผงั รายการเดก็ ของแตล่ ะวนั / แต่ละชว่ งเวลา……………………….. 66
63 การใส่ซีจแี ละเสียงดนตรีประกอบ……………………………………………………. 67
64 การดคู า่ ความดงั ของเสียงเพลงและเสียงพดู ใน VUMeter…………………………….. 67
65 หนา้ ตา่ ง Software effects สาหรบั เอฟเฟค Picture in Picture………………………… 68
66 หนา้ ต่างท่ใี ชป้ รับสมดุลภาพแกนX และ แกนY………………………………………. 68
67 การเปิ ดโปรแกรม Inscriber…………………………………………………………... 69
68 การ Import งานเขา้ Gallery…………………………………………………………… 69
69 การลงิ คไ์ ปที่โปรแกรม Inscriber……………………………………………………... 70
70 หนา้ ตา่ งโปรแกรม Inscriber………………………………………………………….. 70
71 การบนั ทกึ ชื่อไฟลง์ าน………………………………………………………………… 71
72 การ Import CG เขา้ Gallery…………………………………………………………... 72
73 การ Import CG เขา้ Gallery…………………………………………………………... 72
74 การเพิ่ม Track บน Timeline………………………………………………………….. 73
74 การเพิ่ม Track บน Timeline………………………………………………………….. 73
76 ภาพรวมของการตดั ต่อแจง้ ควิ รายการ………………………………………………… 74
77 การใช้ Fade Effects…………………………………………………………………… 74
78 การเลอื กเอฟเฟค Fade in……………………………………………………………... 75
79 ระหว่างรอ Render งาน……………………………………………………………….. 76
80 ไอดีแจง้ คิวผงั รายการประจาวนั หยุดสุดสปั ดาห์……………………………………… 77

1

บทที่ 1
บทนำ

โครงการสหกจิ ศกึ ษาเนน้ การปฏิบตั ิติงานในสถานประกอบการเป็นกลไกความร่วมมือ
ทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลยั และสถานประกอบการอย่างต่อเน่ืองตลอดไปโดยเนน้ ความ
ร่วมมอื จากทกุ ฝ่ายทีเ่ กย่ี วขอ้ ง

ภาพท1ี่ โลโกอ้ งคก์ ารกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย
องคก์ ารกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (Thai Public Broadcasting Service)
เลขท่ี 145 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงตลาดบางเขน
เขตหลกั ส่ี กรุงเทพ 10210
โทร: 0-2790-2000 โทรสาร: 0-2790-2020
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 2

ประวัตคิ วำมเป็ นมำขององค์กำร

องคก์ ารกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (Thai Public Broadcasting
Service) หรือ ส.ส.ท. ก่อต้งั ข้นึ เม่อื วนั ที่ 15 มกราคม 2551 โดย พ.ร.บ. องคก์ ารกระจายเสียงและ
แพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2551 ในฐานะองคก์ ารสื่อสาธารณะท่ไี ม่แสวงผลกาไร
แห่งแรกของประเทศไทย เพอ่ื ดาเนินการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทศั นท์ ี่สนบั สนุนการพฒั นา
สังคม ท่ีมคี ุณภาพและคณุ ธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็นไทย โดยผา่ นทางบริการข่าวสารที่
เท่ียงตรง รอบดา้ น สมดลุ และซ่ือตรงตอ่ จรรยาบรรณความเป็นอิสระและความเป็นสาธารณะของ
ไทยพีบเี อสไดร้ ับการรองรับภายใต้ พ.ร.บ. องคก์ ารกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่ง
ประเทศไทย โดยมคี ณะกรรมการนโยบายท่ผี ่านการสรรหาโดยกระบวนการท่ีเป็นอิสระและ
โปร่งใส เป็นผกู้ าหนดนโยบาย และควบคุมการดาเนินงานของผอู้ านวยการและคณะกรรมการ
บริหารองคก์ ารฯ ส.ส.ท. มรี ายไดจ้ ากภาษีสรรพสามิตท่เี กบ็ จากสุราและยาสูบ โดยมรี ายไดส้ ูงสุด
ปี งบประมาณละไมเ่ กนิ 2,000 ลา้ นบาท ส.ส.ท. ยดึ มนั่ จริยธรรมอยา่ งเคร่งครัดในการทาหนา้ ท่ีส่ือ
สาธารณะ ในการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ พนกั งานทกุ ระดบั ของ ส.ส.ท. ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามขอ้ บงั คบั ทางดา้ น
จริยธรรมของวิชาชีพท่ีให้ความสาคญั กบั ความเทยี่ งตรง ความเป็นกลาง และความเป็นธรรม
ตลอดจนความเป็นอิสระของวชิ าชีพ และความรับผิดชอบตอ่ สาธารณชน ขอ้ บงั คบั ดา้ นจริยธรรม
ยงั ครอบคลุมถึงการเคารพศกั ด์ิศรีความเป็นมนษุ ย์ ความเป็นส่วนตวั และการคมุ้ ครองสิทธิส่วน
บุคคล ตลอดจนการคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนจากรายการทแ่ี สดงออกถึงความรุนแรง การกระทาการ
ปฏบิ ตั ิตอ่ เหยอื่ ผเู้ คราะห์รา้ ยและผทู้ ีอ่ ย่ใู นภาวะเศร้าโศก

"ไทยพบี เี อส" ออกอากาศอย่างเป็นทางการ ต้งั แตว่ นั ท่ี 15 มกราคม 2551 เป็นส่ือ
สาธารณะสื่อแรกของประเทศไทย โดยมเี ป้ าหมายทจ่ี ะเป็นสถานีโทรทศั น์ ท่สี รรคส์ รา้ งรายการข่าว
รายการสารประโยชน์ และรายการสาระบนั เทิง ทมี่ คี ุณภาพและมาตรฐาน ตามขอ้ บงั คบั ดา้ น
จริยธรรมขององคก์ ร โดยยดึ ถอื ประโยชนส์ าธารณะเป็นทต่ี ้งั และเป็นสถานีโทรทศั น์ทไี่ ดร้ ับการ
ยอมรับอยา่ งกวา้ งขวาง ท้งั ในระดบั ประเทศและในระดบั ภูมิภาค ในฐานะสถาบนั สื่อมวลชน ทีม่ คี ณุ ภาพ
และสรา้ งสรรค์

"ไทยพีบเี อส" ยงั มงุ่ มนั่ จะเป็นสถาบนั ส่ือท่ีมรี ะบบบริหารจดั การ ท่ีมีประสิทธิภาพ และ
โปร่งใส โดยยึดหลกั ความคมุ้ คา่ ในการใชจ้ า่ ยงบประมาณ สามารถเป็นแบบอย่างให้แกส่ ถาบนั
ส่ือสารมวลชนของประเทศไทยได้

"ไทยพบี เี อส" เป็นเพียงกา้ วแรกของ ส.ส.ท. ในฐานะสื่อสาธารณะ ในอนาคตอนั ใกลน้ ้ี

3
ส.ส.ท. จะขยายบทบาทไปสู่การใหบ้ ริการผลติ ส่ืออนื่ ๆ โดยอาศยั เทคโนโลยีทนั สมยั ในการเผยแพร่
รายการ เชน่ วทิ ยุกระจายเสียง และทางออนไลน์

กำรจัดกำรองค์กร

ภาพท2ี่ แผนผงั สถานีโทรทศั น์ไทยพีบีเอส

ลกั ษณะธุรกิจ

เป็นสถาบนั สื่อสาธารณะ ใหบ้ ริการขา่ วสาร ความรู้ สาระบนั เทงิ โดยยดึ ถือผลประโยชน์
สาธารณะและความคมุ้ คา่ เป็นสาคญั
SPU CHONBURI

4

ตำแหน่งและลกั ษณะงำนท่ีได้รับหมอบหมำย

ตดั ต่อรายการคดิ สส์ นุก ออกอากาศ ทกุ วนั จนั ทร์-ศกุ ร์ เวลา 16.30 – 17.25 และตดั ต่อ
แจง้ ควิ ผงั รายการเดก็ ประจาวนั หยดุ สุดสัปดาห์

บคุ ลำกรผ้นู ิเทศงำน

พนกั งานทปี่ รึกษาคณุ ศุภรตั น์ สมบรู ณ์ ตาแหน่ง ฝ่ายตดั ตอ่ รายการและ Playout

ภาพที3่ บคุ ลากรผนู้ ิเทศงาน
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 5

บทที่ 2

แนวคิดและทฤษฎที ่ีเกย่ี วข้อง

การศึกษาโครงงานเร่ือง การตดั ต่อรายการ “ คดิ สส์ นุก ” ของสถานีโทรทศั น์ไทยพีบเี อส
มแี นวคดิ และทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้ งดงั น้ี

1.แนวคดิ เกี่ยวกบั รายการโทรทศั น์
2. แนวคิดเก่ียวกบั การตดั ตอ่
3. แนวคิดเก่ยี วกบั รายการคดิ สส์ นุก
4. แนวคดิ เกย่ี วกบั การใชโ้ ปรแกรม Velocity ESX

1.แนวคิดเกย่ี วกบั รายการโทรทัศน์

การเผยแพร่รายการโทรทศั นเ์ ป็นการส่งสญั ญาณภาพและเสียงจากสถานีส่ง ที่มอี ยู่
มากมาย ใน ปัจจบุ นั เช่น ชอ่ ง 3 5 7 9 NBT, Thai PBS รวมท้งั Cable TV (โทรทศั นบ์ อกรบั สมาชกิ )
หรือ จากเคร่ือง เลน่ วดิ ีทศั น์ไปยงั เครื่องรับโทรทศั น์ ซ่ึงอยใู่ นสถานท่ีเดยี วกนั หรือต่างสถานทก่ี นั ก็
ได้ ปัจจบุ นั แมว้ ่า เทคโนโลยีการสื่อสารไดถ้ ูกนามาใชอ้ ยา่ งแพร่หลาย มกี ารใชอ้ นิ เทอร์เน็ต มกี าร
ใช้ ส่ือผสมท่ีรู้จกั กนั ทวั่ ไปวา่ มลั ติมีเดยี (Multimedia) รายการโทรทศั น์ก็ยงั คงมีบทบาทไม่ดอ้ ยลง
ไป และเผยแพร่ไปไดก้ วา้ งขวาง และจะมีบทบาทมากยิ่งข้นึ ต่อไปในอนาคต
ประเภทของรายการวดิ ีทศั น์(VIDEO Program) ดงั ท่ไี ดก้ ลา่ วมาแลว้ ขา้ งตน้ เราอาจจดั แบ่ง ประเภท
ของรายการวิดีทศั น์ออกเป็น 4 ประเภทใหญๆ่ ไดด้ งั น้ี (อรนุช เลิศจรรยารกั ษ,์ 2555, หนา้ 3-7)

1. รายการเพื่อการบนั เทงิ (Entertainment Programs) เป็นรายการที่ผลติ ข้นึ โดยมี
วตั ถุประสงคเ์ พ่อื สรา้ งความบนั เทงิ และการพกั ผ่อนหยอ่ นใจของผชู้ ม ในสังคมน้นั ๆมีกระบวนการ
สรา้ งการลงทุนและมีการแข่งขนั สูงมาก เชน่ รายการละคร เกมโชว์ กฬี า เพลง การ์ตนู เป็นตน้
นอกจากน้ียงั มกี ารนาเขา้ รายการจากต่างประเทศ มกี ารน าแนวความคดิ หรือบทประพนั ธม์ าทาเป็น
รายการโทรทศั น์เพื่อ ให้ตรงกบั ความตอ้ งการของสังคม มกี ารจดั แบ่งกลุ่มเป้ าหมายชดั เจนเพ่อื
ความเหมาะสมของผชู้ ม ท้งั เดก็ และผูใ้ หญ่ ผูห้ ญงิ -ชาย อยา่ งไรกต็ ามการผลิตรายการประเภทน้ี
ผผู้ ลติ รายการจะตอ้ งคานึงถึง ความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นพ้ืนฐานในดา้ นการส่งเสริมคณุ ธรรม
จริยธรรมและวฒั นธรรมอนั ดงี ามควบคกู่ นั ไปดว้ ย

2. รายการโฆษณา/ประชาสัมพนั ธ์ (Commercial Programs) รายการประเภทน้ีถกู สรา้ ง
ข้นึ เพ่อื วตั ถปุ ระสงค์ ในทางธุรกจิ บริการ เชน่ การเสนอขายสินคา้ บริการหรือผลติ ภณั ฑข์ องตนเป็น
หลกั มีการแข่งขนั การประกวดผลงานโฆษณา ซึงจดั โดยสถาบนั ตา่ งๆมากมายมกี ารควบคุมรณรงค์

SPU CHONBURI 6

ใหเ้ จา้ ของผลิตภณั ฑแ์ สดงความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมให้มากยิ่งข้นึ โดยไมค่ านึงถึงผลประโยชนแ์ ต่
เพยี งฝ่ายเดยี ว เชน่ สินคา้ ประเภท เคร่ืองดม่ื ทมี่ ีแอลกอฮอล์ ผลติ ภณั ฑบ์ ารุงร่างกาย เคร่ืองดมื่ บารุง
กาลงั เป็นตน้ นอกจากน้ียงั รวมไปถงึ รายการประเภทการประชาสัมพนั ธ์ของหน่วยงานองคก์ รของ
ภาคราชการและหน่วยงานที่ไม่แสวงหาผลกาไรดว้ ย เชน่ การรณรงคส์ ่งเสริมสุขภาพร่างกายของ
ประชาชน (สสส.) การรณรงคเ์ รื่องความรกั ความสามคั คีของคนในชาติ การรณรงคเ์ ร่ืองการ
ประหยดั พลงั งานกจิ กรรมของภาครัฐและเอกชนที่จดั ข้นึ เช่น การแถลงข่าวการจดั งานประจาปี
เป็ นตน้

3. รายการขา่ ว (NEWS Programs) เป็นรายการทเ่ี สนอขา่ วความเคลอื่ นไหวการ
เปล่ยี นแปลงของสังคมสิ่งแวดลอ้ มและบคุ คลท่เี ป็นทีส่ นใจ ท้งั ในประเทศและต่างประเทศ มุง่ เนน้
ทกี่ ารรายงานดว้ ยความรวดเร็วของขา่ วสาร เหตุการณ์ที่ เกดิ ข้นึ ในแตล่ ะวนั มีการรายงานสดจาก
ผูส้ ่ือข่าวทอี่ ยใู่ นสถานท่ีน้นั ๆ เขา้ มายงั สถานีโทรทศั น์มกี ารสมั ภาษณ์ผูเ้ กี่ยวขอ้ งประกอบการ
รายงานข่าวมกี ารจดั ทาสก๊ปู ข่าว ปัจจบุ นั รายการขา่ วมกี ารพฒั นาแข่งขนั กนั สูงมา และมมี ลู ค่า
มหาศาลมกี ารร่วมแสดงความคดิ เหน็ จากผชู้ มไดต้ ลอดเวลาจากการส่ง SMS เขา้ ไปในรายการ
เน่ืองจากผูช้ มใหค้ วามสนใจและ เพ่อื ใหม้ ีส่วนร่วมแสดงความคิดเหน็ ใน สถานการณ์น้นั มากยิ่งข้นึ
รายการข่าวจงึ กลายเป็นรายการที่มคี วามสาคญั และขยายตวั ไปสู่กลมุ่ ผชู้ มในสงั คมเป็นอยา่ งยิ่ง

4. รายการเพอ่ื การศกึ ษา (Educational Program) เป็นรายการโทรทศั นอ์ ีกประเภททม่ี ี
ความสาคญั จาเป็นตอ่ สังคมไมย่ ิ่งหย่อนไปกวา่ รายการ ประเภทอืน่ เน่ืองจากเป็นรายการทีส่ ามารถ
ชว่ ยให้สังคมเกดิ การเรียนรู้ สรา้ งสรรคส์ งั คเป็นรายการท่ีให้สาระความรู้แกค่ นทวั่ ไปมิไดม้ ่งุ ใชก้ บั
กลุ่มใดกลุม่ หน่ึงโดยเฉพาะ เชน่ สารคดเี กี่ยวกบั ชีวิตสัตวต์ า่ งๆ รายการทอ่ งเทยี่ ว รายการเกษตร
กฎหมาย ธรรมะ สุขภาพพลานามยั ศิลปะวฒั นธรรม ฯลฯ เป็นตน้ ผชู้ มรายการจะไดร้ บั ประโยชน์
ควบค่ไู ปกบั ความบนั เทิง เพลดิ เพลินสามารถปรบั ตนเองให้เขา้ กบั สงั คไดอ้ ย่างรวดเร็ว

จากการส่งคลน่ื สัญญาณโทรทศั นท์ ค่ี รอบคลุมทกุ พน้ื ทท่ี วั่ ท้งั ประเทศ อนั เป็นผลมาจาก
การพฒั นาทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยที ท่ี นั สมยั สื่อโทรทศั นจ์ ึงถือเป็นสื่อท่ีมอี ิทธิพลตอ่
ความคดิ และการเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมของประชาชนเป็นอย่างมาก จากการรบั ชมรายการท่ใี ห้
ขอ้ มลู ข่าวสาร (Information) ความบนั เทงิ (Entertainment) การศึกษา (Education) และส่งเสริม
ความเขา้ ใจอนั ดี (Good Understanding) ใหเ้ กดิ ข้นึ ในสังคม ทส่ี ่งผานมาทางรูปแบบและเน้ือหาใน
รายการตา่ งๆทท่ี างสถานีโทรทศั นจ์ ดั ข้ึน โทรทศั นจ์ ึงมีบทบาทสาคญั ในการส่ือสารและการ
ให้บริการประชาชนในหลายๆ ดา้ นรูปแบบของรายการน้นั เป็นการจดั กลุ่มรายการโทรทศั น์
ออกเป็นกลมุ่ ๆ ซ่ึงสามารถจาแนกไดห้ ลายวธิ ี เช่น การจาแนกตามวตั ถปุ ระสงค์ การจาแนกตาม
กลุ่มเป้ าหมาย และการจาแนกตามเน้ือหารายการในประเทศไทยการนาเสนอรายการโทรทศั น์นิยม

SPU CHONBURI 7

เสนอรายการหลากหลายรูปแบบ มที ้งั รูปแบบด้งั เดมิ และรูปแบบที่ประยุกตข์ ้ึนใหม่ ดว้ ยการ
ผสมผสานรูปแบบหน่ึงกบั อกี รูปแบบหน่ึง จนเกดิ เป็นรูปแบบรายการใหม่ข้ึนมา โดย สามารถแบ่ง
รูปแบบของรายการไดอ้ อกเป็น 19 รูปแบบ (อรนุช เลิศจรรยารกั ษ,์ 2555, หนา้ 3-7) ดงั น้ี

1. รูปแบบรายการพดู หรือบรรยายคนเดยี ว (Monologue Program Format) รูปแบบน้ีเป็น
รายการทม่ี ีผมู้ าปรากฏตวั บนจอโทรทศั นเ์ พยี งคนเดยี วและพูดคยุ กบั ผชู้ มส่วนมากจะมภี าพประกอบ
เพ่อื มิให้เห็นหนา้ ผูพ้ ูดตลอดเวลารูปแบบของรายการน้ีจะน่าสนใจเม่ือผูด้ าเนินรายการหรือ ผพู้ ดู มี
ความรูค้ วามสามารถในการพดู และนาเสนอเน้ือหาสาระไดด้ ี พร้อมกบั มภี าพหรือภาพยนตร์
ประกอบ

2. รูปแบบรายการสัมภาษณ์ (Interview Program Format) รูปแบบน้ีเป็นรายการทีม่ ผี ู้
สัมภาษณ์และผถู้ ูกสัมภาษณ์ หรือวทิ ยากรมาสนทนากนั โดยมกี ารดาเนนิ รายการสมั ภาษณ์ในเรื่องที่
ตอ้ งการใหผ้ ถู้ กู สัมภาษณม์ าเลา่ ให้ฟัง ซ่ึงเป็นเรื่องราวเกี่ยวกบั กระบวนการหนว่ ยงานหรือผลงาน
บางอย่างรวมท้งั ความคดิ เห็นเกย่ี วกบั สถานการณ์ตา่ ง ๆ ผสู้ มั ภาษณ์จะตอ้ งเตรียมคาถามเป็นชุด ๆ
เพือ่ ใหส้ ามารถป้ อนคาถามไดอ้ ย่างตอ่ เน่ือง พรอ้ มท้งั สามารถปรบั คาถามให้เขา้ กบั การเปลีย่ นแปลง
ในเน้ือหาของผูใ้ หส้ ัมภาษณไ์ ดร้ ายการลกั ษณะน้ีอาจจะเป็นขนาดยาว 30 นาที หรือเป็นสัมภาษณ์
ส้นั ๆ ทีจ่ ะนาไปเป็นส่วนหน่ึงของรายการสารคดี หรือรายการบรรยายคนเดยี วได้

3. รูปแบบรายการสนทนา (Dialogue Program Format) รูปแบบน้ีเป็นรายการท่มี ีคนมา
พดู คยุ กนั 2 คน มีผถู้ ามและคสู่ นทนาแสดงความคดิ เห็นในประเดน็ ที่นาเสนอคู่สนทนาอาจจะ
แลกเปลีย่ นความคดิ เห็นกนั ก็ได้ รายการสนทนาแบบน้ีอาจมี 2-3 คน เขา้ ร่วมสนทนากนั โดยมีผดู้ า
เนินรายการเป็นผนู้ าสนทนาเชื่อมโยงประเดน็ ควบคุมการสนทนาใหเ้ ป็นไปดว้ ยดรี ูปแบบน้ีจะต่าง
กบั รายการสัมภาษณ์ตรงน้ีรายการสมั ภาษณ์เนน้ การถามและตอบมากกว่าในขณะทรี่ ายการน้ีจะเนน้
การแสดงความคิดเหน็ อาจจะเห็นดว้ ยหรือตา่ งทศั นะกนั ออกมาหรือเป็นการร่วมกนั วิเคราะห์
เหตกุ ารณ์ใดเหตกุ ารณ์หน่ึง เช่น การเลอื กต้งั สถานการณข์ องโลก หรือแมแ้ ตเ่ รื่องวชิ าการโดยตรง
เป็นรายการท่ีทาให้ผูช้ มไดร้ บั ความคิดท่หี ลากหลายบางคร้งั รายการประเภทน้ีจดั ให้มผี ูช้ มเขา้ ร่วม
รายการดว้ ย และอาจเปิ ดโอกาสใหเ้ ขาซักถามปัญหาตา่ ง ๆ หรือร่วมแสดงความคดิ เหน็ ดว้ ย

4.รูปแบบรายการเกมสห์ รือตอบปัญหา (Game Show or Quiz Program Format) รายการ
เกมสห์ รือตอบปัญหาโดยปกตแิ บ่งออกเป็นการแข่งขนั ระหว่างบุคคลหรือผทู้ ายปัญหาอยู่ ตรงกลาง
ผเู้ ขา้ ร่วมรายการอาจจะผลดั กนั ตอบคาถาม หรือสาหรบั คาถามที่ไม่มผี ใู้ ดตอบไดก้ ็อาจเปิ ดโอกาส
ให้แก่ใครกไ็ ด้ ท้งั น้ีข้นึ อยกู่ บั วธิ ีดาเนินการของพิธีกรอาจจะมรี างวลั สาหรบั ฝ่ายชนะ ส่วนฝ่ายแพไ้ ด้
รางวลั ปลอบใจ รายการแบบน้ีอาจจะจดั อย่ใู นลกั ษณะที่ให้ผูช้ มมสี ่วนร่วมดว้ ย จึงตอ้ งมกี ารควบคุม
มใิ ห้ผรู้ ่วมรายการส่งเสียงดงั จนเกนิ ไปเพราะอาจรบกวนสมาธิของผตู้ อบปัญหา หรือผชู้ มอาจส่ง

SPU CHONBURI 8

เสียงบอกคาตอบจนผตู้ อบไม่สามารถตดั สินใจไดผ้ ดู้ าเนนิ รายการน้นั ตอ้ งมีความสารวมและไมด่ ูถกู
ผชู้ มดว้ ยการต้งั คาถามท่ตี น้ื จนเกินไป

5.รูปแบบรายการสารคดี (Documentary Program Format) รายการสารคดี เป็นรายการ
โทรทศั น์ทีเ่ ลา่ เร่ืองราวทนี่ ่าสนใจใหผ้ ชู้ มเขา้ ใจอยา่ งแจ่มแจง้ สารคดนี ้นั ควรจะให้ความรู้ ความ
เพลดิ เพลนิ เร้าอารมณแ์ ละการโนม้ นา้ วจติ ใจ สารคดที างโทรทศั น์สามารถเสนอได้ หลายรูปแบบ
เช่น ดว้ ยภาพสไลด์ ภาพยนตร์ เป็นตน้ รายการสารคดจี ะมอี ยู่ 2 ลกั ษณะ คือ สารคดีเตม็ รูปแบบ
ลกั ษณะของรายการจะดาเนินเรื่องดว้ ยภาพตลอด อาจมกี ารถามความเห็นของ ผเู้ กย่ี วขอ้ งบา้ งแต่
ในช่วงส้นั ๆไม่เกนิ คร้ังละ 1 นาที อาจจะเสนอคนเดยี วกนั ไดห้ ลายคร้ังและรายการเดยี วอาจมผี ใู้ ห้
ความคดิ เห็นหลาย ๆ ทศั นะในหลายๆบคุ คลแตร่ ายการส่วนใหญจ่ ะเสนอภาพท่เี ป็นกระบวนการ
หรือเรื่องราวตามธรรมชาติ โดยไม่มีผดู้ าเนินรายการรายการก่งึ สารคดีก่งึ พดู คนเดยี ว เป็นรายการ
โทรทศั นท์ ่ีมีผดู้ าเนินการทาหนา้ ท่ีเดินเรื่องพดู คยุ กบั ผชู้ มและให้เสียงบรรยายตลอดรายการโดยมีผู้
ดาเนินรายการปรากฏตวั ตอนตน้ รายการตอนกลางเท่าที่จาเป็นและตอนสรุปรายการ นอกน้นั เป็น
ภาพแสดงเร่ืองหรือกระบวนการตามธรรมชาตอิ าจมตี วั บุคคลไป สมั ภาษณผ์ เู้ กี่ยวขอ้ งเขา้ มาแทรก
เพื่อเสริมความคดิ เหน็ ไดผ้ ดู้ าเนินรายการอาจพดู ในสตูดโิ อหรือพูดในสถานท่ถี า่ ยทา เชน่
ภาพยนตร์เก่ียวกบั ธรรมชาตกิ ็ไปพูดในป่ าบริเวณทม่ี สี ตั วป์ ระเภทน้นั อาศยั อยู่ รายการสารคดเี ป็น
รายการที่ให้ความรู้และการศกึ ษาไดด้ ีมาก แต่ตอ้ งเสียเวลาในการเกบ็ ภาพที่ดแี ละตรงกบั ความ
ตอ้ งการ จงึ เป็นรายการทตี่ อ้ งใชง้ บประมาณและเวลาสูง

6.รูปแบบรายการละคร (Drama Program Format) รายการละครเป็นรายการท่ีเสนอ
เรื่องราวตา่ ง ๆ ดว้ ยการจาลองเหตุการณเ์ ป็นละครมกี ารกาหนดผแู้ สดงจดั สร้างฉากแต่งตวั แต่งหนา้
ตวั แสดงให้สมจริงสมจงั และใชเ้ ทคนิคทางการละครเสนอเร่ืองราวให้เหมือนจริงมากทส่ี ุดใชไ้ ดท้ ้งั
เป็นรายการบนั เทิงและรายการเพ่อื การศกึ ษาในดา้ นการศกึ ษาละครโทรทศั น์จาลองสถานการณ์
ชีวติ ของคนในสังคม เพื่อสนองความรูใ้ นเชิงจติ วิทยาสังคมวทิ ยา อาชญากรรม ประวตั ิศาสตร์
การเมอื ง การปกครอง ฯลฯ โดยให้ตวั ละครนาเรื่องพูดคยุ และใหข้ อ้ คดิ ผชู้ มจะเรียนรูจ้ ากคาพดู
หรือเร่ืองราวท่ีตวั ละครเสนอในขณะเดยี วกนั กใ็ หค้ วามบนั เทงิ ไปดว้ ย เช่น ละครโทรทศั น์ท่ใี ห้
ความรูเ้ ชิงประวตั ิศาสตร์ ไดแ้ ก่ สี่แผน่ ดนิ ทหารเสือพระเจา้ ตาก สงครามเกา้ ทพั ซูสีไทเฮา ฯลฯ
ผชู้ มส่วนมากจะไม่รูส้ ึกตวั ว่าไดร้ ับความรูจ้ ากแง่มุมท่ีไดร้ บั จากรายการเหล่าน้ี เพราะคิดว่าเป็น
รายการบนั เทิงแตเ่ พยี งอยา่ งเดียว

7.รูปแบบรายการสาระละคร (Docu-drama Program Format) เป็นรูปแบบรายการท่ี
ผสมผสานรูปแบบสารคดเี ขา้ กบั รูปแบบละครหรือการนาละครมาประกอบ รายการทเ่ี สนอสาระ
บางส่วน มิใชเ่ สนอเป็นละครท้งั รายการ จุดม่งุ หมายเพ่ือให้การศกึ ษาความรูแ้ ละแนวคิดในเร่ืองที่

SPU CHONBURI 9

เสนอ เชน่ ดา้ นนิเทศศาสตร์ สงั คมวทิ ยา มนุษยวทิ ยา เป็นตน้ ท้งั น้ีจะตอ้ งมผี ูด้ าเนินรายการสรุป
อธิบายหรือขยายสาระที่ดจู ากส่วนท่เี ป็นละครเสมอ

8.รูปแบบรายการสาธิตทดลอง (Demonstration Program Format) เป็นรายการทีเ่ สนอ
“วธิ ีทา” หรือ “กระบวนการ” อะไรสกั อย่างหน่ึงเพ่อื ใหผ้ ชู้ มไดแ้ นวทางทีจ่ ะนาไปใชท้ าจริง เช่น
รายการปรุงอาหาร รายการเล้ียงสตั ว์ รายการประดษิ ฐ์งานฝีมือ รายการทางการสอน เป็นตน้

9.รูปแบบรายการเพลงและดนตรี (Song and Music Program Format) รายการเพลงและ
ดนตรี เป็นรายการทเ่ี สนอการบรรเลงดนตรี และ ใชเ้ พลงมี 4 รูปแบบ คือ แบบมวี งดนตรีและ
นกั ร้องมาแสดงในสตูดิโอ แบบมีนกั ร้องมารอ้ งในสตดู โิ อควบค่ไู ปกบั เสียงดนตรีทบี่ นั ทึกเสียงไว้
แลว้ แบบทใี่ ห้นกั ร้องและดนตรีมาเลน่ และร้องในสตดู ิโอ แตใ่ ชเ้ สียงที่ไดจ้ ากการเปิ ดเทปท้งั หมด
แบบมีภาพประกอบเพลง ภาพท่ีใชป้ ระกอบจะเป็นเร่ืองราวส้ัน ๆ และสอดคลอ้ งกบั เน้ือเพลง ทา
ให้ เห็นจดุ ม่งุ หมายหรือเขา้ ใจในเน้ือเพลงมากข้นึ

10.รูปแบบรายการนิตยสาร (Magazine Program Format) รายการนิตยสาร หรือมกั นิยม
เรียกทบั ศพั ทว์ ่า รายการแมก็ กาซีน เป็นรายการทใ่ี ชร้ ูปแบบในการ นาเสนอแบบเดยี วกบั นิตยสาร
คอื ในรายการเดยี วกนั จะประกอบไปดว้ ยส่วนย่อยหลายๆเหตกุ ารณ์ โดยทวั่ ไปมกั จะเป็นเรื่องใน
แนวเดียวกนั จุดเด่นของรายการประเภทน้ี คอื ความสามารถในการเชื่อมโยงให้ ส่วนตา่ ง ๆ เขา้ มา
เป็นรายการเดยี วกนั อย่างสอดคลอ้ งกลมกลนื รายการประเภทน้ีก็มี Variety Show ตีสิบ ทไวไลฟ์
โชว์ เป็นตน้ ซ่ึงเป็นรายการที่มกี ารแสดงหลาย ๆ อย่างสลบั กนั ไป เชน่ รอ้ งเพลง เล่นตลก แขง่ ขนั
สมั ภาษณ์ โชวใ์ นส่ิงแปลก ๆ ฯลฯ รายการประเภทน้ีมกั จะหนกั ไปทางดา้ นความบนั เทงิ

11. รูปแบบรายการขา่ ว (NEWS Program Format) เป็นรายการท่ีเสนอรายงานเหตกุ ารณ์
ท่สี าคญั ซ่ึงเป็นท่ีสนใจของประชาชน ข่าวเป็นสิ่งทีช่ ่วยใหค้ น ทนั โลกอยเู่ สมอ ลกั ษณะของรายการ
จะใชผ้ บู้ รรยาย 2-3 คน และจดั ฉากดา้ นหลงั ใหด้ ูสวยงาม น่าสนใจ การ บรรยายจะสลบั กนั บรรยาย
เพอ่ื มิให้เกดิ ความเบื่อหน่าย พร้อมกบั มภี าพเหตุการณท์ กี่ าลงั รายงานประกอบ อย่างชดั เจน รายการ
ขา่ วจึงจดั ไดว้ า่ เป็นการให้การศกึ ษาต่อผชู้ มดว้ ย

12. รูปแบบรายการถ่ายทอดสด (Live Program Format) เป็นรายการท่ีถา่ ยทอดเหตกุ ารณ์
ทเี่ กิดข้นึ จริง เชน่ กฬี า กรีฑา งานมหกรรมหรืองานพระราชพิธีต่างๆ รายการถ่ายทอดสดมกั จะเริ่ม
รายการกอ่ นเริ่มพธิ ีหรือเหตุการณ์ โดยมีผบู้ รรยายเหตกุ ารณเ์ สนอเร่ืองราวต่าง ๆ เม่ือเริ่มเหตกุ ารณ์
แลว้ กเ็ สนอเรื่องราวท่ีเกดิ ข้นึ ตามลาดบั กอ่ นหลงั ท้งั ภาพและเสียง โดยมีผบู้ รรยายคอยพดู เช่ือม
เหตุการณ์ใหผ้ ชู้ มไดท้ ราบความเป็นไปโดยเฉพาะการพดู บรรยายเชื่อมในขณะทภ่ี าพท่ปี รากฏไม่มี
เสียงออกมา เพ่ือมใิ หเ้ กิดความเงยี บข้ึนในโทรทศั น์

SPU CHONBURI 10

13. รูปแบบรายการสอนแบบจุลภาค (Micro-Teaching Program Format) ลกั ษณะเป็น
การสอนในสถานการณแ์ บบย่อส่วนในหอ้ งเรียนแบบงา่ ย ๆ ทส่ี ามารถจะควบคมุ ไดท้ กุ
กระบวนการ โดยใชน้ กั เรียน 5-6 คน ใชเ้ วลาสอนประมาณ 10-15 นาที เป็นการสอนท่ีมุง่ ฝึกทกั ษะ
เฉพาะในการสอน เช่น ทกั ษะการนาเขา้ สู่บทเรียน ทกั ษะการต้งั คาถาม ทกั ษะในการสรุป เป็นตน้
จุดมงุ่ หมายเพอื่ ฝึกทกั ษะต่าง ๆ เพอ่ื นาไปใชใ้ นสถานการณ์จริงตอ่ ไป การสอนแบบจลุ ภาพน้ีม่งุ ให้
ออกมาทดลองสอน และประเมินผลจากขอ้ มลู ยอ้ นกลบั โดยใชโ้ ทรทศั น์

14. รูปแบบรายการสถานการณจ์ าลอง (Constrived Program Format) รูปแบบน้ีส่วน
ใหญ่จะใชใ้ นการศกึ ษาเฉพาะกรณี ลกั ษณะจะสรา้ งสถานการณ์ข้นึ มาเพือ่ ใชเ้ ป็นกรณี ตวั อยา่ งใน
การศกึ ษา เชน่ สถานการณ์จาลองการแนะแนว สถานการณ์จาลองการบริหารงาน สถานการณจ์ า
ลองการควบคมุ ช้นั เรียนสถานการณจ์ าลองการสอน เป็นตน้ โดยทวั่ ไปเพอื่ ใหเ้ ห็นแนวทางในการ
ปฏบิ ตั ิ และการแกป้ ัญหา

15. รูปแบบรายการสอนโดยตรง (Direct-Teaching Program Format) เป็นรายการที่
เสนอการเรียนการสอนของครูในแต่ละเน้ือหาวชิ า โดยมผี ูเ้ รียนเป็นกลมุ่ เป้ าหมาย หลกั ของรายการ
รายการในลกั ษณะการสอนโดยตรงอาจแบง่ วิธีการนาเสนอได้ 3 วิธี คอื ถ่ายทอดรายการสด ดว้ ย
ระบบวงจรปิด อาจจะใชใ้ นห้องเรียนขนาดใหญ่หรือทาการถา่ ยทอดไปยงั ห้องเรียนตา่ ง ๆ ใน
บริเวณใกลเ้ คียงทาใหส้ อนไดเ้ ป็นจานวนมาก ๆ และผเู้ รียนสามารถเห็นเหตกุ ารณก์ ารสอนได้
ชดั เจนเหมือนในห้องเรียนขนาดเล็กปกติถ่ายทอดสดออกอากาศไปยงั โรงเรียนหรือ
สถาบนั การศกึ ษาตา่ งๆบนั ทกึ เทป โทรทศั น์ ซ่ึงจะลดความบกพร่องตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งดกี อ่ นทีจ่ ะ
นาไปสู่ผชู้ มหรือผเู้ รียน อาจนาไปเผยแพร่ในระบบวงจรปิดหรือวงจรเปิ ดก็ได้

16.รูปแบบรายการโตว้ าที (Debate Program Format) เป็นการนาเอาการพดู แบบโตว้ าที
มาเสนอในทางโทรทศั น์ ซ่ึงส่วนมากจะไมค่ อ่ ยไดพ้ บ แต่รายการลกั ษณะน้ีก็สามารถนามาจบั ทาง
โทรทศั นไ์ ดเ้ ป็นอยา่ งดี แต่ควรเลอื กญตั ติ หรือหวั ขอ้ ท่มี ปี ระโยชนแ์ ละน่าสนใจรายการจะน่าสนใจ
หรือไม่ข้นึ อย่กู บั ศิลปะการพดู ความรูข้ องผูพ้ ดู และประธานผูด้ าเนินการอภปิ รายจะตอ้ งเป็นผทู้ ม่ี ี
ความสามารถในการสรา้ งบรรยากาศ และคอยพดู ประสานระหว่างผเู้ สนอหรือฝ่ายเสนอกบั ฝ่ายคา้ น
ใหเ้ ร่ืองราวต่าง ๆ กลมกลนื ไปในทิศทางเดียวกนั ลกั ษณะของรายการประเภทน้ี เช่น เวทวี าที
เป็ นตน้

17. รูปแบบรายการบทความ (Straight Talk Program Format) เป็นรายการท่มี ีลกั ษณะ
ค่อนขา้ งนามธรรม หากผจู้ ดั รายการไม่มีศิลปะในการพดู และการจงู ใจผชู้ ม ผฟู้ ังกอ็ าจจะประสบ
กบั ความลม้ เหลวไดง้ า่ ย ความสาเร็จในการจดั ทารายการประเภทน้ีข้นึ อยกู่ บั องคป์ ระกอบ 2
ประการ คอื ความสามารถในการใชศ้ ลิ ปะการพูดตอ่ ชมุ ชนและความรูค้ วามสามารถในเชิงวชิ าการ

SPU CHONBURI 11

ในปัจจุบนั น้ีไมน่ ิยมจดั รายการแบบบทความยาว ๆ แตจ่ ะจดั เป็นรายการส้ัน ๆ เนน้ ทปี่ ระเดน็ ใด
ประเด็นหน่ึง บางทกี ็สอดแทรกในรายการอ่นื ๆ เพอื่ ให้ผชู้ มและผฟู้ ังไม่เกดิ ความเบ่อื หน่าย เช่น
แทรกใน รายการเพลง หรือจดั เป็นรายการหลงั ขา่ ว ตวั อยา่ งเช่น คุยกนั หลงั ขา่ ว เป็นตน้

18. รายการโฆษณา (Advertising) เป็นรายการประกาศสินคา้ หรือบริการทต่ี อ้ งการให้
ประชาชนโดยทวั่ ไปทราบจดุ ประสงคเ์ พื่อให้คนทวั่ ไปรู้จกั สินคา้ หรือการบริการน้นั ๆ

19. รายการประชาสมั พนั ธ์ (Public Relation) เป็นรายการท่แี สวงหาความสมั พนั ธ์ความ
ร่วมมอื และการสนบั สนุนจากประชาชน เพือ่ ให้ประชาชนยอมรบั ใหค้ วามร่วมมอื ในการดาเนินงาน
ตามกระบวนการนโยบายวตั ถปุ ระสงคแ์ ละความเคลื่อนไหวของสถาบนั หรือหน่วยงานน้นั ๆ

2. แนวคิดเกี่ยวกบั การตดั ต่อ

การตดั ตอ่ เป็นการนา ไฟลห์ ลายๆไฟลท์ จ่ี ดั เก็บอยใู่ นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์มาเรียงต่อกนั
โดย ทาการเลอื กภาพและเสียงที่ตอ้ งการจากน้นั จงึ ทาการตกแตง่ ภาพโดยการเพิ่มเติมขอ้ มูลตา่ งๆ
เชน่ สีสัน ความสวยงาม ขอ้ ความ เพิม่ ความเร็วหรือลดความเร็วในการแสดงภาพเคล่อื นไหว ลด
เหลี่ยม ของภาพ หรือจะทาการปรบั เปลี่ยนความยาวของขอ้ มลู ก็ได้ เช่นการตดั ต่อวดี ีโอดว้ ย Adobe
Premiere ปัจจบุ นั การตดั ตอ่ วดี โี อดว้ ยเคร่ืองคอมพวิ เตอรจ์ ะไดง้ านท่มี ีคณุ ภาพดกี วา่ เนื่องจาก
สามารถเพ่มิ เทคนิคพเิ ศษ ปรบั แตง่ ภาพใหส้ วยงามได้ จงึ ไดร้ บั ความนิยม แต่ผูท้ ต่ี อ้ งการตดั ตอ่ อย่าง
มอื อาชีพตอ้ งไม่ลืมว่างบประมาณในการเตรียมอุปกรณ์ตดั ต่อน้นั มรี าคาแพงหากจะทาการตดั ต่อ
เพอื่ เพ่มิ ความรู้กค็ วรใชอ้ ปุ กรณ์ท่มี รี าคาเหมาะกบั งานทจ่ี ะทาเพ่ือป้ องกนั ความสิ้นเปลืองโดยเปลา่
ประโยชน์ (สิทธิชยั นามอาษา, ออนไลน์, 2557)

จุดม่งุ หมายของการตดั ต่อโดยพ้ืนฐานแลว้ การตดั ตอ่ หรือการทางานภายหลงั การถ่ายทาคือ
กระบวนการของการ เช่ือมตอ่ ของวิดีโอทถ่ี ่ายทาเสร็จแต่ละชว่ งท่ีมีการกาหนดเอาไวแ้ ลว้ เขา้ ดว้ ยกนั
โดยท่ีมนั มีวตั ถปุ ระสงคห์ ลายประการดว้ ยกนั ดงั น้ี

1.รวบรวมเอาส่วนประกอบท้งั หมดให้เป็นลาดบั แบบทนี่ ิยมกนั จงจาเอาไวเ้ สมอว่าลาดบั
ข้นั ของการถา่ ยทามกั แตกตา่ งจากลาดบั ข้นั ตอนทต่ี อ้ งการนาเสนอใหป้ รากฎบนจอ

2.เพือ่ เป็นการแกไ้ ขขอ้ ผิดพลาดดว้ ยการตดั ต่อภาพที่เกดิ จากการถ่ายทาจากหลายมุมกลอ้ ง
หรืออาจเป็นภาพจากแหลง่ อ่นื ๆเขา้ ดว้ ยกนั

3. เพือ่ เป็นการสรา้ งสรรคป์ ระดบั ตกแต่งและเพิ่มให้ภาพมชี ีวติ ชีวามากยิง่ ข้นึ ดว้ ยการใช้
เคร่ืองมือที่ประกอบไปดว้ ยการทาเทคนิคภาพพิเศษการใส่เสียงประกอบรายกาการใส่เสียงดนตรี
ท้งั หมดน้ียอ่ มเป็นการเพ่มิ คุณภาพของการบอกเล่าเรื่องราวอนั ก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบท่ี หลากหลายแก่
ผชู้ มอปุ กรณเ์ ครื่องมอื ตดั ต่อวิดโี ออุปกรณท์ ่จี าเป็นตอ้ งใชใ้ นการตดั ต่อประกอบดว้ ยเครื่อง

SPU CHONBURI 12

คอมพวิ เตอร์ท่ีมโี ปรแกรมตดั ต่อ จอภาพ ลาโพง เคร่ืองผสมสญั ญาณเสียงและอปุ กรณ์ประกอบ
อ่นื ๆท้งั น้ีข้นึ อยกู่ บั ระบบและระดบั ความซับซอ้ นของงานท่ที าเป็นสาคญั สญั ญาณวดิ ีโอสามารถ
นาเขา้ สู่เครื่องคอมพวิ เตอร์จากเครื่องบนั ทกึ เทปวดิ ีโอ กลอ้ งถา่ ยวิดโี อหรือเป็นอปุ กรณ์ประเภท
บนั ทกึ ดว้ ยสื่อชนิดหนว่ ยความจา
ความรู้เบอื้ งต้น ในการตดั ต่อ

1.แรงจูงใจ Motivation ในการตดั ต่อ ไมว่ ่าจะการ cut, mix หรือ fade ควรมเี หตุผลท่ดี ี
หรือมีแรงจูงใจเสมอ ซ่ึงแรงจงู ใจน้ีอาจเป็นภาพ เสียง หรือท้งั สองอยา่ งผสมกนั กไ็ ด้ ในส่วนของ
ภาพอาจเป็นการกระทาอย่างใดอยา่ งหน่ึงแมน้ กั แสดงจะแสดงเพียงเล็กนอ้ ย เช่น การขยบั ร่างกาย
หรือขยบั ส่วนของหนา้ ตาสาหรับเสียงอาจเป็นเสียงใดเสียงหน่ึง เช่น เสียงเคาะประตู หรือเสียง
โทรศพั ทด์ งั หรืออาจเป็นเสียงท่ีไม่ปรากฏภาพใน ฉาก (off scene) (สิทธิชยั นามอาษา, ออนไลน,์
2557)

2.ขอ้ มูล Information ขอ้ มลู ในทน่ี ้ีคอื ขอ้ มูลทเี่ ป็นภาพ ชอ็ ตใหม่ หมายถึงขอ้ มูลใหม่ คอื
ถา้ ไม่มขี อ้ มูลอะไร ใหมใ่ นชอ็ ตน้นั ๆ กไ็ ม่จาเป็นตอ้ งนามาตดั ตอ่ ไมว่ ่าภาพจะมคี วามงดงามเพยี งไร
ก็ควรทีจ่ ะเป็นขอ้ มลู ภาพที่ แตกตา่ งจากช็อตท่ีแลว้ ยิ่งมขี อ้ มลู ภาพท่ีคนดูเห็นและเขา้ ใจมากข้นึ ผูช้ ม
กย็ ิ่งไดร้ บั ขอ้ มลู และมอี ารมณ์ร่วมมากข้ึนเป็นหนา้ ที่ของคนตดั ที่จะนาขอ้ มลู ภาพมาร้อยให้มากท่สี ุด
โดยไมเ่ ป็นการยดั เยยี ดใหค้ นดู

3.องคป์ ระกอบภาพในช็อตShot Composition ผตู้ ดั ไม่สามารถกาหนดองคป์ ระกอบภาพ
ในชอ็ ตไดแ้ ต่งานของผตู้ ดั คือควรให้มอี งคป์ ระกอบภาพในชอ็ ตท่ีสมเหตสุ มผลและเป็นทยี่ อมรบั
ปรากฏอย่อู งคป์ ระกอบภาในช็อตทีไ่ มด่ มี าจากการถา่ ยทาทีแ่ ย่ ซ่ึงทาใหก้ ารตดั ต่อทาไดล้ าบากมากข้นึ

4.เสียง Sound เสียงคอื ส่วนสาคญั ในการตดั ต่ออกี ประการหน่ึง เสียงรวดเร็วและลกึ ล้า
กวา่ ภาพ เสียงสามารถ ใส่มาก่อนภาพหรือมาทหี ลงั ภาพเพอื่ สร้างบรรยากาศ สรา้ งความกดดนั อนั
รุนแรงและอกี หลากหลายอารมณเ์ สียงเป็นการเตรียมให้ผชู้ มเตรียมพร้อมสาหรบั การเปลย่ี นฉาก
สถานทห่ี รือแมแ้ ต่ประวตั ศิ าสตร์ความคลาดเคล่อื นของเสียงทเี่ หมาะสมเป็นการลดคณุ คา่ ของการ
ตดั ตอ่ เช่น LS ของสานกั งานไดย้ นิ เสียงจากพวกเครื่องพมิ พด์ ีดตดั ไปท่ชี อ็ ตภาพใกลข้ องพนกั งาน
พมิ พด์ ดี เสียงไม่เหมือนกบั ที่เพิ่งไดย้ นิ ในช็อตปูพ้ืน คอื เคร่ืองอน่ื ๆ หยุดพมิ พท์ นั ทเี มื่อตดั มา
เป็นชอ็ ตใกล้ ความสนใจของผชู้ มสามารถทาให้เกิดข้นึ ไดด้ ว้ ยเสียงทม่ี าล่วงหนา้ (lapping)
ตวั อย่างเช่น การตดั เสียง 4 เฟรมล่วงหนา้ กอ่ นภาพ เมอ่ื ตดั จากภาพในอาคาร มายงั ภาพฉากนอก
อาคาร

5.มมุ กลอ้ ง Camera Angle เมอ่ื ผกู้ ากบั ฯ ถา่ ยทาฉากจะทาโดยเริ่มจากตาแหน่งต่าง ๆ
(มมุ กลอ้ ง) และจากตาแหน่งต่าง ๆ เหลา่ น้ีผกู้ ากบั ฯจะให้ถา่ ยช็อตหลาย ๆ ชอ็ ตคาวา่ “มุม” ถกู ใช้

13

เพื่ออธิบายหวั ใจ สาคญั คือแต่ละคร้ังที่ cut หรือ mix จาก shot หน่ึงไปอีกช็อตหน่ึงกลอ้ งควรมมี ุม
ท่แี ตกต่างไปจากช็อตกอ่ นหนา้ น้ีสาหรับคนตดั ความแตกตา่ งระหว่างแกนไมค่ วรมากกวา่ 180 องศา
และมกั จะนอ้ ยกว่า 45 องศา เม่อื ถ่าย บุคคลเดียวกนั ดว้ ยประสบการณร์ ูปแบบน้ีอาจดดั แปลงไดอ้ กี

6.ความตอ่ เนื่อง Continuity ทุกคร้ังทีถ่ ่ายทาในมมุ กลอ้ งใหม่ (ในซีเควนส์เดยี วกนั )
นกั แสดงหรือคนนาเสนอจะตอ้ งแสดงการเคล่ือนไหวหรือทาทา่ เหมอื นเดมิ ทุกประการกบั ช็อตท่ี
แลว้ วธิ ีการน้ียงั ปรับใชก้ บั take ที่แปลกออกไปดว้ ยความตอ่ เนื่องของเน้ือหา Continuity of content
ควรมคี วามต่อเนื่องของเน้ือหา เช่น นกั แสดงยกหูโทรศพั ทด์ ว้ ยมอื ขวาในชอ็ ทแรก ดงั น้นั กค็ าดเดา
ไดว้ ่าหูโทรศพั ทย์ งั คงอย่ใู นมือขวาในชอ็ ทตอ่ มา งานของ คนตดั คอื ทาใหแ้ น่ใจว่าความต่อเน่ือง
ยงั คงมีอย่ทู กุ คร้งั ที่ทาการตดั ต่อในซีเควนสข์ องช็อตความต่อเนื่องของการเคล่อื นไหว Continuity
of movementความต่อเน่ืองยงั เกี่ยวขอ้ งกบั ทิศทางการเคลอื่ นไหวหากนกั แสดงหรือบุคคลเคล่อื นท่ี
จากขวาไปซา้ ยในช็อตแรกช็อทตอ่ มากค็ าดเดาว่านกั แสดงหรือ บคุ คลจะเคลือ่ นไหวไปในทศิ ทาง
เดียวกนั เวน้ แต่ในชอ็ ทจะให้เหน็ การเปล่ียนทิศทางจริง ความต่อเนื่องของตาแหน่ง Continuity of
position ความต่อเนื่องยงั คงความสาคญั ในเรื่องของตาแหน่งนกั แสดงหรือบุคคลในฉาก หาก
นกั แสดงอย่ทู างขวามอื ของฉากในช็อทแรก ดงั น้นั เขาจะตอ้ งอยู่ ขวามือในช็อทต่อมาดว้ ย เวน้ แตม่ ี
การเคลื่อนไหวไปมาให้เห็นในฉากถงึ จะมกี ารเปลีย่ นไป

ความตอ่ เนื่องของเสียง Continuity of sound ความต่อเนื่องของเสียงและสดั ส่วนของเสียง
เป็นส่วนที่ สาคญั มากถา้ การกระทากาลงั เกิดข้ึนในทเ่ี ดยี วกนั และเวลาเดียวกนั เสียงจะตอ้ งต่อเน่ือง
จากชอ็ ตหน่ึงไปยงั ช็อตต่อไปเชน่ ในชอ็ ตแรกถา้ มีเคร่ืองบนิ ในทอ้ งฟ้ าแลว้ ไดย้ นิ เสียง ดงั น้นั ในช็อ
ตต่อมาก็ตอ้ งไดย้ นิ จนกวา่ เครื่องบินน้นั จะเคลอ่ื นห่างออกไป แมว้ า่ บางคร้ังอาจไมม่ ภี าพเคร่ืองบิน
ให้เห็นในชอ็ ตท่ีสองแต่ก็ไมไ่ ดห้ มายความว่าไมจ่ าเป็นตอ้ งมีเสียงต่อเนื่องในช็อตตอ่ ไป นอกจากน้ี
ชอ็ ตทอี่ ยใู่ นฉากเดียวกนั และเวลาเดยี วกนั จะมเี สียงพ้ืน (background sound) ท่เี หมือนกนั เรียกว่า
background ambience, atmosphere หรือเรียกย่อ ๆ ว่า atmos ซ่ึงตอ้ งมีความต่อเนื่อง
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 14

กระบวนการตดั ต่อ (Editing Process) หมายถงึ การเลือกสรรภาพใหม้ คี วามตอ่ เนื่องกนั โดยสะดุด
ความรู้สึกของผชู้ ม ทาให้การเคล่ือนไหวของคน หรือ วตั ถดุ ูเป็นธรรมชาติ ภาพไมก่ ระโดด ลกั ษณะ
ของภาพทุกตอนดเู หมาะสมกลมกลืนกนั ดี อยา่ งไรกต็ ามการที่จะลาดบั ภาพใหเ้ น้ือหาสมบรู ณแ์ ละ
น่าสนใจน้นั เราตอ้ งมภี าพทเ่ี หมาะสมที่มาต้งั แตก่ อ่ นทจ่ี ะมาถึงการตดั ต่อ นน่ั กค็ ือตอ้ งไดภ้ าพทีด่ มี า
ต้งั แตข่ ้นั ตอนการถ่ายทา ฉะน้นั จึงขอเทา้ ความถึงข้นั ตอนดงั กล่าว (สุธี พลพงษ,์ 2557, หนา้ 7-8)

1.1 ข้นั ตอนการถ่ายทา เป็นข้นั แรกของการบนั ทึกภาพวดิ ที ศั นข์ องช่างกลอ้ ง (Camera
Man) โดยพจิ ารณาถงึ ความต่อเน่ืองระหว่างชอ็ ท (Shot) หรือฉาก (Scene) ตอ้ งหยุดเทปและยา้ ย
สถานทแี่ ละถ่ายทาฉากตอ่ ไป ความผดิ พลาดของความตอ่ เน่ืองจะเกิดข้ึนไดผ้ ูก้ ากบั ตอ้ งมองการณ์
ไกลขณะท่ถี า่ ยภาพ ตอ้ งนกึ ถึงชว่ งตอ่ ของภาพแตล่ ะชว่ ง แตล่ ะฉาก และคดิ วา่ จะตดั อย่างไรใหเ้ ขา้
กนั

1.1.1 บนั ทกึ สัญญาณภาพ (Record Signal) คือ การบนั ทึกสัญญาณภาพลงมว้ น
วิดีทศั น์หรือส่ิงบนั ทกึ ขอ้ มลู (Memory Card) ก่อนการถ่ายทามว้ นวดิ ีทศั น์ทุกมว้ นท่ีใชใ้ นการถ่าย
ทาตอ้ งบนั ทกึ สัญญาณขาวและดา (Black and White) หรือสัญญาณแทง่ สี (Color Bar) ไวต้ น้ มว้ น
ประมาณ 20 วนิ าที – 1 นาที เพือ่ ตดั ปัญหาในกรณีที่เน้ือเทปตน้ มว้ นยบั ทาใหภ้ าพท่ีถา่ ยไวต้ น้ มว้ น
ใชง้ านไม่ได้ อีกกรณีคอื ถา้ เราไม่ไดบ้ นั ทึกสัญญาณไวต้ น้ มว้ นเม่อื ทาการตดั ตอ่ เครื่องจะตดั ตอ่ ไม่ได้
(ในกรณีที่อุปกรณต์ ดั เป็นแบบ Linear) เพราะเมอื่ กดป่ ุม Auto Edit เครื่องเลน่ กลบั (Play) และ
เคร่ืองบนั ทกึ (Record) จะถอยหลงั (Rewind) กลบั 3 วนิ าที 5 วินาที 7 วินาที หรือ 10 วนิ าที แลว้ แต่
เรากาหนด เมอื่ ภาพทเ่ี ราตอ้ งการอย่ตู น้ มว้ นของเทปเครื่องก็จะไม่สามารถถอยหลงั กลบั ได้

1.1.2 การถ่ายภาพนิ่ง (Still Shot) คือ การถา่ ยภาพทวี่ ตั ถอุ ยกู่ บั ที่ เช่น ตกึ อาคาร โบสถ์
เจดีย์ อนุสาวรีย์ ภาพวิว ฯลฯ หรือแมก้ ระทงั่ ภาพทมี่ กี ารเคล่อื นไหวผถู้ า่ ยภาพควรถ่ายภาพ แช่ไวต้ น้
ภาพและทา้ ยภาพ กอ่ นบนั ทกึ ภาพลงจริงตามผกู้ ากบั ส่งั เช่น ผกู้ ากบั ส่งั ใหเ้ ดนิ เทป ชา่ งกลอ้ งตอ้ ง
เดินเครื่องบนั ทกึ ภาพลว่ งหนา้ กอ่ น 5–10 วนิ าที แลว้ จึงถา่ ยตามท่ผี กู้ ากบั สั่งเมือ่ ผกู้ ากบั ส่งั ให้หยดุ
(Cut) ช่างกลอ้ งตอ้ งเดนิ เครื่องภาพวิดโี อไปอกี 5-10 วนิ าที จงึ ค่อยหยุดเทป เม่อื ทาการตดั ตอ่ การ
เชื่อมภาพไมส่ ะดุด มคี วามต่อเนื่องที่ดี (Smooth) เพราะมีชว่ งเวลาเผือ่ ไวส้ าหรบั ช่วงตน้ ภาพ และ
ช่วงทา้ ยภาพในขณะทถ่ี า่ ยทา

1.1.3 การถ่ายภาพเคล่อื นไหว (Motion Shot) คือ การถ่ายภาพในลกั ษณะทท่ี าให้
ภาพเคลอ่ื นไหวจากตวั กลอ้ งโทรทศั น์ เช่น การ Tilt,Pan,Zoom,Dolly,Truck,Arc เป็นตน้ ขณะ
ถา่ ยภาพในลกั ษณะน้ีห้ามหยดุ บนั ทึกระหวา่ ง Pan,Tilt และ Zoom,Dolly,Truck,Arc ยงั ไมส่ ้ินสุด
เพราะเม่ือทาการเชื่อมภาพจะทาใหภ้ าพกระโดด (Jump) ได้

SPU CHONBURI 15

1.2 ข้นั ตรวจดภู าพ (Check Shot) เป็นข้นั ตอนท่ีตอ้ งตรวจหลงั จากถา่ ยทาเพ่อื ตรวจความ
เรียบรอ้ ยในแงข่ องภาพ สี แสง ก่อนนาไปตดั ตอ่ จริง ซ่ึงมีข้นั ตอนในการตรวจดูภาพขณะถ่ายทา
เสร็จในแต่ละฉาก

1.2.1 ตรวจดภู าพหลงั การถา่ ยทาเสร็จแตล่ ะฉาก คอื การตรวจสอบดูภาพขณะถ่ายทา
ในฉากน้นั เลย ข้นั ตอนน้ีเป็นข้นั ตอนท่ีผกู้ ากบั ตอ้ งตรวจสอบอยแู่ ลว้ แตช่ า่ งกลอ้ งตอ้ งตรวจดดู ว้ ย
เพราะถา้ นาไปตรวจสอบทหี ลงั จะทาใหเ้ สียเวลาในการถ่ายทาใหมเ่ พราะบางเหตกุ ารณจ์ ะรอให้มนั
เกดิ อกี ไมไ่ ดถ้ า้ นาไปตรวจดูทหี ลงั รู้ว่าผดิ พลาดเราตอ้ งเสียเวลาในการทาใหมแ่ ละบางคร้ังเมอ่ื เสีย
เวลาแลว้ ภาพดีๆ อาจไม่มใี ห้เหน็ อกี

1.2.2 ตรวจดภู าพหลงั การถ่ายทาเสร็จแตล่ ะวนั คือ การตรวจดูภาพหลงั การถา่ ยทา
เสร็จแต่ละวนั เพื่อตรวจดวู ่าวนั ทไ่ี ดถ้ ่ายไปมขี อ้ ผดิ พลาดตรงไหน ถ่ายครบทกุ ภาพตามบทหรือไม่
จงั หวะ Zoom ภาพตอ่ เน่ืองกนั ดหี รือไม่ เพื่อจะไดแ้ กไ้ ขใหม่ในวนั รุ่งข้นึ ก่อนที่เราจะเปลี่ยนแปลง
สถานที่ใหม่ในการถ่ายทา

1.2.3 ตรวจดภู าพพรอ้ มกบั แบบฟอร์มบนั ทกึ คือ การตรวจดภู าพข้นั สุดทา้ ยกอ่ นตดั
ต่อ ตดั ต่อข้นั น้ีเราตรวจดภู าพท้งั หมดและตรวจสอบแบบฟอร์มทบ่ี นั ทึกไวข้ ณะถ่ายทาเพ่อื บอก
รายละเอยี ดว่าภาพทปี่ รากฏบนจอมขี อ้ ผดิ พลาดหรือดีตรงไหน เช่น บางฉากเราถ่ายไว้ 5 คร้ัง
(Take) เมอ่ื ตรวจสอบดูแลว้ คร้งั ท่ี 3 ดี ตอ้ งตรวจดูภาพทกุ มว้ นที่ถา่ ยทามาทาให้ย่นระยะเวลาในการ
ตดั ต่อไดม้ าก

1.3 ข้นั การตดั สินใจ เป็นข้นั ตอนทผ่ี ูต้ ดั ตอ่ ตอ้ งตดั สินใจเลือกภาพจงั หวะของภาพและ
เวลาของภาพในการเรียงลาดบั เน้ือหา เพ่ือใหเ้ หมาะสมกบั เร่ืองราวที่กาหนดในการตดั สินใจภาพ
เพือ่ บอกเรื่องราวน้นั ดว้ ยประกอบดว้ ย 3 ข้นั ตอน คอื

1.3.1 ตดั ต่อตามบท คือ การลาดบั ภาพตามเน้ือหาเมอื่ ผูต้ ดั ตอ่ แน่ใจวา่ ไดร้ ูเ้ รื่องราว
ท้งั หมดตามบทแลว้ กอ่ นเร่ิมลงมอื ตดั ตอ่ ผูต้ ดั ตอ่ ตอ้ งมีรายละเอยี ดของภาพก่อน การตดั ต่อน้นั แม้
ผทู้ าการตดั ต่อจะมหี ลกั การในการตดั ตอ่ ภาพอะไรควรต่อดว้ ยภาพอะไรแลว้ กต็ ามแตส่ าคญั ทีส่ ุดก็
คอื ลาดบั ภาพน้นั จะตอ้ งส่ือความหมายไดด้ ีท่ีสุด

1.3.2 ศกึ ษารายละเอียด คือ นาเทปที่จะทาการตดั ตอ่ ตามบทแลว้ มาทาการศกึ ษา
รายละเอยี ดระหวา่ งภาพกบั เวลาขอ้ จากดั ของเวลามีความสาคญั ต่อการตดั สินใจเลอื กภาพถา้ ภาพ
ยาวแต่มีเวลานอ้ ย อาจจะตอ้ งตดั สินใจใชเ้ พยี งเวลาส่วนของชอ็ ทน้นั ๆ หรือหาชอ็ ทใหม่

1.3.3 ตดั ตอ่ คือการนาภาพมาเรียงลาดบั อย่างสร้างสรรค์ เพอ่ื ใหไ้ ดเ้ น้ือหาและ
รายละเอยี ดตามบทในการตดั สินใจเลอื กภาพแตล่ ะภาพทีจ่ ะนามาเรียงลาดบั ให้เป็นเรื่องราวผูต้ ดั

SPU CHONBURI 16

ตอ้ งพจิ ารณาว่า เมอ่ื เช่ือมภาพกนั แลว้ จะไมส่ ะดดุ หรือกระโดดมจี งั หวะจดุ เขา้ และจดุ ออกท่ีสัมพนั ธ์
กนั รวมถึงช่วงเวลาของภาพทีเ่ ชื่อมกนั ตอ้ งเหมาะสม
การตัดต่อวิดโี อ

ข้นั ตอนของการตดั ตอ่ เป็นกระบวนการทนี่ าเอาวสั ดรุ ายการทีผ่ ่านการบนั ทกึ แลว้ มาเรียบ
เรียง ผสมผสานเขา้ ดว้ ยกนั เพอ่ื บอกเลา่ เรื่องราวท้งั หมดกบั ผูช้ มอย่างเป็นข้นั เป็นตอนแตท่ วา่ อยา่ งไร
ก็ดกี ารตดั ต่อยงั เป็นมากกวา่ การนาเอาชิ้นส่วนแตล่ ะชิน้ มาต่อเขา้ ดว้ ยกนั และบอกเล่าเน้ือเร่ือง
ท้งั หมดแต่เพียงฉาบฉวย เทา่ น้นั เอง มนั ยงั เป็นเรื่องของการใชเ้ ทคนิคของการเลือกสรรและการ
ลาดบั ภาพอย่างให้ตรงกบั ขอ้ กาหนด และช่วงของเวลาในวธิ ีการซ่ึงมนั ควรจะเช่ือมตอ่ กนั อย่างไร
ดว้ ย การตดั ต่อยงั เป็นสถานทจ่ี ุดนดั พบกนั ของ ภาพกราฟิก ดนตรี การใส่เสียงเอฟเฟ็ค การใส่
เทคนิคภาพพิเศษเพิม่ เตมิ ให้กบั เน้ือรายการทไี่ ดถ้ า่ ยทามากอ่ นลว่ งหนา้ แลว้ ดว้ ย ท้งั หมดน้ีย่อมเป็น
ปัจจยั สาคญั ทสี่ ่งผลกระทบต่อปฏกิ ิริยาของผชู้ มทีไ่ ดเ้ หน็ และได้ ฟังอะไรก็ตามท่ปี รากฏบน
จอรบั ภาพเจา้ หนา้ ทีต่ ดั ต่อที่มปี ระสบการณ์มสี ่วนอย่างมากในการประสบ ผลสาเร็จของการผลติ
รายการใดๆกต็ าม การตดั ตอ่ ทีไ่ มด่ พี อสามารถทาใหผ้ ชู้ มสบั สนหรือถา้ หากในกรณีท่เี ลวร้ายกท็ า
ให้รายการน่าเบอื่ ไปเลย กลไกของการตดั ต่อน้นั เป็นเรื่องงา่ ยๆแตผ่ ลกระทบทเี่ กิดจากการตดั สินใจ
ของผตู้ ดั ต่อน้นั เป็นเรื่องที่จาเป็นตอ้ งใชเ้ วลาและประสบการณ์เป็นอนั มากต่อไปน้ีเป็นส่ิงท่ี
จาเป็นตอ้ งทาความรูจ้ กั คุน้ เคยก่อนทจี่ ะศกึ ษาเร่ืองการตดั ตอ่ ดงั น้ี (ชยั พร ธรรมโยธิน ,ออนไลน์,
2559)

Clip เน้ือหาของวิดีโอท่ีถ่ายทาตอ่ เนื่องกนั ในหน่ึงชว่ ง
Cover shot เน้ือหาของวิดีโอท่ผี ตู้ ดั ต่อนามาใชโ้ ดยทีผ่ ชู้ มไมพ่ บเห็นวา่ มีการตดั ตอ่
Coverage หมายถงึ การนาเสนอภาพในฉากจากหลายมมุ กลอ้ งของตวั แสดงหลายคร้ังเพื่อให้ ยงั คง
ความต่อเนื่องเอาไวไ้ ด้
Continuity คอื กระบวนการนาเสนอภาพและเสียงอยา่ งต่อเน่ืองในฉากที่สามารถรักษา
การแสดงไวไ้ ม่ให้ผูช้ มพบสิ่งผดิ ปกติในฉากน้นั ๆท่แี ตกต่างไปจากตอนเร่ิมตน้ ของฉาก
Cut คาว่าคทั หรือเทคจะหมายถึงวา่ เป็นการเปลี่ยนไปยงั ฉากอน่ื
Cutaway shot มกั ถูกใชใ้ นกรณีทกี่ ารตดั ต่อจาเป็นตอ้ งขาดความตอ่ เนื่องเช่นดว้ ยวธิ กี าร
ให้ผแู้ สดงเดินหลดุ ออกจากเฟรมไปเลย
Digitize เป็นข้นั ตอนของการเปลยี่ นสญั ญาณภาพและเสียงของวิดีโอให้เป็นขอ้ มลู แบบ
ดิจิทลั
Dissolve เป็นวิธีการเปล่ยี นภาพดว้ ยการทาใหภ้ าพเดมิ คอ่ ยๆเลือนหายไปและภาพใหม่
เขา้ มา

SPU CHONBURI 17

DVE การทาเทคนิคภาพพิเศษแบบดจิ ิทลั
Fade เป็นการทาใหภ้ าพเปลีย่ นอย่างชา้ ๆระหว่างภาพมดื ลงและภาพสว่างข้ึน
Jump cut การตดั ต่อผิดท่ผี ิดหลกั ดว้ ยการนาภาพทเ่ี หมอื นกนั ท้งั ขนาดและมมุ กลอ้ งมาตอ่
กนั Running order เป็นขอ้ กาหนดของภาพในฉากที่จะปรากฏบนจอในข้นั ตอนสุดทา้ ย
Shooting order เป็นขอ้ กาหนดของภาพหรือฉากทจี่ ะถา่ ยทาทอี่ าจไม่ใชเ่ ป็นการตอ่ เนื่อง
Timeline หมายถงึ ส่วนของภาพกราฟิ กสาหรับส่ือสารสั่งการกนั ระหว่างผูใ้ ชง้ านกบั
เครื่องตดั ตอ่
Trim การตดั วดิ ีโอทีถ่ า่ ยทาแลว้ บางส่วนออกไปทาใหส้ ้นั ลง
Voice over การบรรยายใส่เสียงหรือให้ความเห็นเพิม่ เติมในวิดโี อ
Wipe การกวาดภาพระหว่างฉากวดิ โี อหน่ึงไปยงั อกี ฉากหน่ึง
วธิ ีการตดั ต่อรูปแบบต่างๆ
การตดั ต่อแบบเชิงเส้น (Linear video editing)
การตดั ตอ่ แบบเชิงเส้น คอื การตดั ต่อภาพและเสียงโดยการเขา้ ถงึ ขอ้ มูลตน้ ฉบบั ตามลาดบั
ไม่ สามารถขา้ มไปยงั ชว่ งเวลาหน่ึงๆไดท้ นั ทสี ่วนใหญม่ กั อยใู่ นรูปของเทปบนั ทกึ ชนดิ ตา่ งๆ การ
ตดั ต่อทาได้ โดยตอ้ งมเี คร่ืองอา่ นเทปตน้ ฉบบั และเคร่ืองบนั ทึกเทปพรอ้ มเทปเปล่าอย่างนอ้ ย 2
เคร่ืองเชื่อมตอ่ เขา้ ดว้ ยกนั โดยมีจอMonitor แสดงภาพในการทางาน หากเป็นการรบั สญั ญานสด
หรือเพิ่มเทคนิคพเิ ศษต่างๆ กจ็ ะมีเครื่องสลบั /ผสมสัญญาณ และอปุ กรณ์อ่ืนๆรวมกนั วิธกี ารตดั ตอ่
ทาโดยการให้เคร่ืองอา่ นเทปตน้ ฉบบั เลน่ ภาพในส่วนท่ตี อ้ งการตดั ตอ่ โดยอาจป้ อนคา่ ของเวลา
(Timecode) ในเทปน้นั ๆเพอื่ ความรวดเร็วในการขา้ ม ไปยงั ส่วนตา่ งๆ แลว้ บนั ทึกส่วนน้นั ลงเทป
เปลา่ ในเครื่องบนั ทกึ ท่ตี ่อไวอ้ กี เครื่องหน่ึงขอ้ ดขี องระบบการตดั ต่อแบบเชิงเสน้ (Linear Editing)
คอื มคี วามรวดเร็วในการแสดงภาพให้เหน็ โดยทนั ทมี คี วามยืดหยุ่นกบั การทางานแบบ Realtime
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในสถานีโทรทศั นท์ ่ตี อ้ งการความเร่งรีบในการออกอากาศสดการนาเสนอข่าว
การตดั ต่อในลกั ษณะน้ีเพียงแคเ่ ล่นเทปตน้ ฉบบั ในส่วนท่ตี อ้ งการ ก็สามารถแสดงภาพออกไปได้
ทนั ทีส่วนขอ้ เสียของการตดั ตอ่ ในลกั ษณน้ีคอื ความชา้ ในการคน้ หาส่วนตา่ งๆในเทปเนื่องจากตอ้ ง
อา่ นขอ้ มูลไปเร่ือยๆจนหมดเทป ไม่สามารถขา้ มไปไดโ้ ดยทนั ทีและหากมีความผดิ พลาดในการตดั
ต่อในแบบ บนั ทึกเทป การแกไ้ ขน้นั ทาไดย้ ากและไม่สะดวก เพราะตอ้ งเริ่มทาจากตน้ เทปจนจบ
เทป การใส่เทคนิค พิเศษในวดิ โิ อก็ทาไดจ้ ากดั เนื่องจากตอ้ งพ่งึ ความสามารถจากตวั อุปกรณ์จงึ มี
ตน้ ทุนสูงท้งั ในดา้ นอุปกรณต์ ่างๆรวมท้งั เทปบนั ทกึ เพราะหากซ้ืออปุ กรณท์ ม่ี ีความสามารถนอ้ ยก็
จะทางานไดจ้ ากดั จงึ ไม่เป็นท่นี ิยมในงานขนาดเลก็ (ชยั พร ธรรมโยธิน ,ออนไลน,์ 2559)

SPU CHONBURI 18

การตดั ตอ่ แบบลิเนียร์เป็นกระบวนการชนิดอดั ทบั หรือทาสาเนาลงบนเสน้ เทปอกี มว้ น
หน่ึงให้ตรงตามขอ้ กาหนดท่ีตอ้ งการ การทางานแบบน้ีไดผ้ ลดตี ามสมควรจนกระทงั่ ผกู้ ากบั หรือ
ทีมงานตอ้ งการใหม้ ีการเปลี่ยนแปลงบางส่วนของบริเวณชว่ งกลางของเสน้ เทปนนั่ ย่อมหมายความ
วา่ งานท้งั หมดตอ้ งนา เอามาเรียงลาดบั กนั ใหมท่ ้งั หมดทาให้เสียเวลาและเป็นเร่ืองยุ่งยาก นอกจากน้ี
การตดั ตอ่ แบบลเิ นียร์ท่จี า เป็นตอ้ งทาสาเนาหลายคร้ังยงั ทาให้คุณภาพของสัญญาณภาพแยล่ งไปอีก
การตดั ต่อแบบลิเนียร์ทาไดด้ ว้ ยวธิ ีการใช้ เคร่ืองเลน่ เทปวิดโี อหน่ึงเคร่ืองกบั เครื่องบนั ทกึ วิดีโออกี
หน่ึงเครื่องโดยท้งั สองเครื่องจะถกู ควบคุมการทางานให้สัมพนั ธก์ นั ดว้ ยชดุ ควบคมุ ยงั คงมงี านบาง
หน่วยงานท่ใี ชร้ ูปแบบการทางานแบบน้ีอยเู่ ชน่ ใชใ้ นงานตดั ตอ่ ขา่ วทตี่ อ้ งการความสะดวกและ
รวดเร็ว ในทกุ วนั น้ีรายการโทรทศั นแ์ ละการผลิตวดิ ีโอส่วนใหญใ่ ชว้ ธิ ีการตดั ต่อดว้ ยระบบนอน
ลเิ นียร์ระบบการตดั ต่อแบบน้ีเป็นกระบวนการทสี่ ัญญาณวดิ โี อถกู จดั เกบ็ ไวใ้ นหน่วยบนั ทกึ ขอ้ มลู
ความจาของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ดงั น้นั จึงสามารถนาเอาขอ้ มูลของภาพและเสียงเหล่าน้นั มาจดั วาง
หรือนามาเรียบเรียงไดต้ ามตอ้ งการนอกจากน้ียงั สามารถทาเทคนิคภาพพเิ ศษหรือใส่เสียงประกอบ
รายการและใส่ภาพกราฟิกไดด้ ว้ ย ท้งั หมดน้ีเป็นการทางานดว้ ยการใชโ้ ปรแกรมตดั ตอ่ กบั เครื่อง
คอมพวิ เตอร์ การตดั ต่อดว้ ยระบบเชน่ น้ีย่อมมคี วามง่ายในการเปลย่ี นหรือเคลื่อนยา้ ยคลปิ วดิ โี อใดๆ
ก็ตามจนกว่าผกู้ ากบั และทีมงาน จะพงึ พอใจ กลอ้ งวิดโี อแบบดิจิทลั ทบ่ี นั ทึกขอ้ มูลลงบน
หน่วยความจายงั ชว่ ยใหก้ ารเริ่มตน้ งานทาไดส้ ะดวกและรวดเร็วเพราะไมจ่ าเป็นตอ้ งแปลงไฟลอ์ ีก
ระบบตดั ตอ่ แบบน้ียงั มรี าคาอปุ กรณ์ถกู กวา่ ระบบเดมิ มาก ภายหลงั จากทาการตดั ต่อเสร็จสมบรู ณ์
แลว้ ก็สามารถส่งต่อไปยงั ส่ือใดๆท่ีตอ้ งการใชบ้ นั ทึกไดท้ นั ที

การตัดต่อแบบไม่เป็ นเชงิ เส้น (Non-Linear video editing)
การตดั ต่อในลกั ษณะน้ี Footage จากส่ือบนั ทกึ ท้งั หมดจะถูกบนั ทกึ ลงในฮาร์ดดสิ ก์อย่ใู นรูปของ
ไฟลว์ ิดีโอเพือ่ ใชก้ บั คอมพิวเตอร์จากน้นั ตดั ตอ่ โดยใชโ้ ปรแกรมตา่ งๆ เช่น Adobe Premiere-Pro,
Final Cut, Avid,UleadVideoStudio ฯลฯ เมื่อตดั ตอ่ เสร็จแลว้ วิดโิ อท้งั หมดจะตอ้ งผา่ นการ Render
และบนั ทกึ เป็นไฟล์ วดิ โิ อหรือสื่อชนิดอ่นื ๆเสียก่อน จึงจะนาไปใชไ้ ดก้ ารตดั ต่อในลกั ษณะน้ีมขี อ้ ดี
คอื สามารถแกไ้ ขส่วนต่างๆไดอ้ ยา่ งรวดเร็วตามตอ้ งการ อกี ท้งั ยงั สามารถใส่เทคนิคพิเศษตา่ งๆได้
อยา่ งงา่ ยดาย และมใี หเ้ ลอื กไดม้ ากมาย หลายรูปแบบ โดยสามารถเลอื กใชไ้ ดจ้ ากโปรแกรมตดั ต่อ
หรือสามารถดาวน์โหลด Plug-in หรือโปรแกรม เพ่มิ เติมไดจ้ ากอนิ เตอร์เน็ต ส่วนขอ้ เสียของการตดั
ตอ่ ในลกั ษณะน้ีคือ ตอ้ งใชค้ อมพิวเตอร์ท่ีมคี วามสามารถ ในการประมวลผลกราฟฟิกสูง จงึ จะ
สามารถทางานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพตอ้ ง Render ไฟลท์ ้งั หมดกอ่ น จงึ จะบนั ทกึ เป็นไฟลห์ รือลง
ส่ือไดไ้ ม่เหมาะสาหรับการทางานทตี่ อ้ งการความเร่งรีบ เชน่ การถ่ายทอดสด เป็นตน้ การตดั ตอ่
ลกั ษณะน้ีจงึ เหมาะสาหรับวิดโิ อท่ีนาไปใชใ้ นภายหลงั อีกท้งั โปรแกรมที่ใชส้ าหรับการตดั ต่อกม็ ี

SPU CHONBURI 19

ความสามารถในการสนบั สนุนไฟลว์ ดิ โิ อไดไ้ มเ่ หมอื นกนั มวี ธิ ีการใชง้ านทีแ่ ตกตา่ งกนั สรา้ งความ
วนุ่ วายในการทางานตดั ตอ่ ไดใ้ นระดบั หน่ึง (ชยั พร ธรรมโยธิน ,ออนไลน์, 2559)
การตัดต่อวีดโี อต้องทาอะไรบ้าง

การตดั ตอ่ วิดิโอน้นั ข้นึ อยกู่ บั ความตอ้ งการวา่ จะใหว้ ดิ โิ อน้นั ๆออกมาอยา่ งไรแบบไหน
โดยก่อนทจี่ ะเริ่มกระบวนการตดั ตอ่ น้นั จะตอ้ งมกี ารวางแผนอยา่ งชดั เจนในทกุ ข้นั ตอนโดยอาศยั
หัวขอ้ ดงั น้ี (ชยั พร ธรรมโยธิน ,ออนไลน์, 2559)

1.การคดั Footage ที่ไม่ไดใ้ ชท้ ้งิ ไป
เป็นข้นั ตอนแรกสุดของกระบวนการตดั ตอ่ โดยในข้นั ตอนน้ีจะเป็นการคดั Footage ส่วน
ที่ไม่ ตอ้ งการและ/หรือส่วนไม่สามารถใชง้ านไดอ้ อกไป โดยเหลอื เพยี งส่วนท่ีสาคญั เอาไวเ้ พอ่ื
นาไปใชใ้ น ข้นั ตอนตอ่ ไป
2.เลอื ก Footage ทดี่ ีทีส่ ุด
หากวดิ ีโอทค่ี ดั แยกจากข้นั ตอนแรกมหี ลาย Take หรือมกี ารถา่ ยไวห้ ลายคร้ัง ให้เลอื ก
เฉพาะ Take ท่ีดีท่ีสุดท้งั องคป์ ระกอบภาพความสมบูรณข์ องภาพและเสียง ฯลฯ
3. สร้างความต่อเนื่อง (Flow) และลาดบั เร่ืองราวให้ถกู ตอ้ ง
หลงั จากท่ีได้ Footage ทด่ี ีทส่ี ุดแลว้ ในข้นั ตอนน้ีจะเป็นการนา Footage ท้งั หมดทค่ี ดั เลอื ก
แลว้ มา เรียบเรียงลาดบั เหตุการณ์ให้มคี วามต่อเนื่องและเป็นไปอยา่ งถูกตอ้ ง โดยอาศยั โครงเรื่อง
(Storyboard) และ Scriptในข้นั ตอนกอ่ นการผลิต (Pre-production) เป็นแนวทางในการลาดบั ภาพ
และเสียงใหเ้ ป็นไปตามที่กาหนกไว้
4. เพิม่ Effects กราฟฟิก ดนตรีประกอบ ฯลฯ เพอ่ื สร้างความรู้สึกและอารมณร์ ่วมให้กบั
ผชู้ ม หลงั จากการเรียงลาดบั เหตกุ ารและความตอ่ เนื่องแลว้ กม็ าถึงข้นั ตอนทสี่ รา้ งสีสนั และความ
น่าสนใจใหก้ บั วิดโิ อทีเ่ ราตดั ตอ่ โดยในข้นั ตอนน้ีจะเป็นการเพิม่ ส่วนประกอบพเิ ศษ (Extra) ท้งั ใน
ส่วนของภาพและเสียง ไมว่ า่ จะเป็น Effects ตา่ งๆท้งั ภาพและเสียง เทคนิคกราฟฟิกคอมพิวเตอร์
ต่างๆ เพลงประกอบ (Background Music หรือ BGM) เสียงบรรยากาศรอบขา้ ง (Ambient Noises)
เสียงบรรยาย (Narration) การ เพิม่ /ลดความเร็วภาพและ/หรือเสียง เป็นตน้ นามาผสมผสานกนั เพื่อ
สรา้ งควาชดั เจนและจดุ สนใจ ความรู้สึกและอารมณร์ ่วมแกผ่ ชู้ มโดยจะตอ้ งมกี ารควบคมุ
ส่วนประกอบใหม้ ีความพอดไี ม่มากจนเกนิ ไป และไมท่ าให้ผชู้ มสบั สนกบั สิ่งที่เกดิ ข้ึนในเหตกุ ารณ์
น้นั ๆโดยมีบทโทรทศั น์คอยกาหนดวิธีการให้ผตู้ ดั ต่อปฏิบตั ิในภาคปฏบิ ตั ิตจิ ริง
5. เพิ่มความน่าสนใจใหก้ บั มมุ มองต่างๆในวดิ ิโอ
การทาใหว้ ิดโิ อมคี วามน่าสนใจข้ึนน้นั การปรับแต่งมุมมองของภาพในรูปแบบตา่ งๆก็
สามารถทาใหเ้ ป็นไปไดเ้ ชน่ กนั มุมมองตา่ งๆเหลา่ น้นั สามารถเปลีย่ นแปลงวิธีการส่งสารบางใหก้ บั

SPU CHONBURI 20

ผูช้ มท้งั ทางตรงและทางออ้ ม เชน่ การเลอื กทีจ่ ะใชเ้ ฉพาะมมุ มองจากคนทอ่ี ยขู่ า้ งหลงั แทนท่จี ะให้
ผูช้ มมองเหน็ เหตกุ ารณท์ ้งั หมดการทาให้ภาพเป็นปริศนาให้ผชู้ มต้งั คาถามและให้ความสนใจกบั
ภาพส่วนน้นั ๆการใชอ้ วจนะภาษาในการส่ือความหมายโดยไมต่ อ้ งมีบทพูดแต่ใหจ้ ินตนาการ คาด
เดา และตคี วามหมายกบั สิ่งน้นั หรือเรียกอกี อย่างวา่ สญั ญะ เป็นตน้ โดยมบี ทโทรทศั นค์ อยกาหนด
วธิ ีการให้ผตู้ ดั ต่อปฏิบตั ใิ นภาคปฏิบตั ิจริง
เทคนิคเบอื้ งต้นสาหรับการตดั ต่อ

เป็นที่ทราบกนั ดีวา่ กระบวนการตดั ตอ่ น้นั เป็นกระบวนการทีม่ ีรายละเอียดมากมาย ท้งั
ในดา้ น เทคนิคและรายละเอยี ดตา่ งๆ ดงั น้นั กอ่ นท่ีเราจะเริ่มทาการตดั ตอ่ วดิ ิโอเราควรทาความรูจ้ กั
กบั ขอ้ มูล เบ้ืองตน้ ตา่ งๆทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การตดั ต่อใหด้ ีเสียกอ่ น เพอื่ เป็นพ้นื ฐานในการทางานใน
ข้นั ตอนต่อๆไป (วิชาญ สาระบุตร, ออนไลน์, 2558)

1.ระบบภาพน้นั สาคญั มากๆควรตรวจสอบ Footage ทกุ คร้งั วา่ มีระบบภาพแบบไหน
ระบบการแสดงผลวดิ โิ อในโลกน้นั มกี ารพฒั นาข้นึ มากมาย ท าใหใ้ นแตล่ ะประเทศมี
ระบบท่ี แตกต่างกนั ซ่ึงข้ึนอยกู่ บั การรบั หรือเลือกใชข้ องประเทศน้นั ๆซ่ึงถา้ หากเรานาไฟลว์ ดิ ิโอทมี่ ี
ระบบภาพไม่ เหมือนกนั มาใชใ้ นการตดั ตอ่ อาจทาใหเ้ กิดปัญหาในการตดั ต่อและการนาไปใชโ้ ดย
ระบบภาพทน่ี ิยมใชก้ นั ทวั่ โลกมี 3 ระบบหลกั ๆดงั น้ี

NTSC (National Television System Committee)
เป็นระบบโทรทศั น์อนาล็อกทน่ี ิยมใชก้ นั ในประเทศแถบอเมริกาเหนือ อเมริกาใตญ้ ปี่ ่ นุ
เกาหลใี ต้ ไตห้ วนั ฟิ ลปิ ปิ นส์และพมา่ คิดคน้ ข้นึ ในประเทศสหรัฐอเมริกาโดย Federal
Communications Commission (FCC) เพื่อแกป้ ัญหาความแตกต่างของระบบภาพโทรทศั น์ที่
หลากหลายในสหรฐั อเมริกา ระบบน้ีมีความ ละเอยี ดของภาพ 525 เสน้ (720×480 pixels) แสดงผล
ภาพ 30 ภาพตอ่ วนิ าที (30 fps.) หรือ 29.97 fps. เน่ืองจากในยคุ ทวี สี ีตอ้ งใส่ชอ่ งสญั ญานสีเขา้ ไป จงึ
ตอ้ งลดลงไปอีก 0.03 fps. ส่วนมากใชก้ บั ประเทศที่มรี ะบบไฟฟ้ า 110 V. 60 Hz. ในยคุ แรกระบบน้ี
มีปัญญาเร่ืองการแสดงสีทผ่ี ิดเพ้ียน ตอ้ งมกี ารปรบั สี (Tint) เอง ทเี่ คร่ืองรับโทรทศั น์ทาใหไ้ มส่ ะดวก
ต่อการใชง้ านแตภ่ ายหลงั กไ็ ดม้ กี ารปรับปรุงระบบการแสดงสีใหด้ ขี ้ึนโดยการเพม่ิ ขนาดชอ่ ง
สัญญานและวธิ ีการเขา้ รหัสสีระบบภาพ NTSC จะมีความละเอียดนอ้ ยเนื่องจากจานวนเส้นที่นอ้ ย
กวา่ แตจ่ ะมีการเคลื่อนไหวท่ีนุ่นนวลเน่ืองจากจานวนภาพต่อวินาทที ม่ี ากกวา่

PAL (Phase Alternating Line)
เป็นระบบโทรทศั นอนาล็อกทน่ี ิยมใชก้ นั ในแถบสหราชอาณาจกั ร ยุโรปและประเทศจนี
รวมท้งั ประเทศไทยดว้ ยคดิ คน้ ข้ึนในประเทศเยอรมนั โดย Walter Bruch เพ่ือแกใ้ ขปัญหาการแสดง
สีของNTSC ในยคุ น้นั ใชง้ านคร้ังแรกในสหราชอาณาจกั รในปี 1964 โดยสถานีโทรทศั น์ BBC

SPU CHONBURI 21

ระบบน้ีมีความละเอียดของภาพ 625 เสน้ (720×576 pixels) แสดงผลภาพ 25 ภาพต่อวินาที (25 fps.)
โดยส่วนใหญใ่ ชก้ บั ประเทศท่มี รี ะบบไฟฟ้ า 220 V. 50 Hz. โดยระบบภาพน้ีจะให้สีสนั ท่ีสดกวา่
ภาพคมชดั กว่าเนื่องจากจานวนเสน้ ที่ มากกว่า แตก่ ารเคลอื่ นไหวของภาพจะดไู มส่ มจริงเน่ืองจากมี
จานวนภาพตอ่ วนิ าทีนอ้ ยกวา่ NTSC โดยใน การตดั ต่อของประเทศไทยน้นั จะต้งั คา่ ระบบภาพเป็น
PAL เสมอ

2. ตรวจสอบอตั ราส่วนภาพ (Aspect Ratio) ให้ถูกตอ้ งและเหมาะสม
อตั ราส่วนภาพ (Aspect Ratio) หมายถึง สดั ส่วนความแตกต่างกนั ของดา้ นกวา้ งและดา้ น
ยาวของ ภาพดงั น้นั ก่อนทีจ่ ะเริ่มกระบวนการตดั ตอ่ โดยอตั ราส่วนภาพที่ใชก้ นั เป็นระบบสากล มี
ดงั ต่อไปน้ี
1.อัตราส่วนภาพแบบ 4:3
เป็นอตั ราส่วนภาพสาหรบั โทรทศั นอ์ นาล็อกวดิ ิโอเกมในยคุ กอ่ นๆ ระบบกลอ้ งวดิ ิโอรุ่น
กอ่ นๆจอคอมพวิ เตอร์เกา่ ๆ เชน่ จอ CRTหรือ LCD ในยคุ แรกอกี ท้งั ยงั พบในฟิ ลม์ ภาพยนตร์แบบ-
Super 35 ในยคุหนงั เงยี บมีลกั ษณะคลา้ ยรูปส่ีเหลีย่ มจตั ุรสั
2.อตั ราส่วนภาพแบบ 3:2
เป็นอตั ราส่วนภาพที่ใชส้ าหรบั ระบบการเก็บภาพนิ่งของกลอ้ งถ่ายรูป SLR ท้งั แบบฟิ ลม์
และ ดิจติ อล ในปัจจบุ นั ระบบกลอ้ งดจิ ติ อลสมยั ใหม่บางรุ่นอาจสามารถปรับภาพเป็นอตั ราส่วน
16:9 ได้
3. อัตราส่วนภาพแบบ 16:9
เป็นอตั ราส่วนภาพสาหรบั การแสดงผลทเ่ี ป็นมาตรฐานของโทรทศั นค์ วามละเอยี ดสูง
(HDTV) กลอ้ งวิดโิ อในปัจจุบนั DVD, Blu-Ray และจอแสดงผลแบบ Widescreen ของคอมพิวเตอร์
มลี กั ษณะะเป็น สี่เหล่ียมผืนผา้ มพี ้ืนทข่ี องภาพที่มากกวา่ ในแนวนอนทาใหไ้ ดร้ ับความนิยมใน
ปัจจบุ นั
4. US widescreen cinema standard
เป็นขนาดภาพทใ่ี ชใ้ นอุตสาหกรรมภาพยนตร์ในประเทศสหรัฐอเมริกา
5. Widescreen cinema standard
เป็นขนาดภาพท่ใี ชใ้ นอตุ สาหกรรมภาพยนตร์สากลทวั่ โลกในปัจจุบนั Safe Area บริเวณ
ปลอดภยั สาหรบั การแสดงผล Safe Area คือเสน้ เพ่อื เป็นแนวกาหนดให้ส่วนสาคญั ของภาพอยู่
ครบถว้ น เพราะถึงบน จอคอมพวิ เตอร์ HDTV หรืออปุ กรณด์ จิ ิตอลอน่ื ๆ จะแสดงผลไดแ้ ต่โทรทศั น์
ระบบหลอดภาพ (CRT) จะไม่ สามารถแสดงผลในส่วนทอี่ ย่รู ิมจอสุดๆ ไดด้ ว้ ยขอ้ จากดั ทางเทคนิค
โดยจะมี 2 พน้ื ทีส่ าคญั คือ Title Safe และ Action Safe ซ่ึงพ้นื ท่ีดา้ นนอกเส้นออกไป เรียกวา่

SPU CHONBURI 22

Overscan จะเป็นพ้ืนท่ีๆ โทรทศั น์แบบหลอด CRT แสดงผลไมไ่ ดแ้ ต่ HDTVหรือจอคอมพิวเตอร์/
โทรศพั ทอ์ ปุ กรณด์ จิ ติ อลอนื่ ๆ จะแสดงผลไดต้ ามปกติ

Title Safe
เป็นเสน้ ป้ องกนั ไมใ่ ห้ส่วนทเี่ ป็นตวั อกั ษรไตเติล้ ตวั อกั ษรในส่วนสาระท่ีมีความยาว
มากๆ Subtitle กล่องวดิ โิ อแบบ Picture in picture (PiP) ตกออกไปนอกพ้นื ทก่ี ารแสดงผล การ
ออกแบบและจดั วาง วตั ถุเหลา่ น้ีควรอย่ไู ม่เกนิ เส้น Title Safe
Action Safe
เป็นเสน้ ป้ องกนั ไมใ่ ห้ส่วนสาคญั ในวดิ โิ อกราฟฟิ กตา่ งๆขอ้ ความไหล (Ticker) นาฬิกาโล
โกช้ อ่ ง สถานะการออกอากาศ เชน่ รายการสด รายากรยอ้ นหลงั ตกออกไปนอกพ้ืนทก่ี ารแสดงผล
การจดั วางวตั ถดุ งั กล่าวควรจดั ใหส้ ่วนทส่ี าคญั อย่ใู นเส้นไมใ่ ช่การยอ่ ใหเ้ ขา้ มาอย่ใู นเสน้ จนเกดิ
กรอบสีดารอบพ้ืนทกี่ ารทางาน
การตัด (The Cut)
การตดั เป็นวิธีการเชื่อมตอ่ ภาพทธ่ี รรมดาทีส่ ุดท่ใี ชก้ นั เป็นการเปล่ียนในพริบตาเดยี ว
จากชอ็ ตหน่ึงไปอกี ชอ็ ตหน่ึงถา้ หากทาอย่างถกู ตอ้ งมนั จะไมเ่ ป็นทส่ี ังเกตเหน็ ในบรรดาวิธีการเชื่อม
ภาพ 3 แบบ การตดั เป็นส่ิงทีผ่ ชู้ มยอมรบั ว่าเป็นรูปแบบของภาพท่ีเป็นจริงการตดั ใชใ้ นกรณีที่เป็น
การกระทาทต่ี อ่ เน่ืองตอ้ งการเปล่ียนจุดสนใจมกี ารเปลีย่ นแปลงของขอ้ มลู หรือสถานทเี่ กดิ เหตกุ าร
ตดั ท่ีดีมาจากความรู้เบ้ืองตน้ 6 ประการ (วชิ าญ สาระบตุ ร, ออนไลน์, 2558)

1.แรงจงู ใจ Motivaation ควรตอ้ งมเี หตุผลในการตดั ยิ่งคนตดั มที กั ษะมาก มนั ก็ยิ่งงา่ ย
ท่จี ะหาหรือสรา้ งแรงจงู ใจสาหรบั การตดั เน่ืองจากมพี ฒั นาการท่ีมากข้ึนในการรบั รูว้ า่ จดุ ไหนการ
ตดั ตอ่ ควรจะเกดิ ข้นึ จงึ กลายเป็นการเขา้ ใจไดง้ ่ายกว่าการตดั ก่อนเกดิ แรงจงู ใจหรือการตดั ล่วงหนา้
(early cut) น้นั ไดผ้ ลอย่างไรการตดั หลงั แรงจงู ใจเรียกวา่ การตดั ชา้ (late cut) ความคาดหวงั ของ
ผชู้ มสามารถมาหลงั หรือมาก่อนไดข้ ้ึนอย่กู บั ว่าผู้ ตดั จะใชว้ ธิ ีการตดั ลว่ งหนา้ หรือการตดั ชา้

2.ขอ้ มูล Information ภาพใหมค่ วรมีขอ้ มลู ใหม่เสมอ
3.องคป์ ระกอบภาพ Composition แต่ละช็อทควรจะมอี งคป์ ระกอบภาพหรือกรอบ
ภาพของชอ็ ตทม่ี เี หตมุ ีผล
4.เสียง Sound ควรจะมีรูปแบบของเสียงที่ตอ่ เน่ืองหรือพฒั นาการของเสียง
5.มมุ กลอ้ ง Camera angle ชอ็ ตใหมแ่ ต่ละช็อทควรมมี มุ กลอ้ งที่แตกต่างจากช็อตเดมิ
6.ความต่อเนื่อง Continuity การเคลอ่ื นไหวหรือการกระทาควรจะมีชดั เจนและความ
เหมอื นกนั ในชอ็ ต 2 ช็อตทจ่ี ะตดั เขา้ ดว้ ยกนั

SPU CHONBURI 23

การผสมภาพ (The Mix)
การผสมรู้จกั กนั ในช่ือของการเลอื นภาพ (The Dissolve) การเลือนทบั (The Lap

Dissolve) หรือการเกยทบั (The Lap) น่ีเป็นวธิ ีการเช่ือมจากชอ็ ตหน่ึงไปยงั อกี ช็อตหน่ึงท่ใี ชก้ นั
ทว่ั ไปมากเป็นลาดบั ท่ี 2 ทาไดโ้ ดยการนาช็อตมาเลอื นทบั กนั ดงั น้นั ตอนใกลจ้ บของช็อตหน่ึงจะเริ่ม
มีชีวติ ตอ่ ไปคอ่ ย ๆ เหน็ เด่น ข้ึนมาเมื่อชอ็ ตเกา่ จางหายไปชอ็ ตใหมก่ ็จะเขม้ ข้นึ การเชื่อมแบบน้ีเห็น
ไดช้ ดั มากจุดก่งึ กลางของการผสม คือเมื่อภาพแต่ละภาพเขม้ เท่า ๆ กนั เป็นการสร้างภาพใหม่การ
ผสมตอ้ งใชด้ ว้ ยความระมดั ระวงั เป็นอย่าง มากการผสมควรใชอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเม่อื มีการเปลย่ี นแปลง
ทนั เวลาเมอ่ื ตอ้ งการให้เวลายืดออกไปเมอื่ มกี าร เปล่ียนแปลงสถานทเ่ี ม่ือมคี วามสมั พนั ธ์ของภาพท่ี
ชดั เจน ระหว่างภาพทก่ี าลงั จะออกและภาพทก่ี าลงั จะเขา้
ความรู้เบ้ืองตน้ 6 ประการในการผสมภาพ (วชิ าญ สาระบตุ ร, ออนไลน์, 2558)

1.แรงจงู ใจ Motivation ควรตอ้ งมเี หตผุ ลในการผสมภาพเสมอ
2.ขอ้ มลู Information ภาพใหม่ควรมีขอ้ มูลใหมเ่ สมอ
3.องคป์ ระกอบภาพ Composition ช็อต2 ชอ็ ตท่ผี สมเขา้ ดว้ ยกนั ควรมอี งคป์ ระกอบภาพท่ี
เกยทบั กนั ไดง้ ่าย และหลีกเลยี่ งภาพที่จะขดั กนั
4.เสียง Sound เสียงของท้งั 2 ชอ็ ตควรจะผสานเขา้ ดว้ ยกนั
5.มุมกลอ้ ง Camera angle ช็อตท่ีผสมกนั ควรมมี มุ กลอ้ งทตี่ ่างกนั
6.เวลา Time การผสมภาพใชเ้ วลาอย่างนอ้ ย 1 วินาทีและมากสุด 3วินาที
การตัดต่อตาแหน่งภาพ (The screen position edit)
การตดั ตอ่ ชนิดน้ีบางคร้งั เรียกว่าการตดั ตอ่ ทิศทาง a directional edit หรือการตดั ตอ่
สถานท่ี a placement edit อาจเป็น การตดั ชนภาพ (Cut) หรือการผสม (Mix) แตม่ กั จะเป็นการตดั
ชน หากว่าไม่มกี าร เปลย่ี นของเวลาการตดั แบบน้ีมกั จะมกี ารวางแผนไวต้ ้งั แตช่ ว่ งกอ่ นถ่ายทาหรือ
ช่วงระหวา่ งการถ่ายทาข้นึ อยกู่ บั การกระทาของช็อตแรกทบี่ งั คบั หรือกากบั ให้สายตาของคนดไู ปยงั
ตาแหน่งใหมบ่ นจอ (วิชาญ สาระบตุ ร, ออนไลน์, 2558)
ตวั อยา่ ง 1 นกั เดนิ ทาง 2 คน หยดุ เดนิ เม่ือพวกเขาเห็นและช้ีรอยเทา้ ของคนทพ่ี วกเขากาลงั
ตามหา ท้งั 2 ชอ็ ตน้ี จะตดั ชนภาพเขา้ ดว้ ยกนั มมุ กลอ้ งต่างกนั และมีความต่อเนื่องของเทา้ หรือขาที่
เคลื่อนไหวมีขอ้ มูล ใหมแ่ ละมีความตอ่ เนื่องของเสียง มีแรงจูงใจคอื พวกเขากาลงั ช้ีลงไปอย่าง
จริงจงั และองคป์ ระกอบของช็อตก็ใชไ้ ดผ้ ลการตดั ต่อประกอบดว้ ยความรู้เบ้ืองตน้ 6 ประการ เป็น
การตดั ทไ่ี ดผ้ ล และภาพของการดาเนินเรื่องไมข่ ดั จงั หวะ
ตวั อย่าง 2 ผหู้ ญิงคนหน่ึงกบั ปืนทกี่ าลงั จอ่ ออกไปนอกตวั การตดั ชนภาพจะไดผ้ ลอีกคร้ัง
เพราะมเี หตผุ ลตามทก่ี ล่าวในตวั อยา่ ง 1

SPU CHONBURI 24

ตวั อยา่ ง 3 ที่เวทีแห่งหน่ึง โฆษกรายการก าลงั ประกาศการแสดงตอ่ ไป “เอาละครบั ทา่ น
สุภาพสตรี และสุภาพบรุ ุษ” เขาตะโกน ผายมือไปทางขา้ งเวที “ขอตอ้ นรับ...ปอมพิสโตผ้ ูย้ ิง่ ใหญ่ !!”
อีกคร้งั ทีช่ ็อตท้งั สองนามาตดั ต่อเขา้ ดว้ ยกนั มมุ กลอ้ งแตกตา่ งกนั มขี อ้ มูลใหมเ่ รายงั ไม่เห็นปอมพสิ
โตผ้ ูย้ ิง่ ใหญ่มาก่อน และ เราตอ้ งการรูว้ ่าหนา้ ตาเขาเป็นอย่างไรเสียงน่าจะเสนอให้ยิ่งเป็นไปไดม้ าก
ข้นึ การตดั ชนท้งั เสียงปรบมือ หรือตอนพดู ว่า “ขอตอ้ นรับ” หรือหลงั จากคาพดู ถา้ คุณอยากยดื เวลา
เขา้ ของปอมพิสโตผ้ ยู้ ิ่งใหญ่ มแี รงจงู ใจในการตดั ชนภาพ ดงั น้นั สังเกตไดว้ ่าผชู้ มไดร้ ับการบอก
กล่าวว่าพวกเขากาลงั จะไดพ้ บกบั ปอมพิสโต้ ดงั น้นั ก็พบเขากนั เลยองคป์ ระกอบของชอ็ ตก็ไดผ้ ล
การตดั ต่อตาแหน่งจอไม่จาเป็นตอ้ งมีครบองคค์ วามรู้ท้งั 6 ประการ อย่างไรก็ตามถา้ ยิง่ มมี ากกย็ ิง่ ดี
การตัดต่อรูปแบบ (The Form Edit)

เป็นการอธิบายทด่ี ที สี่ ุดของการเชื่อมจากชอ็ ตหน่ึงซ่ึงมีการแสดงรูป, สี, มิตหิ รือเสียง
ไปยงอั กี ชอ็ ตหน่ึงซ่ึงมีการแสดงรูปทรง สี มติ ิ หรือเสียงน้ีสัมพนั ธ์กนั หากมีเสียงเป็นแรงจงู ใจการ
ตดั ตอ่ รูปแบบ สามารถเป็นการตดั ชนไดแ้ ต่ส่วนใหญ่แลว้ จะเป็นการผสมหลกั การน้ีเป็นจริงเม่ือมี
การ เปลย่ี นแปลงสถานท่ีและ/หรือบางคร้ังเวลาเปลยี่ น (วิชาญ สาระบุตร, ออนไลน์, 2558)

ตวั อยา่ ง 1 ในหอ้ งทีร่ อ้ นช้ืนของบรรดาทตู นกั หนงั สือพิมพร์ อคอยการปล่อยเฮลิคอปเตอร์
เพอื่ ท่ีจะพาพวกเขาให้เป็นอสิ ระ บนฝ้ าเพดานมพี ดลั มเพดานหมุนเฮลิคอปเตอร์มาถึงการตดั ต่อ
สามารถทาไดท้ ้งั ตดั ชนหรือผสมการผสมภาพจะช้ีถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งเหตกุ ารณ์ในเวลาที่
ยิ่งใหญ่รูปแบบ อาจเป็นการหมนุ ของพดั ลมซึงสมั พนั ธ์กบั รูปแบบการหมุนของใบพดั เฮลคิ อปเตอร์
เสียงอาจเกยทบั กนั เพ่อื สรา้ งความเขา้ ใจล่วงหนา้ หรือทีหลงั

ตวั อย่าง 2 การตดั รูปแบบใชก้ นั บอ่ ยในโฆษณาในทน่ี ้ีบคุ คลกาลงั ยืนพิงเลยี นแบบตวั
สัญลกั ษณ์ บริษทั ปัญหาใหญใ่ นการตดั ตอ่ รูปแบบ คอื การตดั อาจดูเหมอื นเป็นการประดษิ ฐ์เกนิ ไป
หากใชบ้ อ่ ย ๆ รูปแบบการตดั ตอ่ อาจเดาได้ ความงามของการตดั ตอ่ รูปแบบสามารถเหน็ ไดเ้ มอ่ื มนั
ถกู ทาดี ๆ และเม่อื นา ไปรวมกบั การตดั ต่อชนิดอน่ื ๆ จะกลายเป็นสิ่งที่ไมโ่ ผล่เกินไป
การตดั ต่อท่ีมเี รื่องราว The Concept Edit

บางคร้งั เรียกการตดั ตอ่ ท่เี คลอื่ นไหว หรือการตดั ตอ่ ความคดิ เป็นการเสนอความคดิ ที่
บริสุทธ์ิลว้ น ๆ เพราะว่า 2 ช็อตทีถ่ ูกเลือกและจดุ ที่ทาการตดั ตอ่ การตดั ตอ่ เร่ืองราวน้ีเป็นการปเู รื่อง
ในหวั เราการตดั ต่อท่มี เี รื่องราวสามารถครอบคลุมถงึ การเปลยี่ นสถานท่ี เวลา ผคู้ น และบางคร้ังก็
เป็นตวั เร่ืองมนั สามารถทาไดโ้ ดยไม่มกี ารสะดุดของภาพถา้ เป็นการตดั ต่อท่ีมีเร่ืองราวท่ดี มี นั
สามารถบอกอารมณเ์ ป็นอารมณ์ดรามา่ และสร้างความลกึ ซ้ึงแต่ทายากถา้ ไมไ่ ดว้ างแผนเป็นอยา่ งดี
แลว้ ความไหลล่ืนของขอ้ มูลภาพอาจจะชะงกั งนั เลย (วชิ าญ สาระบุตร, ออนไลน์, 2558)

SPU CHONBURI 25

ระบบไฟล์วิดโี อที่พบบ่อย
MPEG-2 (*.mpg *.mpeg)
ไฟลน์ ้ีเป็นไฟลว์ ิดีโอทเี่ ป็นมาตรฐานในระบบ DVD และการส่งสัญญานโทรทศั น์ใน

ระบบดจิ ติ อล ท้งั ภาคดาวเทยี มและภาคพ้ืนดนิ เน่ืองจากมกี ารเขา้ /ถอดรหัสไฟลไ์ ดเ้ ร็วไมต่ อ้ งใช้
กาลงั CPU มาก โดยในปัจจบุ นั กาลงั มีการเปลย่ี นผ่านเขา้ สู่ระบบ H.264/MPEG-4 AVC ซ่ึงเริ่มมี
ความสามารถในระดบั การออกอากาศไดแ้ ลว้ เช่นกนั และใหค้ วามละเอยี ดและสีสนั ไดค้ รบถว้ นกวา่
ในปริมาณขอ้ มูลท่เี ลก็ กว่า ทาให้ ไฟล์ MPEG-2 เร่ิมพบไดน้ อ้ ยลงในปัจจุบนั (เอกวิทย์ แกว้
ประดษิ ฐ์, ออนไลน์, 2560)

H.264/MPEG-4 AVC (*.mp4)
ไฟลน์ ้ีเป็นไฟลว์ ดิ ิโอทีเ่ ป็นทร่ี ูจ้ กั มากทีส่ ุด และมกี ารใชง้ านท่ีแพร่หลายมากทีส่ ุดใน
ปัจจบุ นั เชน่ กนั เพราะสามารถบบี อดั วดิ โิ อความละเอยี ดสูงในระดบั HD โดยที่ยงั คงคณุ ภาพสีความ
ละเอียด และการเคลือ่ นไหวไวอ้ ยคู่ รบถว้ นมขี นาดไฟลท์ ีเ่ ลก็ และสามารถเขา้ กนั ไดก้ บั อุปกรณ์
หลายอยา่ งในปัจจุบนั เชน่ Smartphone, Tablet กลอ้ งวิดโิ อ กลอ้ ง DSLR ท่ีถา่ ยวดิ โิ อได้
นอกจากน้นั ยงั เป็นมาตรฐานของไฟล์ วดิ ีโอบน YouTube และเวบ็ ไซตว์ ิดิโออ่นื ๆ บน
อินเตอร์เนต็ มากมาย จึงมีการใชง้ านอยา่ งแพร่หลาย และในอนาคตไฟลน์ ้ีกก็ าลงั จะมาเป็นมาตรฐาน
ใหม่ในการออกอากาศโทรทศั นร์ ะบบดจิ ติ อล เพราะสามารถให้ภาพท่ีดกี วา่ ในปริมาณขอ้ มูลที่
นอ้ ยลง แต่ไฟลน์ ้ีการ Render อาจตอ้ งใชค้ อมพวิ เตอร์ทีม่ ี CPU กาลงั สูง เพราะมีกลไกที่ซบั ซ้อนใน
การบบี อดั ออกมาเป็นไฟล์
.avi (Audio Video Interleave)
ไฟลน์ ้ีเป็นไฟลท์ ี่มกั จะมาจากการเก็บวิดิโอแบบไม่บีบอดั (Uncompressed) จาก
คอมพิวเตอร์ท่ใี ช้ ระบบปฏบิ ตั ิการ Windows โดยส่วนใหญจ่ ะมขี นาดไฟลท์ ่ีใหญม่ ากจงึ ใชใ้ น
ข้นั ตอนการตดั ต่อเพียงอยา่ ง เดียวโดยจะพบไดจ้ ากการ Capture วดิ โี อท่บี นั ทกึ อย่ใู นเทปชนิดต่างๆ
ไฟลท์ ่ไี ดจ้ ะเป็น .aviอา่ นไดโ้ ดย โปรแกรม Windows Media Player, VLC และโปรแกรมตดั ต่อ
ส่วนใหญ่
.mov (QuickTime Movie)
ไฟลน์ ้ีเป็นไฟลท์ ่มี กั จะมาจากการเก็บวิดิโอแบบไม่บบี อดั (Uncompressed) จาก
คอมพิวเตอร์ทใ่ี ชร้ ะบบปฏิบตั กิ าร Mac OS X โดยจะมขี นาดไฟลท์ ี่ใหญม่ าก จงึ ใชใ้ นข้นั ตอนการ
ตดั ต่อเพยี งอย่างเดียว โดยจะพบไดจ้ ากการ Capture วิดโิ อทบี่ นั ทึกในเทปชนิดต่างๆ ไฟลท์ ไ่ี ดจ้ ะ
เป็น .movอา่ นไดโ้ ดยโปรแกรม QuickTime Player, VLC และโปรแกรมตดั ต่อส่วนใหญ่

SPU CHONBURI 26

เทคนคิ การตดั ต่อทด่ี ี
การตดั ต่อมคี วามคลา้ ยกบั งานศลิ ปะหตั ถกรรมอ่ืนๆในกรณีทวี่ ่าถา้ ผผู้ ลติ มีทกั ษะทด่ี แี ลว้ จะ

ไมท่ า ให้ผชู้ มดเู กิดความราคาญในการตดั ต่อก็เชน่ กนั ถา้ ทาออกมาดีผชู้ มก็จะไม่ประทว้ งแตจ่ ะซึม
ซับเอาผลทเ่ี กดิ ข้ึนจากงานน้นั เขา้ ไป ตวั อย่างเช่นในฉากทต่ี ื่นเตน้ เร้าใจทปี่ ระกอบไปดว้ ยช่วงส้ันๆ
เพอ่ื ก่อให้เกดิ ความตงึ เครียด ผูช้ มย่อมตระหนกั ไดเ้ พยี งถึงการเพิม่ ข้นึ ของการปลกุ เร้าใหม้ ี
ความรูส้ ึกเป็นกงั วลและมองเหน็ ภาพของการเคลือ่ นไหวอยา่ งรวดเร็วเทา่ น้นั มนั มกี ฎเกณฑท์ ่ตี ้งั
ข้นึ มาสาหรับวิธีการตดั ต่อและย่อมเป็นเช่นกฎทวั่ ไปทว่ี า่ ในบางโอกาสแลว้ ก็สามารถละเลยได้
เช่นกนั ท้งั น้ีข้นึ อยกู่ บั ประสบการณ์ของการทางานเป็นสาคญั ดงั ต่อไปน้ีคือ (เสมอ ประสงคด์ ,ี
ออนไลน์, 2556)

1. หลีกเล่ียงการตดั ภาพท่มี ขี นาดแตกตา่ งกนั มากๆของวตั ถชุ ิ้นเดยี วกนั เพราะว่าทาให้
ผชู้ มรูส้ ึก กระตกุ ตกใจหรือประหลาดใจ

2. อย่าตดั ภาพระหวา่ งคนสองคนทมี่ ขี นาดเทา่ กนั หรือคลา้ ยกนั เพราะจะดูเหมอื นว่าผนู้ ้นั
กลายร่าง

3. อย่าตดั ภาพวตั ถเุ ดยี วกนั ดว้ ยขนาดภาพเทา่ กนั เพราะทาใหภ้ าพโดด
4. ถา้ วตั ถุสองส่ิงกาลงั เคลือ่ นทไี่ ปในทศิ ทางเดยี วกนั ควรปล่อยให้ท้งั ค่เู คล่ือนท่ีผ่านจอไป
ในทิศทาง เดียวกนั แตถ่ า้ เป็นการเคลอ่ื นที่สวนทางกนั ย่อมหมายถงึ การพบกนั หรือจากกนั ไป
5. ถา้ มีวตั ถกุ าลงั เดนิ ทางผ่านจอในทศิ ทางใดๆในฉากถดั มาก็ควรเป็นทิศทางเดยี วกนั เวน้
ไวแ้ ต่วา่ ไดป้ รากฏภาพให้เหน็ ก่อนแลว้ ว่าวตั ถนุ ้นั ไดห้ มนุ ตวั กลบั ทศิ ทาง
6. หลกี เลี่ยงการตดั ภาพระหวา่ งภาพที่กลอ้ งอยนู่ ิ่งกบั ภาพทเี่ กิดจากกลอ้ งเคลือ่ นไหวดว้ ย
การแพน ท้ลิ ท์ ซูม ยกเวน้ มีวตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะ
7. หลกี เลี่ยงการตดั ภาพระหว่างวตั ถทุ ่ีอยนู่ ิ่งกบั ภาพวตั ถทุ กี่ าลงั เคล่ือนไหว เพราะเป็นเหตุ
ให้สกดั ก้นั ความตอ่ เน่ืองผชู้ มมีความจาเป็นตอ้ งเหน็ วตั ถหุ ยดุ การเคลือ่ นไหวกอ่ นทจี่ ะถึงฉากถดั มา
8. ถา้ หากวา่ เป็นการสกดั ก้นั ความเคลื่อนไหวอยา่ งต่อเน่ืองควรใชว้ ธิ ีการทาใหห้ ลุดจาก
เฟรมไป เลยแต่ตอ้ งพยายามให้แน่ใจไดว้ ่ายงั คงรกั ษาความหมายของการเคลือ่ นไหวน้นั ไวไ้ ด้
ตวั อยา่ งเชน่ การตดั ภาพไปยงั ใบหนา้ คนดูทีก่ าลงั ตน่ื เตน้ ในฉากการแขง่ ขนั ชกมวยยอ่ มสรา้ งความ
เร้าใจแต่ถา้ ตดั ภาพไปยงั คนดูที่แสดงความรู้สึกเบ่ือหน่ายยอ่ มปราศจากความหมาย
9. หลีกเลี่ยงการตดั ภาพทเี่ ป็นบุคคลหรือวตั ถกุ ระโดดขา้ มจากดา้ นหน่ึงของจอภาพไปอยู่
อกี ดา้ น

SPU CHONBURI 27

3.แนวคดิ รายการสาหรับเดก็ คดิ ส์สนกุ

รายการโทรทศั น์สาหรับเดก็
ในปี พ.ศ. 2493 รายการโทรทศั นส์ าหรับเด็กและคณุ ประโยชนข์ องโทรทศั นด์ า้ นตา่ งๆ
เกิดแรงดงึ ดูดอยา่ งมากใหค้ รอบครวั ซ้ือโทรทศั นใ์ นปี 2494 มีเครือข่ายโทรทศั นส์ าหรบั เด็กถึง 27
ชวั่ โมง เหมอื นกบั รายการโทรทศั นส์ ่วนมากท่นี าเสนอรายการสาหรับเด็กๆ โดยเป็นเรื่องที่มีเน้ือหา
สาระสาคญั ต่อเนื่องมาจากโดยการผจญภยั ในรายการวิทยแุ ละออกอากาศในชว่ งสายๆ และตอนเยน็
ภาพยนตร์ทเ่ี กีย่ วกบั การดาเนินชีวติ เช่น The Lone Ranger , Sky King หรือ Lassie ถกู ทอนเวลาให้
เหลือเพยี งแคค่ ร่ึงชวั่ โมงในขณะทีร่ ายการที่เก่ยี วกบั สัตว์ เชน่ Howdy Doody and Kukla, Fran และ
Olli มกี ารออกอากาศมากข้ึน ในชว่ งทศวรรษ 1950 รายการโทรทศั นส์ าหรับเด็กไดเ้ วลาออกอากาศ
ตอนเชา้ วนั เสาร์ และตอนปลายทศวรรษไดเ้ วลาออกอากาศคร่ึงชวั่ โมงสัปดาห์ละคร้ัง
(อกุ ษา บกิ้ กิน้ ส์, 2556,หนา้ 27-29)
ระหวา่ งช่วงทศวรรษ 1960 รายการสาหรับเดก็ ส่วนมากจะอย่ใู นรูปแบบอนิเมชนั่ เพอื่ ลด
ค่าใชจ้ ่ายจากสตั วท์ ีม่ ีเทคนิคในการแสดงทจ่ี ากดั และนาเสนอการ์ตนู สาหรบั เดก็ อย่างชดั เจน
ปรบั เปลี่ยนตารางออกอากาศและการ์ตูนสาหรบั เชา้ วนั เสาร์กลายเป็นเหมอื นสถาบนั หน่ึงอย่าง
ชดั เจน และกลายเป็นเครือขา่ ยท่ที ากาไรอยา่ งไม่น่าเช่ือยงั รวมถึงรายการยอดนิยม เช่น The
Flintstones , The Jetsons , Bullwinkle และ Space Ghost ในชว่ งทศวรรษ 1970 เป็นชว่ งการเสนอ
ในรูปแบบของวิดิโอเทปซ่ึงมีความยาวตอนละ 60-90 นาที โดยเป็นเรื่อง The new Super Friends
Hour หรือ Scooby Laff-a-Lympics รายการเหล่าน้ีทาให้มีผชู้ มตดิ ตามอย่างลน้ หลามในชว่ งเวลาท่ี
ออกอากาศในตอนเชา้ รายการโทรทศั นส์ าหรบั เดก็ ในช่วงทศวรรษ 1980 เป็นการปฏิวตั ิของ
โทรทศั น์ ซ่ึงเป็นช่วงเติบโตของระบบเคเบิลทวี แี ละ VCR และการร่วมทนุ ระหว่างประเทศเริ่มทา
ให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต การ์ตูนยงั คงเป็นรายการมาตรฐานสาหรับเดก็ แตร่ ายการ
ทเ่ี กยี่ วกบั ชีวติ จริงเริ่มเพิม่ จานวนมากข้นึ เครือขา่ ยรายการทางเคเบิล เชน่ Nickelodeon และ Disney
ใหค้ วามสาคญั กบั เดก็ เป็นอนั ดบั แรก เชน่ เดยี วกบั เครือขา่ ยเคเบลิ ทวี ี เชน่ Discovery , Learning
Channel , USA , TBS , The Family Channel และ Lifetime ไดท้ ดลองรายการสาหรบั เด็กอยา่ ง
ครอบคลุมเชน่ เดยี วกนั เครือข่ายเหลา่ น้ีไดผ้ ลติ รายการเก่ยี วกบั ชีวติ จริงในรูปแบบของเกมโชว์ การ
แสดงของสัตวเ์ ล้ียง ข่าวทีน่ าเสนอในรูปแบบของนิตยสารและวาไรต้ีตา่ งๆ และรายการชวี ิตจริงใน
รูปแบบของละคร รายการการผจญภยั ไดผ้ สมผสานความเช่ือถือในพระเจา้ สรา้ งให้เป็นเรื่องเป็นราว
ในช่วงทศวรรษ 1990 เกดิ พระราชบญั ญตั ริ ายการโทรทศั นส์ าหรบั เด็กทาให้มีรายการ
เก่ยี วกบั การศกึ ษามากข้ึน ยกตวั อย่างเชน่ การหมอบรางวลั สาหรับรายการโทรทศั นส์ าหรับเด็ก

SPU CHONBURI 28

Peabody Awards ต้งั แต่ปี พ.ศ.2533 เป็นตน้ มา รางวลั จะตกเป็นของรายการทเี่ กย่ี วกบั ความรูแ้ ละ
การศกึ ษาในขฯเดยี วกนั รายการโทรทศั น์ทเ่ี ด็กดูส่วนมากไม่ใชร่ ายการโทรทศั นส์ าหรับเด็ก ซ่ึงการ
ผลติ รายการโทรทศั นส์ าหรับเด็กเป็นธุรกจิ ขนาดใหญ่ รายการสาหรบั เดก็ น้นั มีลกั ษณะที่เฉพาะ
รายการโทรทศั น์สาหรบั เดก็ ซ่ึงผชู้ มเป็นเดก็ ส่วนใหญ่น้นั จะออกอากาศตอนเชา้ วนั เสาร์ รายการ
พวกน้ีมกั มผี ลกาไร เนื่องจากผชู้ มทเี่ ป็นเด็กมกี ารเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็วและเดก็ ๆกไ็ มส่ นใจว่า
รายการทด่ี นู ้นั จะมีการเปลีย่ นแปลงอยา่ งไร จึงมกี ารเปลย่ี นรูปแบบรายการ 4 ปี ตอ่ คร้ัง ซ่ึงเป็นปัจจยั
ลดตน้ ทนุ การผลติ โดยไมก่ ระทบตอ่ การเสนอรายการและผลกาไรยิ่งไปกว่าน้นั การรวมกจิ การ
ทางการตลาดอย่างเขม้ แขง็ ของรายการโทรทศั น์สาหรบั เดก็ ท่อี ยนู่ อกเครือขา่ ยก็สรา้ งผลกาไร
เชน่ เดยี วกนั

จากเหตผุ ลดงั กล่าวเหล่าน้ี เครือข่ายหลกั ๆจึงใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งกวา้ งขวางในการควบคุม
การผลิตของบริษทั ส่ือ 5-6 แห่ง ทพี่ วกเขาเป็นลูกคา้ ประจาแต่ละเครือขา่ ยจะมีรองประธานของ
รายการสาหรับเดก็ และมที ่ีปรึกษา มกี ารทาวิจยั ทางการตลาด การอบรมเชิงปฏิบตั ิการของรายการ
โทรทศั น์สาหรับเดก็ และเครือขา่ ยเคเบิลของ Nickelodeon ท้งั ผูซ้ ้ือและผูผ้ ลิตรายการโทรทศั น์
สาหรบั เด็กดาเนินกจิ การโดยต้งั สมมตฐิ านผชู้ มทีเ่ ป็นเดก็ วา่ แมจ้ ะมีการเปลยี่ นแปลง แต่ตอ้ งให้
ความสาคญั ไว้ ยกตวั อย่างเชน่ ความแตกต่างระหว่างเพศในความชอบซึง่มกี ารอนุมานขอ้ สันนิฐาน
ทสี่ าคญั คอื ในขณะท่ีเด็กผหู้ ญิงจะดรู ายการของเดก็ ผชู้ าย แตเ่ ด็กผชู้ ายจะไม่ดูรายการของเดก็ ผหู้ ญงิ
ขอ้ สนั นิฐานที่ว่าเดก็ ทีโ่ ตกว่าจะมีอทิ ธิพลในการโทรทศั นซ์ ่ึงสัมพนั ธก์ บั สูตร ท่ีว่าเด็กเลก็ จะดู
รายการของเดก็ โต แต่เดก็ โตจะไม่ดูรายการของเดก็ เล็ก ขอ้ สันนิฐานทวี่ า่ เดก็ ๆจะให้ความสนใจ
ในช่วงระยะเวลาท่ีส้ัน การนาเสนอซ้าๆ เป็นหวั ใจสาคญั ของกาให้การศึกษาและความบนั เทงิ และ
เดก็ ๆจะจดจาบคุ ลกิ ตวั ละครและเน้ือเรื่อง

ร่างพระราชบญั ญตั ิเน้ือหาของรายการโทรทศั นเ์ กดิ ข้ึนมาจากแนวทางดา้ นเศรษฐกิจและ
อสุ ากรรม และต้งั อยบู่ นสมมตฐิ านทค่ี ลา้ ยคลึงกนั สาหรับรายการเดก็ ต้งั แตท่ ศวรรษ 1950 เป็นตน้
มา เน่ืองจากเดก็ ๆเป็นชนช้นั หรือกลมุ่ พเิ ศษ ซ่ึงเดก็ คือพลเมอื งและผูช้ มจงึ เกิดความห่วงใยกนั มาก
ในการพฒั นาส่ือเดก็ ดว้ ยเหตดุ งั กล่าวความกงั วลในประเดน็ ของเด็กกบั โทรทศั นจ์ งึ กลายเป็น
ปัญหาสงั คม ของกลุม่ คนจานวนมาก มีการวจิ ยั การศกึ ษาขนาดใหญ่ที่ดาเนินการวจิ ยั ผปู้ ระกอบการ
กิจการโทรทศั นต์ ้งั แตก่ ารตรวจสอบ การวิเคราะหแ์ ละการอธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งเดก็ กบั
โทรทศั น์ สถาคองเกรส สภานิติบญั ญตั ิ กล่มุ ที่ปรึกษาและเครือขา่ ยโทรทศั น์ มคี วามพยามอยา่ ง
ตอ่ เน่ืองในการคน้ ควา้ ขอ้ เทจ็ จริงทไี่ ดจ้ ากการวิจยั ความรับผิดชอบตอ่ สาธารณะการตอบสนองตอ่
ความนิยยมและการตดั สินใจในนโยบายที่สาคญั ท่ีดาเนนิ มาอยา่ งตอ่ เนื่องต้งั อยบู่ นฐานของการวิจยั
ดงั กล่าวและอานาจทางการเมอื งและเศรษฐกจิ

29

รายการคดิ ส์สนกุ
รายการคดิ สส์ นุกเป็นรายการทีม่ รี ูปแบบการนาเสนอท่ีน่าสนใจโดยอยบู่ นพ้ืนฐานความ

เขา้ ใจของกลุ่มเป้ าหมายเน้ือหาในรายการควรสอดคลอ้ งกบั การมีพฒั นาการตามช่วงวยั ของเดก็ ดว้ ย
การนาเสนอจุดประเดน็ ชวนให้เดก็ คิด การทารายการเดก็ ใหน้ ่าสนใจควรทารายการใหส้ นุกน่าดู
แสดงออกถึงความเป็นธรรมชาตขิ องเดก็ เป็นรายการที่เดก็ และพ่อแม่ของเด็กสามารถดรู ่วมกนั ได้
และมีการผลิตทพี่ ิถพี ิถนั โดยวนั เวลาทอ่ี อกอากาศคือ วนั จนั ทร์-ศกุ ร์ ต้งั แต่เวลา 16.30 -17.25 น.
ทางชอ่ ง Thai PBS

การออกแบบรายการโทรทัศน์สาหรับเด็ก
การออกแบบเน้ือหารายการโทรทศั น์สาหรับเดก็ และเยาวชนเป็นการให้ความสาคญั ของ

การเลอื กเน้ือหา และเทคนิคการสร้างเรื่องและเน้ือหาของรายการ เน้ือหารายการมีบทบาทสาคญั ตอ่
เด็กและเยาวชนเนื่องจากวยั เด็กเป็นวยั ท่ีมกี ารสร้างสรรคจ์ นิ ตนากานอย่างสูงสุด ดงั น้นั W.
Schramm จึงเสนอให้แบ่งเน้ือหาของส่ือในส่วนท่ีเกี่ยกบั การทาหนา้ ทส่ี รา้ งสรรคก์ ารจินตนาการ
ของเด็กออกเป็นสองประเภทคอื เน้ือหาแบบแฟนซีและเน้ือหาแบบท่เี ป็นจริง ซ่ึงเน้ือหาท้งั สอง
ประเภทจะเล่นบทบาทตอ่ เดก็ ทีแ่ ตกต่างกนั เชน่ (กาญจนา แกว้ เทพ และคณะ, 2558 หนา้ 7-8)
SPU CHONBURI
ตารางที1่ ตารางเปรียบเทียบเน้ือหาแฟนซีและเน้ือหาทเ่ี ป็นจริง

บทบาทของเนอ้ื หาแฟนซี บทบาทของเนอ้ื หาทเี่ ป็ นจริง

- เชิญชวนใหล้ ะทิ้งปัญหาที่เป็นจริงเขา้ ไปสู่ - ตอกย้าปัญหาทเี่ ป็นจริง

ปัญหาในจนิ ตนาการ เชน่ ปัญหาแบบ Star - เนน้ ความเขา้ ใจ /เนน้ การใชป้ ัญหาแกป้ ัญหา

Wars ทางานกบั เร่ืองราว/สถานการณ/์ เหตุการณ์ท่ีเป็น

- เชิญชวนให้ผูพ้ ่ายแพล้ ุกข้นึ ใหม่ / เชิญชวน จริง

ใหป้ ลดปลอ่ ย - ทาให้ผูช้ มตืน่ ตวั จากการขม่ ข่จู ากสิ่งแวดลอ้ ม

- ทางานตรงกนั ขา้ มกบั กฎเกณฑใ์ นโลกความ เช่น รายการขา่ ว รายการเร่ืองจริงผ่านจอ

เป็นจริง เช่น มอี าวธุ ตา่ งๆนานา - ให้เกดิ ความกระจา่ งแจง้ แกใ่ จ

- ขจดั /บรรเทา/ปลอ่ ยวาง (ชวั่ คราว) ความ

วิตกกงั วล/การข่มขจู่ ากปัญหา-อนั ตรายท่เี ป็น

จริง

- เตมิ เต็มความปรารถนาบางอยา่ งท่ีซ่อนเร้น

ไดร้ ับความรื่นเริงบนั เทิงใจ

SPU CHONBURI 30

ความบนั เทิง (Entertainment) และสาระความรู้ (Education) ในกระบวนการรูค้ ดิ ท้งั สอง
ส่วนน้ีแยกจากกนั ดว้ ยระบบความจาของเดก็ มีจากดั ดงั น้นั จึงเป็นส่ิงทด่ี ีในการทจี่ ะผสมผสาน
เน้ือหาระหว่างความบนั เทิงกบั สาระความรูเ้ ขา้ ดว้ ยกนกบั รายการเดก็ จะเป็นการชว่ ยใหเ้ ดก็ เขา้ ใจ
เน้ือหาทมี่ ีสาระความรูไ้ ดด้ ีข้ึน

ซ่ึงรายการคดิ ส์สนุกกม็ ีการยึดหลกั ตามทฤษฎขี อง Fisch ทใี่ ห้มีการผสมผสานระหวา่ ง
ความบนั เทิงและสาระความรู้เขา้ ดว้ ยกนั โดยมโี ครงสร้างรายการดงั น้ี

ตารางท2่ี ตารางเคา้ โครงรายการคิดส์สนุก

Title รายการคิดสส์ นุก
พิธีกรและสมาชิกคดิ สส์ นกุ พดู เปิ ดรายการ

การ์ตูนเร่ืองท่ี 1
การ์ตนู เรื่องที่ 2
สมาชิกคดิ ส์สนุกประกาศข้นั รายการ
การ์ตูนเรื่องท่ี 3
เน้ือหารายการซ่ึงจะแบง่ ออกเป็น 4 ชว่ ง ดงั น้ี
ชว่ ง Brain Game เป็นการใหน้ อ้ งๆหนูๆทางบา้ นไดเ้ ลน่ เกมลบั สมอง ซ่ึงจะมีสามเกมดว้ ยกนั ให้
เล่นไม่ซ้ากนั ในแต่ละวนั (จบั ผิดภาพ, เงา เงา และอะไรหายไป) นอกจากน้ียงั มเี กมเกยี่ วกบั
วชิ าการต่างๆ เชน่ คาถามชวนคดิ สนกุ , คณิตชวนสนุกและคหู่ ูควู่ าด
เพลงคดิ ส์สนุกประจาวนั (เพลงรกั โลก , เพลงสอนออกกาลงั กาย และเพลงสอนนบั เวลาเป็น
ภาษาองั กฤษ)
ชว่ งสมาชิกคดิ ส์สนุกรกั สิ่งแวดลอ้ ม เป็นชว่ งที่ใหส้ มาชิกคดิ ส์สนุกมาอ่านเน้ือหาสาระต่างๆ
เกีย่ วกบั โลกและสิ่งแวดลอ้ มของโลกในปัจจบุ นั พรอ้ มกบั รณรงคร์ กั ษาสิ่งแวดลอ้ ม
ชว่ งสมาชิกคดิ สส์ นุกประจาวนั เป็นชว่ งทีจ่ ะให้สมาชิกคดิ สส์ นุกไดม้ าแบ่งปันประสบการณ์ทด่ี ี
ของตวั เองใหก้ บั เพ่อื นๆไดฟ้ ังตามหวั ขอ้ ทก่ี าหนด เช่น วิธีการออมเงินของฉนั ,หนงั สือเล่มโปรด
ของฉนั ,ครอบครวั ของฉนั
ชว่ งขอ้ คิดดีดจี ากผปู้ กครองสมาชิกคดิ ส์สนุก เป็นช่วงท่ใี หผ้ ปู้ กครองของสมาชิกคดิ ส์สนุกไดม้ า
พูดใหข้ อ้ คดิ ดดี ีในเรื่องตา่ งๆกบั เดก็ ๆทางบา้ น
พิธีกรและสมาชิกปิ ดรายการ

SPU CHONBURI 31
ภาพท่ี4 คณิตคดิ สนุก

ภาพที่5 คู่หูควู่ าด

SPU CHONBURI 32
ภาพที่6 ช่วงสมาชิกคิดส์สนุกประจาวนั

ภาพที่7 คาถามชวนคดิ สนุก

33
ภาพที่8 ชว่ งสมาชิกคดิ ส์สนุกรกั สิ่งแวดลอ้ ม
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 34

4.การใช้โปรแกรม Velocity ESX

ปัจจุบนั เป็น Version 607.97.87 ในส่วนของ Node คอื หมายเลขเครื่อง Client อืน่ ๆ ใน
Domain ทต่ี ่อรวมกนั อย่โู ดย Connect ผ่าน Network LAN ท้งั น้ีตวั Local Node จะแสดงเป็นสีแดง
ถดั มาในส่วนของ Logical Disk จะแสดงOnline Storage ซ่งึ เป็น Logical Disk โดยเป็น Raid 5 ซ่ึงมี
การควบคุมความปลอดภยั และความเร็วในการ Read/write สูงในท่ีน้ีเป็น 2 Logical (ไพโรจน์ กติ ติ
กลุ ไพศาล 2558, หนา้ 1- 50)

ภาพท่ี9 การเชื่อมตอ่ LLM ผ่าน Network LAN
ส่วนดา้ นขา้ ง คอื ส่วนของ Physical Disk หรือ Disk ท่ีไม่ไดจ้ ดั ทา Raid ซ่ึงจากภาพคือเราใชง้ าน
ท้งั หมด จงึ ไมม่ ี Disk ในส่วนน้ี

ภาพท่ี10 Icon Velocity NX
จากน้นั จึง Run software Velocity จาก Icon ดงั ภาพ ท้งั น้ีหากเราไม่ Run Velocity
ในขณะท่ไี ม่ได้ Run LLM ตวั โปรแกรมจะทาการเรียกหา และ Run LLM เองโดยอตั โนมตั ิ
จากน้นั Softwere จะให้เราทาการ Logon โดยเลอื ก User จาก List ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งใส่
Password ท้งั น้ีคา่ Setting ของ Guest น้นั จะเป็น Default ทุกคร้ังทีใ่ ชง้ าน ดงั น้นั ควร Set ค่าใหม่
กอ่ นใชง้ านทุกคร้ัง และในส่วนของ Admin ดงั ภาพ Password จะ Default เป็น “system” ท้งั น้ีหาก

SPU CHONBURI 35
เรามีการ Add uses ที่มี Permission เป็น Admin เขา้ ไปใน Domain น้นั ๆ แลว้ User Admin Default
ดงั ภาพจะหายไปอตั โนมตั ิ

ภาพท่ี11 การ Logon เขา้ โปรแกรม
เมือ่ Logon แลว้ โปรแกรมจะให้เราเลอื ก Create new Project หรือ Load Project ดงั ภาพ

ภาพท่ี12 หนา้ ตา่ ง Startup เพือ่ เรียกโปรเจคเดมิ หรือสรา้ งโปรเจคใหม่
ท้งั น้ีหาก User ดงั กลา่ วเคยมกี ารใชง้ าน Project ใดๆหลงั สุดกจ็ ะสามารถเลอื กในส่วนของ Most
Recent Project >> ไดด้ งั ภาพ (จากภาพเป็นภาพแสดงแทนในการเลือกเปิ ด Project จากเดิมใน
Local Disk ของเคร่ือง Mode XNG)

ภาพที่13 การเลอื กโปรเจคท่บี นั ทกึ ไวแ้ ลว้

36

หากเลือก New Project Program จะแสดง Windows ให้ใส่ช่ือ Project ดงั ภาพ

SPU CHONBURI
ภาพท่ี14 การต้งั ช่ือโปรเจคที่ New Project

ในส่วนน้ีเรายงั สามารถ Click>> เพอ่ื ใส่ชื่อ Timeline ท้งั น้ีหากเราไม่ตอ้ งการระบุ Software จะ
กาหนด Default เป็น Timeline และจะ Run เป็น Timeline 1,2,3 ไปเร่ือยๆหากมมี ากกวา่ 1 Timeline

ภาพท1่ี 5 การต้งั ช่ือ Timeline ของโปรเจค

จากน้นั Click OK Software จะแสดง Screen พร้อมใชง้ าน ดงั ภาพ ซ้ึงจะกลา่ วถงึ ส่วนประกอบ
ต่างๆ ดงั น้ี


Click to View FlipBook Version