The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การผลิตวีดิทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ภาควิชาสื่อสารมวลชนคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by comm, 2021-03-30 02:41:48

การผลิตวีดิทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ภาควิชาสื่อสารมวลชนคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว

การผลิตวีดิทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ภาควิชาสื่อสารมวลชนคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว

การผลติ วดี ทิ ศั น์เพอื การประชาสมั พนั ธ์
ภาควชิ าสอื สารมวลชน คณะอกั ษรศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั แหง่ ชาตลิ าว

สาขาวชิ าการโฆษณา คณะนิเทศศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ วทิ ยาเขตชลบรุ ี
ปการศกึ ษา 2560

ลลิตา เมธา
มยุรินทร์ วันดีศรีประเสริฐ

SPU CHONBURIการผลติ วดี ทิ ศั น์เพื่อการประชาสัมพนั ธ์ ภาควชิ าส่ือสารมวลชน
คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั แห่งชาตลิ าว

VIDEO PRODUCTION FOR PUBLIC RELATIONS
DEPARTMENT OF MASS COMMUNICATION FACULYU OF

LETTERS,
NATIONAL UNIVERSITY OF LAOS.

ลลติ า เมธา
LALITA METHA
มยุรินทร์ วนั ดศี รีประเสริฐ
MAYURIN WANDEESRIPRASOTE
รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการปฏบิ ัตงิ านสหกจิ ศึกษา
สาขาวชิ าการโฆษณา
คณะนิเทศศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม วทิ ยาเขตชลบุรี
ปี การศึกษา 2560

SPU CHONBURIการผลติ วดี ทิ ศั น์เพื่อการประชาสัมพนั ธ์ ภาควชิ าส่ือสารมวลชน
คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั แห่งชาตลิ าว

VIDEO PRODUCTION FOR PUBLIC RELATIONS
DEPARTMENT OF MASS COMMUNICATION FACULYU OF

LETTERS,
NATIONAL UNIVERSITY OF LAOS.

ลลติ า เมธา
LALITA METHA
มยรุ ินทร์ วนั ดศี รีประเสริฐ
MAYURIN WANDEESRIPRASOTE
ปฏิบตั งิ าน ณ ภาควชิ าสื่อสารมวลชน คณะอกั ษรศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั แห่งชาตลิ าว วทิ ยาเขตดงโดก
แขวง เวยี งจนั ทร์ ประเทศ สปป.ลาว

ช่ือหวั ขอ้ I

ช่ือนกั ศึกษา การผลิตวดี ิทศั น์เพื่อการประชาสมั พนั ธ์ ภาควิชาสื่อสารมวลชน
สาขาวิชา คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั แห่งชาติลาว
คณะ VIDEO PRODUCTION FOR PUBLIC RELATIONS
DEPARTMENT OF MASS COMMUNICATION FACULYU OF
LETTERS, NATIONAL UNIVERSITY OF LAOS.
นางสาวลลิตา เมธา รหสั ประจาํ ตวั 57707777
นางสาวมยรุ ินทร์ วนั ดีศรีประเสริฐ รหสั ประจาํ ตวั 57707784
การโฆษณา
นิเทศศาสตร์
SPU CHONBURI
คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีปทุม วทิ ยาเขตชลบุรี อนุมตั ิใหร้ ายงานการปฏิบตั ิงาน
สหกิจศึกษาน้ีเป็ นส่วนหน่ึงของรายวิชาสหกิจศึกษา

รองคณบดีคณะนิเทศศาสตร์
...............................................................
(รองศาสตราจารย์ เยาวนารถ พนั ธุ์เพง็ )

คณะกรรมการสาขาวชิ าการโฆษณา
...............................................................
(ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ป่ิ นปิ นทั ธ์ จ่าดา)

อาจารยท์ ี่ปรึกษาสหกิจศึกษา
...............................................................
(รองศาสตราจารย์ เยาวนารถ พนั ธุ์เพง็ )

หนังสือยนิ ยอมให้เผยแพร่งานต่อสาธารณะ

ดิฉนั นางสาว มยรุ ินทร์ วนั ดีศรีประเสริฐ นกั ศึกษามหาวิทยาลยั ศรีปทุม วทิ ยาเขตชลบุรี
คณะนิเทศศาสตร์ สาขาการโฆษณา เป็นผจู้ ดั ทาํ รายงานสหกิจศึกษา
ช่ือเร่ือง การผลิตวดี ิทศั นเ์ พอื่ การประชาสมั พนั ธ์ ภาควิชาส่ือสารมวลชน คณะอกั ษรศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั แห่งชาติลาว

(VIDEO PRODUCTION FOR PUBLIC RELATIONS DEPARTMENT OF MASS
COMMUNICATION FACULTY OF LETTERS, NATIONAL UNIVERSITY OF LAOS.)

ยนิ ยอมใหม้ หาวทิ ยาลยั ศรีปทุม วทิ ยาเขตชลบุรี เผยแพร่ผลงานดงั กล่าวต่อสาธารณะใน
ทุกรูปแบบหรือทุกช่องทาง ที่มหาวิทยาลยั ศรีปทุม วทิ ยาเขตชลบุรี หรือหอ้ งสมุดมหาวทิ ยาลยั ศรี
ปทุม วทิ ยาเขตชลบุรี กาํ หนดเพ่ือประโยชนท์ างการศึกษา

ลงชื่อ มยรุ ินทร์ วนั ดีศรีประเสริฐ
(นางสาว มยรุ ินทร์ วนั ดีศรีประเสริฐ)

วนั ที่ 10 มิถุนายน 2561
SPU CHONBURI

II

วนั ที่ 14 มิถุนายน 2561
เรื่อง ขอส่งรายงานการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา
เรียน อาจารยท์ ี่ปรึกษาสหกิจศึกษา สาขาการจดั การทรัพยากรมนุษย์

อาจารยท์ ี่ปรึกษา รศ.เยาวนารถ พนั ธุเ์ พง็
ตามท่ีดิฉนั นางสาว มยรุ ินทร์ วนั ดีศรีประเสริฐ และ นางสาว ลลิตา เมธา นกั ศึกษา
สาขาวิชาการโฆษณา คณะนิเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม วทิ ยาเขตชลบุรี ไดป้ ฏิบตั ิงาน สหกิจ
ศึกษา ระหวา่ ง วนั ท่ี 15 มกราคม 2561 ถึง วนั ที่ 18 พฤษภาคม 2561 ในตาํ แหน่ง ฝ่ ายผลิตส่ือ ดา้ น
การตดั ต่อ ณ ภาควชิ าสื่อสารมวลชน คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวิทยาลยั แห่งชาติลาว และไดร้ ับ
มอบหมายใหน้ าํ เสนอ ใหท้ าํ การผลิตวดี ิทศั นเ์ พอื่ ประชาสมั พนั ธภ์ าควชิ า
บดั น้ี การปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษาไดส้ ิ้นสุดลงแลว้ จึงขอส่งรายงานการปฏิบตั ิงานสหกิจ
ศึกษาดงั กล่าวจาํ นวน 1 เล่ม เพอื่ ขอรับคาํ ปรึกษาต่อไป
จึงเรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณา

ขอแสดงความนบั ถือ
(นางสาว ลลิตา เมธา)
(นางสาว มยรุ ินทร์ วนั ดีศรีประเสริฐ)
SPU CHONBURI

IV

หวั ขอ้ สหกิจศึกษา การผลิตวีดิทศั น์เพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์ ภาควชิ าสื่อสารมวลชน
คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวิทยาลยั แห่งชาติลาว
ชื่อนกั ศึกษา นางสาวลลิตา เมธา รหสั ประจาํ ตวั 57707777
นางสาวมยรุ ินทร์ วนั ดีศรีประเสริฐ รหสั ประจาํ ตวั 57707784
อาจารยท์ ี่ปรึกษาสหกิจศึกษา รองศาสตราจารย์ เยาวนารถ พนั ธุเ์ พง็
หลกั สูตร นิเทศศาสตรบณั ฑิต
สาขาวิชา การโฆษณา
พ.ศ. 2561
SPU CHONBURI
บทคดั ย่อ

การศึกษาการผลิตส่ือวดี ิทศั นเ์ พื่อการประชาสมั พนั ธ์ภาควิชาสื่อสารมวลชนออกมา
ระยะเวลา 10-15 นาที มีวตั ถุประสงคเ์ พื่อสร้างใหภ้ าควิชาสื่อสารมวลชน คณะอกั ษรศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั แห่งชาติลาวเป็นท่ีรู้จกั และเพอื่ สร้างความเขา้ ใจถึงบทบาทดา้ นส่ือสารมวลชนใหก้ บั
บุคคลภายนอกและนกั ศึกษาที่สนใจ

ในการผลิตวดี ิทศั น์จะมีข้นั ตอนการดาํ เนินงาน 3 ข้นั ตอนไดแ้ ก่ 1.ข้นั ตอนก่อนการผลิต
ไดม้ ีการแสวงหาแนวคิด การกาํ หนดวตั ถุประสงคแ์ ละกาํ หนดกลุ่มเป้าหมายเพอ่ื เขียนบทพร้อม
สตอรร่ีบอร์ดและสร้างสคลิปตใ์ นรูปการบรรยาย 2.ข้นั ตอนการผลิต มีการนาํ วดิ ีโอตน้ ฉบบั และการ
ถ่ายทาํ บทสมั ภาษณ์โดยมีอุปกรณ์ 2 ชนิด ไดแ้ ก่ 1.กลอ้ ง DSLR Canon 100D 2.เลนส์ Kit 18-
55mm. และเลนส์ Tele Photo 18-200mm. ไดม้ ีการใชข้ นาดภาพในการถ่ายทาํ บางส่วน มีระยะ
Medium shot เป็นส่วนใหญ่และเสริมดว้ ยระยะ Close Up 3.ข้นั ตอนหลงั การผลิต ใชก้ ารตดั ต่อวดี ิ
ทศั นใ์ นรูปแบบ Non-Linear Editing ซ่ึงเป็นการตดั ต่อในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.Adobe
Premiere Pro CC 2.Adobe After Effect CS6

ปัญหาและอุปสรรคคือ เร่ืองของดา้ นความสะดวกในการทาํ งาน เน่ืองจากพ้นื ที่การ
ทาํ งานและอุปกรณ์มีจาํ นวนจาํ กดั ทาํ ใหง้ านเสร็จสมบูรณ์ล่าชา้ กวา่ กาํ หนด

III

กติ ตกิ รรมประกาศ

การท่ีไดม้ าปฏิบตั ิสหกิจศึกษา ณ มหาวทิ ยาลยั แห่งชาติลาว ต้งั แตว่ นั ท่ี 15 มกราคม – 18
พฤษภาคม 2561 ทาํ ใหก้ ลุ่มผศู้ ึกษา ไดร้ ับความรู้และประสบการณ์พร้อมท้งั ไดพ้ ฒั นาทกั ษะในดา้ น
ที่เรียนมาใหเ้ ป็นประโยชนต์ ่อการทาํ งานจริงเพ่อื ใหง้ านที่ออกมามีคุณภาพมากยง่ิ ข้ึน สาํ หรับ
รายงานสหกิจฉบบั น้ี สาํ เร็จลงไดด้ ว้ ยดี เนื่องจากไดร้ ับการสนบั สนุนและความร่วมมือ
จากหลายฝ่ าย ดงั น้ี
1.รศ.เยาวนารถ พนั ธุเ์ พง็ ตาํ แหน่ง รองคณบดีคณะนิเทศศาสตร์
SPU CHONBURI2.ดร.บวั ลี ประภาพนั ธ์ ตาํ แหน่ง ผบู้ ุกเบิกภาควชิ าสื่อสารมวลชน
3.อาจารยเ์ วยี งคาํ บวั คาํ วงศษ์ า ตาํ แหน่ง หวั หนา้ ภาควิชาสื่อสารมวลชน
4.อาจารยห์ อมมาลา เพญ็ ศรีชนะวงศ์ ตาํ แหน่ง รองหวั หนา้ ภาควชิ าสื่อสารมวลชน
5.อาจารยพ์ งศพ์ สิทธ์ิ สุธรรมวงศ์ ตาํ แหน่ง หวั หนา้ หน่วยวิชา
6.ทีมงานนกั ศึกษาช้นั ปี ท่ี 4 ภาควิชาสื่อสารมวลชน ซ่ึงเป็นทีมงานในการร่วมสร้าง
Project
นอกจากน้ียงั มีบุคคลท่านอ่ืนๆที่มิไดก้ ล่าวถึงไว้ ณ ที่น้ี ซ่ึงท่านเหล่าน้ีกรุณาใหค้ าํ ปรึกษา
และขอ้ มูลที่เป็นประโยชนต์ ่อการจดั ทาํ รายงานฉบบั น้ี
ทางกลุ่มผศู้ ึกษาขอขอบพระคุณทุกท่านที่ไดม้ ามีส่วนร่วมในการใหข้ อ้ มูลและคาํ แนะนาํ
พร้อมเป็นท่ีปรึกษาในการจดั ทาํ รายงานฉบบั น้ีจนเสร็จสมบูรณ์

คณะผจู้ ดั ทาํ
วนั ท่ี 5 มิถุนายน 2561

V

สารบญัSPU CHONBURI หนา้

ใบรับรองรายงานการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา.................................................................. I
หนงั สือรับรองการส่งรายงานการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา................................................ II
กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................... III
บทคดั ยอ่ .......................................................................................................................... IV
สารบญั ............................................................................................................................ V
สารบญั ตาราง.................................................................................................................. VI
สารบญั ภาพ..................................................................................................................... VII-XI
บทท่ี 1 บทนาํ .............................................................................................................. 1

ประวตั ิความเป็นมาขององคก์ ร....................................................................... 1
การจดั องคก์ ร..................................................................................................
ลกั ษณะทางธุรกิจ............................................................................................ 4
ตาํ แหน่งและลกั ษณะงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย...................................................
บุคลากรผนู้ ิเทศงาน........................................................................................ 5
บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีท่ีเกี่ยวขอ้ ง..........................................................................
บทท่ี 3 รายละเอียดของโครงงาน................................................................................ 5
วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน............................................................................. 6
ขอบเขตของการดาํ เนินโครงงาน.................................................................... 7
ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับจากการดาํ เนินงานโครงงาน............................................
บทท่ี 4 ผลการดาํ เนินโครงงาน.................................................................................... 61
การนาํ โครงงานไปประยกุ ตใ์ ช.้ ....................................................................... 61
บทท่ี 5 สรุปผลการดาํ เนินงานโครงงาน..................................................................... 61
ปัญหาและขอ้ เสนอแนะ.................................................................................. 62
บรรณานุกรม................................................................................................................... 63
98
99
100
101

สารบัญตาราง VI

ตารางท่ี หน้า
1.การแสดงตารางขอบเขตการดาํ เนินงานของโครงงาน................................................. 61
2.การแสดงตาราง Storyboard......................................................................................... 66

SPU CHONBURI

VII

สารบัญรูปภาพ

ภาพท่ีSPU CHONBURI หน้า

1.ตรามหาวิทยาลยั แห่งชาติ……...………………………………………….….………... 1
2.ตราคณะอกั ษรศาสตร์…………………………………………………….….………... 3
3.ภาพ การแสดงภาพผศู้ ึกษาที่ 1…………………………………………….….……….. 5
4.ภาพ การแสดงภาพผศู้ ึกษาที่ 2……………………………………………..………….. 5
5.ภาพ บุคลากรผนู้ ิเทศงาน……………………………………………………..……….. 6
6.ภาพ กลอ้ ง DSLR……………………………………………………………………………..… 11
7.ภาพ เลนส์มมุ กวา้ ง (Wide Angle Lens)………………………………………..……… 12
8.ภาพ เลนส์ปกติ (Normal Lens)………………………………………………..…....... 13
9.ภาพ เลนส์เทเลโฟโต้ (Telephoto Lens)…………………………………………….……..… 13
10.ภาพ ตวั อยา่ งการตดั ต่อคลิปวิดีโอ…………………………………………………..... 16
11.หนา้ โปรแกรม Premiere Pro…………………………………………..…………….. 19
12.ภาพ พ้นื ท่ีสาํ รวจโปรแกรม……………………………………………...…………… 21
13.ภาพ Capture Video Screen………………………………………...………………… 23
14.ภาพ Keyboard Shortcut……………………………………...………………………. 24
15.ภาพ Source Pane……………………………………..……………………………… 24
16.ภาพ หนา้ ต่าง Button Editor …………………...…………………………………….. 25
17.ภาพ หนา้ ต่าง In and Out Point ………..…………………………………………….. 25
18.ภาพ หนา้ ต่าง Fit Clip …………..…………………………………………………… 28
19.ภาพ กล่องเครื่องมือ………..………………………………………………………… 28
20.ภาพ การเพม่ิ และลบ Track……………………………..……………………………. 29
21.ภาพ การกาํ หนด Set Display Style……………...………………………………….... 32
22.ภาพ การใช้ Properties……………………..………………………………………… 33
23.ภาพ หนา้ ต่าง Modify Clip…………...………………………………………………. 33
24.ภาพ Audio Track……………….…………………………………………………………….... 34
25.ภาพ Audio Mixer Panel.…………………………………………………………………….... 35
26.ภาพ หนา้ ตา่ งการเตือนการ Reset Key Frame….………………...…………………... 35
27.ภาพ หนา้ ต่าง Effect Control Panel………………………...………………………… 36

VIII

สารบัญรูปภาพ(ต่อ)SPU CHONBURI หน้า

ภาพที่ 37
37
28.ภาพ การทาํ งานของ Marker………………………………………...…...………… 38
29.ภาพ เมนู Marker ……………………………………………………..……………
30.ภาพ หนา้ ต่าง Import Photoshop File..………………..…………..……………….. 39
31.ภาพ หนา้ ต่าง Speed/Duration...................................................................................
32.ภาพ หนา้ ตา่ ง Frame Hold ………………………………..……………………...... 40
33.ภาพ Effect Panel ……………….……………………..……………………….….. 41
34.ภาพ การ Replace Transition Effect ……………..…………………………….….. 42
35.ภาพ หนา้ ตา่ ง Save Preset...……………………………………...……………….... 44
36.ภาพ หนา้ ตา่ ง Adjustment Layer .……………………………..………………....... 45
37.ภาพ หนา้ ตา่ ง New Title …………………………………...……………………… 47
38.ภาพ หนา้ ตา่ ง Title ……………………..……………...…………………………... 48
39.ภาพ กรอบ Area Text ………..……………………...…………………………….. 49
40.ภาพ เคร่ืองมือ Roll/Crawl Option ……………...…………………………………. 49
41.ภาพ แถบ Multicam ………………………...…………………………………....... 50
42.ภาพ หนา้ ตา่ ง Export File ……………….………………………………………… 51
43.ภาพ แถบ Filter ………….…………...……………………………………….…… 52
44.ภาพ หนา้ ตา่ ง Encoding ……….…..………………………………………..…....... 52
45.ภาพ หนา้ ตา่ งโปรแกรม………..………………………………………………..…. 53
46.ภาพ Tool Bar ……………...…………………..……………………….………..… 55
47.ภาพ Panel Project ……..…………………..…………………………..…..…........ 55
48.ภาพ Panel Composition ………………………...………….………………........... 56
49.ภาพ Time line..……………………………..…..……….……………..….………. 56
50.ภาพ Panel Effect & Presets..…………...…….…………………………..…........... 57
51.ภาพ หนา้ ต่างโปรแกรม.……………..….………………………………….……… 57
52.ภาพ การ Import File……………..………………………………………..…......... 58
53.ภาพการเปิ ดไฟลช์ ิ้นงาน ……..………………………………………………......... 58
54.ภาพ หนา้ ตา่ งพ้นื ท่ีการทาํ งาน…………………..………...…………………..……. 59

IX

สารบญั รูปภาพ(ต่อ)

ภาพท่ีSPU CHONBURI หน้า

55.ภาพ การเขา้ สู่การ Render………………………………………………..…..…..… 59
56.ภาพ การต้งั ค่า Render……………………………………………...…………..….. 60
57.ภาพ กลอ้ ง Cannon DSLR รุ่น 100D…………..……………….……………….…. 67
58.ภาพ เลนส์ Kit ของ Cannon ระยะ 18-55 mm.…………….………………………. 68
59.ภาพ เลนส์ Telephoto ของ Tamron ระยะ 55-200 mm ……..……………….…….. 68
60.ภาพ บทวีดิทศั น์เสนอหวั เรื่องช่ือภาควชิ า……………………………….…………. 69
61.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอป้ายคณะอกั ษรศาสตร์………………………..……………... 69
62.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอภาพบรรยากาศภายในหอ้ งเรียน 1……….…………………. 70
63.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอภาพอดีตหวั หนา้ …………………….………….................... 70
64.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอภาพรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ…………….....................
65.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอภาพบรรยากาศภายในหอ้ งเรียน 2…………..……................. 70
66.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอภาพการประกาศใหเ้ ป็นภาควิชา……….………....................
67.ภาพ บทวดี ิทศั นเ์ สนอภาพการสมั ภาษณ์อดีตหวั หนา้ ภาควชิ า…………..……......... 71
68.ภาพ บทวดี ิทศั นเ์ สนอภาพอาจารยภ์ ายในภาควิชา…………………......................... 71
69.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอภาพหวั หนา้ ภาควิชา……………………............................... 72
70.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอภาพการสมั ภาษณ์หวั หนา้ ภาควชิ า…………….…................. 72
71.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอภาพรองหวั หนา้ ภาควิชาฝ่ ายวชิ าการ……..…………............. 73
72.ภาพ บทวดี ิทศั นเ์ สนอภาพการสมั ภาษณ์รองหวั หนา้ ภาควิชา ฝ่ ายวชิ าการ……........ 73
73.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอภาพอาจารย์ สุพชั ชา วิงทอง…………………….................... 74
74.ภาพ บทวดี ิทศั นเ์ สนอภาพอาจารย์ สรทวี ชยั โพสี……………………..................... 74
75.ภาพ บทวดี ิทศั นเ์ สนอภาพอาจารย์ ปาลิฐา ลดั สิมมา………………......................... 75
76.ภาพ บทวดี ิทศั นเ์ สนอภาพรองหวั หนา้ ภาควชิ าฝ่ ายบริหาร……….……….............. 75
77.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอภาพอาจารย์ บุญถาวร ลาศวตั ………..……........................... 76
78.ภาพ บทวดี ิทศั นเ์ สนอภาพอาจารย์ บุษบา แพงดวง……..…………......................... 76
79.ภาพ บทวดี ิทศั นเ์ สนอภาพอาจารย์ สมไหม พรหมจรรย…์ ………….….................. 77
80.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอภาพอาจารย์ กองจนั ทร์ เพียรนะจิต…..……………............... 77
81.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอภาพบรรยากาศการเรียน-การสอนภายในหอ้ งเรียน……….... 78
78
79

X

สารบัญรูปภาพ(ต่อ)

ภาพที่SPU CHONBURI หน้า

82.ภาพ บทวดี ิทศั นเ์ สนอภาพการเรียนเขียนข่าว……………………............................ 79
83.ภาพ บทวดี ิทศั นเ์ สนอภาพบรรยากาศการเรียนการจดั หนา้ หนงั สือพมิ พ.์ ................. 80
84.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอภาพบรรยากาศการเรียนการผลิตรายการขา่ ว.......................... 80
85.ภาพ บทวดี ิทศั นเ์ สนอภาพการผลิตโฆษณา............................................................... 81
81
86.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอภาพการเรียนโฆษกพิธีกร....................................................... 82
82
87.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอภาพการถ่ายทาํ ........................................................................ 83
88.ภาพ บทวดี ิทศั นเ์ สนอบรรยากาศงานเทศกาลหนงั ส้นั และสารคดีส้นั ....................... 83
89.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอภาพการประกอบอาชีพ........................................................... 84
90.ภาพ บทวดี ิทศั นเ์ สนอภาพการเรียนในหอ้ งสตูดิโอ................................................... 84
91.ภาพ บทวดี ิทศั นเ์ สนอภาพการ่วมมือกบั องคก์ ารและโครงการต่างๆ......................... 85
92.ภาพ บทวดี ิทศั นเ์ สนอภาพบรรยากาศโครงการ UNESCO........................................ 85
93.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอภาพบรรยากาศโครงการ AMIC.............................................. 86
94.ภาพ บทวดี ิทศั น์เสนอการสนบั สนุนจากองคก์ าร KOICA......................................... 86
95.ภาพ บทวดี ิทศั นเ์ สนอภาพการส่งผลงานเขา้ ประกวด................................................ 87
96.ภาพ บทวีดิทศั นเ์ สนอภาพผลงานส่วนหน่ึงของนกั ศึกษา.......................................... 88
97.ภาพ การแสดงภาพหนา้ ต่างการเปิ ดใชง้ านโปรแกรม Adobe Premiere Pro CC....... 88
98.ภาพ การแสดงภาพหนา้ ต่างเริ่มแรก.......................................................................... 89
99.ภาพ การแสดงภาพ New Project............................................................................... 89
100.ภาพ การแสดงภาพส่วนพ้นื ท่ีการทาํ งาน................................................................. 90
101.ภาพ การแสดงภาพ การImportไฟล.์ ........................................................................ 90
102.ภาพ การแสดงภาพ หนา้ ต่างไฟลช์ ิ้นงาน................................................................. 91
103.ภาพ การแสดงภาพ หนา้ ต่าง Timeline การตดั ต่อ................................................... 91
104.ภาพ การแสดงภาพ Effect Panel............................................................................. 92
105.ภาพ การแสดงภาพการ Export งาน......................................................................... 93
106.ภาพ การแสดงภาพการเปิ ดใชง้ านโปรแกรม Adobe After Effect CS6................... 93
107.ภาพ การแสดงภาพ หนา้ ปกโปรแกรม....................................................................
108.ภาพ การแสดงภาพ การสร้าง Composition.............................................................

XI

สารบญั รูปภาพ(ต่อ) หน้า

ภาพที่ 94
94
109.ภาพ การแสดงภาพ การสร้าง Background ดว้ ยเครื่องมือ Solid.............................. 95
110.ภาพ การแสดงภาพ การนาํ Effect มาใส่ใน Background สาํ หรับ Intro................... 95
111.ภาพ การแสดงภาพ การใส่แสง Flare...................................................................... 96
112.ภาพ การแสดงภาพ การสร้างตวั อกั ษร..................................................................... 96
113.ภาพ การแสดงภาพ การจดั วาง Timeline ของตวั อกั ษร............................................ 97
114.ภาพ การแสดงภาพ การใส่ Effect ตวั อกั ษร............................................................. 97
115.ภาพ การแสดงภาพ ข้นั ตอนการเขา้ สู่การ Render....................................................
116.ภาพ การแสดงภาพ การ Render งาน.......................................................................
SPU CHONBURI

บทท1ี่

บทนํา

ประวตั คิ วามเป็ นมาขององค์กร

ช่ือสถานท่ีSPU CHONBURIมหาวทิ ยาลยั แห่งชาติลาว
ตวั ย่อ มช.
สถาปนา ตุลาคม ค.ศ. 1996
ประเภท
ประธาน มหาวทิ ยาลยั รัฐ
ทตี่ ้งั ศดจ.สมสี ยอพนั ชยั
ประเทศ ตู้ ปณ. 7322 ดงโดก เวยี งจนั ทน์, สาธารณะรัฐประชาธิปไตย
วทิ ยาเขต ประชาชนลาว
สาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว
8 วทิ ยาเขต (ท้งั ในเขตเมืองและชนบท) แต่ปัจจุบนั มีเพยี ง 5 วทิ ยา
เขต

ภาพที่ 1 โลโกม้ หาวิทยาลยั แห่งชาติลาว
มหาวทิ ยาลยั แห่งชาตลิ าว (ลาว31: ມະຫາິວທະຍາໄລແຫ່ ງຊາດ หรือ ມ.ຊ.;
องั กฤษ31: National University of Laos หรือ NUOL) เป็นมหาวทิ ยาลยั ช้นั นาํ ของประเทศลาว ต้งั อยทู่ ่ี
นครหลวงเวียงจนั ทน3์1 สถาปนาจากรวมคณะต่าง ๆ ของวทิ ยาลยั ท่ีมีมาก่อนแลว้ เมื่อปี ค.ศ. 1996
มหาวทิ ยาลยั แห่งชาติลาวถือเป็นมหาวิทยาลยั หน่ึงในสี่แห่งของประเทศ

2

คณะทเ่ี ปิ ดสอน

• คณะวนศาสตร์ (Faculty of Forestry)
• คณะศึกษาศาสตร์ (Faculty of Education)
• คณะสงั คมศาสตร์ (Faculty of Social Sciences)
• คณะวิทยาศาสตร์ (Faculty of Sciences)
• คณะอกั ษรศาสตร์ (Faculty of Letters)
• คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ (Faculty of Economics and Business Administration)
• คณะเกษตรศาสตร์ (Faculty of Agriculture)
• คณะนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ (Faculty of Laws and Political Sciences)
• คณะเภสชั ศาสตร์ (Faculty of Medical Sciences)
• คณะวศิ วกรรมศาสตร์ (Faculty of Engineering)
• คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (Faculty of Architecture)
• คณะส่ิงแวดลอ้ มและการพฒั นา (Faculty of Environment and Development Studies)
• โรงเรียนเตรียมเขา้ มหาวิทยาลยั (School of Foundation Studies)

โดยภาควชิ าส่ือสารมวลชน ก่อนน้ีคือ ภาควิชาภาษาลาว-วรรณคดี ซ่ึงเป็นภาควชิ า 1 ใน
10 ที่สงั กดั ในคณะอกั ษรศาสตร์ มหาวิทยาลยั แห่งชาติ วทิ ยาเขตดงโดก นบั ต้งั แตไ่ ดจ้ ดั ต้งั ข้ึนมา
ประกอบดว้ ย 3 หน่วยวิชา ไดแ้ ก่ 1.วชิ าภาษาศาสตร์ 2.วชิ าวรรณคดี 3.วชิ าวฒั นธรรม โดยนกั ศึกษา
ที่จบออกไปจาํ นวนมากไดไ้ ปประกอบอาชีพในแต่ละสาขาท้งั ภาครัฐและเอกชน 1 ในน้นั คืออาชีพ
ที่เกี่ยวขอ้ งกบั แขนงส่ือมวลชน เช่น การเป็นนกั ข่าว นกั เขียน พิธีกร นกั จดั รายการ ช่างภาพตามสื่อ
ประเภทต่างๆ เช่น ส่ือส่ิงพมิ พแ์ ละสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ เม่ือเห็นวา่ นกั ศึกษาท่ีจบไปปฏิบตั ิหนา้ ที่รับใช้
สงั คม จึงมีความจาํ เป็นในการสร้างบุคลากรดา้ นสื่อมวลชนโดยเฉพาะ ใหม้ ีคุณภาพตามความ
ตอ้ งการของสงั คม ต่อมาท่าน ดร.บวั ลี ประภาพนั ธ์ และ รอง ดร.แสงฟ้า โหรานุภาพ พร้อมดว้ ย
คณะอาจารยข์ องภาควชิ าไดส้ ร้างหลกั สูตรสาขาวชิ าส่ือสารมวลชนข้ึน
SPU CHONBURI

3

ภาพที่ 2 โลโกค้ ณะอกั ษรศาสตร์
ภาควชิ าสื่อสารมวลชนเปิ ดการเรียน-การสอนอยา่ งเป็นทางการในปี 2004-2005 เป็นตน้
มา โดยใชห้ ลกั สูตรระบบ 1+4 และระบบ 5 ปี หลงั จากน้นั จึงไดป้ รับปรุงหลกั สูตรจากระบบ 5 ปี
มาเป็น 4 ปี ในระยะเร่ิมตน้ หน่วยวิชาส่ือสารมวลชนเป็นวชิ าการเรียน-การสอนใหม่ ทาํ ใหส้ งั คมยงั
ไม่คอ่ ยรู้จกั มากนกั ซ่ึงผา่ นไประยะหน่ึง เมื่อสงั คมรู้จกั เพิม่ มากข้ึน ทาํ ใหม้ ีผสู้ นใจมาศึกษาเพอ่ื
ยกระดบั ความรู้มีจาํ นวนมาก ซ่ึงบรรดานกั ศึกษาที่จบออกไปต่างไปทาํ งาน ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีรับใช้
สงั คมตามสื่อประเภทต่างๆของงานดา้ นส่ือมวลชน ท้งั ภาครัฐและเอกชนทวั่ ประเทศ
ในปี 2016 หน่วยวิชาส่ือสารมวลชนไดร้ ับการอนุมตั ิ ยกระดบั ข้ึนเป็นภาควชิ า
สื่อสารมวลชน โดยมีตวั ยอ่ วา่ พสม. โดยมีบทบาทในการจดั ต้งั การวางแผนการเรียน-การสอน
ปรับปรุงและพฒั นาหลกั สูตรใหม้ ีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ เพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการของสงั คม
SPU CHONBURI

4

การจดั การองค์กร

คณบดคี ณะอกั ษรศาสตร์

SPU CHONBURI หัวหน้าภาควชิ าส่ือสารมวลชน

สภาวชิ าการ สภาบริหาร

รองภาควชิ า รองภาควชิ า
(รับผดิ ชอบวชิ าการ) (รับผดิ ชอบงานบริหาร)

หน่วยวชิ าหนังสือพมิ พ์,วารสาร หน่วยงานกจิ กรรมนักศึกษาและ
และรูปภาพ ดูแลด้านเทคนิคและห้องสตูดโิ อ

หน่วยวชิ าวทิ ยุกระจายเสียง
หน่วยวชิ าโทรทัศน์

หน่วยวชิ าเทคโนโลยเี พ่ือการ
สื่อสารมวลชน

5

ลกั ษณะทางธุรกจิ

มหาวิทยาลยั แห่งชาติลาว มีลกั ษณะทางธุรกิจเป็นเครือข่ายการพฒั นาเพอื่ การศึกษา
วศิ วกรรมแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้

ตาํ แหน่งและลกั ษณะงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย

SPU CHONBURI
ดา้ นการผลิตส่ือ (Media Production) โดยแบ่งความรับผดิ ชอบในแต่ส่วนของวดี ิทศั น์
ตามความถนดั ของตนเอง ไดด้ งั น้ี

ภาพที่ 3 การแสดงภาพผศู้ ึกษาที่ 1 ภาพท่ี 4 การแสดงภาพผศู้ ึกษาที่ 2

1.นางสาวลลิตา เมธา รหสั นกั ศึกษา 57707777 รับผดิ ชอบดูแลเรื่องของการเขียนบทวดี ิ
ทศั น์ การถ่ายทาํ และการตดั ต่อ

2.นางสาวมยรุ ินทร์ วนั ดีศรีประเสริฐ รหสั นกั ศึกษา 57707784 รับผดิ ชอบในเร่ืองของ
การถ่ายทาํ และติดต่อประสานงานกบั ทีมงานและอาจารยท์ ่ีปรึกษาโครงงาน

6

บุคลากรผู้นิเทศงาน

SPU CHONBURI
ภาพที่ 5 บุคลากรผนู้ ิเทศงาน
ท่านอาจารยห์ อมมาลา เพญ็ ศรีชนะวงศ์
ดาํ รงตาํ แหน่งรองหวั หนา้ ภาควชิ าฝ่ ายวชิ าการ
ภาควชิ าล่ือสารมวลชน คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวิทยาลยั แห่งชาติ

SPU CHONBURI บทท่ี 2

แนวคดิ และทฤษฎที เี่ กยี่ วข้อง

การศึกษาเร่ืองการผลิตส่ือวดี ิทศั น์เพือ่ การประชาสมั พนั ธ์ ภาควชิ าสื่อสารมวลชน คณะ
อกั ษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั แห่งชาติลาว มีแนวคิดที่เก่ียวขอ้ ง ดงั น้ี

1. แนวคิดที่เก่ียวขอ้ งการผลิตวีดิทศั น์
2. แนวคิดท่ีเกี่ยวขอ้ งการตดั ต่อ
3. แนวคดิ ที่เก่ียวขอ้ งโปรแกรมที่ใชง้ าน

การผลติ วดี ทิ ศั น์

(วจิ ิตร ภกั ดีรัตน,์ 2523, 63) กล่าวถึงการผลิตวีดิทศั นเ์ ป็นการทาํ งานร่วมกนั เป็นทีม ซ่ึง
ตอ้ งมีผนู้ าํ ที่มีหนา้ ที่รับผดิ ชอบ มีความสามารถในการวางแผนดาํ เนินการและตดั สินใจไดด้ ี ใน
ฐานะผกู้ าํ กบั รายการ เพราะผกู้ าํ กบั รายการจะทาํ หนา้ ท่ีในการพฒั นาแนวทางดาํ เนินรายการดา้ น
เทคนิคการผลิต และดา้ นความคิดสร้างสรรคก์ ารผลิต ตลอดจนถึงการลงมือการผลิต โดยใหค้ าํ
ปรึกษาหารือ แนะนาํ ตลอดรายการ ต้งั แตข่ ้นั ประชุมก่อนการวางแผนไปถึงข้นั ตอนสุดทา้ ยของการ
ลาํ ดบั ภาพ และการถ่ายทอดออกอากาศ

รายการผลิตวดี ิทศั น์จะประสบความสาํ เร็จหรือไม่ ข้ึนอยกู่ บั การวางแผนการผลิต และ
การทาํ งานของฝ่ ายสร้างสรรคท์ ่ีดี โดยอาศยั จินตนาการ ความอดทนและความรู้ รวมท้งั ศิลปะ
หลกั เกณฑต์ ่าง ๆ ดงั น้นั การผลิตรายการวดี ิทศั น์ผผู้ ลิตตอ้ งคาํ นึงถึงปัจจยั ต่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. ผผู้ ลิตตอ้ งศึกษาและเขา้ ใจขอบเขตเน้ือหาเรื่องราวที่จะผลิตเป็นอยา่ งดี
2. ผผู้ ลิตตอ้ งเขา้ ใจพ้ืนฐานของกลุ่มเป้าหมาย หรือผชู้ มใหม้ ากที่สุด เช่น พ้นื ฐาน
ประสบการณ์ เพศ วยั และความสนใจ เป็นตน้
3. ตอ้ งมีการวางแผนการผลิตใหค้ รอบคลุมในสิ่งที่ตอ้ งการมากท่ีสุด และผชู้ มเขา้ ใจได้
ง่าย

SPU CHONBURI 8

วภิ า อุดมฉนั ท์ (2544) ไดก้ ล่าวถึงหลกั การพ้นื ฐานในการวางแผนผลิตรายการวดี ิทศั นไ์ ว้ 4 ประการ
คือ

3.1 Why: (ผลิตรายการทาํ ไม) ในการผลิตรายการก่อนอ่ืนใดท้งั หมด ผผู้ ลิตจะตอ้ ง
เขา้ ใจตนเองอยา่ งชดั เจนก่อนวา่ มีวตั ถุประสงคอ์ ะไร หรือมีความจาํ เป็นอะไรที่จะตอ้ งทาํ การผลิต
เช่น เพื่อการสอน (รายการเพอ่ื การศึกษา) เพื่อแจง้ ข่าวสาร (รายการขา่ ว)

3.2 Who: (เพอ่ื ใคร) ขอ้ สาํ คญั ต่อมากค็ ือ ผชู้ มที่เป็นเป้าหมายคือใคร เช่น เดก็ นกั เรียน
นกั ศึกษา ครู ปัญญาชน ผใู้ หญ่ ผชู้ มทวั่ ไป

3.3 What: (ผลิตเรื่องอะไร) เมื่อกาํ หนดเป้าหมายขอกลุ่มผชู้ มไดแ้ ลว้ จะตอ้ งกาํ หนด
เน้ือหาสาระ ซ่ึงตอ้ งสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคด์ ว้ ย เช่น จะสอนเร่ืองอะไร จะแจง้ ขา่ วอะไร จะ
บนั ทึกเหตุการณ์อะไร จะใหค้ วามบนั เทิงอะไร

3.4 How: (รูปแบบอยา่ งไร) ในการผลิตรายการวดี ิทศั นผ์ ผู้ ลิตจะตอ้ งพจิ ารณาอยา่ ง
รอบคอบวา่ จะผลิตรายการในรูปแบบใด จึงจะสอดคลอ้ งกบั เน้ือหาใหม้ ากที่สุด เช่น รูปแบบการ
อ่านรายงาน (Announcing) รูปแบบการสนทนา (Dialogue) รูปแบบสารคดี (Documentary) รูปแบบ
ละคร (Drama)

4. มีความเขา้ ใจในการใชเ้ ครื่องมือ เทคนิควิธีการในการผลิตโดยทวั่ ไป เช่น เขา้ ใจการ
ถ่ายภาพ มุมมองภาพในระยะต่าง ๆ การเขียนบท ตลอดจนเจา้ หนา้ ที่ที่เกี่ยวกบั กบั การผลิต

5. ตอ้ งตระหนกั วา่ ทุกภาพ ทกุ เสียงท่ีแพร่ไปถึงผชู้ มตอ้ งมีความหมายกระจ่างชดั ในตวั
ของมนั เอง ท้งั น้ีส่ือวดี ิทศั นเ์ ป็นการส่ือสารทางเดียว ไม่สามารถซกั ถาม และตอบโตต้ อบได้

6. ผผู้ ลิตจะตอ้ งเตรียมการใหค้ รอบคลุมข้นั ตอนต่าง ๆ ดงั น้ี
6.1 เน้ือหาของรายการ (Program Content) เน้ือหาของรายการจะตอ้ งน่าสนใจและ

ดึงดูดผชู้ ม
6.2 คา่ ใชจ้ ่ายในการผลิตรายการ (Budget) ผผู้ ลิตรายการตอ้ งคาํ นึงถึงงบประมาณใน

การผลิตแต่ละคร้ัง
6.3 บทวดี ิทศั น์ ผผู้ ลิตรายการตอ้ งเขียนบทหรือจา้ งเขียนบท และตอ้ งนาํ บทวีดิทศั นท์ ่ี

เรียบร้อยใหแ้ ก่ผเู้ ก่ียวขอ้ งในการผลิต
6.4 ผรู้ ับผดิ ชอบในการผลิต (Teams) ประกอบดว้ ย ผอู้ าํ นวยการผลิต ผผู้ ลิต ผเู้ ขียน

บท ผกู้ าํ กบั รายการ ผจู้ ดั การกองถ่าย และฝ่ายทาํ หนา้ ท่ีหลงั กองถ่าย
6.5 ตวั แสดง (Talent) ควรเลือกผแู้ สดงใหส้ อดคลอ้ งกบั บทวีดิทศั น์

SPU CHONBURI 9
6.6 อุปกรณ์ทางเทคนิค (Technical Facilities) ไดแ้ ก่ ฉากและวสั ดุ โดยผผู้ ลิตตอ้ งคุย
เกี่ยวกบั แนวคิดของรายการกบั ผอู้ อกแบบฉาก เพอ่ื ใหอ้ อกแบบไดถ้ กู ตอ้ ง และเหมาะสมกบั
วตั ถุประสงคข์ องรายการวดี ิทศั น์ ดงั น้นั ก่อนการผลิตรายการวดี ิทศั น์ ผผู้ ลิตจาํ เป็นตอ้ งคาํ นึงถึงส่ิง
ต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็นดา้ นการวางแผนการผลิต การเตรียมการผลิต การใชอ้ ุปกรณ์ในการผลิต และการ
ประเมินผลการผลิต
ข้นั ตอนของการผลิตรายการวีดิทศั นไ์ ด้ 3 ข้นั ตอน (3P) (พนู ศกั ด์ิ ธนพนั ธพ์ าณิช, 2560,
หนา้ 10-16) ดงั น้ี
1. ข้นั เตรียมการผลติ (Pre-Production)
นบั เป็นข้นั ตอนที่มีความสาํ คญั เป็นอยา่ งยง่ิ เพ่ือเตรียมความพร้อมก่อนที่จะลงมือทาํ จริง
ข้นั ตอนส่วนน้ีประกอบไปดว้ ยงานมากมายหลายส่วน ต้งั แต่การกาํ หนดคอนเซ็ปของงาน การเขียน
บท การคดั เลือกนกั แสดง เลือกสถานท่ีถ่ายทาํ จดั เตรียมอุปกรณ์ เตรียมทีมงานถ่ายทาํ เช่น ช่างภาพ
ช่างแสง ผกู้ าํ กบั ทีมแม่บา้ นกองถ่าย การออกแบบสตอรรี่บอร์ด เปรียบเสมือนแบบร่างสุดทา้ ยของ
งาน ซ่ึงเหล่าน้ีกย็ อ่ มเป็นท่ีตอ้ งการรายละเอียดแตกต่างกนั ออกไป ตามแต่ขนาดของงาน เช่น งาน
กองถ่ายภาพยนตร์ กต็ อ้ งมีรายละเอียดของงานในส่วนน้ีจาํ นวนมาก หากจดั เตรียมรายละเอียดใน
ข้นั ตอนน้ีไดด้ ี กจ็ ะส่งผลใหข้ ้นั ตอนการผลิตงานทาํ ไดง้ ่ายและรวดเร็วยงิ่ ข้ึน
องคป์ ระกอบของข้นั เตรียมการผลิต (Pre-Production) ประกอบดว้ ย ดงั น้ี
1.1 การแสวงหาแนวคิด เป็นการหาแนวทาง เรื่องราวที่จะนาํ มาผลิตเป็นรายการวีดิ
ทศั น์ ซ่ึงถือวา่ เป็นภารกิจแรกของผผู้ ลิตรายการท่ีจะตอ้ งต้งั คาํ ถามใหก้ บั ตวั เองวา่ แนวคิดคิดที่ได้
น้นั ดีอยา่ งไร และจะใหป้ ระโยชน์อะไรต่อผชู้ ม การหาแนวคิดหรือเรื่องราว จึงเป็นงานท่ีจะตอ้ งใช้
ความคิดสร้างสรรคแ์ ละจินตนาการคอ่ นขา้ งสูง
1.2 การกาํ หนดวตั ถุประสงค์ (Objective) เม่ือไดเ้ รื่องที่จะทาํ การผลิตรายการแลว้ เป็น
การคาดหวงั ถึงผลท่ีจะเกิดกบั ผชู้ มเมื่อไดร้ ับชมรายการไปแลว้ ทุกเร่ืองที่นาํ มาจดั และผลิตรายการ
โทรทศั น์ ผผู้ ลิตจะตอ้ งกาํ หนดวตั ถุประสงคค์ วามมุ่งหมายจะใหผ้ รู้ ับไดร้ ับหรือเกิดการเปลี่ยนแปลง
ทศั นคติ หรือพฤติกรรมในดา้ นใดบา้ ง การกาํ หนดวตั ถปุ ระสงคอ์ าจต้งั หลายวตั ถุประสงคก์ ไ็ ด้
1.3 การวเิ คราะห์กลุ่มเป้าหมาย (Target audience) เม่ือไดก้ าํ หนดวตั ถุประสงคแ์ ลว้ ข้นั
ต่อไปวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายหรือผชู้ มวา่ มีลกั ษณะอยา่ งไร เป็นการทาํ ความรู้ผชู้ มในแง่มุมต่างๆ
เกี่ยวกบั เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ ความสนใจ ความตอ้ งการ และจาํ นวนผชู้ ม เพ่อื ใหส้ ามารถผลิต
รายการไดต้ รงความตอ้ งการมากที่สุด

SPU CHONBURI 10
1.4 การเขียนบทวีดิทศั น์ (Script Writing) เป็นกระบวนการท่ีต่อเนื่องจากการกาํ หนด
แนวคดิ จนถึงการวเิ คราะห์เน้ือหา จนไดป้ ระเดน็ หลกั และประเดน็ ยอ่ ยของรายการ แลว้ นาํ มาเขียน
เป็นบท ซ่ึงเป็นการกาํ หนดลาํ ดบั ก่อนหลงั ของการนาํ เสนอภาพและเสียง เพือ่ ใหผ้ ชู้ มไดร้ ับเน้ือหา
สาระตามวตั ถุประสงคท์ ่ีกาํ หนดไว้ โดยระบุลกั ษณะภาพ และเสียงไวช้ ดั เจน นอกจากน้นั บท
รายการวดี ิทศั นย์ งั ถ่ายทอดกระบวนการในการจดั รายการออกมาเป็นตวั อกั ษรและเคร่ืองหมาย
ต่าง ๆ เพอ่ื สื่อความหมายใหผ้ รู้ ่วมการผลิตรายการไดท้ ราบ และดาํ เนินการผลิตตามหนา้ ท่ีของแต่
ละคน
2.ข้นั การผลติ (Production)
เป็นข้นั ตอนการดาํ เนินการถ่ายทาํ ตามเสน้ เร่ืองหรือบท ตามบทวดี ิทศั นท์ ีมงานผผู้ ลิต
และดงั ที่กล่าวไปต้งั แต่ตน้ วา่ การถ่ายทาํ จะเป็นช็อตส้นั ๆ เกบ็ เอาไวห้ ลายช็อตแลว้ คอ่ ยเอาไปตดั ต่อ
ใหเ้ ป็นเรื่องเดียวกนั ในภายหลงั เหตุผลท่ีเป็นอยา่ งน้นั เพราะจะทาํ ใหก้ ารทาํ งานมีความยดื หยนุ่
มากกวา่ ฉากไหนมีความพร้อมกถ็ ่ายทาํ ไปก่อน ฉากไหนถ่ายผดิ พลาดกส็ ามารถถ่ายซ่อมได้ อีกท้งั
การกาํ หนดรายละเอียดต่างๆ เช่น มุมกลอ้ ง แสง หรือแมแ้ ต่อารมณ์นกั แสดงกย็ งั สามารถจดั การได้
ง่ายกวา่ หากเทียบกบั การถ่ายวิดีโอแบบลากยาว นอกจากน้ีอาจจะเป็นตอ้ งเกบ็ ภาพ/เสียงบรรยากาศ
ทว่ั ไป ภาพเฉพาะมุมเพิ่มเติมเพอ่ื ใชใ้ นการขยายความ (Insert) เพอ่ื ใหผ้ ชู้ มไดเ้ ห็นและเขา้ ใจ
รายละเอียดมากยงิ่ ข้ึน
2.1 องคป์ ระกอบของข้นั การผลิต (Production) มีดงั น้ี

2.1.1 ดา้ นบุคลากร ในการผลิตรายการวดี ิทศั น์เป็นการทาํ งานท่ีเป็นทีม ผรู้ ่วมงาน
มาจากหลากหลายอาชีพที่มีพ้ืนฐานที่ต่างกนั ซ่ึงการทาํ งานร่วมกนั จะประสบความสาํ เร็จหรือไม่น้นั
ข้ึนอยกู่ บั ทีมงานที่ดี มีความความเขา้ ใจกนั พดู ภาษาเดียวกนั รู้จกั หนา้ ท่ี และใหค้ วามสาํ คญั ซ่ึงกนั
และกนั

2.1.2 ดา้ นสถานท่ี สถานท่ีในการผลิตรายการ แบ่งออกเป็น 2 แห่ง คือ ภายในหอ้ ง
ผลิตรายการ และภายนอกหอ้ งผลิตรายการ สาํ หรับการผลิตรายการในหอ้ งผลิตรายการ (Studio)
น้นั ผผู้ ลิตจะตอ้ งเตรียมการจองหอ้ งผลิต และตดั ต่อรายการล่วงหนา้ กาํ หนดวนั เวลาที่ชดั เจน
กาํ หนดฉากและวสั ดุอุปกรณ์ประกอบฉากใหเ้ รียบร้อย ส่วนการเตรียมสถานที่นอกหอ้ งผลิต
รายการ ผผู้ ลิตจะตอ้ งดูแลในเร่ืองของการควบคุมแสงสวา่ ง ควบคุมเสียงรบกวน โดยจะตอ้ งมีการ
สาํ รวจสถานที่จริงก่อนการถา่ ยทาํ เพือ่ ทราบขอ้ มูลเบ้ืองตน้ และเตรียมแกป้ ัญหาที่อาจจะเกิดข้ึนได้
เพอื่ จะไดป้ ระหยดั เวลาในการถ่ายทาํ

2.1.3 ดา้ นอุปกรณ์ในการผลิตรายการ โดยผกู้ าํ กบั ฝ่ ายเทคนิคจะเป็นผสู้ งั่ การเรื่อง
การเตรียมอุปกรณ์ในการผลิต เช่น กลอ้ งวดี ิทศั น์ ระบบเสียง และระบบแสงและเครื่องบนั ทึกภาพ

SPU CHONBURI 11
นอกจากน้นั ยงั จาํ เป็นตอ้ งเตรียมอุปกรณ์สาํ รองบางอยา่ งใหพ้ ร้อมดว้ ย ท้งั น้ีเพื่อช่วยแกป้ ัญหาเฉพาะ
หนา้ ไดอ้ ยา่ งทนั ท่วงที

2.1.4 ดา้ นผดู้ าํ เนินรายการ และผรู้ ่วมรายการ การเตรียมผจู้ ะปรากฏตวั บน
จอโทรทศั น์เป็นสิงที่จาํ เป็น โดยเร่ิมจากการคดั เลือก ติดต่อ ซกั ซอ้ มบทเป็นการล่วงหนา้ โดยใหผ้ ู้
ดาํ เนินรายการ และผรู้ ่วมรายการไดศ้ ึกษาและทาํ ความเขา้ ใจในบทของตนเองที่จะตอ้ งแสดง เพือ่ จะ
ไดไ้ ม่เสียเวลาในการถ่ายทาํ

2.2 อุปกรณ์ดา้ นการถ่ายทาํ
อุปกรณ์หลกั ในการถ่ายทาํ ไม่วา่ จะเป็นการถ่ายทาํ วิดีโอ หรือ ภาพยนตร์ หลกั ๆแลว้ จะใช้
1. กลอ้ งวดิ ีโอ 2. เลนส์ เป็นตน้

กล้อง DSLR

ภาพที่ 6 กลอ้ ง DSLR
รูปแบบการทาํ งาน
หลกั การทาํ งานของกลอ้ งถ่ายภาพ คือ การท่ีแสงสะทอ้ นจากวตั ถุเดินทางเป็นเสน้ ตรง
ผา่ นช่องเลก็ ๆ ของกล่องสี่เหลี่ยม เกิดภาพของวตั ถุบนฉากรองรับดา้ นตรงกนั ขา้ มเป็นภาพหวั กลบั
อนั เป็นหลกั การของการสร้างกลอ้ งรูเขม็ ในสมยั โบราณ ปัจจุบนั กลอ้ งถ่ายภาพไดพ้ ฒั นามาโดย
ลาํ ดบั เช่น มีการนาํ เอาเลนส์นูนไปติดต้งั ที่ช่องรับแสงที่มีขนาดเลก็ เพอ่ื ช่วยรวมแสงใหเ้ ขา้ ไปใน
ตวั กลอ้ งใหม้ ากข้ึน ทางดา้ นตรงกนั ขา้ มของเลนส์เป็นตาํ แหน่งท่ีต้งั วสั ดุไวแสงหรือฟิ ลม์ สามารถ
ปรับตวั เลนส์เพอ่ื ใหเ้ กิดภาพท่ีชดั เจนบนฟิ ลม์ ได้ มีการติดต้งั ไดอะแฟรมปรับใหเ้ กิดช่องรับแสง
ขนาดต่างๆ รวมท้งั มีส่วนท่ีเรียกวา่ ชตั เตอร์ ทาํ หนา้ ที่ควบคุมเวลาในการเปิ ด-ปิ ด ม่าน เพ่อื ให้
ปริมาณแสงตกกระทบกบั ฟิ ลม์ ตามความเหมาะสม และยงั มีช่องเลง็ ภาพเพอ่ื ช่วยในการจดั
องคป์ ระกอบของภาพถ่ายใหเ้ กิดความสวยงาม

SPU CHONBURI 12
หลกั การทาํ งานของกลอ้ งรูเขม็ คือ กลอ้ งสะทอ้ นภาพเลนส์เดี่ยวดิจิทลั (D-SLR) ใช้
กระจกสะทอ้ น สาํ หรับการแสดงภาพท่ีกาํ ลงั จะถ่ายผา่ นช่องมองภาพ32 ภาพตดั ขวางดา้ นซา้ ยมือ นน่ั
แสดงใหเ้ ห็นถึงเสน้ ทางของแสงที่เดินทางผา่ นเลนส์ และสะทอ้ นผา่ นกระจกสะทอ้ นภาพ และ ฉาย
บนแผน่ ปรับโฟกสั จากน้นั ลดขนาดภาพผา่ น เลนส์ลดขนาดภาพ และสะทอ้ นใน ปริซึมหา้ เหลี่ยม
32 ทาํ ใหภ้ าพปรากฏท่ีช่องมองภาพ32 เม่ือกดป่ ุมชตั เตอร์32 จะทาํ ใหก้ ระจกสะทอ้ นจะกระเดง้ ตามลูกศร
ข้ึนไป และช่องระนาบโฟกสั เปิ ดออก และภาพฉายลงบน เซ็นเซอร์รับภาพ32 เช่นเดียวกบั ที่ปรากฏ
บนระนาบโฟกสั
เลนส์
สาํ หรับมือใหม่ท่ีอาจจะเพง่ิ ไดก้ ลอ้ งมา หรืออาจจะเริ่มศึกษาไดไ้ ม่นานกไ็ ดร้ ู้จกั เลนส์
หน่ึงแบบแลว้ โดยเลนส์น้นั จะเป็นเลนส์ท่ีแถมมากบั กลอ้ ง เลนส์ตวั น้นั บางคนอาจจะเคยไดย้ นิ เขา
เรียกมนั วา่ “เลนส์คิทส์” มนั จดั อยใู่ นกลุ่มของเลนป์ ระเภทไหน เราจะมารู้จกั เลนส์แบบต่างๆกนั
โดยทว่ั ไปแลว้ เคา้ จะแบ่งเลนส์ของกลอ้ งได้ 3 แบบคือ
1.เลนส์มุมกวา้ ง (Wide Angle Lens)
2.เลนส์ปกติ (Normal Lens)
3.เลนส์เทเลโฟโต้ (Telephoto Lens)
ซ่ึงเลนส์แต่ละชนิดมีลกั ษณะดงั น้ี
เลนส์มุมกว้าง (Wide Angle Lens)

ภาพท่ี 7 เลนส์มุมกวา้ ง (Wide Angle Lens)
เป็นเลนส์ท่ีใหภ้ าพในมุมกวา้ ง ใหภ้ าพที่ออกมามีความรู้สึกกวา้ งและดูน่าสนใจ
โดยทวั่ ไปแลว้ เลนส์ชนิดน้ีจะเหมาะกบั การใชถ้ ่ายววิ หรือส่ิงก่อสร้างท่ีเราตอ้ งการใหด้ ูยง่ิ ใหญ่
อลงั การแต่กน็ ิยมนาํ มาถ่ายภาพคนเหมือนกนั อยา่ งเช่นหากเคยเห็นภาพที่หวั คนใหญ่ๆ แลว้ ตวั เลก็ ๆ
น้นั กเ็ ป็นผลงานของเลนส์แบบน้ี

13

เลนส์ปกติ (Normal Lens)

SPU CHONBURI
ภาพที่ 8 เลนส์ปกติ (Normal Lens)
เป็นเลนส์ที่เหมาะกบั การใชถ้ ่ายรูปทว่ั ไป ภาพที่ไดจ้ ากเลนส์ชนิดน้ีจะออกมาสมส่วน
และใหค้ วามรู้สึกใกลเ้ คียงกบั สายตาท่ีเรามองวตั ถุน้นั จริงๆ มือใหม่ที่เพ่งิ จะเร่ิม เลนส์แบบน้ีจะ
เหมาะแก่การนาํ ไปท่องเท่ียวไดด้ ี เน่ืองจากมีความยดื หยนุ่ และคล่องตวั มากกวา่ เลนส์แบบอื่นๆ
เลนส์เทเลโฟโต้ (Telephoto Lens)

ภาพท่ี 9 เลนส์เทเลโฟโต้ (Telephoto Lens)
บางคนกเ็ รียกเลนส์ชนิดน้ีวา่ เลนส์เทเลฯ เฉยๆ เน่ืองจากมนั มีคุณสมบตั ิเหมือนกบั กลอ้ ง
ส่องทางไกล คือสามารถดึงวตั ถุท่ีอยไู่ กลๆ เขา้ มาใกลๆ้ ตาได้ สาํ หรับเลนส์ชนิดน้ีจะใหอ้ งศาการรับ
ภาพน้นั แคบกวา่ สายตาคนเรามาก แต่สดั ส่วนของภาพน้นั ผดิ เพ้ยี นนอ้ ยสุดๆ และยงั นิยมนาํ เลนส์
ชนิดน้ีมาถ่ายภาพ Portrait อีกดว้ ยเน่ืองจากภาพที่ไดม้ ีมิติที่สวยงานและยงั สามารถเบลอฉากหลงั ได้
ง่าย

SPU CHONBURI 14

2.3.ดา้ นขนาดภาพ
หากเปรียบเทียบภาพที่ไดจ้ ากการชมภาพยนตร์กบั ละครน้นั แตกต่างกนั มากมาย ในละคร
น้นั ข้ึนอยกู่ บั วา่ คนดูนงั่ อยทู่ ี่ส่วนใหญ่ของโรง เช่น ดา้ นหนา้ ดา้ นหลงั ดา้ นขา้ ง หรือดา้ นบน ซ่ึงจะ
ใหภ้ าพและมมุ มองท่ีแตกตา่ งกนั ออกไป ขณะที่การชมภาพยนตร์ กลอ้ งเป็นตวั กาํ หนดขนาดภาพได้
หลายหลาก เช่น ภาพระยะไกล (Long Shot) ระยะปานกลาง (Medium Shot) และระยะใกล้ (Close
Up) เป็นตน้ การกาํ หนดขนาดภาพในแต่ละช็อตเหล่าน้ีไม่ใช่เป็นเรื่องง่าย ซ่ึงตอ้ งสอดคลอ้ งกบั
ความหมายท่ีตอ้ งการสื่อ แต่อยา่ งไรกต็ าม ความหมายของภาพระยะใกลแ้ ละระยะไกลของผกู้ าํ กบั
คนหน่ึง อาจมีความแตก ต่างจากอีกคนหน่ึง นอกจากน้ี การใชภ้ าพตอ้ งมีความสมั พนั ธเ์ ชื่อมต่อกนั
ไดเ้ ป็นอยา่ งดี แมแ้ ตภ่ าพยนตร์กบั โทรทศั น์ยงั มีความแตกต่างกนั อีกดว้ ย โดยทว่ั ไปการกาํ หนด
ขนาดภาพน้นั ไม่มีกฎแน่นอนที่ตายตวั ในหลกั ปฏิบตั ิแลว้ มกั ใช้ 3 ขนาด คือ ขนาดภาพระยะไกล
ระยะปานกลาง และระยะใกล้ ดงั ที่ไดก้ ล่าวมาแลว้ เป็นขนาดเรียกกวา้ งๆ ท่ีเขียนไวใ้ นบทภาพยนตร์
ซ่ึง ใชร้ ูปร่างของคนเป็นตวั กาํ หนดขนาดของภาพ แต่อยา่ งไรกต็ าม เราสามารถแบ่งยอ่ ยขนาดของ
ภาพไดอ้ ีกและมีชื่อเรียกชดั เจนข้ึน ดงั น้ี

2.3.1 ภาพระยะไกลมากหรือระยะไกลสุด (Extreme Long Shot / ELS)
ไดแ้ ก่ ภาพที่ถา่ ยภายนอกสถานท่ีโล่งแจง้ มกั เนน้ พ้นื ที่หรือบริเวณท่ีกวา้ งใหญ่ไพศาล เมื่อเปรียบ
เทียบกบั สดั ส่วนของมนุษยท์ ่ีมีขนาดเลก็ ภาพ ELS ส่วนใหญ่ใชส้ าํ หรับการเปิ ดฉากเพ่ือบอกเวลา
และสถานท่ี อาจเรียกวา่ Establishing Shot กไ็ ด้ เป็นชอ็ ตท่ีแสดงความยง่ิ ใหญ่ของฉากหลงั หรือ
แสดงแสนยานุภาพของตวั ละครในหนงั ประเภทสงครามหรือหนงั ประวตั ิศาสตร์ ส่วนชอ็ ตที่ใช้
ตามหลงั มกั เป็นภาพระยะไกล (LS) แต่ในภาพยนตร์หลายเร่ืองใชภ้ าพระยะใกล้ (CU) เปิ ดฉากก่อน
เพือ่ เป็นการเนน้ เรียก จุดสนใจหรือบีบอารมณ์คนดูใหส้ ูงข้ึนอยา่ งทนั ทีทนั ใด

2.3.2 ภาพระยะไกล (Long Shot /LS)
ภาพระยะไกล เป็นภาพที่คอ่ นขา้ งสบั สนเพราะมีขนาดที่ไม่แน่นอนตายตวั บางคร้ังเรียกภาพกวา้ ง
(Wide Shot) เวลาใชอ้ าจเกินความต้งั แตภ่ าพระยะไกลมาก (ELS) ถึงภาพระยะไกล (LS) ซ่ึงเป็น
ภาพขนาดกวา้ งแต่สามารถเห็นรายละเอียดของฉากหลงั และผแู้ สดงมากข้ึน เม่ือเปรียบเทียบกบั ภาพ
ระยะไกลมาก หรือเรียกวา่ Full Shot เป็นภาพกวา้ งเห็นผแู้ สดงเตม็ ตวั ต้งั แต่ศีรษะจนถึงส่วนเทา้
ภาพระยะไกล (LS) บางคร้ังนาํ ไปใชเ้ ปรียบเทียบเหมือนกบั ขนาดภาพระหวา่ งหนงั กบั ละครท่ีคนดู
มองเท่ากนั คือ สามารถเห็นแอค็ ชนั่ หรืออากปั กริยาของผแู้ สดงเตม็ ตวั และชดั เจนพอ ซ่ึงเป็นท่ีทราบ
กนั ดีวา่ หนงั ของชาร์ลี แชปลิน (Charlie Chaplin) มกั ใชข้ นาดภาพน้ีกบั ภาพปานกลาง (MS)
ถ่ายทอดอารมณ์ตลกประสบความสาํ เร็จในหนงั เงียบของเขา

15

2.3.3 ภาพระยะไกลปานกลาง (Medium Long Shot / MLS)
เป็นภาพท่ีเห็นรายละเอียดของผแู้ สดงมากข้นึ ต้งั แต่ศีรษะจนถึงขา หรือหวั เข่า ซ่ึงบางคร้ังกเ็ รียกวา่
Knee Shot เป็นภาพที่เห็นตวั ผแู้ สดงเคลื่อนไหวสมั พนั ธก์ บั ฉากหลงั หรือเห็นเฟอร์นิเจอร์ในฉากน้นั

2.3.4 ภาพระยะปานกลาง (Medium Shot /MS)
ภาพระยะปานกลาง เป็นขนาดท่ีมีความหลากหลายและมีช่ือเรียกไดห้ ลายชื่อเช่นเดียวกนั แต่โดย
ปกติจะมีขนาดประมาณต้งั แต่หน่ึงในส่ีถึงสามในส่ีของร่างกาย บางคร้ังเรียกวา่ Mid Shot หรือ
Waist Shot กไ็ ด้ เป็นชอ็ ตท่ีใชม้ ากสุดอนั ดบั หน่ึงภาพยนตร์
ภาพระยะปานกลางมกั ใชเ้ ป็นฉากสนทนาและเห็นแอค็ ชนั่ ของผแู้ สดง นิยมใชเ้ ช่ือมเพ่อื รักษาความ
ต่อเน่ืองของภาพระยะไกล (LS) กบั ภาพระยะใกล้ (CU)

2.3.5 ภาพระยะใกลป้ านกลาง (Medium Close-Up / MCU)
เป็นภาพแคบ ครอบคลุมบริเวณต้งั แต่ศีรษะถึงไหล่ของผแู้ สดง ใชส้ าํ หรับในฉากสนทนาที่เห็น
อารมณ์ความรู้สึกท่ีใบหนา้ ผแู้ สดงรู้สึกเด่นในเฟรม บางคร้ังเรียกวา่ Bust Shot มีขนาดเท่ารูปป้ัน
คร่ึงตวั

2.3.6 ภาพระยะใกล้ (Close-Up / CU)
เป็นภาพท่ีเห็นบริเวณศีรษะและบริเวณใบหนา้ ของผแู้ สดง มีรายละเอียดชดั เจนข้ึน เช่น ริ้วรอยบน
ใบหนา้ น้าํ ตา ส่วนใหญ่เนน้ ความรู้สึกของผแู้ สดงท่ีสายตา แววตา เป็นชอ็ ตที่นิ่งเงียบมากกวา่ ใหม้ ี
บทสนทนา โดยกลอ้ งนาํ คนดูเขา้ ไปสาํ รวจตวั ละครอยา่ งใกลช้ ิด

2.3.7 ภาพระยะใกลม้ าก (Extreme Close-Up /ECU หรือ XCU)
เป็นภาพที่เนน้ ส่วนใดส่วนหน่ึงของร่างกาย เช่น ตา ปาก เทา้ มือ เป็นตน้ ภาพจะถูกขยายใหญ่บน
จอ เห็นรายละเอียดมาก เป็นการเพ่มิ การเล่าเร่ืองในหนงั ใหไ้ ดอ้ ารมณ์มากข้ึน เช่น ในชอ็ ตของหญิง
สาวเดินทางกลบั บา้ นคนเดียวในยามวิกาลบนถนน เราอาจใชภ้ าพ ECU ดา้ นหลงั ที่หูของเธอเพอ่ื
เป็นการบอกวา่ เธอไดย้ นิ เสียงฝีเทา้ แผว่ ๆ ที่กาํ ลงั ติดตามเธอ จากน้นั อาจใชภ้ าพระยะน้ีที่ตาของเธอ
เพือ่ แสดงความหวาดกลวั เป็นช็อตที่เราคุน้ เคยกนั แต่อยา่ งไรกต็ าม เราสามารถใชไ้ ดใ้ นความหมาย
อ่ืนๆ โดยอาศยั แสงและมุมมองเพอื่ หารูปแบบการใชใ้ หห้ ลากหลายออกไป
SPU CHONBURI

16
3.ข้ันการหลงั การผลติ (Post-Production)
การตดั ต่อลาํ ดบั ภาพ หรือเป็นข้นั ตอนการตดั ต่อเรียบเรียงภาพและเสียงเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั ตาม
บทวีดิทศั นห์ รือเน้ือหาของเรื่อง ข้นั ตอนน้ีจะมีการใส่กราฟิ กทาํ เทคนิคพเิ ศษภาพ การแต่งภาพการ
ยอ้ มสี การเชื่อมต่อภาพ/ฉาก ซ่ึงการทาํ งานในส่วนน้ี จะใชโ้ ปรแกรม Premiere Pro CC
เป็นเครื่องมือในการทาํ งาน อาจมีการบนั ทึกเสียงในหอ้ งบนั ทึกเสียงใส่เสียงพดู ซาวนดบ์ รรยากาศ
ต่างๆ เพ่มิ เติม อื่นๆ อาจมีการนาํ ดนตรีมาประกอบเรื่องราวเพ่อื เพิม่ อรรธรสในการรับชมยงิ่ ข้ึน
ข้นั ตอนน้ีส่วนใหญ่จะดาํ เนินการอยใู่ นหอ้ งตดั ต่อแต่มีขอ้ จาํ กดั หลายอยา่ งเช่น การเพม่ิ เทคนิคพเิ ศษ
ต่างๆ ซ่ึงตอ้ งใชเ้ ครื่องมืออุปกรณ์ท่ีทนั สมยั และซบั ซอ้ นมากยงิ่ ข้ึนมีเฉพาะช่างเทคนิคท่ีเก่ียวขอ้ ง
และผกู้ าํ กบั เท่าน้นั (ในบางคร้ังลูกคา้ สามารถเขา้ รับชมหรือมีส่วนร่วมในการผลิต) ระยะเวลาใน
ข้นั ตอนน้ีข้ึนอยกู่ บั ระยะเวลาของบทและการบนั ทึกภาพ รวมถึงความยากง่ายและการใส่
รายละเอียดต่างๆเพม่ิ เติมของงานในแต่ละ THEME เช่น 3 วนั 7 วนั หรือมากกวา่ 15 วนั ข้ึนไป และ
การทาํ งานในส่วนน้ียงั รวมไปถึงข้นั ตอนการแปลงไฟลง์ านที่ไดต้ ดั ต่อเสร็จสิ้นแลว้ ใหก้ ลายเป็นสื่อ
ในฟอร์แมต็ ตา่ งๆ ตามท่ีเราตอ้ งการดว้ ย เช่น คลิป Mpeg-4 แผน่ DVD ฟิ ลม์ ภาพยนตร์หรือ อื่นๆ

กระบวนการการตดั ต่อวดี ทิ ศั น์

วีดิทศั นท์ ี่เรากาํ ลงั นง่ั มองน้นั จะไม่ไดถ้ ่ายทาํ แบบลากยาวต้งั แต่ตน้ จนจบแบบมว้ นเดียว
แต่จะใชก้ ารถ่ายทาํ แบบเป็นช็อตส้นั ๆหลายชอ็ ต จากน้นั จึงค่อยเอาแต่ละช็อตที่ถ่ายเอาไวม้ าเรียง
ร้อยต่อกนั ใหเ้ ป็นเร่ืองยาวอีกที กระบวนการทาํ งานตรงน้ีเรียกวา่ งาน Post Production ส่วนคนไทย
เราจะเรียกงาน Post Production ง่ายๆวา่ งานตดั ต่อ
SPU CHONBURI
Clip A Clip B Clip A+B
Final Clip

ภาพท่ี 10 ตวั อยา่ งการตดั ต่อคลิปวิดีโอ
ตวั อยา่ งเช่นถ่ายคลิปวิดีโอมา 2 ช็อต คือช็อต A และ B คราวน้ีตอ้ งการนาํ เอาท้งั 2 ชอ็ ตน้ี
มาต่อใหเ้ ป็นคลิปวดิ ีโอเร่ืองยาว เพือ่ ไปทาํ เป็นแผน่ DVD แจกจ่ายเพือ่ น หรืออพั โหลดข้ึน
YouTube กนั ต่อไป เพ่ือการน้ีเราอาจจะตอ้ งตดั เอาบางส่วนท่ีเป็นส่วนเกินของช็อต A และ B

SPU CHONBURI 17

ออกไปบา้ ง จากน้นั จึงคอ่ ยเอาคลิปท้งั 2 ช็อตน้ีมาเชื่อมเขา้ ดว้ ยกนั ใหเ้ ป็นคลิปวิดีโอเดียวกนั อาจจะ
เพิ่มเติมอะไรบางอยา่ งลงไป เช่น ตวั อกั ษรไตเติ้ล คาํ บรรยาย เพลงประกอบ ท้งั หมดท่ีไดก้ ล่าวไปน้ี
คือส่ิงที่จะเกิดข้ึนในส่ิงท่ีเราเรียกวา่ งานตดั ต่อ แต่การจะทาํ อยา่ งน้นั จาํ เป็นอยา่ งยง่ิ ท่ีตอ้ งมีเคร่ืองมือ
ในการทาํ งานที่เหมาะสม ในอดีตท่ีผา่ นมาการทาํ งานตดั ต่อไดน้ ้นั ไม่ใช่เร่ืองง่าย จาํ เป็นตอ้ งมีหอ้ ง
ตดั ต่อโดยเฉพาะ ซ่ึงภายในจะอุดมไปดว้ ยเครื่องมือต่างๆมากมาย แต่สาํ หรับทุกวนั น้ี งานตดั ต่อมนั
ง่ายกวา่ สมยั ก่อนมาก เพยี งมีเครื่องคอมพิวเตอร์ และโปรแกรมสาํ หรับงานตดั ต่อ กส็ ามารถยก
สตูดิโอไปต้งั ไวท้ ่ีบา้ นไดอ้ ยา่ งง่ายดาย มีโปรแกรมสาํ หรับงานตดั ต่อวดิ ีโอใหเ้ ลือกใชง้ านเป็น
จาํ นวนมาก ต้งั แต่โปรแกรมแจกฟรี ไปถึงโปรแกรมระดบั สตูดิโอมืออาชีพที่มากบั อปุ กรณ์ตดั ต่อ
ราคาหลกั ลา้ น ในวงการตดั ต่อไม่วา่ จะเป็นระดบั บา้ นๆหรือระดบั สตูดิโอยกั ษใ์ หญ่ รู้กนั ดีวา่
โปรแกรม Premiere Pro CC มีความยดื หยนุ่ ในการทาํ งานคอ่ นขา้ งสูง สามารถรองรับไดต้ ้งั แต่งาน
เลก็ ๆ ไปถึงงานใหญแ่ บบมืออาชีพ

ความละเอยี ดของจอภาพ

สาํ หรับขนาดของจอภาพเราจะแบ่งแยกขนาดดว้ ยคา่ ความละเอียดของภาพ (Resolution)
ซ่ึงจะใชจ้ าํ นวนของจุดภาพหรือที่เรียกวา่ พกิ เซล (Pixel) ที่ถูกแสดงบนจอเป็นตวั กาํ หนด โดยจะใช้
คา่ ของจาํ นวนจุดในแนวต้งั และแนวนอนของจอเป็นหน่วยวดั เช่น จอภาพความละเอียด 1024 x
768 คือจอน้ีจะแสดงพกิ เซลในแนวนอน จาํ นวน 1024 จุด และแนวต้งั จาํ นวน 768 จุด เพราะฉะน้นั
เมื่อภาพถูกแสดงข้ึนมาบนจอน้ีมนั จะมีจุดสีท้งั หมดถึง 786,000 พกิ เซล

จอภาพในกล่มุ จอเคร่ืองคอมพิวเตอร์ XGA (Extended Graphic Array) มีหลายมาตรฐาน เช่น

• VGA คือขนาดภาพ 640x480 พิกเซล (4:3)
• SVGA คือขนาดภาพ 800x600 พกิ เซล (4:3)
• XGA คือขนาดภาพ 1024x768 พิกเซล (4:3)
• SXGA คือขนาดภาพ 1280x1024 พิกเซล (4:3)
• SXGA+ คือขนาดภาพ 1400x1050 พกิ เซล (4:3)
• UXGA คือขนาดภาพ 1600x1200 พิกเซล (4:3)

หมายเหตุ : เลขในวงเลบ็ ดา้ นหลงั คืออตั ราส่วนระหวา่ งความกวา้ งต่อความสูงของจอภาพ

18

จอภาพในกล่มุ จอเครื่องคอมพิวเตอร์แบบจอกวา้ งหรือท่ีเรียกกนั ทวั่ ไป Wide Screen

• WVGA คือ ขนาดภาพ 840x480 พกิ เซล (16:10)SPU CHONBURI
• WXGA คือขนาดภาพ 1280x800 พิกเซล (16:10)
• WXGA+ คือขนาดภาพ 1440x900 พกิ เซล (16:10)
• WSXGA คือขนาดภาพ 1680x1050 พิกเซล (16:10)
• WUXGA คือขนาดภาพ 1920x1200 พกิ เซล (16:10)
• WXGA (HD-Ready) คือขนาดภาพ 1366x768 พกิ เซล (16:9)
• WSVGA (Full HD) คือขนาดภาพ 1920x1080 พิกเซล (16:9)

องค์ประกอบของข้นั การหลงั การผลติ (Post-Production) มีดงั นี้
1. การลาํ ดบั ภาพ หรือการตดั ต่อ (Editing) เป็นการนาํ ภาพมาตดั ต่อใหเ้ ป็นเร่ืองราวตาม
บทวีดิทศั น์ โดยใชเ้ คร่ืองตดั ต่อ หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยการตดั ต่อน้ีมี 2 ลกั ษณะ คือ

1.1 Linear Editing หรือการตดั ต่อแบบ Linear คือการตดั ต่อแบบเสน้ ตรง ขอสรุป
ง่ายๆ คือการตดั ต่อแบบโบราณ ซ่ึงปัจจุบนั เลิกใชไ้ ปแลว้ วธิ ีการตดั ต่อแบบ Linear น้ีจะตอ้ งมีเครื่อง
เล่นวิดีโออยสู่ องส่วน โดยส่วนแรกจะเป็นเครื่องสาํ หรับบนั ทึกวดิ ีโอ อีกส่วนหน่ึงจะเป็นตวั เล่น
วิดีโอ จะเรียกกนั วา่ Source วิธีการคือ จะเปิ ดเล่นวดิ ีโอในส่วนของ Source ไปทีละตวั พอเล่น
Source ตวั หน่ึงจบครบตามช่วงเวลาที่ตอ้ งการแลว้ จะเปิ ด Source ตวั อื่นต่อไป กจ็ ะเปิ ดวิดีโอ
Source ไปทีละตวั โดยสลบั ไปมาอยา่ งน้ีเรื่อยๆ ตามสตอรร่ีบอร์ดท่ีไดก้ าํ หนดไวจ้ นครบ โดยใน
ระหวา่ งเล่นน้ี เคร่ืองบนั ทึก จะบนั ทึกวดิ ีโอท่ีถูกเล่นน้นั เอาไว้ ซ่ึงจะทาํ ใหเ้ ราไดง้ านตดั ต่อที่
สมบูรณ์ออกมา

1.2 Non-Linear Editing หรือการตดั ต่อแบบ Non Linear คือการตดั ต่อแบบไม่เป็น
เสน้ ตรง อธิบายง่ายๆ เป็นการทาํ งานตดั ต่อในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โดยการตดั ต่อแบบ Non Linear น้ี
เราจะแปลงขอ้ มูลของวดิ ีโอ Source ท้งั หมดใหเ้ ป็นไฟลข์ อ้ มูลดิจิทลั แลว้ เกบ็ เอาไวใ้ นเครื่อง
คอมพิวเตอร์เสียก่อน จากน้นั จึงนาํ ไฟลเ์ หล่าน้นั เขา้ ไปตดั ต่อในโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงใน
โปรแกรมประเภทน้ีจะทาํ งานโดยอาศยั Timeline และ Layer ซ่ึงช่วยทาํ ใหเ้ ราสามารถวางคลิป
วดิ ีโอไปเรียงต่อกนั หรือลากยา้ ยตาํ แหน่งการเชื่อมต่อกนั ไดอ้ ยา่ งอิสระ สาํ หรับการทาํ งานใน
Premiere Pro CC กจ็ ะเป็นไปในลกั ษณะของ Non Linear Video Editing

2. การบนั ทกึ เสียง (Sound Recording) จะกระทาํ หลงั จากไดด้ าํ เนินการตดั ต่อภาพตาม
บทวีดิทศั นเ์ ป็นที่เรียบร้อยแลว้ จึงทาํ การบนั ทึกเสียงดนตรี เสียงบรรยาย และเสียงประกอบลงไป

19
3. การฉายเพื่อตรวจสอบ (Preview) หลงั จากตดั ต่อภาพ และบนั ทึกเสียงเรียบร้อยแลว้
จะตอ้ งนาํ มาฉายเพือ่ ตรวจสอบก่อนวา่ มีอะไรที่จะตอ้ งปรับปรุงแกไ้ ขหรือไม่

โปรแกรมทใ่ี ช้ในการตดั ต่อวดิ โี อ

หลกั ๆมีอยู่ 2 โปรแกรมที่ผศู้ ึกษานาํ มาใชใ้ นโครงงานคร้ังน้ี ไดแ้ ก่ 1.โปรแกรม Adobe
After Effect 2. โปรแกรม Adobe Premiere Pro เป็น 2 โปรแกรมที่มีการทาํ งานคลา้ ยกนั แต่กม็ ีบา้ ง
เคร่ืองมือที่อีกโปรแกรมไมส่ ามารถทาํ ได้

การใช้งานโปรแกรม Adobe Premiere Pro

ภาพท่ี 11 หนา้ ต่าง Premiere Pro
โปรแกรมสาํ หรับการสร้างงานวิดีโออยา่ งมืออาชีพ การสร้างชิ้นงานวิดีโอดว้ ยโปรแกรม
Photoshop ไปแลว้ ถา้ ไดอ้ ่านกนั มาก่อนกจ็ ะทาํ ใหเ้ ขา้ ใจการใชง้ านโปรแกรม Premiere Pro CS6 ได้
เร็วข้ึน
SPU CHONBURI

20
การเปิ ด หรือเร่ิมการสร้างชิ้นงานใหม่
เมื่อเปิ ดโปรแกรม เลือก New Project ทาํ การต้งั ชื่อ File เลือกท่ีเกบ็ File แลว้ กดป่ ุม
OK หนา้ Sequence จะแสดงข้ึนมาเพ่ือใหท้ าํ การเลือกการสร้าง Sequence ใหเ้ ลือก Sequence ท่ี
ตอ้ งการ ถา้ ไม่เลือก Sequence จะทาํ ใหไ้ มส่ ามารถลาก Video File มาท่ีส่วนของ Program Frame
ได้ จากน้นั กจ็ ะเขา้ สู่หนา้ โปรแกรม Premiere Pro ถา้ เป็นการเรียกชิ้นงานเดิมใหใ้ ชก้ ารเลือก Open
Project แทน กรณีที่ไม่ไดท้ าํ การเลือก Sequence จากส่วนน้ี สามารถเปิ ดไดใ้ นภายหลงั ขณะท่ีอยใู่ น
Project งานน้นั โดยใชเ้ มนู File New Sequence เลือก Sequence ท่ีตอ้ งการ ถา้ ไม่แน่ใจแลว้ เลือกผดิ
โปรแกรมจะปรับใหเ้ อง
การทาํ งานของโปรแกรมการสร้างวดิ โี อ Premiere Pro
คอมพวิ เตอร์ท่ีใชค้ วรจะมีปริมาณ Ram ท่ีคอ่ นขา้ งมาก และไม่ควรต่าํ กวา่ 12 GB และอีก
ส่วนท่ีสาํ คญั คือ Graphic Card ควรจะมี Ram เป็นของตวั เองอยา่ ง 1 - 2 GB
พืน้ ทก่ี ารทาํ งาน Workspace
สามารถเลือกรูปแบบ Preset ไดห้ ลายรูปแบบ หรือจะทาํ การจดั เรียงเพอ่ื ใหเ้ กิดรูปแบบท่ี
เราตอ้ งการกไ็ ดเ้ หมือนโปรแกรมทวั่ ไปในตระกลู Adobe
วธิ ีการเปิ ดใช้ Workspace
ใชเ้ มนู Windows - Workspace แลว้ เลือกรูปแบบที่ตอ้ งการ ในแถบของ Workspace จะมี
รายการ Import Workspace from Project ถา้ คลิกเลือกตวั น้ีไว้ จะเป็นการกาํ หนดใหร้ ะบบจาํ
Workspace ล่าสุดท่ีมีการใชง้ าน เม่ือเลือกรูปแบบ Workspace ไดแ้ ลว้ แต่ตอ้ งการ Panel ใด กเ็ พยี ง
คลิกส่วนหวั ของ Panel น้นั แลว้ ลากไปยงั ตาํ แหน่งที่ตอ้ งการ เม่ือลากไปที่ Frame ใด จะมีแสงสีม่วง
แสดงตาํ แหน่งท่ีจะวาง โดยสามารถแบ่งตาํ แหน่งต่างๆ ไดเ้ ป็น 5 ส่วนดว้ ยกนั คือ บน ล่าง ซา้ ย ขวา
หรือตรงกลาง Frame แต่ละส่วนของหนา้ ต่าง Workspace จะมีแถบที่สามารถคลิกแถบท่ีอยเู่ หนือ
Panel น้ีเพือ่ เลื่อนดู Panel ต่างๆ ซ่ึงรวมอยไู่ ด้
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 21
Workspace Editing
จะเป็นพ้ืนที่การทาํ งานในการสร้างชิ้นงานปกติ ซ่ึงจะประกอบดว้ ยพ้นื ที่ท้งั หมด 4 Frame
ดว้ ยกนั ประกอบดว้ ย
• Source Panel = ส่วนที่ใชแ้ สดงภาพจากส่วนของ Project Panel (ซา้ ยบน)
• Project Panel = สาํ หรับเปิ ดหา Drive / File ต่างๆ (ซา้ ยล่าง)
• Program Panel = ส่วนที่แสดงภาพของชิ้นงานในส่วนของ Sequence (ขวาบน)
• Sequence = ส่วนท่ีใชใ้ นการสร้างงานวิดีโอ (ขวาล่าง)
ในส่วนของ Frame ดา้ นล่างซา้ ย คือ Project Panel สามารถปรับ View เป็น List view หรือ Icon
View ไดด้ ว้ ยการคลิกที่ไอคอนซ่ึงอยดู่ า้ นล่างของ Frame และยงั สามารถคลิกเพื่อเลื่อนปรับแถบ
Size ท่ีอยตู่ ิดกนั เพอื่ ปรับขนาดไดด้ ว้ ย
การปรับต้งั ค่าพืน้ ฐานของโปรแกรม
สามารถปรับไดจ้ ากในส่วนของ Preference โดยการเปิ ดที่เมนู Edit - Preference และทาํ
การต้งั ปรับค่าส่วนต่างๆ ใหต้ รงกบั ความตอ้ งการ สาํ หรับการต้งั คา่ น้ีจะเขียนเพยี งบางส่วนเท่าน้นั
เช่น General = ควรปรับต้งั ค่าที่ส่วนของ Video Transition กบั Audio Transition
Appearance = ใชใ้ นการปรับคา่ ความสวา่ งของโปรแกรม
Auto Save = ใชใ้ นการปรับต้งั การบนั ทึกชิ้นงานแบบอตั โนมตั ิ
การเปิ ดภาพ และสํารวจพืน้ ทโี่ ปรแกรม
เม่ือไดก้ าํ หนด Workspace แลว้ กพ็ ร้อมท่ีจะเริ่มชิ้นงาน การสร้างงานวิดีโอกจ็ ะมีการเปิ ด
ภาพ ซ่ึงเปิ ดไดจ้ ากในส่วนของ Media Browser Panel ส่วนน้ีจะเหมือนกบั ในส่วนของ Explorer
เพอื่ ใชใ้ นการเลือก Disk Drive และ File ต่างๆ

ภาพที่ 12 พ้นื ท่ีสาํ รวจโปรแกรม

SPU CHONBURI 22
การ Import Video File and Folder
สิ่งสาํ คญั จะตอ้ งบนั ทึก File จากเครื่องถ่ายวดิ ีโอมาเกบ็ ไวท้ ี่ Hard Disk ของคอมพิวเตอร์
ก่อน จากน้นั ดบั เบิ้ลคลิกที่ Project Panel หรือใชเ้ มนู File Import หรือคลิกเลือกที่ Media Browser
Panel จากที่เกบ็ File ในคอมพวิ เตอร์ การทาํ ท้งั หมดน้ีกเ็ พอ่ื เปิ ดหนา้ Explorer จากน้นั เมื่อดบั เบิ้ล
คลิกท่ี File ในส่วนของ Project Panel กจ็ ะแสดงข้ึนมาในส่วนของ Source Panel
การเปิ ด File ให้แสดงในส่วนของ Source Panel
ทาํ ไดโ้ ดยการคลิก File จากส่วนของ Project Panel หรือจะทาํ การลาก File เขา้ ไปยงั พ้ืนท่ี
ของ Source Panel โดยตรงกไ็ ด้ ถา้ ตอ้ งการดู File ท่ีอยใู่ น Folder วา่ มี File อะไรบา้ ง ใหก้ ดป่ ุม Ctrl
แลว้ คลิกที่ Folder น้นั กจ็ ะแสดงทุก File ข้ึนมา ถา้ เป็น Video File สามารถนาํ เมาส์ Hover เขา้ ไปที่
Video Thumbnail กจ็ ะเห็นภาพวดิ ีโอเคล่ือนไหวตามการลากเมาส์ไปดว้ ย และสามารถเลือก
ประเภท File โดยการพิมพใ์ นช่อง Search เพอ่ื เลือก File ไดด้ ว้ ย
การเปลย่ี นชื่อ File ในส่วนของ Project Panel
ทาํ ไดโ้ ดยการคลิกท่ีแถบช่ือแลว้ พิมพเ์ ปล่ียน ถา้ ตอ้ งการเพิ่ม Sequence กเ็ พียงคลิกช่ือ
หรือไอคอนของ File น้นั มาที่ New Item ซ่ึงเป็นไอคอนท่ีอยสู่ ่วนล่างของ Panel น้ี จากน้นั ก็
สามารถลาก Sequence ใหม่น้ีเขา้ ไปในส่วนของ Timeline ได้ สามารถกาํ หนดใหแ้ สดงเฉพาะ
Audio Waveform กไ็ ด้ โดยการคลิกลูกศรบนแถบ Source Panel เลือกเป็น Audio Waveform แทน
Composite Video
การนํา File Video เข้าสู่ส่วนของ Program Frame (Sequence)
เพยี งคลิกลากจากส่วนของ Source มาท่ีส่วนของ Program หรือจะลากมาท่ีส่วนของ
Timeline กไ็ ดเ้ ช่นกนั
การจับภาพจากวดิ โี อ Capture Video Screen
ข้นั แรกจะตอ้ งเลือกประเภทการ Capture จากหนา้ New Project วา่ จะจบั ภาพแบบ DV
หรือ HDV ส่วนมากแลว้ จะเลือกเป็น DV เลือก Location ท่ีจะเกบ็ Capture File และทาํ การต้งั ชื่อ
Project ดว้ ย จากน้นั เลือก Sequence ใหเ้ ป็น DV เช่นกนั จากน้นั โดยการใชเ้ มนู File - Capture
หนา้ ต่าง Capture เปิ ดข้ึนมา ภาพท่ีไดจ้ ากการจบั ภาพจะมีนามสกลุ เป็น DV การทาํ เช่นน้ีจะตอ้ งมี
กลอ้ งวดิ ีโอต่อกบั คอมพิวเตอร์ก่อน เริ่มการ Capture โดยใหก้ ดป่ ุม Rewind วิดีโอกลบั ไปใหอ้ ยใู่ น
ส่วนตน้ จากน้นั ต้งั ชื่อในแถบของ Clip Data โดยต้งั ช่ือในส่วนของ Tape Name และ Clip Name
แลว้ กดป่ ุม Tape ในแถบของ Capture เพือ่ เริ่มการ Capture เม่ือ Capture เสร็จแลว้ โปรแกรมกจ็ ะ
หยดุ การ Capture แลว้ จะกลบั ไปสู่หนา้ ปกติของโปรแกรม

SPU CHONBURI 23

ภาพท่ี 13 Capture Video Screen
การใช้คาํ ส่ัง Undo
สามารถใชค้ ียล์ ดั Ctrl + Z ไดก้ ่ีคร้ังกไ็ ดใ้ นการถอยกลบั การทาํ งานน้นั
การ Link File เนื่องจากเปลยี่ นทเี่ กบ็ File ต่างๆ
การสร้างชิ้นงานวดิ ีโอ ซ่ึงประกอบดว้ ย Video / Audio / Image Files ซ่ึงได้ Import จาก
Computer ถา้ มีการเปล่ียนท่ีเกบ็ File แลว้ ทาํ การ Open Project โปรแกรมจะไม่สามารถเปิ ด File
ต่างๆ เขา้ มาใน Project ไดแ้ ละจะมีหนา้ ต่างเปิ ดข้ึนมาถามวา่ File ต่างๆ เหล่าน้นั อยทู่ ่ีไหน เพ่ือให้
ทาํ การเลือกใหม่ ถา้ ตอ้ งการเลือกใหม่กค็ ลิกท่ี File น้นั แลว้ คลิกแถบ Select แต่ถา้ คลิกแถบ Cancel
แทน กจ็ ะเขา้ ไปสู่หนา้ โปรแกรมและท่ีแถบ File ในส่วนของ Project จะแสดงเครื่องหมาย Question
Mark ใหเ้ ห็น
ดงั น้นั จะตอ้ งการทาํ การ Link File เพอ่ื เช่ือมท่ีเกบ็ File ใหม่ใหก้ บั โปรแกรม โดยการ
Link File ทาํ ไดโ้ ดยคลิกที่ Track น้นั แลว้ คลิกขวา เลือก Link Media ถา้ ตอ้ งการ Link ทุก File ใน
คร้ังเดียว ใหค้ ลิกเลือกทุก Track ก่อน หนา้ ต่าง Link Media จะเปิ ดข้นึ มาเพื่อใหท้ าํ การเลือก File
ต่างๆ และหนา้ ต่างน้ีจะหา File ท่ีมีชื่อใกลเ้ คียงกนั เพื่อ Link File ใด จากหนา้ ต่างน้ี ถา้ คลิกเลือกช่อง
Display Only Exact Name Matches จะเป็นคาํ สง่ั ใหโ้ ปรแกรมหาช่ือ File ที่เหมือนกนั เท่าน้นั
แถบต่างท่ีแสดงบนหนา้ ต่างน้ี Skip and Skip All = จะปิ ดหนา้ ต่างแลว้ เขา้ สู่โปรแกรม พร้อมแสดง
เคร่ืองหมาย Question mark ท่ีแถบน้นั Offline and Offline All = หมายถึงไม่ตอ้ งคน้ หา File เพราะ
ไม่มี และไม่ตอ้ งการที่จะ Link กบั File น้นั ๆ

SPU CHONBURI 24
Source Panel ประกอบด้วยส่วนต่างๆ
• ตวั เลขดา้ นล่างขวา คือ เวลารวมของวดิ ีโอ
• ตวั เลขดา้ นล่างซา้ ย คือ เวลาท่ี Play Head ต้งั อยทู่ ่ีส่วนน้นั
• Setting ไอคอนรูปเคร่ืองมือ ใชส้ าํ หรับกาํ หนดคา่ ต่างๆ
การกาํ หนดคยี ์ลดั Keyboard Shortcut
โดยการใชเ้ มนู Edit - Keyboard Shortcut จากน้นั กป็ รับแต่งตามตอ้ งการ โดยการเพม่ิ ลบ
หรือ แกไ้ ข

ภาพท่ี 14 Keyboard Shortcut
คยี ์ลดั สําหรับป่ ุมต่าง ของ Source Panel ทใี่ ช้บ่อย
I = Mark In
O = Mark Out
Shift I = Go to In
Shift O = Go to Out
Play and Stop = Spacebar
Insert = Comma ,
Overwrite = Period .
J = Play Reverse
K = Shuttle Stop
L = Play Forward

ภาพที่ 15 Source Panel

25
การเพิม่ ป่ ุมในส่วนของ Program and Source Workspace ถา้ ตอ้ งการเพิ่มป่ ุมต่างๆ
สามารถกดท่ีเคร่ืองหมาย + (Add Button) กจ็ ะมีหนา้ ต่างๆ Button Editor แสดงข้ึนมาเพือ่ ใหเ้ ลือก
ป่ ุมเพม่ิ เติม จากน้นั ใหค้ ลิกป่ มุ ที่ไม่ตอ้ งการออกมานอกกรอบสีเหลือง ส่วนป่ ุมไหนท่ีตอ้ งการเพิ่มก็
ลากเขา้ มาในกรอบตรงสีเหลือก ตรงตาํ แหน่งท่ีตอ้ งการวาง สามารถลากตวั คนั่ เขา้ มาดว้ ยเช่นกนั ใส่
ไดม้ ากกวา่ หน่ึงบรรทดั เสร็จแลว้ ก็ OK (ป่ ุมพวกน้ีเรียกวา่ Transport Control)

ภาพท่ี 16 หนา้ ต่าง Button Editor
การกาํ หนด In and Out Point
การเลือกช่วงวดิ ีโอ โดยการกาํ หนด In and Out Point โดยการกดป่ ุม Make In { I } หรือ
Make Out { O } เพือ่ ใหแ้ สดงบนแถบ Time or Frame เม่ือกาํ หนดแลว้ แถบเวลาท่ีอยดู่ า้ นขวาจะ
แสดงเป็นส่วนท่ีอยใู่ นช่วงของ In and Out Point เท่าน้นั ในส่วนของ Source Panel แลว้ กดป่ ุม
Insert ถา้ กดป่ ุม Go to In and Go to Out จะเป็นคาํ สง่ั ให้ Play Head ว่งิ ไปยงั ส่วนของ In and Out ท่ี
กาํ หนดไว้ ถา้ ตอ้ งการลบ In and Out Point ใหค้ ลิกขวาท่ีแถบน้นั แลว้ เลือก Clear In and Out หรือ
จะเลือกเพอ่ื เคลียส่วนเดียวกไ็ ด้

ภาพท่ี 17 หนา้ ต่าง In and Out Point
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 26
การกาํ หนด Video Speed
ขณะท่ี Play ถา้ กดป่ ุม Step Forward จะทาํ ใหเ้ ป็นเร่งความเร็ว กดแต่ละคร้ังกจ็ ะเป็นการ
เพิ่มความเร็วมากข้ึน รวมท้งั ดา้ น Step Back ถา้ ตอ้ งการลกั ษณะ Slow Motion ใหก้ ดป่ ุม K คา้ งไว้
แลว้ กดป่ ุม J หรือ K
การ Insert In and Out Video to Timeline
เพยี งคลิกป่ ุม Insert หรือคลิกท่ีภาพจากส่วนของ Source Panel แลว้ ลากเขา้ มา แต่ถา้
ตอ้ งการใหว้ ิดีโอน้นั แสดงส่วนไหนในเขต Timeline กใ็ หน้ าํ Play Head ไปวางไวน้ ้นั สามารถเลือก
ลากเฉพาะ Video or Audio Track ไดโ้ ดยการคลิกลากเฉพาะไอคอนรูปฟิ ลม์ บนวิดีโอ Track และ
ไอคอน Waveform บน Audio Track ซ่ึงใชส้ าํ หรับการดึงเพยี งอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงเขา้ ในพ้ืนท่ี
Timeline ถา้ Insert เขา้ มาแลว้ มีกรอบแสดงวา่ Video Clip ท่ีใส่เขา้ มามี Sequence ไม่ตรงกบั ค่า
Sequence ของชิ้นงาน กใ็ หค้ ลิก Change เพอ่ื ใหร้ ะบบปรับใหต้ รงกนั
การจัดการส่วนของ Timeline
• กดป่ ุม + หรือ - เพอ่ื ใชส้ าํ หรับการซูมเขา้ ออกในแถบ Timeline แต่การทาํ แบบน้ีได้

ตอ้ งทาํ การ Maximize พ้ืนท่ีของ Timeline ก่อน หรือจะเลื่อนที่ส่วนหวั ของแถบ
ดา้ นล่างกไ็ ด้ (หา้ มใชเ้ ครื่องหมายในส่วนของ Numeric เพราะจะเป็นการเพ่มิ หรือ
ลด ตาํ แหน่งของ Play Head)
• ถา้ กดป่ ุม Backspace Slash \ จะใชส้ าํ หรับสง่ั ใหเ้ ห็นแถบของ Track ท่ีอยใู่ นส่วนของ
Timeline ท้งั แถบ
• การเล่ือน Track จะเลื่อนท้งั Video and Audio Tracks ไปดว้ ยกนั
• ถา้ เลือน Track ไปวางซอ้ นบน Track อื่น จะทาํ ให้ Track ท่ีถูกวางซอ้ นน้นั ถูกตดั ออก
ซ่ึงไม่ควรทาํ
• กดป่ ุม Ctrl และป่ ุม Alt พร้อมกนั เม่ือใชร้ ่วมกบั การเลื่อน Track และเมื่อนาํ ไปวาง
ซอ้ น Track อื่นจะทาํ ให้ Track ที่วางอยกู่ ่อนเลื่อนไป และไม่ถูกตดั ระหวา่ ง Track
• กดป่ ุม Alt + Delete คือการลบ Track แลว้ ทาํ ให้ Track ถดั ไปเลื่อนมาแทนท่ี หรือ
คลิกขวา Track ที่ตอ้ งการลบแลว้ เลือก Ripple Delete กไ็ ดต้ อ้ งการใส่วิดีโอไวท้ ี่
Track ไหนใหค้ ลิกแถบของ Track น้นั ก่อน
• กดป่ ุม Alt + แลว้ สามารถเลือกคลิกที่ Video or Audio Track เพอ่ื Delete เพียง Track
เดียว
• ตวั เลขสีเหลือที่อยดู่ า้ นบนซา้ ย สามารถใชเ้ มาส์ช้ีท่ีตวั เลขจะเห็นเคร่ืองหมายลูกศร
สองดา้ น ใชส้ าํ หรับคลิกแลว้ เลื่อนเปล่ียนตวั เลขตาํ แหน่งของ Play Head ได้

SPU CHONBURI 27

• ใชเ้ มาส์คลิกที่ Track ใดคา้ งไว้ สามารถเล่ือนตาํ แหน่ง Track ได้
• กดไอคอน Snap (รูปแม่เหลก็ ) ซ่ึงอยบู่ นแถบของ Timeline เมื่อเลื่อน Track จะทาํ ให้

เกิดการ Snap กบั Track อื่น
• การเลื่อน Track ในส่วนของ Timeline จะทาํ ใหเ้ กิดช่องวา่ ง สามารถลบช่องวา่ งโดย

การคลิกขวาท่ีช่องวา่ งแลว้ เลือก Ripple Delete หรือจะใชเ้ ครื่องมือ Ripple Tool กไ็ ด้
• พ้นื ที่ของ Timeline จะแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนของ Video และส่วนของ

Audio
• ถา้ ดบั เบิ้ลคลิก Track ท่ีอยใู่ น Timeline จะเป็นการทาํ ใหภ้ าพเปิ ดข้นึ มาที่ส่วนของ

Source เช่นกนั การทาํ เช่นน่ีเพ่ือตอ้ งการปรับแต่ง In and Out Point สาํ หรับ Track ที่
อยใู่ นส่วนของ Timeline แลว้ หรือจะใชค้ ยี ล์ ดั โดยการกด F (Frame) กไ็ ด้
• การ Lock Track ทาํ โดยการคลิกท่ีช่องวา่ งก่อนหนา้ ชื่อ Track เพ่ือป้องกนั การบงั เอิญ
ต่างๆ ที่จะกระทบกบั Track
• สามารถลากคลุม Track ต่างๆ แลว้ กดป่ ุม Delete ได้ เม่ืออยใู่ นเครื่องมือ Selection
Tool
• สามารถเล่ือน Track ท่ีอยใู่ นส่วนของ Timeline เพือ่ เปล่ียนการวางตาํ แหน่ง Track
ไปยงั ส่วนของ Track อื่นไดเ้ ลย
• การ Duplicate Track ทาํ ไดโ้ ดยการกดป่ ุม Alt + คลิกท่ี Track แลว้ ดึงออกมา
• เสน้ ท่ีแสดงบนส่วนของ Video and Audio Clip ใชส้ าํ หรับปรับค่าต่างๆ โดยจะตอ้ ง
คลิกท่ีลูกศรบนตวั ของ Clip เพือ่ เปิ ดรายการท่ีจะทาํ การปรับแต่ง
• แถบซ่ึงอยใู่ ตแ้ ถบเวลา เรียกวา่ แถบ Work Area สามารถเปิ ด หรือปิ ดการแสดงได้
จากการคลิกเลือกป่ ุมลูกศรบนแถบ Timeline แลว้ เลือกคลิกเลือก Work Area Bar
• ป่ ุม Insert สาํ หรับการแทรกวิดีโอ แต่ถา้ เป็นป่ ุม Overwrite จะเป็นการแทรกแบบทบั
วดิ ีโอท่ีอยหู่ ลงั Play Head
• ถา้ มีการกาํ หนด In and Out Point เกินกวา่ แถบ Timeline (เวลารวม) แลว้ นาํ วดิ ีโอเขา้
มาเพิ่ม จะมีหนา้ ต่าง Fit Clip แสดงข้ึนมาเพอื่ ใหเ้ ลือกวา่ จะกาํ หนดอยา่ งไร

SPU CHONBURI 28
ภาพที่ 18 หนา้ ต่าง Fit Clip
การใช้เคร่ืองมือต่างๆ
ภาพท่ี 19 แถบเคร่ืองมือ
Selection Tool = สาํ หรับคลิกเล่ือน Track
Track Select Tool = ใชส้ าํ หรับคลิกที่ตวั Clip ไม่วา่ ใน Track จะมีก่ี Clip และติดกนั
หรือไม่กต็ าม เพยี งการคลิกคร้ังเดียว จะทาํ ใหส้ ามารถเลือกไดท้ ุก Clip จากน้นั เลื่อน ทุก Clip กจ็ ะ
เลื่อนจากไปดว้ ยกนั ท้งั หมด สามารถกดป่ ุม Shift เพ่อื ทาํ การเลือก Clip อื่นๆ ที่อยใู่ นส่วนของ
Timeline ไดด้ ว้ ย
Ripple Tool = เม่ือลดหรือเพมิ่ Track จะทาํ การ Ripple ที่วา่ งใหเ้ ลย
Rolling Edit Tool = ใชส้ าํ หรับปรับความยาวของ Track ท่ีติดกนั ใหอ้ นั หน่ึงยาวอีกอนั ก็
จะลดลง โดยการลากระหวา่ งกลางของ Track ท้งั สอง หรือทาํ โดยการคลิกแลว้ กด E กไ็ ด้ แต่ตอ้ ง
เล่ือน Play Head ไปตาํ แหน่งน้นั ก่อน ขณะท่ีอยใู่ นเคร่ืองมือน้ี
Rate stretch Tool = ใชส้ าํ หรับการเพม่ิ หรือลด Speed โดยการยดื หรือหด Stack

29
Razor Tool = ใชส้ าํ หรับตดั Track
Slip Tool = สาํ หรับเล่ือนปรับเวลาใน Track
Slide Tool = สาํ หรับเล่ือน Track แต่ไม่ทาํ ให้ Track ท่ีถูกทบั หายไปหมด จะหายเฉพาะ
ส่วนที่ถูกทบั และไม่ทาํ ใหเ้ กิดช่องวา่ งในส่วนท่ีถูกเล่ือนดว้ ย
Pen Tool = ใชส้ าํ หรับคลิกที่เสน้ Volume เพ่อื กาํ หนดจุดในการปรับแตง่ เมื่อไดจ้ ุดแลว้
สามารถคลิกเลื่อนจุด โดยใช้ Selection Tool
Hand Tool = สาํ หรับคลิก Track ในส่วนของ Timeline แลว้ เลื่อนไปมา ทาง ซา้ ย หรือ
ขวา เป็นการเล่ือนท้งั พ้ืนท่ีทาํ งาน
Zoom Tool = ใชส้ าํ หรับการซูมขยาย Clip ทาํ โดยการลากคลุมส่วนท่ีตอ้ งการขยาย
(Zoom In) ถา้ ตอ้ งการ
Zoom Out ใหก้ ดป่ ุม Alt คา้ งไว้ แลว้ คลิกลงในพ้ืนท่ีของ Timeline คลิกแต่ละคร้ังกจ็ ะทาํ
การ Zoom Out ไปเรื่อยๆ
การเพม่ิ ลบ และเปลยี่ นชื่อ Video and Audio Track
ใหท้ าํ การลากมาไวท้ ่ี Track เดียวกนั แต่ถา้ ไวท้ ่ีตาํ แหน่ง Track ดา้ นบนกวา่ Track
ปัจจุบนั เวลาเปิ ดวดิ ีโอ จะทาํ ใหเ้ ห็น Track ภาพของ Track ท่ีอยดู่ า้ นบนแสดงทบั Track ดา้ นล่าง

ภาพที่ 20 การเพม่ิ และลบ Track
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 30
จาํ นวน Default Track สาํ หรับ Video and Audio Track จะมีอยา่ งละสาม ถา้ มีการเพิ่ม
Video or Audio Track เขา้ ไปเกินจาก Default โปรแกรมจะเพิ่ม Track ข้ึนมาใหเ้ อง หรือจะเพิ่มโดย
การคลิกขวาที่แต่ละ Track แลว้ เลือก Add / Delete / Rename กไ็ ดเ้ ช่นกนั หรือจะใชเ้ มนู Sequence -
Add Track - Delete Track กไ็ ด้ Track and Tracks จะตา่ งกนั ถา้ เลือก Track จะไม่มี หนา้ ต่าง Add
หรือ Delete แสดงข้ึนมาเพ่อื ต้งั คา่ และจะเป็นการทาํ เฉพาะ Track เดียวเท่าน้นั การกาํ หนด In and
Out ในส่วนของ Timeline จะทาํ ใหก้ ารเพม่ิ Track สามารถกาํ หนดการวางได้ อยา่ งแน่นอน
สามารถที่จะกาํ หนด In and Out Point โดยการคลิกที่ไอคอนวดิ ีโอจากในส่วนของ Project Panel
แลว้ ลากมาที่ส่วนของ Program Panel ไดเ้ ช่นกนั
การ Deactivate Video and Audio Track
ถา้ ตอ้ งการเพิม่ วดิ ีโอเขา้ มาใน Timeline โดยการเพม่ิ ตอ้ งการเพิ่มใน Track อื่น วธิ ีทาํ โดย
ใหค้ ลิก Track ที่ตอ้ งการวางจะเกิดสีเทาบน Track ท่ีคลิก และคลิกแถบสีของ Track ท่ีไม่ตอ้ งการ
ใหก้ ระทบออก จากน้นั ใหท้ าํ การคลิกลาก Video or Audio Track จากส่วนของ Source เขา้ ไปใน
ส่วนของ Program นอกจากน้ียงั สามารถที่จะกาํ หนดวา่ จะใส่เฉพาะ Track Video or Audio กไ็ ดโ้ ดย
การคลิกเลือกเฉพาะแถบของ Track น้นั ใหเ้ กิดสีเทา คา่ Default สาํ หรับ Audio จะมีแถบสีเทาโดย
อตั โนมตั ิท้งั สาม Track แต่ Video มีเฉพาะ Track ที่ใชเ้ ท่าน้นั
การ Replace Track
ทาํ ไดโ้ ดยการเลือก In and Out ในส่วนของ Source แลว้ มาคลิกที่ Track ในส่วนของ
Timeline ท่ีตอ้ งการนาํ มา Replace จากน้นั คลิกขวาเลือกวิธีการ Replace หรือกดป่ ุม Alt คา้ งไวแ้ ลว้
ลากเขา้ มากไ็ ด้
การ Un Link Track
ทาํ ไดโ้ ดยการคลิกขวาที่ Track น้นั แลว้ เลือก Un Link จะทาํ ใหส้ ามารถคลิกเลือก Video
or Audio แลว้ Delete อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงได้ ถา้ ตอ้ งการทาํ Temporally Unlink ใหก้ ดป่ ุม Alt + คลิก
แลว้ ลากออกไปใหเ้ กินขนาดของกนั และกนั หมายถึงระหวา่ งความยาวของ Video and Audio
สงั เกตไดว้ า่ File ไหนท่ีมีการ Link จะมีเสน้ ขีดที่ชื่อของ Track น้นั เหมือนกบั การทาํ Link ทว่ั ไป
การใช้เครื่องมือ Ripple and Roll Edit
• Ripple Tool = เมื่อทาํ การ Trim เพ่อื ลด หรือเพิ่ม Track จะทาํ การ Ripple ที่วา่ งใหเ้ ลย

หมายถึง Track น้นั จะวง่ิ มาติดกนั เอง เมื่อคลิกเลือกเคร่ืองมือน้ี แลว้ นาํ ไปตรงส่วนที่
จะทาํ การ Trim Track เคร่ืองหมายการ Trim จะเปล่ียนจากสีแดง เป็น สีเหลือง

31
• Rolling Edit Tool = ใชส้ าํ หรับปรับความยาวของ Track ท่ีติดกนั เมื่ออยใู่ นเครื่องมือ

น้ีแลว้ คลิกระหวา่ งกลางของแต่ละ Track แลว้ ทาํ การลาก จะเห็นภาพของ Track ท้งั
สองแสดงข้ึนมาในส่วนของ Program และจะทาํ ให้ Track อนั หน่ึงเพิ่ม อีกอนั กจ็ ะ
ลดลงพร้อมกนั หรือทาํ โดยเล่ือน Play Head ไปยงั ส่วนของวิดีโอท่ีตอ้ งการลด หรือ
เพิ่มก่อนโดยดูจากภาพในส่วนของ Program แลว้ กด E (Extend) กจ็ ะทาํ ใหไ้ ด้ Track
อีกอนั เลื่อนมาท่ีตาํ แหน่งน้นั เลย
การใช้เคร่ืองมือ Slip and Slice Edit
• Slip Tool = สาํ หรับเลื่อนปรับเวลาใน Track สาํ หรับการแสดงภาพใหม่เท่าน้นั จะไม่
ทาํ ใหช้ ่วงความยาวของ Track เปล่ียนไป สามารถนาํ มาคลิกที่แถบ In and Out Point
ในส่วนของ Source ลกั ษณะการทาํ กจ็ ะเหมือนกบั การคลิกที่ Track ในส่วนของ
Timeline เช่นกนั
• Slide Tool = สาํ หรับเล่ือน Track แต่ไม่ทาํ ให้ Track ที่ถูกทบั หายไปหมด จะหาย
เฉพาะส่วนที่ถูกทบั ที่เหล่ือมกนั เท่าน้นั และไม่ทาํ ใหเ้ กิดช่องวา่ งในส่วนที่ถูกเลื่อน
ดว้ ย โดยดูภาพไดจ้ ากส่วนของ Program
การสร้าง Sub Clip
ทาํ ไดโ้ ดยการเลือก In and Out Point จากส่วนของ Source Panel แลว้ คลิกเมนู Clip -
Make Sub Clip ทาํ การต้งั ช่ือ แลว้ กดป่ ุม OK แถบของ Sub Clip จะแสดงข้ึนในส่วนของ Project
Panel การทาํ เช่นน้ีเพื่อเป็นการแบ่งวิดีโอที่มีความยาว เช่น คอนเสิร์ต ทาํ เพอื่ แบ่งแตล่ ะเพลงใน
คอนเสิร์ต เพอื่ จะไดท้ าํ การปรับแต่งไดส้ ะดวก
การเปิ ด - เ ปิ ด Isolate Video and Audio Track
ทาํ โดยการคลิกท่ีไอคอนรูปตาสาํ หรับ Video Track และ ไอคอนลาํ โพงสาํ หรับ Audio
Track ถา้ ตอ้ งการปิ ดทุก Track ใหก้ ดป่ ุม Shift แลว้ คลิก Track สุดทา้ ยท่ีตอ้ งการใหเ้ กิดคาํ สง่ั เลือก
ทุก Track กรณีท่ีใน Track น้นั มีชิ้นงานหลายชิ้น แลว้ ตอ้ งการเปิ ด หรือ ปิ ดเพียงบางชิ้น หลงั จากท่ี
ปิ ดตา หรือลาํ โพงแลว้ ใหท้ าํ การคลิกขวาที่ Track ที่ตอ้ งการเปิ ด หรือ ปิ ด โดยเฉพาะ แลว้ คลิก
Enable เพอื่ เปิ ด หรือนาํ ออก เพื่อปิ ด หรือจะกาํ หนดในกลบั กนั ระหวา่ งการเปิ ดตาไว้ แลว้ มา
กาํ หนดในส่วนน้ีในทางตรงกนั ขา้ มกบั ส่วนแรกกไ็ ด้
SPU CHONBURI

32
การทาํ Reveal in Project
ใชส้ าํ หรับกรณีท่ีชิ้นงานมี Track Video มาก แลว้ ตอ้ งการดูวา่ Track ที่อยใู่ นส่วนของ
Timeline น้นั คือ Track ไหนในส่วนของ Project Panel วิธีทาํ โดยการคลิก Track ในส่วนของ
Timeline แลว้ เลือก Reveal in Project
การกาํ หนด Set Display Style
โดยการคลิกท่ีไอคอนแลว้ เลือกการ Display ท่ีตอ้ งการสาํ หรับ Video and Audio Track

ภาพท่ี 21 หนา้ ต่าง Set Display Style
การทาํ Render
เป็นการลดภาระหนกั ของคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงจะเห็นไดจ้ ากแถบสีที่แสดงในส่วนของ
Timeline ซ่ึงมีท้งั หมด 3 สีดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ สีแดง เหลือง และเขียว ก่อนอื่นใหท้ าํ การเปิ ด Show
Dropped Frame Indication โดยการคลิกที่ลูกศรบนแถบ Program Panel ขณะท่ีเปิ ด Play ใหส้ งั เกต
สีไฟของ Show Dropped Frame Indication บนแถบ Program Panel ถา้ มีการ Drop Frame เกิดข้ึน สี
ของไฟจะเปลี่ยนจากสีเขียว เป็นสีเหลืองซ่ึงเป็นการเตือน ท้งั น้ีข้ึนกบั การปรับ Resolution ในส่วน
ของ Program Panel ที่แถบซ่ึงต้งั อยกู่ ่อนไอคอนเครื่องมือดว้ ย วิธีทาํ Render โดยการใชเ้ มนู
Sequence - Render Effects In to Out (สาํ หรับ Render Effect) or Render In to Out (สาํ หรับทุก
อยา่ ง) Render Audio (สาํ หรับ Audio) จากน้นั ใหก้ าํ หนด In and Out เฉพาะส่วนที่ตอ้ งการทาํ
Render ในเขตของ Timeline หรือส่วนที่เกิดการ Drop Frame นน่ั เอง เมื่อกาํ หนดแลว้ กใ็ ชค้ าํ สง่ั แต่
ละรายการ หลงั จากการทาํ Render แลว้ ยงั พบวา่ เป็นสีเหลืองอีก กไ็ ม่เป็นไรเพราะระบบไดท้ าํ การ
Render เรียบร้อยแลว้ การใช้ History Panel จะอยใู่ นส่วนของ Project Panel การใชง้ านกเ็ พยี งคลิก
เลือกข้นั ตอนต่างๆ ท่ีโปรแกรมไดท้ าํ การบนั ทึกไวเ้ พ่อื ยอ้ นกลบั ไปยงั ข้นั ตอนน้นั
การใช้ Properties
ถา้ ตอ้ งการดูรายละเอียดของ File ต่างๆ ในส่วนของ Project Panel สามารถทาํ ไดโ้ ดยการ
คลิกขวาท่ีช่ือ File เลือก Properties เพือ่ ดูรายละเอียดได้
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 33
ภาพท่ี 22 หนา้ ต่าง Properties
การจัดการเกย่ี วกบั Audio File
สามารถดบั เบิ้ลคลิกเพื่อใหแ้ สดงในส่วนของ Source Panel กาํ หนด In and Out Point ได้
เหมือนกนั กบั Video File จากน้นั คลิกขวาที่ Audio File เลือก Modify - Audio Channel จะมี
หนา้ ต่าง Modify Clip แสดงข้ึนมาเพอ่ื ใชใ้ นการปรับแต่ง ซ่ึงทาํ ไดโ้ ดยการปรับเสียงที่แถบ Channel
Format จาก Mono เป็น Stereo หรือ 5.1 และอื่นๆ

ภาพท่ี 23 หนา้ ต่าง Modify Clip
การปรับระดับเสียงให้เหมาะกบั แต่ละชิ้นงาน
Audio Meter Level ใชส้ าํ หรับตรวจสอบระดบั เสียงของชิ้นงานน้นั ซ่ึงจะแสดงอยทู่ ่ี
ส่วนทา้ ยของ Timeline ระดบั เสียงแต่ Mono Stereo 5.1 คา่ ปกติควรจะอยทู่ ่ีระดบั -6 dB แต่กข็ ้ึนอยู่
กบั วา่ อยากจะใหช้ ิ้นงานน้นั มีระดบั เสียงอยทู่ ี่เท่าไร เช่น อาจจะอยทู่ ี่ระดบั -12 หรือ -16 ถา้ เห็นแถบ
สีแดงแสดงข้ึนมาแสดงวา่ ระดบั เสียงน้นั ดงั เกินไป การปรับระดบั เสียง ทาํ ไดโ้ ดยข้นั แรกใหค้ ลิกที่
ไอคอนขยาย Audio Track ก่อน แลว้ คลิกไอคอน Set Display Style บน Audio Track แลว้ เช็ควา่ ได้

34
คลิกเลือกการแสดง Show Waveform แลว้ มาคลิกที่ไอคอน Show Key Frame เพ่ือเชค็ วา่ ไดม้ ีการ
คลิกเลือกท่ี Show Clip Key Frame ดว้ ยหรือเปล่า จากน้นั จะเห็นเสน้ สีเหลืองบน Audio Track ซ่ึง
ใชส้ าํ หรับปรับระดบั Volume แลว้ คลิกลาก ถา้ คลิกแลว้ ลากข้ึนจะเป็นการเพิ่ม ถา้ ลงเป็นการลด
และลองเปิ ดดูวา่ แถบสีแดงไดห้ ายไปหรือยงั การปรับน้ีควรจะเปิ ด Play ไปดว้ ยเพ่อื จะไดย้ นิ เสียงท่ี
ปรับไปดว้ ยในขณะเดียวกนั

ภาพท่ี 24 Audio Track
การใช้เครื่องมือ Pen Tool and Selection Tool ในการปรับระดบั เสียง
ถา้ ตอ้ งการปรับระดบั Volume เฉพาะช่วง ใหใ้ ชเ้ ครื่องมือ Pen Tool กาํ หนดจุดบนเสน้
Volume แลว้ ใช้ Selection Tool ในการปรับเลื่อนจุด หรือถา้ อยใู่ นเคร่ืองมือ Selection Tool สามารถ
กดป่ ุม Ctrl คา้ งไวแ้ ลว้ คลิกบนเสน้ เพือ่ กาํ หนดจุด Key Frame จากน้นั ปล่อยป่ ุม Ctrl กจ็ ะสามารถทาํ
การคลิกแลว้ เล่ือนป่ ุม Key Frame ได้ แตถ่ า้ ตอ้ งการปรับโดยการสร้าง Anchor Point เม่ือกาํ หนดจุด
โดยการกดป่ ุม Ctrl แลว้ คลิกเพ่อื กาํ หนดจุดแลว้ ใหก้ ดป่ ุม Ctrl คา้ งไวเ้ หมือนเดิม แลว้ คลิกท่ี Key
Frame อีกคร้ัง จะเกิดการสร้าง Anchor Point เพอื่ ลากปรับแต่งของ Key Frame น้นั ได้ ถา้ กดป่ ุมเดิม
อีกคร้ังจะเป็นการลบ Anchor Point แต่เพ่อื ใหแ้ น่ใจวา่ ปรับถูกส่วน โดยต้งั ค่าดว้ ยวา่ จะปรับอะไร
จากแถบท่ีอยตู่ ิดกบั ชื่อ เพื่อทาํ การคลิกเลือกใหถ้ ูกตอ้ ง เช่น ถา้ ตอ้ งการปรับ Volume กใ็ หค้ ลิกเลือก
เป็น Volume แลว้ คลิกวา่ จะปรับ Volume ในส่วนของ Bypass หรือ Level
การปรับเสียงโดยใช้ Audio Mixer Panel
จากภาพจะเห็นแถบของ Audio แสดงตามจาํ นวน Audio Track ที่แสดงอยใู่ นส่วนของ
Timeline ถา้ ตอ้ งการปรับ Track ใดกค็ ลิกท่ี Track น้นั ซ่ึงสามารถดูไดจ้ ากชื่อของ Track ท่ีแสดงอยู่
ดา้ นล่างของแต่ละ Track
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 35

ภาพที่ 25 Audio Mixer Panel
การปรับ Audio ทาํ ไดโ้ ดยการคลิกท่ีแถบ Read เพื่อขยายแถบออกมา จะเห็นรายการ
ต่างๆ ไดแ้ ก่ Off / Read / Latch / Touch / Write จะใชแ้ ถบ Read ในการอ่าน ส่วนถา้ ตอ้ งการเปลี่ยน
จาก Read เป็น Off, Write, Latch, Touch ทาํ โดยคลิกที่แถบ Read แลว้ เลือกรูปแบบที่ตอ้ งการ แต่
รูปแบบสามส่วนน้ี Write, Latch, Touch จะปรับไดเ้ ม่ือเล่นเพลง แลว้ ทาํ การปรับ เช่นปรับเสียงกใ็ ห้
นาํ เมาส์ไปเลื่อนท่ีไอคอน Volume ไปมาเป็นตน้
การ Reset Key Frame
ทาํ ไดโ้ ดยคลิก Audio Track จากส่วนของ Timeline เพ่อื ใหแ้ สดงข้ึนมาในส่วนของ
Source Panel จากน้นั คลิกเลือกที่ Effect Control Panel แลว้ ไปคลิกไอคอน Toggle Animation ใน
แถบ Level ซ่ึงอยใู่ น fx Volume จะมีหนา้ ตา่ งแสดงข้ึนมาเตือน กใ็ หก้ ดป่ ุม OK จะทาํ ให้ Key
Frame ต่างๆ ที่ไดก้ าํ หนดไวห้ ายไป

ภาพท่ี 26 หนา้ ต่างเตือน Reset Key Frame


Click to View FlipBook Version