The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เทคนิคการถ่ายภาพบุคคลนอกสถานที่ของบริษัทชลบุรี เวดดิ้ง จำกัด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by comm, 2021-03-30 04:46:04

เทคนิคการถ่ายภาพบุคคลนอกสถานที่ของบริษัทชลบุรี เวดดิ้ง จำกัด

เทคนิคการถ่ายภาพบุคคลนอกสถานที่ของบริษัทชลบุรี เวดดิ้ง จำกัด

SPU CHONBURI 39

นอกจากน้ี สพุ จน โสตถสิ กลุ (2554, หนา 1) ยังกลา วเพมิ่ เติมวา ภาพถา ยบุคคล หรือ
Portrait Photography คือการถายภาพคน ทจี่ ะเนน ตวั แบบ (ตวั บุคคล) ในภาพนน้ั ๆใหภ าพออกมาดู
สวยงาม สรา งสรรคแ กผูท่พี บเห็นภาพ และถามีเชิงศิลปะเขามาย่งิ ทาํ ใหภาพบุคคลนน้ั สมบูรณม าก
ย่ิงขึ้น ในอดีตภาพบุคคล (Portrait) จะเกิดขึน้ จากการวาดภาพเหมอื นใบหนาบคุ คลเพื่อเปนการ
บนั ทกึ เพอ่ื ใหค นรุนหลงั ไดร บั รถู งึ ใบหนาของคนรนุ กอ น โดยจะพบเห็นตาม โบราณสถานเชน
ในปร ามิด เปน ตน ตอมาภาพวาดใบหนา บุคคลนน้ั ไดมกี ารพฒั นามาโดยตลอดใหดูเหมือนจริง
สวยงามข้นึ ภาพวาดบุคคลนัน้ มีความสาํ คัญทง้ั ในแงป ระวตั ศิ าสตรแ ละความสวยงาม ภาพบคุ คล
(Portrait) ในสมัยกอนถือเปน เร่ืองที่ใหญโ ต เพราะตอ งหาจติ รกรทีม่ คี วามสามารถและมีชือ่ เสยี งมา
วาดขึ้งตอ งเสียคาใชจ า ยท่มี รี าคาสงู เพื่อใหไ ดภ าพที่สวยงาม เหมือนจริงและยงั ตอ งใชเวลาท่นี านใน
การรอจติ รกรและเวลาในการวาดย่งิ รูปใหญย งิ่ ใชเ วลานาน

ภาพถา ยบคุ คล (Portrait) เม่ือวทิ ยาศาสตรม คี วามกา วหนาข้ึนจนมีการคดิ คนกลองถายภาพ
เลนซ และวธิ เี ก็บภาพทีถ่ า ยไวไดแ ละเกิดภาพถายบุคคล (Portrait) ขนึ้ ครง้ั แรกในป ค.ศ. 1839
หลังจากนน้ั เปน ตนมาภาพถายกไ็ ดเปนทนี่ ยิ ม และมีอยางแพรห ลายเนือ่ งมาจากภาพถายนัน้ ใชงาน
ไดสะดวกงา ยกวา การวาด และสามารถบันทกึ ภาพจากของจริง ซึ่งภาพถา ยบุคคล (Portrait) เปนที่
นยิ ม และแพรห ลายไปทว่ั โลกอยา งรวดเร็วเพราะมีความสะดวกรวดเร็วและเหมอื นจริงไมเ สียเวลา
น่งั รอจิตรกรวาดภาพเหมือนให

ภาพถายบคุ คลในประเทศไทย นาจะเรมิ่ ในสมัยของ รชั กาลที่ 3 แตม ีชา งภาพบุคคลเปน
ชา งภาพหลวงในสมยั รชั กาลที่ 4 และ 5 นอกจากเปน ชา งภาพหลวงแลว ยังไดมีการเปด รับถายภาพ
บุคคลโดยท่รี านถายภาพ หรอื สตูดโิ อ นบั เปน รา นรับถายภาพรา นแรกของเมอื งไทย จากการวาด
ภาพเหมอื นบคุ คลจนมกี ารพัฒนาการมาเปนภาพถายบคุ คลท่เี ปน ที่นิยม อยา ง รวดเรว็ เน่อื งมาจาก
ความสําคัญของภาพบุคคล ท่สี ามารถใชแ ทนนยั ยะตา งๆ ไดหลายๆอยา งตง้ั แตค วามเจรญิ ของ
บา นเมอื ง หรอื ใหเหน็ ฐานะและความมง่ั คงั่ ความสวยงาม เปน ตน (สุพจน โสตถิสกลุ , 2554, หนา
2)

3.1 ประเภทของการถายภาพบคุ คล (ณิชากร เพยี รวิชา, 2554, หนา 1)
3.1.1 Amateur Portrait คือการถา ยภาพบุคคลในลักษณะที่ไมเ ปน ทางการ มกั จะ

เปนในกลมุ ของญาติพีน่ อ งหรือเพอื่ นฝงู
3.1.2 Editorial Portrait คอื การถายภาพบุคคลท่ีมจี ุดประสงคในการนําไปตพี ิมพ

ประกอบบทความในหนงั สอื วารสาร หรือสิง่ พมิ พอื่นๆ
3.1.3 Fashion Portrait คอื การถา ยภาพบุคคลท่ีมีจดุ ประสงคในการนาํ เสนอเสือ้ ผา

เครื่องแตงกาย หรอื เคร่อื งประดับบนตวั แบบ การถายภาพแบบนจี้ ะตางจากการถา ยภาพบุคคลแบบ

SPU CHONBURI 40
อ่ืนๆ ตรงท่จี ะไมเนนความสําคญั ไปที่ตัวแบบ แตจ ะเนน ไปที่เสอื้ ผา เคร่ืองแตงกาย หรือเครอ่ี ง
ประดับท่ีตองการนาํ เสนอ

3.1.4 Studio Portrait คอื การถายภาพบุคคลทจ่ี ดั ข้ึนภายในสตูดิโอ โดยมกี าร
ควบคมุ แสงและสง่ิ แวดลอ มเปนอยางดี

3.1.5 Location Portrait คอื การถายภาพบุคคลทจ่ี ัดขนึ้ แบบ Outdoor
3.1.6 Environmental Portrait คอื การถายภาพบคุ คลท่โี ดยมากจะจดั ขึ้นแบบ
Outdoor แตจ ะมลี ักษณะพเิ ศษตรงท่ีในการถา ยภาพแบบนี้ ส่งิ แวดลอม หรอื สถานทที่ ่ีจัดการ
ถายภาพจะมสี ว นสาํ คญั ในการนาํ เสนอตวั แบบ
3.2 รปู แบบการถา ยภาพบคุ คล
3.2.1 Full Shot หรือภาพเต็มตวั
การถายภาพลกั ษณะนีจ้ ะเปน การถายภาพบุคคลทง้ั ตวั ใหอยภู ายในเฟรม ภาพถา ย
ในลกั ษณะนีน้ นั้ จะตองการส่ือถึงบรรยากาศรอบขา งของบคุ คลทใี่ ชเ ปน แบบ หรือกจิ กรรมทบ่ี คุ คลท่ี
ใชเ ปนแบบนน้ั กระทําอยู โดยทัง้ นีต้ องการส่อื ใหเ หน็ ทั้งตัว ใหทดลองถายภาพลกั ษณะน้ีดว ยการ
เหลอื ที่วางสักเล็กนอ ยไวว างดานบนเหนือหวั ของแบบและทางดานลางใตเทา ของแบบ (Canon,
2014)

ภาพที่ 57 การถา ยภาพเตม็ ตวั
3.2.2 Waist Shot หรอื ภาพครึง่ ตัว
ภายถายในลกั ษณะน้ีนนั้ จะแสดงภาพของบคุ คลที่ใชเ ปน แบบตง้ั แตเ อวขนึ้ ไป และ
มจี ดุ เดน ในเร่อื งของการแสดงใหเหน็ ถึงอารมณค วามรสู กึ และการแสดงออกทางใบหนาของแบบ
พรอมทงั้ แสดงสภาพแวดลอ มในการถายภาพสกั เลก็ นอยไปพรอมกนั ใหทดลองทาํ การถายภาพใน
ลักษณะนด้ี ว ยการเหลอื ทวี่ า งสักเล็กนอ ยไวท างดานบนเหนือหวั ของแบบและจดั ตาํ แหนงแนวสาย
ตาของแบบใหอยเู หนือเสน กึง่ กลางหนาจอ LCD ของตวั กลอ ง (Canon, 2014)

SPU CHONBURI 41

ภาพท่ี 58 การถา ยภาพครงึ่ ตวั
3.2.3 Bust Shot หรอื ภาพถา ยบุคคลคร่ึงตวั ระดบั หนาอกขน้ึ ไป
การถายภาพในลักษณะน้ีน้ันจะแสดงภาพของบุคคลที่ใชเปนแบบจากระดับอกขึ้น
ไป ภาพในลักษณะน้ีมีจดุ เดนในเร่ืองของการแสดงใหเห็นถึงการแสดงออกทางใบหนา ของแบบ
พรอมกับใหความรูสึกของภาพถายท่ีมีความใกลหรือ Closeness ทานสามารถทําการถายภาพใน
ลักษณะน้ีไดโดยท่ีไมจําเปนตองคํานึงถึงการเหลือท่ีวางไวทางดานบนเหนือหัวของแบบ (Canon,
2014)

ภาพท่ี 59 การถายภาพครง่ึ ตวั ระดบั หนา อกขึน้ ไป
3.2.4 Close-up หรือการถา ยภาพทมี่ มี ุมมองแบบใกลช ดิ
ภาพในลักษณะน้นี น้ั จะแสดงใหเห็นถงึ ใบหนาท้งั ใบของบคุ คลทใ่ี ชเปนแบบและ
เหมาะสมอยางยง่ิ กบั การถายภาพทตี่ อ งการเนนย้าํ ใหเ หน็ ถงึ อารมณค วามรสู กึ และการแสดงออกทาง
ใบหนาของบคุ คลที่ใชเปน แบบ ใหท ดลองทําการถา ยภาพในลักษณะนดี้ วยการจดั ตาํ แหนง จมกู ของ
แบบไวท แ่ี นวก่ึงกลางหนา จอ LCD ของตัวกลอ ง (Canon, 2014)

42

ภาพท่ี 60 การถายภาพทมี่ มี มุ มองแบบใกลชิด
3.2.5 Extreme Close-up หรอื การถายภาพทมี่ มี มุ มองแบบใกลชิดมาก
การถา ยภาพในลักษณะนนี้ น้ั จะใชเ มอื่ ตอ งการขยายสว นใดสวนหนงึ่ ของแบบที่
ทา นตองการทาํ การเนน ยา้ํ ยกตวั อยางเชน การถา ยภาพดวงตา ปาก น้ิวมอื มอื หรอื การถา ยภาพเทา
ภาพถา ยในลกั ษณะนี้นน้ั มจี ดุ เดน ในเรอื่ งของการดงึ ความสนใจโดยตรงแกผ ทู ่ีมองภาพถา ย (Canon,
2014)

ภาพที่ 61 การถายภาพทม่ี มี มุ มองแบบใกลช ดิ มาก
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI บทที่ 2

แนวคดิ และทฤษฎที เี่ กี่ยวของ

การศึกษาเรอื่ ง เทคนคิ การถายภาพบุคคลนอกสถานท่ีของบริษัทชลบรุ ี เวดด้ิง มแี นวคดิ
และทฤษฎีท่ีเก่ยี วของดังน้ี

1. แนวคดิ เกยี่ วกับหลกั การถายภาพ
2. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดองคป ระกอบของภาพ
3. แนวคดิ เก่ยี วกบั การถา ยภาพบุคคล

1. แนวคดิ เกย่ี วกบั หลักการถา ยภาพ

1.1 ความหมายของการถายภาพ
การถายภาพ มาจากภาษาอังกฤษ คาํ วา “Photography” มรี ากศพั ทจ ากภาษากรกี 2 คาํ คอื
“Phos” และ “Graphein” (ประทับใจ สิกขา, 2552, หนา 2) Phos หมายถึง แสงสวาง และ Graphein
หมายถึง การเขียน
เมอื่ รวมคาํ สองคําเขาดวยกนั จะไดค วามหมายวา “การเขยี นดว ยแสงสวา ง” ความหมาย
ของวชิ าถายภาพในการเรยี นการสอนปจจุบัน คอื ความรูใ นการเกดิ ภาพทีส่ รางจากกระบวนการใช
แสงสวา งกระทบกบั อุปกรณและวสั ดุไวแสง (ฟล ม) เพอื่ บนั ทกึ เหตกุ ารณ ณ จดุ เวลาใดเวลาหนง่ึ
โดยการเกบ็ สภาพแสง ณ เวลานนั้ ไว
การถา ยภาพเปน การศกึ ษาเกย่ี วกบั กระบวนการผลติ ภาพ โดยอาศยั สวนประกอบพนื้ ฐาน
3 ประการ คือ กลอ งถายภาพ วสั ดไุ วแสง และแสงสวาง ดงั นนั้ ในการถายภาพจะตองมคี วามรทู ักษะ
ในการใชอ ปุ กรณแ ละกลองถายภาพ การจดั องคป ระกอบภาพ แสง สคี วามรูทางศิลปะ ฯลฯ เพ่อื ให
เกดิ ความสมบรู ณในการนาํ ไปใชงานตอ ไป
1.2 หลกั การทํางานของกลอ งถายภาพ
หลักการทาํ งานของกลอ งถา ยภาพ คอื การทแ่ี สงสะทอนจากวัตถุเดนิ ทางเปนเสนตรงผาน
ชอ ง เลก็ ๆ ของกลองสี่เหลย่ี ม โดยเกดิ ภาพของวตั ถุบนฉากรองรบั ดา นตรงกนั ขาม มองเห็นเปน ภาพ
หัวกลบั ซ่ึงเปนหลกั การของการสรา งกลองรเู ข็มในสมยั โบราณ (สมศกั ดิ์ ชาตนิ ้าํ เพช็ ร, 2559, หนา
154)

5

ภาพท่ี 2 หลักการทาํ งานของกลองถายภาพ
ปจ จบุ นั กลองถา ยภาพไดพฒั นา โดยใชเ ลนสช วยรวมแสงใหเขาไปในตวั กลองมากขนึ้
ดานตรงขาม ของเลนสจ ะเปน ตําแหนง ของวัสดไุ วแสง สาํ หรบั ใชในการบันทึกภาพ ตัวเลนส
สามารถปรบั การรบั ภาพให เกดิ ความชัดเจนของภาพได มีไดอะแฟรม เพื่อปรับใหเกดิ ชอ งรับแสง
ขนาดตา งๆ มชี ัตเตอรควบคมุ เวลา ในการเปด – ปดมา น เพอ่ื ใหป ริมาณที่แสงตกกระทบกบั สําหรบั
ภาพบนั ทกึ ตามความเหมาะสม และยงั มี ชองเล็งภาพเพือ่ ชว ยในการจดั องคป ระกอบภาพถา ยใหเ กดิ
ความสวยงาม (สมศกั ด์ิ ชาตนิ ํ้าเพ็ชร, 2559, หนา 155)
1.3 ประโยชนข องการถายภาพ
ภาพถายไดเ ขามามีบทบาทในชีวิตประจาํ วนั มากขึ้น การพัฒนาเทคโนโลยใี นปจ จบุ นั ได
เจรญิ รดุ หนา อยา งรวดเรว็ เราจึงเห็นภาพถายเกดิ ขน้ึ ไดต ลอดเวลา ทั้งจากการแชรภ าพบอนิ เทอรเน็ต
ทางโทรศพั ทม อื ถอื การโฆษณาประชาสมั พันธ สื่อการเรียนการสอน การถายภาพมปี ระโยชน ดงั น้ี
(ประทับใจ สิกขา, 2552, หนา 3)

1.3.1 ภาพถา ยเพือ่ สอื่ ความหมาย เปน การถายทอดขาวสารไปยงั ผูรับ โดยใชภ าพ
เปนส่อื กลางในการ นําเสนอเรือ่ งราว เชน ภาพเหตกุ ารณทางหนา หนงั สอื พมิ พ อินเทอรเ นต็
โปสเตอร เปน ตน (ประทบั ใจ สกิ ขา, 2552, หนา 3)
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 6

ภาพท่ี 3 ภาพถา ยเพอื่ สอื่ ความหมาย
1.3.2 ภาพถา ยดานการศึกษาและงานวิชาการ เปน การใชใ นการเรยี นการสอน เพ่ือ
ดึงดดู ความสนใจ โดยใชภ าพประกอบการสอนแทนทีจ่ ะใชก ารบรรยายอยา งเดียว ทาํ ใหผ เู รียน
เขา ใจ ถงึ เรื่องราวตางๆ และ สามารถเห็นในสง่ิ ที่ไมอ าจเห็นไดใ นชวี ิตประจาํ วนั การใชภ าพถายเขา
มาชวยจะชว ยเปลย่ี นแปลงเนอ้ื หาให อยใู นรปู ของรปู ธรรม เชน ภาพสัตวใตท ะเล ภาพกลมุ ดาว ฯลฯ
(ประทบั ใจ สิกขา, 2552, หนา 4)

ภาพท่ี 4 ภาพถาย ดาน การศกึ ษาและงานวชิ าการ

7
1.3.3 ภาพถายในการศึกษาคน ควาวจิ ยั เชน นกั วทิ ยาศาสตรใชภ าพถา ยขยายสวน
และภาพถา ยจาก กลอ งจลุ ทรรศนม าศึกษาและวจิ ัย ไดแ ก การศึกษาเซลลและเน้ือเยอ่ื ของพชื และ
สัตวรวมถึงการเอ็กซเรย เพ่อื ตรวจสขุ ภาพของผูปวย ฯลฯ ปจ จบุ นั น้ี เทคโนโลยกี ารถายภาพได
กาวหนาไปอยา งรวดเรว็ ในการ สาํ รวจสภาพตา งๆ บนพนื้ ผิวโลก นกั วทิ ยาศาสตรใ ชฟ ล ม
อินฟราเรด ถายภาพพ้นื ผวิ โลก เพอื่ ศึกษาปรมิ าณ และความหนาแนน ของปาไมก ารถา ยภาพทาง
ดาราศาสตรชวยศกึ ษาความเปลยี่ นแปลงของกลุมดวงดาว ตางๆ ฯลฯ ซึ่งการถายภาพชวยให
นักวิทยาศาสตรส ามารถทาํ การศึกษาคนควา ไดถ ูกตองแมน ยํา กวา งขวาง และประหยดั เวลาไดอ กี
ดวย (ประทบั ใจ สกิ ขา, 2552, หนา 4)

ภาพที่ 5 ภาพถา ยใน การศึกษา คนควา วจิ ัย
1.3.4 ภาพถา ยเพื่อการประกอบอาชพี ผูมคี วามรดู านการถายภาพ สามารถนาํ ไป
ประกอบอาชพี หารายได เพื่อมาจนุ เจือครอบครัวได ทงั้ ยงั สามารถรับจา งบรษิ ัท หรือประกอบอาชพี
สว นตวั ได (ประทับใจ สกิ ขา, 2552, หนา 5)
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 8

ภาพท่ี 6 ภาพถายเพ่อื การประกอบอาชพี
1.3.5 ภาพถายใชเปน หลกั ฐานในเอกสารสําคัญหลายชนดิ เชน บัตรประจาํ ตวั
ประชาชน ใบขับข่ี ใบสุทธิใบรับรอง เปนตน เพราะรปู ถา ยสามารถอธิบายรปู พรรณสัณฐานของ
บคุ คลไดอ ยางดี และยากตอ การปลอมแปลง (ประทบั ใจ สกิ ขา, 2552, หนา 6)

ภาพท่ี 7 ภาพถายใชเ ปน หลกั ฐานในเอกสารสาํ คญั
1.3.6 ภาพถายเปนการแสดงออกทางศิลปะ เปนการสรางสรรคใหเกิดความ
สวยงาม และจรรโลงใจ แกผ ชู ม (ประทบั ใจ สกิ ขา, 2552, หนา 6)

9

ภาพที่ 8 ภาพถายเปน การแสดงออกทางศลิ ปะ
1.3.7 ภาพถายชว ยบันทกึ ภาพในอดตี ทผ่ี านมาไดด ีทาํ ใหค นรุน หลังสามารถเรียนรู
เหน็ เหตุการณ ตางๆ ทีเ่ กดิ ขนึ้ ในอดตี ภาพถายถอื เปน หลกั ฐานสาํ คญั ทางประวัตศิ าสตรทส่ี ําคญั ยง่ิ
(ประทบั ใจ สิกขา, 2552, หนา 7)

ภาพที่ 9 ภาพถายชวยบนั ทึกภาพในอดตี ทผ่ี า นมาไดด ี
SPU CHONBURI

10
1.3.8 ภาพถา ยเปน ประโยชนทางดานการคา และการโฆษณา เพื่อเผยแพรส ินคาของบริษทั
ใหเปน ท่ี แพรห ลาย และโนม นาวจิตใจผซู อ้ื (ประทบั ใจ สกิ ขา, 2552, หนา 7)

ภาพท่ี 10 ภาพถา ยเปนประโยชนท างดา นการคา และการโฆษณา
1.3.9 ภาพถายเปนประโยชนด า นความเพลิดเพลิน มผี ูถา ยภาพเปนงานอดเิ รก เพือ่
ความสนุกสนาน เพลดิ เพลิน เขาจะรูสึกพอใจตอภาพถายท่ีออกมา และมคี วามสุขตอการทไ่ี ด
ทองเทย่ี วในทต่ี างๆ พรอมกบั บนั ทกึ ภาพสงิ่ ตางๆ ท่อี ยากเก็บไวใ นความจํา โดยสามารถแบงปน
ภาพถายใหกบั ผูอืน่ ได (ประทบั ใจ สกิ ขา, 2552, หนา 8)

ภาพท่ี 11 ภาพถา ยเปน ประโยชนด า นความเพลดิ เพลิน
SPU CHONBURI

11
1.4 อุปกรณท่ใี ชก ับกลองถายรูป

1.4.1 ทบ่ี งั แสง (Lens Hood or Lens Shade) เปน อุปกรณท ใ่ี ชสวมหนาเลนสท ั้ง
แบบเปน ถวย และกลีบดอกไม มที งั้ ชนิดโลหะ และพลาสตกิ ที่ ขนาดแตกตางกนั ไปตามขนาดเสน
ผาศนู ย กลางของเลนส ทาํ หนาท่ปี องกันแสงทไี่ มตอ งการจากภายนอกท่ี อาจผานเขา ไปในกลอง จน
ทาํ ใหเ กดิ แสงแฟร เปนจดุ หรือเสน และยงั ชว ยปองกนั เลนสจากการ กระแทกดวย หากถา ยภาพดวย
กลอ งสะทอนภาพเลนสเ ดย่ี ว ตองแนใ จวา เมือ่ สวมทบ่ี ังแสงแลวจะไม บงั บางสว นของชอ งมองภาพ
แตส ําหรับเลนสม มุ กวา งอาจบังมมุ ภาพบางสวน (ชาํ นาญ บัวทวน, 2558, หนา 48)

ภาพท่ี 12 ทบ่ี ังแสง
1.4.2 แวน กรองแสง หรือฟลเตอร (Filter) ใชสวมหนา เลนส เปนวัสดุโปรงแสง ทํา
ดว ยกระจก หรือพลาสติกสตี า งๆ มีคุณสมบัติเปลี่ยนแปลง แสง กอ นทแ่ี สงจะกระทบถงึ หนา เลนส
แตก ารเปลี่ยนแปลงนั้นขน้ึ อยกู บั คณุ สมบัตขิ อง Filter แตล ะชนิด เชน Filter UV ลดรงั สีตางๆ, Filter
Close Up ถา ยภาพมาโครไดใ กลขน้ึ , Filter CPL ลดแสงสะทอนท่ี ไมตอ งการ และชว ยเตมิ สีฟาให
เขม ขึ้น เปน ตน นอกจากน้มี คี ุณสมบตั คิ ือปกปอ งผวิ เลนสด ว ย ฟล เตอร มีหลายชนิดหลายขนาดให
เลือกใชตามความตอ งการ และตามชนดิ ของกลอ งแตละแบบ ดงั นน้ั กอ นซอ้ื ฟลเตอรมาใชจ งึ ควร
ตรวจดขู นาดของเสนผาศนู ยก ลางเลนสกอ น (ชาํ นาญ บวั ทวน, 2558, หนา 48)
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 12

ภาพท่ี 13 แวนกรองแสง หรอื ฟล เตอร
1.4.3 สายลัน่ ไกชัตเตอร (Shutter Cable Release) เปน อปุ กรณทีใ่ ชค วบคไู ปกับขา
ตงั้ กลอง มลี ักษณะเปนสายเคเบลิ ยาว มีเกลียวขนั ตอ กบั ปุม กดชตั เตอร ทําหนาที่กดชตั เตอรแ ทนนวิ้
มอื ของผูถา ยภาพ เพือ่ ใหก ารกดชตั เตอรเ ปน ไปอยา งนมุ นวล กลอ งไมสนั่ ไหว โดยเฉพาะเม่อื ใชก บั
ความเร็วชัตเตอรต ่ํามากๆ หรือเม่อื ตัง้ ชัตเตอรท ่ี “B” ซึ่งตองกดชตั เตอรใ หเปด คางไวน านๆ ขณะที่
กลอ งอยูนงิ่ กบั ที่ สายล่ันไกมีอยหู ลายแบบ เชน แบบสายเดยี่ ว แบบสายคู และแบบบบี ลมเปน ลาย
ยาง สามารถถายจากทส่ี งู หรือท่อี ยไู กลจากกลอ งได (ชาํ นาญ บวั ทวน, 2558, หนา 48)

ภาพท่ี 14 สายลัน่ ไกชตั เตอร
1.4.4 แฟลชถา ยรูป (Flash) เปนอปุ กรณทใ่ี หแ สงสวางชว ยในการถายภาพในเวลา
กลางคืน หรือในที่มีแสงสวา งนอย มหี ลาย แบบหลายขนาดใหเ ลือกใชต ามชนิดของกลอง และตาม
ความตอ งการของผูใชนอกจากแฟลชจะเพม่ิ แสง สวางใหแกว ตั ถุแลว ยังใชล บเงาและปรงุ แตแสงให

SPU CHONBURI 13
ดูนุมนวลข้นึ แฟลชแตล ะชนดิ จะใหค วามเรว็ ในการสอง สวาง และชนดิ ของแสงตางกนั ไป แตท่ี
นยิ มกนั กค็ ืออิเลค็ ทรอนกิ สแฟลช ซ่ึงใหอณุ หภูมขิ องแสงใกลเ คยี งกบั แสงแดด อกี ชนดิ หนง่ึ เปน
แฟลชหลอด ซง่ึ มีอุณหภมู สิ ีตาํ่ กวา อเิ ล็คทรอนกิ สแ ฟลช (ชาํ นาญ บัวทวน, 2558, หนา 48)

ภาพที่ 15 แฟลชถายรูป
1.4.5 ขาต้งั กลอง (Tripod) เปน อปุ กรณทใ่ี ชติดตง้ั กลอ ง เพื่อใหก ลอ งยดึ กบั ขาตัง้ ให
อยูนงิ่ ไมสน่ั ไหว จําเปนสําหรับการ ถายภาพในสภาพแสงสวา งนอ ย ท่ชี ตั เตอรต ่ําๆ เพ่ือใหรบั แสง
ไดน านๆ หรือการถา ยระยะไกลโดยใชเลนส ถายไกลท่ีมีความยาวโฟกสั สงู ภาพจะมชี วงความชดั ตา่ํ
(ชาํ นาญ บัวทวน, 2558, หนา 49)

ภาพที่ 16 ขาตงั้ กลอ ง
1.4.6 กระเปาใสกลอง (Camera Bags and Cases) กระเปาใสกลองใชส ําหรับเก็บ
อุปกรณท่ีจําเปนในการถายภาพ ทําใหสะดวกตอการนําไปใชในท่ีตางๆ และยังชวยปองกันฝุน
ละออง การกระแทก รอยขีดขวน ขณะ เคลื่อนยาย กระเปาใสกลองมีท้ังชนิดที่เปนหนัง มีขนาด
แตกตางกัน ขา งในมชี อ งวางอุปกรณอยางเปน สดั สว น (ชํานาญ บวั ทวน, 2558, หนา 49)

SPU CHONBURI 14

ภาพท่ี 17 กระเปาใสกลอง
1.4.7 อปุ กรณท าํ ความสะอาดกลอง (Cleaning Accessories) อปุ กรณท าํ ความ
สะอาดกลอ งมหี ลายชนิด เชน ลูกยางเปาลมที่มีแปรงขนนม่ิ สาํ หรบั ปด ฝุน ละออง ที่จบั อยตู ามซอก
เลนส หรอื ตัวกลอ ง นํ้ายาลางเลนส และกระดาษสําหรบั เช็ดเลนส เปนตน (ชาํ นาญ บวั ทวน, 2558,
หนา 49)

ภาพท่ี 18 อปุ กรณท ําความสะอาดกลอง
1.5 สวนประกอบของกลองถา ยภาพ
สวนประกอบสําคญั ของกลองถายภาพทน่ี ยิ มใชมากในปจ จุบัน จะมีความสามารถ และ
คุณลกั ษณะ แตกตา งกนั ไป แตสวนใหญจ ะมีสวนประกอบคลา ยคลึงกันคอื (ประทบั ใจ สกิ ขา, 2552,
หนา 13)

1.5.1 ตวั กลอ ง (Body) ทาํ หนาที่เปน หอ งมืด ปอ งกนั แสงจากภายนอกเขาไปภายใน
และเปนทยี่ ึด สว นประกอบ ตลอดจนอุปกรณต างๆ ที่ใชใ นการถา ยภาพเขาดว ยกนั

15

ภาพท่ี 19 ตวั กลอ ง
1.5.2 ชอ งมองภาพ (View Finder) ปกติชอ งมองภาพจะอยดู า นหลงั ของตวั กลอง
เปนจอมองภาพ เพอื่ ชว ยในการประกอบ และจดั องคป ระกอบของภาพ ใหมีความสวยงามตามหลัก
ของศลิ ปะการถา ยรูป

ภาพที่ 20 ชอ งมองภาพ
1.5.3 เลนส (Lens) ทาํ หนา ทร่ี บั แสงสะทอ นจากวัตถุ สงไปยังอมิ เมจเซน็ เซอร
กลองบางชนดิ สามารถ ถอดเปล่ียนเลนสไ ดต ามความตอ งการ เชน กลอ งประเภท SLR (Single Len
Reflex) หรือเรียกวา กลอ ง สะทอนเลนสเ ดย่ี ว เลนสจ ะผนึกอยูข างหนาตัวกลอ ง ซึ่งมขี นาด ความยาว
โฟกสั แตกตางกนั เชน 50 มม. 35 มม. 105 มม. เปนตน
SPU CHONBURI

16

ภาพที่ 21 เลนส
1.5.4 ชตั เตอร (Shutter) ทําหนา ทคี่ วบคุมเวลาฉายแสง หรอื ความไวของชดั เตอร
(Shutter Speed)

ภาพท่ี 22 ชัตเตอร
1.5.5 แผน ไดอะแฟรม (Diaphragm) ทาํ หนา ทค่ี วบคมุ ปริมาณความเขม ของการ
สองสวา งของแสงที่ ตกลงบนอมิ เมจเซ็นเซอร มลี กั ษณะเปนแผน โลหะบางๆ หลายๆ แผน ซอ นเหล่ี
อมกนั อยู
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 17

ภาพท่ี 23 แผน ไดอะแฟรม
1.5.6 รรู บั แสง (Aperture) เปน รูเปด ของแผน ไดอะแฟรมใหมีขนาดตา งๆ ตาม
ตองการ ซึง่ มลี กั ษณะ เปน แผน โลหะสีดาํ บางๆ หลายๆ แผนเรยี งซอ นกันเปนกลีบ มีชอ งตรงกลาง
เชน เมื่อตอ งการใหแ สงเขามาก ก็เปด รูรับแสงใหม ขี นาดใหญ และหากตอ งการปรมิ าณแสงเขา ไป
ถูกอิมเมจเซน็ เซอร นอยกเ็ ปด รใู หเลก็ ลง การเปด ขนาดของรูรบั แสงแตกตางกัน มีตวั เลขกาํ หนด
เอาไว ซง่ึ ตัวเลขนี้จะเปน วงแหวน ตดิ อยทู ่ตี วั เลนส เรียกตวั เลขตา งๆ วาเอฟสตอป (F-Stop) หรือ
เอฟนมั เบอร (F-Number)

ภาพท่ี 24 รรู ับแสง
1.6 การโฟกัสภาพ
การโฟกสั ภาพ คอื การวางตาํ แหนง โฟกสั ของภาพใหอยใู นจดุ ทีเ่ ราตองการ ไมวา จะตอ ง
การใหภ าพ มคี วามคมชัดทด่ี า นหนา หรือดานหลัง ดา นซาย หรอื ดานขวา ในการปรบั โฟกสั อาจทํา
ดวยระบบอัตโนมตั ิ หรอื การใชม อื หมนุ ปรบั ทีเ่ ลนสโดยตรง ซึ่งเราสามารถกาํ หนดไดว า จะใหม ัน
คมชัดขนาดไหน โดยการปรับ ขนาดของ รรู ับแสง (ชาํ นาญ บวั ทวน, 2558, หนา 6)

18
1.7 ความเรว็ ชตั เตอร
ความเร็วชตั เตอร หมายถึง ระยะเวลาทย่ี อมใหแสงผานเขา ไปยังอมิ เมจเซ็นเซอร เปน
ประตูควบคุม เวลาในการเปด -ปด เพือ่ ก้นั แสงท่ีจะเดนิ ทางตอ ไปยังเซนเซอรร ับภาพทีอ่ ยดู า นหลงั
ประตูควบคุมนเ้ี รยี กวา “ชดุ ชตั เตอร” หรือมานชตั เตอร มีลกั ษณะเปน ไดอะเฟรมหรอื กลีบมา น ท่ี
สามารถยกตัวขนึ้ ลงได จะเปด - ปดดวยความเร็วตามทีผ่ ูใ ชก ําหนด หรอื ตามระบบอัตโนมตั ิท่ีกลอง
ควบคุมเอาไวม หี นว ยวดั เปน วนิ าทแี ละ นาที ยิ่งเปดปด เร็วมากแสงกจ็ ะยง่ิ เขาไดนอย ยิ่งเปด ปด ชา
มากแสงก็จะยงิ่ เขา ไดมาก ความเร็ว ชตั เตอรท่ี ใชส ว นใหญแ สดงคาเปน เศษสวนของวินาที ดงั น้ี 1/1,
1/2, 1/4, 1/8, 1/15, 1/30, 1/60, 1/125, 1/250,1/500, 1/1000, 1/2000 แตต ัวเลขทีป่ รากฏในวงแหวนท่ี
ขอบนอกของเลนส จะบอกคา ความเร็ว ของชัตเตอรไ วเฉพาะตวั เลขทเี่ ปนสว นคอื 1,2,3,4, 16, 30,
60, 125, 250, 500, 1000, 2000 (ชาํ นาญ บวั ทวน, 2558, หนา 6)

ภาพท่ี 25 ความเร็วชตั เตอร
1.8 รรู ับแสง (Aperture)
รรู บั แสง หรอื ชอ งรับแสง คือชอ งสาํ หรับใหแสงผานเขาไปกระทบอิมเมจเซนเซอรข อง
กลอ งดจิ ติ อล เลนสทุกตัวจะมีรูรับแสง เพ่อื ปรับใหแ สงสามารถผา นเขา ไปไดกวาง หรอื แคบตาม
ตองการ โดยกลองรุนเกา ปรบั ทแี่ หวนท่ีขอบเลนส หรือกลอ งรนุ ใหม จะมแี ปนปรับจากตวั กลอง ซง่ึ
ควรจะปรับขนาดรรู ับแสงทแี่ หวน ปรับใหม ีขนาดเล็ก ทส่ี ดุ เสมอ (ชํานาญ บวั ทวน, 2558, หนา 7)
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 19

ภาพท่ี 26 รรู บั แสง
แสงจะผา นเขา ไปไดม ากนอ ยเพยี งใด ขึน้ อยกู บั ความกวา ง หรือแคบของรูรบั แสง ถา ปรับ
รรู บั แสง กวาง แสงจะผานเขา ไปไดม าก หากเปดรบั แสงนาน ภาพทไ่ี ดก จ็ ะสวางเกนิ ไป ถา ปรบั รรู ับ
แสงแคบ โดยใช เวลานอ ยๆ แสงจะผานเขา ไปไดนอ ย ภาพท่ีไดจ ะมดื เกนิ ไป
ดงั นั้น การใชข นาดรรู บั แสงและความเรว็ ชัตเตอรจะตอ งใหสมั พันธกนั เมอ่ื เปดรรู บั แสง
กวาง ก็จะตอ งใชค วามเรว็ ชตั เตอรสงู คือเปด แลวปด เรว็ แตถา ใชข นาดรรู ับแสงแคบ กต็ อ งเปด รับ
แสงนานข้ึน เพ่อื ใหภ าพทถ่ี า ยมามีความสวางพอดี

ภาพที่ 27 ชอ งรูรบั แสงขนาดตา งๆ
ขนาดของรรู ับแสงจะบอกเปนตวั เลขตางๆ เรียกวา Factor คือเปน ผลลพั ธจากการนําเอา
ขนาด เสนผาศนู ยก ลางของรรู ับแสง ไปหารขนาดความยาวโฟกสั ของเลนส ผลท่ไี ดจ ะเรยี กวา เปน
คา F Stop ตวั อยา งเชน ความยาวโฟกัสของเลนสเทา กบั 50 mm เสน ผาศูนยกลางของรูรับแสงเทา กบั
30 mm เมือ่ นาํ ขนาดเสนผา ศนู ยกลางของรรู ับแสงไปหารความยาวโฟกสั จะไดเทา กับประมาณ 1.7
ก็จะเขยี นวา F/1.7 ถา ขนาดรรู ับแสงเล็กลงไป ผลลพั ธจะไดตวั เลขมากขน้ึ เชน เสน ผา ศนู ยก ลางของ
รูรับแสง 10 mm หารแลวจะไดประมาณ f/5 เสน ผาศนู ยก ลาง 5 mm จะไดเทากบั f/10 หรอื เสน ผา

SPU CHONBURI 20
ศูนย กลาง 3 mm จะไดเทา กบั ประมาณ F/17 เปนตน จะเหน็ วาเมอื่ ตวั เลขมาก หมายถึงขนาดรูรับ
แสงเล็กลง ถา ตัวเลขนอ ย คอื รูรับแสงกวาง (ชาํ นาญ บัวทวน, 2558, หนา 8)

ภาพท่ี 28 ความสมั พันธของรรู ับแสงกบั ปริมาณแสง

ภาพท่ี 29 รูรบั แสงขนาดตา งๆ
1.9 ความสมั พนั ธข องชัตเตอรก ับขนาดรรู บั แสง
การควบคุมแสง เปน สว นสาํ คญั ในการควบคุมใหแสงผา นเลนสเ ขาไปบันทกึ ภาพใน
ปรมิ าณ ทพ่ี อเหมาะ นนั่ คอื การควบคุมรูรับแสงและความเรว็ ชัตเตอรใหมีความสมั พนั ธก นั โดยทํา
หนาทค่ี วบคมุ ปรมิ าณของแสงที่ผา นเขาไป เพื่อบนั ทึกภาพ การเลอื กปรบั ต้งั รูรบั แสงและความเรว็
ชัตเตอรขนึ้ อยกู บั จดุ มุงหมายของการถา ยภาพ และตอ งใหส ัมพนั ธก นั ภาพทไี่ ดแ สงพอดจี ะตอ งได
รับแสงในปรมิ าณที่ เหมาะสม ไมม ากหรอื นอยเกนิ ไปภายใตส ภาพแสงปกติ การเลอื กคา บันทึกภาพ
เมื่อมีการปรบั รรู ับแสง หรอื ความเร็วชตั เตอร ปรมิ าณของแสงที่เขา ไปใน กลองก็จะเปล่ยี นไปดว ย
เชน ถา ปรมิ าณแสงท่ีเหมาะสมในการถา ยภาพอยทู ่ี 100% หากเปด รูรับแสงกวาง เพอ่ื ปลอ ยให

21
ปรมิ าณของแสงผานเขาไป 30% ตอ งใชค วามเรว็ ชตั เตอรเพื่อควบคมุ เวลาในการฉายแสงใน ปริมาณ
สวนท่เี หลอื อกี 70% เพ่ือใหค รบปริมาณแสงท่ตี องการคือ 100% หรอื ถาเปด ชวงรบั แสงกวา งให
ความเขมของแสงเขาไปมากเปนปรมิ าณ 70% ตองใชค วามเรว็ ชตั เตอรเ พื่อใชเวลาในการฉายแสงท่ี
สั้น เพือ่ ฉายสงิ่ ที่เหลืออีก 30% ในท้ังสองกรณีจะไดร ับปริมาณของแสงท่เี ทากัน จะแตกตางกนั ที่
การใชสดั สว น ของขนาดรูรับแสง และเวลาการฉายแสงที่ไมเทา กนั ผถู า ยภาพสามารถเลือกผลที่
เกดิ ขึ้นจากการใชรูรับแสง หรอื ความเร็วชตั เตอรไดอ ยา งใดอยางหนงึ่ ตามตอ งการ โดยท่ีการบนั ทึก
ภาพไดร ับแสงพอดี เชน ภาพท่ี ตอ งการบันทึกวดั แสงไดท ี่ 1/60 วนิ าที f 8 แตอาจไมต องการใช
ความเร็วชตั เตอรห รือรูรบั แสงตามท่ีวดั คา ได กอ็ าจเลือกใชคา อนื่ ได เชน 1/30 วินาที f 11 หรอื 1/90
วินาที f5.6 ซึง่ คา เหลา นีจ้ ะใหปรมิ าณแสงท่ี เทา กันแตภาพท่บี นั ทกึ ได จะมคี วามแตกตางกนั (ชนดิ า
ศักดิส์ ิรโิ กศล, 2556, หนา 18)

ภาพที่ 30 (1) แสดงรปู ทีแ่ สงเขา ปกติ (2) แสงเขานอ ย (3) แสงเขา มาก
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 22

ภาพท่ี 31 ความสัมพันธร ะหวางรรู ับแสงและความเร็วชตั เตอร
1.10 หลกั การวดั แสง
การวัดแสงเปน พ้ืนฐานการถายภาพทจี่ ําเปน ตอ งเรียนรู เพราะเปนเร่ืองของการสรางสรรค
ภาพ ทไ่ี มมีกฎเกณฑต ายตวั ขึ้นอยกู บั สภาพแสง และความเหมาะสมในแตล ะชว งเวลา ระบบการวดั
แสง มีดงั น้ี (ชนดิ า ศักด์สิ ริ โิ กศล, 2556, หนา 22)

1.10.1 แบบเฉลีย่ ทง้ั ภาพ
เปนการตรวจสอบปริมาณแสงทั้งหมดในพนื้ ทก่ี รอบภาพ แลวนาํ มาหา คา เฉล่ีย
กลางท่จี ะใหคา การเปดรบั แสงที่เหมาะสมที่สุด ซงึ่ มคี วามสะดวก และคลอ งตัวสงู ใชงานไดง าย ไม
ซบั ซอน เนนในเรอ่ื งของการไดภาพมากกวา เรอ่ื งของความสวยงาม เหมาะสําหรบั การถายภาพตาม
แสง และภาพตอ งไมม สี วนมดื สว นสวางมากเกินไป ใชไ ดดีกับการถายภาพทวิ ทศั น, งานเลี้ยง
สังสรรคฯลฯ

ภาพที่ 32 การวดั แสงแบบเฉล่ียทง้ั ภาพ

23
1.10.2 แบบเฉล่ยี หนกั กลางภาพ
สัญลกั ษณสว นใหญม ักจะมวี งกลมซอนกนั อยสู องวงบรเิ วณสว นกลาง โดยมาก
กลอ งจะพยายามใหค วามสนใจกับพนื้ ที่ราว 60% ทบ่ี รเิ วณกลางกรอบภาพจึงถือเปนพ้นื ทส่ี วนใหญ
ในภาพ สว นรอบนอกจะมพี นื้ ท่ีเหลอื อีก 40% บางรนุ อาจแบง แตกตางกนั ไป ท้ังน้ขี น้ึ อยูก บั ความ
แตกตา ง ของกลองถา ยภาพ เหมาะสําหรบั การถายภาพทีเ่ นนวตั ถุ หรอื ตวั แบบอยูกลางภาพ หรือมี
ขนาดเต็มเฟรม เชน การถา ยภาพบุคคล ภาพสตั วเลยี้ ง วตั ถตุ างๆ ภาพมาโคร ซึ่งใหความสาํ คญั กับตวั
แบบหรือ โซนท่แี บบอยมู ากกวา พื้นหลัง (ชนิดา ศกั ด์สิ ริ ิโกศล, 2556, หนา 22)

ภาพที่ 33 การวดั แสงแบบเฉล่ียหนักกลางภาพ
1.10.3 แบบเฉพาะจดุ
จดุ ตรงกลางจะเปน การวดั แสงจากพน้ื ท่ีกงึ่ กลาง หรือเฉพาะสว นของภาพ เทา นน้ั
เปน การถายภาพทตี่ องการความแมน ยําสูง ผูถายภาพควรมีความชํานาญถา ยภาพ และเขา ใจเร่ือง ของ
การวัดแสงเปน อยางดีเพราะกลองจะเนนนาํ้ หนักไปยงั ตาํ แหนงนถี้ งึ 90% และบริเวณรอบๆเพียง
10% เหมาะสําหรบั การถา ยทต่ี ัวแบบมีฉากหลังท่ีสวางมาก หรือมดื มากกวาปกติ และยอนแสง โดย
ใหเ ลอื กวัด แสงในสวนทตี่ อ งการใหแ สงพอดี ทงั้ นข้ี ึ้นอยกู บั ประสทิ ธภิ าพของกลอ งแตล ะรุนอีก
ดว ย (ชนดิ า ศกั ดส์ิ ิรโิ กศล, 2556, หนา 23)
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 24

ภาพที่ 34 การวดั แสงแบบเฉพาะจดุ
1.11 การชดเชยแสง
ในการวดั แสงอาจเกดิ ความผิดพลาดขึ้นได เราจงึ ตองชดเชยแสง เพื่อใหภาพออกมาสวย
งามตามตองการ เชน การวดั แสงสีขาวในกลอง ซ่งึ เปน ระบบอตั โนมัติ กลองจะคํานวณคา แสงผดิ
เพ้ียนทําให แสงลดลง ภาพท่ไี ดจ ึงมดื ไมเหมอื นจรงิ (Under) เราจงึ ควรชดเชยแสงโดยการปรบั
ชดเชยแสงทก่ี ลองไป ทาง +1 หรือ +2 เพ่อื ชว ยใหจ ดุ สนใจสวางสดใสขน้ึ ในทางตรงกันขา มหากวดั
แสงสีดํา ภาพทถ่ี า ยไดจะ สวางเกนิ จริง (Over) เราจงึ ควรชดเชยแสงโดยการปรับชดเชยแสงท่ีกลอ ง
ไปทาง -1 หรอื -2 เพอ่ื ชว ยใหจ ดุ สนใจเดน ชัดตัดกบั ฉากหลังสเี ขมตามความเปน จรงิ (ชนดิ า ศกั ดส์ิ ริ ิ
โกศล, 2556, หนา 23)

ภาพที่ 35 การชดเชยแสง

SPU CHONBURI 25
1.12 การปรับตัง้ คา ความไวแสง
ความไวแสง หรอื ISO (International Standards Organization) คอื คา มาตรฐานท่ีบอกความ ไวแสง
ของเซ็นเซอรข องกลองถา ยภาพ เปน การปรบั แสงใหเ หมาะสม ความไวแสงของตวั รบั ภาพจึงมีผลท่ี
จะกําหนดปรมิ าณของแสงท่ีตอ งการในการทําใหเ กดิ ภาพๆ หนงึ่ ย่งิ มคี า ความไวแสงมากข้ึนเทา ไหร
ก็จะย่งิ ใช แสงนอยเทา นน้ั ตวั เลขคา ISO มอี ยูหลายคา ดว ยกนั ทใี่ ชกันอยทู ัว่ ไปคอื ISO 100 ISO 200
ISO 400 ISO 800 ซึง่ แตล ะคาน้ันความไวตอ แสงจะเพ่มิ ขนึ้ หน่งึ เทา (หน่ึงสต็อป) คา ตัวเลขยิง่ มาก
จะทําใหก ารรบั แสง มากขึ้นเปน ลาํ ดบั (ชนิดา ศกั ดสิ์ ิริโกศล, 2556, หนา 24)

ภาพที่ 36 การปรับความไวแสง

2. แนวคดิ เกยี่ วกบั การจัดองคประกอบของภาพ

2.1 ความหมายของการจัดองคป ระกอบของภาพ
การถา ยภาพ ไดเ ขา มาเกย่ี วพันกบั ชีวติ ประจําวันของมนษุ ยมากยงิ่ ข้ึน กลองถา ยภาพท่มี ี
ราคาสงู ไมใชเ ครือ่ งบงบอกถึงความสวยงาม หรอื คณุ ภาพของภาพถา ยนน้ั ๆ แตข น้ึ อยกู บั เทคนิคการ
จดั องคป ระกอบ และการเลือกมมุ ถายภาพที่เหมาะสม เพอ่ื เปนสอ่ื สาํ คญั ในการถา ยทอดขอ มลู ขาว
สารหรอื โนมนา วจติ ใจ ของผูชมใหเกดิ อารมณและความรสู ึกคลอ ยตาม (สี แสงอนิ ทร, 2557, หนา
206)
การจัดองคประกอบของภาพ (Composition) หมายถึง การจัดวางองคป ระกอบตา งๆ ภาย
ในภาพ ไมวาจะเปน ลกั ษณะเสน รปู รา ง รูปทรง ทวี่ า ง ความกลมกลืน ความแตกตาง สี แสงและเงา
ฯลฯ หรอื จะ กลา วอกี นยั นงึ กค็ ือ การจดั ทุกสง่ิ ทุกอยา งทปี่ รากฏทางชอ งมองภาพ (View Finder) ให
มีความสมดุล โดย การเลอื กจัดวตั ถุทีเ่ ปนจดุ เดน นาสนใจ ผสมผสานกบั การจัดบรรยากาศโดยรอบ

26

ใหอยใู นพนื้ ทข่ี องภาพอยาง งดงาม มีคุณคา ทางสุนทรยี ภาพ ดงึ ดดู ใจของผูชมใหค ลอยตามอารมณ
ภาพทีแ่ สดงออกมา (สี แสงอนิ ทร, 2557, หนา 206)

การจดั องคประกอบของการถายภาพ เปรยี บไดก บั การสรา งงานศิลปะของจิตรกร ซง่ึ
เทคนคิ การ จัดองคประกอบ ไมใชห ลกั เกณฑต ายตวั เปนเพยี งแนวทาง / หลกั เกณฑพนื้ ฐานใหช า ง
ภาพยดึ ถือปฏบิ ัติ เพอื่ นําไปประยกุ ตใ ชในการสื่อความหมายของภาพใหเ หมาะสมและประสทิ ธภิ าพ

2.2 ประเภทของการจดั องคป ระกอบของภาพ
การจัดองคป ระกอบของภาพ มอี ยูด ว ยกนั 2 ประเภท คือ (ธนกิจ โคกทอง ศภุ รัก สวุ รรณ
วัจน และ นริ ัช สุดสงั ข, 2557, หนา 28)

2.2.1 การจัดองคประกอบตา งๆ ของวัตถุในภาพน้ัน ใหอ ยใู นตําแหนง ใดๆ ก็ได
สวนใหญจะเปน การถา ยส่ิงท่ีอยนู ิง่ และสงิ่ ทไ่ี มม ีชีวิต เชน การถายภาพคน (Portrait) ดอกไม เครอื่ ง
เลน เครอื่ งกฬี า การถายภาพโฆษณาสนิ คา ฯลฯเพราะสามารถควบคุมองคประกอบตา งๆ ใหอยใู น
ตาํ แหนงตามทเี่ รา ตอ งการได

2.2.2 การจัดองคประกอบตางๆ ท่เี ราไมสามารถควบคุมไดต ามตอ งการ เชน
ทิวทศั นตามธรรมชาติ หรือเหตกุ ารณเ คลอื่ นไหวตางๆ ตกึ รามบานชอง ฯลฯ

2.3 หลกั การจัดองคป ระกอบของภาพ
หลักการจดั องคป ระกอบของภาพท่ีผเู รยี นควรรู มีดงั นี้ (สี แสงอนิ ทร, 2557, หนา 208)

2.3.1 รูปทรง
เปนการจดั องคประกอบภาพท่ใี หค วามรูสกึ สงางาม มัน่ คง โดยตอ งเลอื กทศิ ทาง
ของแสง และมุมมองใหเ หมาะสม เพ่อื เนน ใหเห็นความกวา ง ความสูง ความลกึ ทั้งดา นหนา และ
ดานขาง ซงึ่ สวนใหญ เรยี กวา Perspective หรอื ภาพ 3 มิติ เหมาะสาํ หรับการถายภาพทาง
สถาปตยกรรม อาคารสถานที่ วตั ถุ หรอื เครื่องมือเครือ่ งใชต างๆ
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 27

ภาพที่ 37 ตวั อยางภาพถา ยรูปทรง
2.3.2 รปู รางลักษณะ
เปนการจดั องคประกอบภาพที่เนน เฉพาะความกวางกับความยาว โดยไมแ สดง
รายละเอียดของภาพ สว นใหญเ รียกภาพ 2 มิติ การถายภาพลกั ษณะนจ้ี ะใชแ สงและน้ําหนกั สที ่ี
แตกตา งกนั เชน ภาพเงาดาํ ซึง่ เปนการถา ยภาพยอนแสง ใหค วามรสู ึกลกึ ลบั นาสนใจ ใหอ ารมณ
และ สรางจนิ ตนาการ ขอ ควรระวังในการถา ยภาพลักษณะน้คี อื วตั ถทุ ถ่ี ายตอ งมีความเรียบงา ย
เดนชดั สอ่ื ความหมาย ไดชดั เจน ฉากหลังตองไมม ารบกวน ทําใหภาพนั้นหมดความงามไป (สี แสง
อินทร, 2557, หนา 208)

ภาพท่ี 38 ตวั อยางภาพถายรูปรางลกั ษณะ

SPU CHONBURI 28
2.3.3 ความสมดลุ ทเ่ี ทากัน
เปนการจดั องคป ระกอบภาพใหดา นซา ย และดา นขวามนี า้ํ หนกั เทา กนั ท้งั สองดาน
ไมเอยี งไปดานใดดานหนง่ึ เพอ่ื ใหภ าพดนู งิ่ มัน่ คง สงางาม (สี แสงอินทร, 255, หนา 209)

ภาพท่ี 39 ตวั อยางภาพถา ยความสมดลุ ที่เทา กนั
2.3.4 ความสมดุลทีไ่ มเทากนั
การจัดภาพแบบนจี้ ะตา งกันอยูท ี่วตั ถุดา นซายและดา นขวา มีขนาดและ รปู รา งท่ี
แตกตางกนั แตเราสามารถทําใหสมดลุ ไดด ว ยปจ จยั ตางๆ เชน สี รปู ทรง ทา ทาง ฉากหนา ฉากหลงั
ฯลฯ ภาพในลกั ษณะนจ้ี ะใหค วามรสู กึ สวยงาม แปลกตา (สี แสงอินทร, 2557, หนา 210)

ภาพที่ 40 ตวั อยางภาพถายความสมดลุ ท่ไี มเทากนั

29
2.3.5 ฉากหนา
เปน การจดั องคประกอบภาพที่ชวยใหเกดิ ระยะใกล กลาง ไกล หรือทมี่ มี ติ ขิ น้ึ เปน
การ เติมเตม็ ในสว นทีม่ ักจะเปนพื้นท่โี ลงๆ ในภาพ เมือ่ ใชเ ลนสม มุ กวา ง จะทาํ ใหวตั ถใุ นภาพดไู กล
ออกไปเกนิ จรงิ แตฉากหนาจะทาํ ใหร สู ึกวา พ้นื ทน่ี นั้ ๆ ไมไดไกลจนเกนิ ไป ทาํ หนา ทเี่ ปน ตวั ชว ย
บอกระยะในภาพและดงึ ดดู สายตาของผูชมใหเขาไปสูจดุ เดนในภาพได ดงั นั้นควรเลอื กวาง
ตาํ แหนง และปรมิ าณของฉากหนา อยา ง เหมาะสม เพื่อใหภ าพนาสนใจ มีชีวิตชวี า และชว ยใหภาพดู
มีเร่ืองราวมากยิง่ ขนึ้ อาจใชก ง่ิ ไม วัตถุ หรอื สงิ่ ตา งๆ ที่อยใู กลก บั กลอง เพ่อื ชวยเนนใหจ ดุ สนใจท่ี
ตองการเนน มคี วามเดน ยง่ิ ขนึ้ และไมใ หภ าพมีชอ งวา ง เกนิ ไป ขอควรระวงั อยา ใหฉากหนา เดนจน
แยงความสนใจจากสงิ่ ท่ีตองการเนน หรอื มีสีสันทรี่ บกวนแบบ ในภาพมากเกินไป และหลกี เลี่ยง
ฉากหนา ท่มี กี ารสะทอนแสงใหเกิดจดุ เดน ของภาพ เพราะจะทาํ ใหภ าพมี ความสวยงามลดลงไปดวย
(สี แสงอนิ ทร, 2557, หนา 211)

ภาพท่ี 41 (1) ภาพถายท่ีไมมฉี ากหนา (2) ภาพถายท่ีมฉี ากหนา
2.3.6 ฉากหลงั
เปนการจดั องคป ระกอบภาพส่งิ ทอ่ี ยูด านหลังจดุ สนใจ หรือวัตถุท่ตี อ งการเนน ให
เดน ขึ้นมา ควรเลือกฉากหลังท่กี ลมกลืน ไมทําใหจ ดุ เดน ของภาพดอ ยลง หรือมารบกวนทาํ ใหภ าพ
นัน้ ขาดความ ความสวยงามลดลงไปดว ย (สี แสงอนิ ทร, 2557, หนา 212)
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 30

ภาพท่ี 42 ตวั อยา งภาพถายฉากหลงั
2.3.7 กฎสามสว น
เปน การจัดองคป ระกอบภาพ ตามแนวตั้ง หรอื แนวนอน โดยใชเ สน ตรง 4 เสนตัด
กนั จนเกดิ จดุ ตัด 4 จดุ หรือ แบงเปน 3 สวน ซง่ึ เปน ตําแหนงท่ีเหมาะสมสําหรบั จัดวางวตั ถุท่ีตอง
การเนนให เปน จุดเดน หลกั (สี แสงอินทร, 2557, หนา 212)

ภาพท่ี 43 ตวั อยา งภาพกฏสามสวนตามแนวต้งั

SPU CHONBURI 31

ภาพท่ี 44 ตวั อยางภาพกฏสามสวนตามแนวนอน
นักถายภาพทงั้ มืออาชีพ และมอื สมคั รเลนนยิ มใชก ฎสามสว นในการถายภาพ
เพราะทาํ ใหภ าพดูมี ชีวิตชวี า ภาพดเู ดน ไมแ นน หรือหลวมจนเกินไป กฎสามสว นนใ้ี ชห ลกี เลี่ยง
การวางตาํ แหนงของวัตถหุ ลักท่ี เราจะถายไมใ หอ ยตู รงจุดก่งึ กลางภาพ หรือจะจัดในตาํ แหนงที่
ใกลเ คียงกไ็ ด ไมจําเปน ตอ งวางอยูบ นจุดตดั พอดี นอกจากน้ีเรายงั สามารถใชแ นวเสน แบงเสน เปน
แนวในการจดั สดั สว นภาพกไ็ ดอยางการจดั วาง เสน ขอบฟา ใหอยใู นแนวเสนแบง โดยใหส วนพื้น
ดนิ และทอ งฟา อยใู นอตั ราสว น 3:1 หรือ 1:3 แตไ มค วรแบง 1: 1 ซง่ึ จะทาํ ใหภ าพนนั้ แข็งทอื่ ไมช วน
มอง (สี แสงอินทร, 2557, หนา 213)

ภาพที่ 45 ตวั อยางภาพถา ยอตั ราสว น 3:1

SPU CHONBURI 32
2.3.8 เสน นาํ สายตา
เปนการจดั องคป ระกอบภาพทีใ่ ชเ สนท่ีเกดิ จากวตั ถุ หรอื ส่ิงอื่นๆ ท่ีมีรูปรา ง
ลักษณะ ใกลเคยี งกัน เรยี งตวั กนั เปนทิศทางไปสูจุดสนใจ เราสามารถใชถนน ลาํ ธาร ทอ นไม นวิ้ มอื
หรอื สิง่ ท่มี ีอยใู น ขณะนนั้ เปน เสนนําสายตา ใหความลกึ เสมอื นกบั ทีต่ าเหน็ เมื่อวางเสน นําสายตา
ไปสจู ุดเดน จะทําใหภ าพมี ความชดั เจน นา สนใจ มคี วามเดน ชัดย่งิ ขนึ้ (สี แสงอนิ ทร, 2557, หนา
213)

ภาพที่ 46 ตวั อยา งภาพถา ยเสน นําสายตา
2.3.9 เนน ดว ยกรอบภาพ
เปนการจดั องคป ระกอบภาพเพื่อเพม่ิ มติ ดิ า นความลกึ ลดพื้นทว่ี า ง และเนน วัตถุ
ภายใน โดยใชก รอบประตู หนา ตาง กําแพง ก่ิงไม หรือสงิ่ อ่นื ใดทม่ี ีอยใู นธรรมชาตผิ ชู มจะถกู บบี
ดว ย กรอบทซ่ี อนอยใู นภาพใหม องไปยังจดุ สนใจทเ่ี ราวางไว ซง่ึ จะทาํ ใหภาพดนู า สนใจ กระชบั มาก
ขนึ้ (สี แสงอนิ ทร, 2557, หนา 214)

ภาพที่ 47 ตัวอยา งภาพถา ยเนน ดว ยกรอบภาพ

SPU CHONBURI 33
2.3.10 เนน รปู แบบซาํ้ ซอน
เปน การจดั องคประกอบภาพโดยใหว ตั ถุทีม่ ลี ักษณะเหมือนกันอยใู นตําแหนง
เดียวกนั หรอื อาจวางเปน กลมุ เชน ภาพรถทจ่ี อดเรยี งกนั หลายคนั ภาพจักรยานเรียงกนั เปน แถว จะ
ทาํ ให ภาพดูสนกุ มีเสนหแ ละแปลกตา (สี แสงอินทร, 2557, หนา 214)

ภาพที่ 48 ตวั อยางภาพถา ยเนน รปู แบบซ าซอ น
2.3.11 การเหลอื พื้นที่
เปนการจดั องคป ระกอบภาพเพอ่ื ใหคนดภู าพไมร สู ึกอดึ อดั และยังเหลอื พนื้ ท่วี า ง
ให คดิ หรอื จนิ ตนาการตอ ไปได เชน คนหันหนา ไปทางทิศเหนอื เรากค็ วรเวน วางในทศิ เหนอื ไว
(สี แสงอินทร, 2557, หนา 215)

ภาพท่ี 49 ตวั อยา งภาพถา ยการเหลอื พนื้ ท่ี

SPU CHONBURI 34
2.3.12 สี
เปน การจดั องคป ระกอบภาพประเภทหนง่ึ ถาจดั สีใหถ กู ตอ ง เหมาะสมแลว จะเปน
การสงเสริม ใหเกิดอารมณ ความรสู ึก และเกดิ ไอเดยี ของภาพนน้ั ๆ ซง่ึ สแี ตละสีมอี ิทธิพลตอ ความ
รูสึกนึกคิดของ แตละคนไมเ หมือนกนั บางสที าํ ใหเกดิ ความรสู ึกสงบ มัน่ คง บางสีทําใหเ กดิ ความ
ต่ืนเตน เรา ใจ หรือทาํ ให เกดิ ความนุม นวล ออนหวาน เปนตน ในการจดั สขี องวัตถนุ ัน้ ควรคํานงึ ถงึ
คุณภาพของแสงหรือสีของแสงดว ย เพ่ือเนน จดุ เดน ใหม ี ความกลมกลนื กัน หรือตดั กัน เชน สขี าว
ทาํ ใหเกดิ ความรสู ึกบรสิ ทุ ธ์ิ สดใส ใหมสะอาด สดี ํา สเี ทา ทําใหเกิดความรสู ึกหดหู เครงขรมึ สีแดง
หรือสม ทาํ ใหเ กิดความรสู ึกตนื่ เตน รอนแรง เราใจ สเี ขยี ว ทาํ ใหเ กดิ ความรูสึกสบายตา สดช่ืน
รมเย็น สีน้ําเงนิ ทําใหเ กดิ ความรูสึกสงบ เงยี บขรึม เอาการเอางาน สีชมพู ทาํ ใหเ กิดความรสู ึก
นมุ นวล ออ นโยน ออ นหวาน สเี หลือง หรอื สที อง ทาํ ใหเ กิดความรูสึกสดชื่น รืน่ เริง มคี ุณคา มีราคา
หรหู รา สมี ว ง ทําใหเกิดความรูส ึกเศรา ลึกลบั (สี แสงอนิ ทร, 2557, หนา 215)

ภาพที่ 50 ตวั อยา งภาพถายสีตา งๆ
2.3.13 ลกั ษณะพน้ื ผิว
เปน การจดั องคป ระกอบภาพทแ่ี สดงใหเ หน็ ลักษณะภายนอกของวัตถุ ซึ่งสามารถ
สัมผสั จบั ตอง หรอื มองเหน็ แลวเกดิ ความรสู กึ ไดล กั ษณะพ้นื ผิว มหี ลายรูปแบบ และใหค วามรูสึกท่ี
แตกตาง กัน เชน ผิวละเอยี ด ใหค วามรูสึกนุมนวล เบา สภุ าพ ผวิ เรียบมนั วาว ใหความรสู ึกล่นื
หรหู รา มีราคา ผวิ หยาบ ใหค วามรูส กึ เขม แข็ง หนักแนน กระดา ง นา กลวั ฯลฯ ซึ่งลักษณะพน้ื ผวิ จะ

SPU CHONBURI 35
ชว ยขับเนน ความเดน ใหก บั องคประกอบสาํ คญั และสรา งอารมณใหเ กดิ ข้ึนในภาพไดเราสามารถ
จดั องคประกอบของลักษณะ พืน้ ผวิ และทศิ ทางของแสงใหเหมาะสมได เชน การจดั วตั ถผุ วิ เรยี บบน
พื้นผวิ ทข่ี รุขระ จะทาํ ใหภ าพมี ลักษณะทตี่ ดั กันมองเหน็ วัตถุท่ีผวิ เรยี บไดเดน ชัดขน้ึ แสงสวางแรงจะ
ทําใหเ หน็ ลายของผิวพน้ื ไดช ดั เจนกวา แสงทนี่ ุม นวล แตแ สงนมุ นวลจะทาํ ใหเกดิ ความกลมกลนื
ของ รปู ทรงและลายผวิ พน้ื ไดดีกวา เปน ตน (สี แสงอนิ ทร, 2557, หนา 216)

ภาพที่ 51 ตวั อยางภาพถา ยลกั ษณะพนื้ ผิว
2.3.14 ความเปนเอกภาพ
เปน การจดั องคป ระกอบภาพใหมคี วามเชอ่ื มโยงกนั ขององคประกอบภาพ เปน
อนั หน่งึ อนั เดยี วกนั กลมกลนื กนั เพือ่ ใหเ กดิ ความเปน ระเบยี บ มสี มดลุ สามารถสื่อความหมายของ
ภาพ ใหเ ปน เรือ่ งราวไดม ากยงิ่ ขนึ้ (สี แสงอินทร, 2557, หนา 216)

ภาพที่ 52 ตวั อยา งภาพถายความเปน เอกภาพ

36
2.3.15 ความกลมกลืน
เปน การจดั องคป ระกอบภาพท่ีมีความคลายคลงึ กัน เหมอื นกัน หรอื ขดั แยง กันมา
จัดวางอยา งสมั พนั ธก ัน เกิดการประสานกนั อยางเหมาะสม ลงตวั จะทาํ ใหภ าพงดงาม และนาํ ไปสู
เน้ือหา เรอ่ื งราวท่ีนาํ เสนอ เชน ถามีวตั ถุหลายๆ อยา งในทวิ ทัศน วตั ถแุ ตล ะอันควรจะมคี วาม
เกย่ี วพนั กับวตั ถอุ น่ื ๆ เชน ถา ยภาพทงุ นา ใหม พี ระอาทติ ยกระทอ มปลายนา นก หรอื ถา ยภาพทะเล
ใหม ีนกนางนวล พระอาทติ ย บานานา โบต เปน ตน ความกลมกลนื มี 2 แบบ คือ (สี แสงอนิ ทร,
2557, หนา 217)

ภาพที่ 53 ตวั อยางภาพถายความกลมกลืน
นอกจากการจดั องคป ระกอบทก่ี ลาวมาขางตนแลว ยงั มสี ว นสําคัญท่ีตองคํานงึ ถงึ อกี
คือ มมุ กลอ ง การถายภาพวตั ถุเดยี วกัน โดยใชม มุ กลองทตี่ างกัน จะมผี ลตอ ความรูสึก ความคิด การ
สอ่ื ความหมายได มุมกลอ งแบงออกเปน 3 ระดับ คอื (ไกรวฒุ ิ ทองคําด,ี 2558, หนา 15)
1. ภาพระดบั สายตา คอื การถา ยภาพในตําแหนงทกี่ ลองขนานกับพนื้ ดนิ ระดบั เดียวกนั
กับสายตา เชน เดียวกบั ทสี่ ายตามองเห็น จะใหความรูส กึ เปน ปกติ ธรรมดากับภาพนั้นๆ
SPU CHONBURI

37

ภาพท่ี 54 ตวั อยา งภาพถายมมุ กลองระดับสายตา
2. ภาพมมุ ต่ํา คอื การถายภาพในตาํ แหนง ที่กลองอยตู ํ่ากวา วตั ถุ จะใหค วามรสู กึ ถึงความ
สงู ใหญ ความสงาเผยของวตั ถุ มอี ํานาจ ทรงพลัง เปน ตน

ภาพที่ 55 ตวั อยา งภาพถา ยภาพมมุ ตาํ่
3. ภาพมมุ สงู คอื การถา ยภาพในตําแหนง ทก่ี ลองอยูสงู กวา วัตถุ จะใหค วามรูส ึกถึงความ
เล็ก ความตอ ยตาํ่ ไมม คี วามสําคญั นอกจากนยี้ ังสามารถเกบ็ รายละเอยี ดตา งๆ ไวไ ดม ากอกี ดว ย
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 38

ภาพที่ 56 ตวั อยางภาพถา ยภาพมมุ สงู
การเปล่ียนมุมภาพแตล ะคร้ัง ควรพิจารณาถึงผลดี ผลเสียกอนการถายภาพ เชน ถาถา ยภาพ
คน ดวย มมุ ตาํ่ หรือมุมสงู เกนิ ไป จะทําใหร ูปทรงของใบหนาผิดสวน ไมสวยงาม เชน เหน็ คอส้นั
คางใหญ จมกู บาน หัวลาน เตย้ี ส้นั เปน ตน
จากหลกั การจดั องคประกอบภาพทก่ี ลา วมาทง้ั หมด เปน เพียงหลักพืน้ ฐานในการถา ยภาพ
ทีค่ วร นาํ ไปประยุกตใ ช ผถู ายภาพไมจ ําเปน ท่ีจะตองใชเพียงหลกั การอยางเดยี วในการจัด
องคป ระกอบภาพ แตค วรใชจ นิ ตนาการและความคดิ สรางสรรค ผนวกกบั แสง และสี ในการ
สรางสรรคผลงาน นอกจากน้ี ยังควรฝกฝนถายภาพบอยๆ เพ่อื ใหเกดิ ความชํานาญยิ่งข้ึน

3. แนวคดิ เกยี่ วกับการถา ยภาพบคุ คล

ภาพถายบคุ คล คือภาพถา ยของบุคคลทสี่ ามารถแสดงออกถึงตัวเองใหป รากฏออกมาใน
รปู แบบการบนั ทกึ สวนมากแสดงออกมาสายตา ทาทางและการสือ่ อารมณแบบไมไ ดจ ํากดั เพศและ
วัยความสมั พนั ธร ะหวา งแบบกับชา งภาพกม็ ีความสาํ คญั การทจ่ี ะทําใหแ บบสื่ออารมณตามทเี่ รา
ตอ งการเราก็มสี วนทําใหแ สดงอารมณแ ละความรสู กึ เหลา น้นั ออกมาจากการพดู สรา งมนษุ ย
สมั พนั ธกบั ตวั แบบดงึ ความเปนตวั เองของตวั แบบออกมาใหเ ปนธรรมชาติทสี่ ุด ทัง้ นกี้ ารถา ยภาพ
บคุ คล สามารถนิยามอยา งงา ย ไดว า คือการถา ยภาพเสมอื นจรงิ ของบคุ คล โดยเฉพาะสว นบริเวณ
ใบหนา แตใ นมุมมองของชางภาพมอื อาชพี แลว การถายภาพบคุ คลจะหมายถึงการถา ยภาพบุคคลที่
ไมเพยี งแตจ ะบนั ทึกลกั ษณะ ทางกายภาพของตวั แบบ แตร วมไปถึงอารมณความรูสกึ และ
บุคลิกภาพของตวั แบบดวย (ณชิ ากร เพียรวชิ า, 2554, หนา 1)

SPU CHONBURI 39

นอกจากน้ี สพุ จน โสตถสิ กลุ (2554, หนา 1) ยังกลา วเพมิ่ เติมวา ภาพถา ยบุคคล หรือ
Portrait Photography คือการถายภาพคน ทจี่ ะเนน ตวั แบบ (ตวั บุคคล) ในภาพนน้ั ๆใหภ าพออกมาดู
สวยงาม สรา งสรรคแ กผูท่พี บเห็นภาพ และถามีเชิงศิลปะเขามาย่งิ ทาํ ใหภาพบุคคลนน้ั สมบูรณม าก
ย่ิงขึ้น ในอดีตภาพบุคคล (Portrait) จะเกิดขึน้ จากการวาดภาพเหมอื นใบหนาบคุ คลเพื่อเปนการ
บนั ทกึ เพอ่ื ใหค นรุนหลงั ไดร บั รถู งึ ใบหนาของคนรนุ กอ น โดยจะพบเห็นตาม โบราณสถานเชน
ในปร ามิด เปน ตน ตอมาภาพวาดใบหนา บุคคลนน้ั ไดมกี ารพฒั นามาโดยตลอดใหดูเหมือนจริง
สวยงามข้นึ ภาพวาดบุคคลนัน้ มีความสาํ คัญทง้ั ในแงป ระวตั ศิ าสตรแ ละความสวยงาม ภาพบคุ คล
(Portrait) ในสมัยกอนถือเปน เร่ืองที่ใหญโ ต เพราะตอ งหาจติ รกรทีม่ คี วามสามารถและมีชือ่ เสยี งมา
วาดขึ้งตอ งเสียคาใชจ า ยท่มี รี าคาสงู เพื่อใหไ ดภ าพที่สวยงาม เหมือนจริงและยงั ตอ งใชเวลาท่นี านใน
การรอจติ รกรและเวลาในการวาดย่งิ รูปใหญย งิ่ ใชเ วลานาน

ภาพถา ยบคุ คล (Portrait) เม่ือวทิ ยาศาสตรม คี วามกา วหนาข้ึนจนมีการคดิ คนกลองถายภาพ
เลนซ และวธิ เี ก็บภาพทีถ่ า ยไวไดแ ละเกิดภาพถายบุคคล (Portrait) ขนึ้ ครง้ั แรกในป ค.ศ. 1839
หลังจากนน้ั เปน ตนมาภาพถายกไ็ ดเปนทนี่ ยิ ม และมีอยางแพรห ลายเนือ่ งมาจากภาพถายนัน้ ใชงาน
ไดสะดวกงา ยกวา การวาด และสามารถบันทกึ ภาพจากของจริง ซึ่งภาพถา ยบุคคล (Portrait) เปนที่
นยิ ม และแพรห ลายไปทว่ั โลกอยา งรวดเร็วเพราะมีความสะดวกรวดเร็วและเหมอื นจริงไมเ สียเวลา
น่งั รอจิตรกรวาดภาพเหมือนให

ภาพถายบคุ คลในประเทศไทย นาจะเรมิ่ ในสมัยของ รชั กาลที่ 3 แตม ีชา งภาพบุคคลเปน
ชา งภาพหลวงในสมยั รชั กาลที่ 4 และ 5 นอกจากเปน ชา งภาพหลวงแลว ยังไดมีการเปด รับถายภาพ
บุคคลโดยท่รี านถายภาพ หรอื สตูดโิ อ นบั เปน รา นรับถายภาพรา นแรกของเมอื งไทย จากการวาด
ภาพเหมอื นบคุ คลจนมกี ารพัฒนาการมาเปนภาพถายบคุ คลท่เี ปน ที่นิยม อยา ง รวดเรว็ เน่อื งมาจาก
ความสําคัญของภาพบุคคล ท่สี ามารถใชแ ทนนยั ยะตา งๆ ไดหลายๆอยา งตง้ั แตค วามเจรญิ ของ
บา นเมอื ง หรอื ใหเหน็ ฐานะและความมง่ั คงั่ ความสวยงาม เปน ตน (สุพจน โสตถิสกลุ , 2554, หนา
2)

3.1 ประเภทของการถายภาพบคุ คล (ณิชากร เพยี รวิชา, 2554, หนา 1)
3.1.1 Amateur Portrait คือการถา ยภาพบุคคลในลักษณะที่ไมเ ปน ทางการ มกั จะ

เปนในกลมุ ของญาติพีน่ อ งหรือเพอื่ นฝงู
3.1.2 Editorial Portrait คอื การถายภาพบุคคลท่ีมจี ุดประสงคในการนําไปตพี ิมพ

ประกอบบทความในหนงั สอื วารสาร หรือสิง่ พมิ พอื่นๆ
3.1.3 Fashion Portrait คอื การถา ยภาพบุคคลท่ีมีจดุ ประสงคในการนาํ เสนอเสือ้ ผา

เครื่องแตงกาย หรอื เคร่อื งประดับบนตวั แบบ การถายภาพแบบนจี้ ะตางจากการถา ยภาพบุคคลแบบ

SPU CHONBURI 40
อ่ืนๆ ตรงท่จี ะไมเนนความสําคญั ไปที่ตัวแบบ แตจ ะเนน ไปที่เสอื้ ผา เคร่ืองแตงกาย หรือเครอ่ี ง
ประดับท่ีตองการนาํ เสนอ

3.1.4 Studio Portrait คอื การถายภาพบุคคลทจ่ี ดั ข้ึนภายในสตูดิโอ โดยมกี าร
ควบคมุ แสงและสง่ิ แวดลอ มเปนอยางดี

3.1.5 Location Portrait คอื การถายภาพบุคคลทจ่ี ัดขนึ้ แบบ Outdoor
3.1.6 Environmental Portrait คอื การถายภาพบคุ คลท่โี ดยมากจะจดั ขึ้นแบบ
Outdoor แตจ ะมลี ักษณะพเิ ศษตรงท่ีในการถา ยภาพแบบนี้ ส่งิ แวดลอม หรอื สถานทที่ ่ีจัดการ
ถายภาพจะมสี ว นสาํ คญั ในการนาํ เสนอตวั แบบ
3.2 รปู แบบการถา ยภาพบคุ คล
3.2.1 Full Shot หรือภาพเต็มตวั
การถายภาพลกั ษณะนีจ้ ะเปน การถายภาพบุคคลทง้ั ตวั ใหอยภู ายในเฟรม ภาพถา ย
ในลกั ษณะนีน้ นั้ จะตองการส่ือถึงบรรยากาศรอบขา งของบคุ คลทใี่ ชเ ปน แบบ หรือกจิ กรรมทบ่ี คุ คลท่ี
ใชเ ปนแบบนน้ั กระทําอยู โดยทัง้ นีต้ องการส่อื ใหเ หน็ ทั้งตัว ใหทดลองถายภาพลกั ษณะน้ีดว ยการ
เหลอื ที่วางสักเล็กนอ ยไวว างดานบนเหนือหวั ของแบบและทางดานลางใตเทา ของแบบ (Canon,
2014)

ภาพที่ 57 การถา ยภาพเตม็ ตวั
3.2.2 Waist Shot หรอื ภาพครึง่ ตัว
ภายถายในลกั ษณะน้ีนนั้ จะแสดงภาพของบคุ คลที่ใชเ ปน แบบตง้ั แตเ อวขนึ้ ไป และ
มจี ดุ เดน ในเร่อื งของการแสดงใหเหน็ ถึงอารมณค วามรสู กึ และการแสดงออกทางใบหนาของแบบ
พรอมทงั้ แสดงสภาพแวดลอ มในการถายภาพสกั เลก็ นอยไปพรอมกนั ใหทดลองทาํ การถายภาพใน
ลักษณะนด้ี ว ยการเหลอื ทวี่ า งสักเล็กนอ ยไวท างดานบนเหนือหวั ของแบบและจดั ตาํ แหนงแนวสาย
ตาของแบบใหอยเู หนือเสน กึง่ กลางหนาจอ LCD ของตวั กลอ ง (Canon, 2014)

SPU CHONBURI 41

ภาพท่ี 58 การถา ยภาพครงึ่ ตวั
3.2.3 Bust Shot หรอื ภาพถา ยบุคคลคร่ึงตวั ระดบั หนาอกขน้ึ ไป
การถายภาพในลักษณะน้ีน้ันจะแสดงภาพของบุคคลที่ใชเปนแบบจากระดับอกขึ้น
ไป ภาพในลักษณะน้ีมีจดุ เดนในเร่ืองของการแสดงใหเห็นถึงการแสดงออกทางใบหนา ของแบบ
พรอมกับใหความรูสึกของภาพถายท่ีมีความใกลหรือ Closeness ทานสามารถทําการถายภาพใน
ลักษณะน้ีไดโดยท่ีไมจําเปนตองคํานึงถึงการเหลือท่ีวางไวทางดานบนเหนือหัวของแบบ (Canon,
2014)

ภาพท่ี 59 การถายภาพครง่ึ ตวั ระดบั หนา อกขึน้ ไป
3.2.4 Close-up หรือการถา ยภาพทมี่ มี ุมมองแบบใกลช ดิ
ภาพในลักษณะน้นี น้ั จะแสดงใหเห็นถงึ ใบหนาท้งั ใบของบคุ คลทใ่ี ชเปนแบบและ
เหมาะสมอยางยง่ิ กบั การถายภาพทตี่ อ งการเนนย้าํ ใหเ หน็ ถงึ อารมณค วามรสู กึ และการแสดงออกทาง
ใบหนาของบคุ คลที่ใชเปน แบบ ใหท ดลองทําการถา ยภาพในลักษณะนดี้ วยการจดั ตาํ แหนง จมกู ของ
แบบไวท แ่ี นวก่ึงกลางหนา จอ LCD ของตัวกลอ ง (Canon, 2014)

42

ภาพท่ี 60 การถายภาพทมี่ มี มุ มองแบบใกลชิด
3.2.5 Extreme Close-up หรอื การถายภาพทมี่ มี มุ มองแบบใกลชิดมาก
การถา ยภาพในลักษณะนนี้ น้ั จะใชเ มอื่ ตอ งการขยายสว นใดสวนหนงึ่ ของแบบที่
ทา นตองการทาํ การเนน ยา้ํ ยกตวั อยางเชน การถา ยภาพดวงตา ปาก น้ิวมอื มอื หรอื การถา ยภาพเทา
ภาพถา ยในลกั ษณะนี้นน้ั มจี ดุ เดน ในเรอื่ งของการดงึ ความสนใจโดยตรงแกผ ทู ่ีมองภาพถา ย (Canon,
2014)

ภาพที่ 61 การถายภาพทม่ี มี มุ มองแบบใกลช ดิ มาก
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI  

บทท่ี 3

รายละเอียดของโครงงาน

การศึกษาเรอื่ ง เทคนิคการถา ยภาพบคุ คลนอกสถานที่ของบรษิ ทั ชลบรุ ี เวดดิ้ง
มรี ายละเอยี ดในการทาํ โครงงานดงั น้ี

วัตถุประสงคข องโครงงาน

1. เพ่อื ศกึ ษาการถา ยภาพบุคคลนอกสถานท่ีของบรษิ ัท ชลบรุ ี เวดด้งิ
2. เพอ่ื ศึกษาปญหาและอุปสรรคการถายภาพของบรษิ ัท ชลบรุ ี เวดดิง้

ขอบเขตของการดาํ เนินโครงงาน

ผศู ึกษาไดเขาปฏบิ ัติงานทบ่ี ริษทั ชลบรุ ี เวดดงิ้ โดยศกึ ษาบทบาทหนาทีค่ วามสําคญั และ
อปุ สรรคในการทาํ งานซึ่งในระหวา งการฝกปฏบิ ตั ิงาน ศกึ ษาจากภาพถา ย บคุ คลนอกสถานท่ี
ท้งั หมด 10 แหง ของบรษิ ัท ชลบรุ ี เวดดง้ิ จาํ นวน 10 ภาพ ดังน้ี

1. สถานท่ี บา น 300 เขาสามมุก จํานวน 2 ภาพ
2. สถานท่ี ถํา้ คา งคาว อา งศิลา จาํ นวน 2 ภาพ
3. สถานท่ี อา งเก็บน้าํ บางพระ จาํ นวน 2 ภาพ
4. สถานที่ จกั รนั ฤเบศ สตั หบี จํานวน 2 ภาพ
5. สถานที่ วัดโกมทุ รัตนาราม จํานวน 2 ภาพ
6. สถานที่ คายทหาร สตั หีบ จํานวน 2 ภาพ
7. สถานที่ ทุงหญา ขา งรา น ชลบุรี เวดดงิ้ จาํ นวน 1 ภาพ
8. สถานที่ เกาะสชี งั ศรีราชา จํานวน 1 ภาพ
9. สถานที่ สวนสน ถนนขา มหลาม จาํ นวน 2 ภาพ
10. สถานที่ บานแดง อา งศลิ า จํานวน 2 ภาพ

44 

ผลทคี่ าดวาจะไดร ับจากการดําเนนิ งานโครงงาน

1. ไดท ราบถงึ กระบวนการถา ยภาพบคุ คลนอกสถานทีข่ องบริษัท ชลบรุ ี เวดดิ้ง
2. ไดท ราบถึงปญหา และ อปุ สรรคในการปฏิบตั งิ านถายภาพบคุ คลนอกสถานทข่ี อง
บริษทั ชลบรุ ี เวดด้ิง

SPU CHONBURI

SPU CHONBURI  

บทที่ 4
ผลการดาํ เนนิ งาน

การถา ยภาพบคุ คลนอกสถานทข่ี องบรษิ ัทชลบรุ ี เวดด้ิง มผี ลการดําเนนิ งานดังน้ี

1. อปุ กรณท ใ่ี ชใ นการถา ยภาพ

1.1 กลอ งดจิ ิทลั Nikon D750 เปน กลอ งทมี่ ีคณุ สมบตั ติ วั กลอ งทมี่ ีขนาดกะทดั รดั และ
น้าํ หนกั เบา มมี อื จบั ชวยเสรมิ ความกระชับขณะถือตวั กลอง รูปทรงคลองแคลวกะทัดรดั ชว ยเสรมิ
ศักยภาพของภาพถา ยความละเอยี ดสูงระดบั 24.3 ลา นพิกเซล นอกจากน้กี ลอ งยังสามารถถา ยภาพ
ตอเน่อื งทค่ี วามเรว็ ประมาณ 6.5 ภาพตอวนิ าที *2 สงู สดุ 100 ภาพสาํ หรบั ไฟล JPEG *3 ทง้ั ใน
รูปแบบ FX และ DX ซึ่งจะชวยเพิม่ ความสามารถในการจับภาพเคล่ือนไหว ตัวกลอ งมีแฟลชในตัว
และฟงกช น่ั การบนั ทึกภาพยนตร ตามมาตรฐาน CIPA ระบบไฟลภาพ JPEG คณุ ภาพดี/ขนาดใหญ
ในรูปแบบ FX (สงู สุด 87 ภาพ)

ภาพท่ี 62 กลองดิจทิ ลั Nikon D750

SPU CHONBURI 46
1.2 แฟลช Godox AD200 เปนแฟลชพกพางา ยขนาดเล็ก น้ําหนักเบา พลังงาน200Ws มี
หลอดแฟลช 2 แบบ speedlite และหลอดไฟเปลือย (ใชอ ปุ กรณเดยี วกับ AD360) อณุ หภมู สิ ีที่
5600±200K ใชงานรวมกบั ระบบ Godox X System 2.4Ghz แบตเตอร่ลี ิเธยี มมีความจขุ นาดใหญ
(14.4โวลต/ 2900มิลลแิ อมปช่วั โมง) สามารถใชง านได 500 ครง้ั ทเ่ี ต็มกาํ ลงั รีไซเคิลไทม (ความเรว็
ในการชารต ) 0.01 ~ 2.1วนิ าที มีระบบตาแมว Optical Slave และ Godox X System 2.4Ghz เขา กัน
ไดส ําหรบั Canon E-TTL สาํ หรับกลอ ง Nikon แบบ i-TTL และสาํ หรบั Sony TTL

ภาพที่ 63 แฟลช Godox AD200
1.3 แฟลช AD600BM เปน แฟลชเจนเนอเรช่นั ใหมใ นการออกแบบ ปรบั เปลย่ี นวธิ กี าร
ออกแบบแฟลชสตดู โิ อสาํ หรับใชง านภายนอกสถานที่ โดยออกแบบใหมขี นาดเลก็ กาํ ลังไฟแรง
เปนระบบ Manual มีตวั รบั สัญญาณวิทยแุ บบในตัวสามารถใชก บั ตัวสงสัญญาณ X1T-Cสาํ หรบั
Canon และ X1T-N สําหรบั Nikon ไดทนั ที เหมาะกับใชง านนอกสถานที่ มาพรอมกบั แบตเตอร่ที ี่
สามารถใชง านไดมากถงึ 500 คร้งั เมอ่ื ยิงเต็มกาํ ลัง มรี ะบบสญั ญาณวทิ ยุ 2.4Ghz สั่งงานในตวั เมอื่
เชื่อมตอกบั Trigger X1T-C X1T-N สามารถสั่งงานเพ่ิมหรือลดกําลังได และ สามารถใชความเรว็
ชัตเตอรกลองไดท ่ี 1/8000 LCD Display สามารถปรบั คา ตางๆ บนตวั แฟลชไดง า ยมเี สยี งแสดง
สถานะพรอมใชงาน โหมด Multi Flash 1-99Hz , 1-99Time สามารถใชงานยิงตอ เนอ่ื งไดเ ปน
จาํ นวนมากโดยไมรอ น

SPU CHONBURI 47

ภาพที่ 64 แฟลช AD600BM
1.4 เลนส Nikon AF-S 14-24 ขนาดรูรับแสงกวา ง f/2.8 คงที่ตลอดทุกชวงซมู ชน้ิ
เลนสค ุณภาพสูง ไดร ับการออกแบบพิเศษ ใหภ าพคมชดั คอนทราสตสูง สีสันอิม่ ตวั ชิ้นเลนสพเิ ศษ
ED (Extra-low dispersion) ลดความคลาดเคล่อื นสใี หภาพคมชดั และคอนทราสตสูง Aspherical
เสน ผาศนู ยก ลางขนาดใหญล ดความคลาดเคลอื่ นแมถ ายภาพทีข่ นาดรรู บั แสงกวา งสดุ Nano Crystal
Coat โคทช้ินเลนสพ ิเศษลดการเกดิ แสงสะทอ นในกระบอกเลนสเพือ่ ปอ งกนั แสงแฟลร
Nikon Super Integrated Coating โคทช้ินเลนสพิเศษใหส สี ันอ่ิมตวั และลดการเกดิ แสงแฟลร ระบบ
ขบั เคลือ่ นโฟกัส IF ขับเคลื่อนชิ้นเลนสภายใน กระบอกเลนสไมย ดื เขา -ออกขณะโฟกสั ระยะโฟกสั
ใกลสดุ 0.28 ม./0.9 ฟุต ทชี่ วงทางยาวโฟกัส 18-24 มม. ปมุ M/A เปลี่ยนโหมดโฟกสั ออโตโฟกัส-
แมนนวล ไดทนั ที แมใ นขณะใชง านออโตโ ฟกัสแบบตดิ ตาม มาพรอมเลนสฮูดทรงกลีบดอกไม
สําหรบั ปอ งกันแสงแฟลร

ภาพท่ี 65 เลนส Nikon AF-S 14-24

SPU CHONBURI 48
1.4 เลนส Nikon AF-S VR Micro-Nikkor 105mm f/2.8G IF-ED เลนสม าโครตวั แรกใช
มอเตอรขับเคลื่อนระบบออโตโ ฟกสั Silent Wave Motor (SWM) และระบบปองกนั การสนั่ ไหว
(Vibration Reduction, VR) และรองรบั การใชง านกับกลอ ง SLR ดจิ ติ อล และกลอง SLR ฟล ม 35
มม.นอกจากนยี้ ังมีเทคโนโลยีการผลิตชิ้นเลนสระดบั สงู ไดแก การโคท ผวิ เลนสพเิ ศษแบบ Nano
Crystal Coat, ชน้ิ เลนสพิเศษ ED (Extra low Dispersion) และ ระบบขบั เคลือ่ นโฟกัสภายใน (IF
,Internal Focus)ระบบขบั เคลือ่ นโฟกัส Silent Wave ชวยใหสามารถโฟกัสวตั ถไุ ดเงยี บและรวดเรว็
พรอ มปุมปรบั โหมดการโฟกสั แบบออโตโฟกสั และแมนนวลที่เลนส และระบบโฟกสั แบบ IF ชว ย
ใหหนา เลนสไมหมนุ ขณะหาโฟกสั เปน ประโยชนส าํ หรบั ผูที่ใชฟ ล เตอร Circular Polarizing
ระบบปอ งกนั การส่ันไหวแบบใหม VRII ผูใ ชสามารถถายภาพดว ยความไวชตั เตอรต ํ่ากวา ปกติถึง 4
สต็อป จึงไดภาพคมชดั แมใ นสภาพแสงนอ ย ซ่ึงเปน ประโยชนอ ยางยงิ่ สาํ หรับการถายภาพมาโคร
ใหไ ดภาพคมชัดแมใชมือถอื กลอง นอกจากน้รี ะบบ VRII ยังปองกันการสนั่ ไหวสําหรับภาพทม่ี อง
ผา นชองมองภาพเพ่อื ใหส ามารถจดั องคป ระกอบภาพไดงา ยขึน้ แมถายภาพทอ่ี ัตราการขยายสูง

ภาพที่ 66 เลนส Nikon AF-S VR Micro-Nikkor 105
1.5 Nikon AF-S 58mm f/1.4 G-Nikkor เปน เลนสท ีร่ วบรวมเอาเทคโนโลยีระดบั สูงท่ี
ไดรบั การพฒั นามาอยางยาวนานของ นิคคอรใ นการเก็บภาพแหลงกาํ เนิดแสงเมือ่ ใชร ูรบั แสงทมี่ ี
ขนาดกวา งสงู สุด และสามารถถา ยทอดมติ ขิ องวตั ถดุ วยโบเกท นี่ มุ และสวยงาม นอกจากนี้ เม่อื ใชใน
การถายภาพระยะไกลในเวลากลางคนื เลนสจ ะลดการหกั เหของแสงซ่งึ ชวยลดการเกดิ ภาพดวงไฟ
ทม่ี ีลกั ษณะเปน แฉก ทําใหภ าพท่ีคมชัดตลอดท้ังเฟรม แมเม่อื รูรบั แสงถกู ปรับใหมขี นาดกวา งสงู สุด
เพอื่ การสรา งสรรคภ าพทวิ ทศั นก ลางคืนท่ีใสและคมชดั AF-S NIKKOR 58 มม. f/1.4G ยงั มี
ความสามารถท่นี าประทบั ใจในการถายทอดภาพถา ยคณุ ภาพสูงพรอ มโบเกท่ี สวยงามซง่ึ ชว ยใหจ ดุ
โฟกสั ใหมีความคมชดั มากขน้ึ สงผลใหภาพดมู มี ติ มิ ากยงิ่ ขน้ั

49

ภาพท่ี 67 เลนส Nikon AF-S 58

2. เทคนคิ การถา ยภาพ

การถายภาพบคุ คลนอกสถานที่ของบรษิ ทั ชลบรุ ี เวดดงิ้ มกี ารศึกษาวิเคราะหเทคนิคการ
ถายภาพจากสถานทท่ี ง้ั หมด 10 แหง ดงั นี้

2.1 สถานที่ บา น 300 เขาสามมกุ จาํ นวน 2 ภาพ
2.2 สถานที่ ถ้าํ คา งคาว อางศิลา จํานวน 2 ภาพ
2.3 สถานที่ อา งเก็บนํ้าบางพระ จาํ นวน 2 ภาพ
2.4 สถานที่ จกั รันฤเบศ สตั หีบ จาํ นวน 2 ภาพ
2.5 สถานที่ วดั โกมทุ รตั นาราม จาํ นวน 2 ภาพ
2.6 สถานที่ คายทหาร สตั หบี จํานวน 2 ภาพ
2.7 สถานที่ ทงุ หญา ขางราน ชลบรุ ี Wedding จาํ นวน 1 ภาพ
2.8 สถานที่ เกาะสชี ัง ศรรี าชา จาํ นวน 1 ภาพ
2.9 สถานที่ สวนสน ถนนขา มหลาม จํานวน 2 ภาพ
2.10 สถานท่ี บา นแดง อา งศลิ า จํานวน 2 ภาพ
SPU CHONBURI


Click to View FlipBook Version