The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือศิษย์เก่าดีเด่นประจำปี 2559-CMRU

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ampol jarernsuk, 2021-01-06 20:52:54

หนังสือศิษย์เก่าดีเด่นประจำปี 2559-CMRU

หนังสือศิษย์เก่าดีเด่นประจำปี 2559-CMRU

สารบัญ ๑

พระพิฆเนศวร ๓
ตราประจำ� มหาวิทยาลัย ๓
คา่ นยิ มหลัก ๓
วิสยั ทศั น ์ ๓
ปรชั ญา ๓
อัตลักษณ ์ ๓
เอกลกั ษณ์ ๔
คำ� ขวญั ๖
สารแสดงความยินดอี ธิการบดี ๗
ประกาศเกียรตคิ ณุ ศิษยเ์ กา่ ดีเดน่ ๑๑
l ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยจ์ นิ ตนา เวชม ี ๑๕
สาขาบรหิ ารสถาบนั การศกึ ษา ๑๙
l นายธน ู มีสตั ย์ ๒๓
สาขาบริหารสถาบนั การศึกษา ๒๗
l นายไพบูลย์ พทุ ธวงค ์ ๓๑
สาขาบริหารสถาบนั การศกึ ษา ๓๕
l นายบรรเจดิ ถาบญุ เรือง ๓๖
สาขาวิชาการหรือวิชาชีพ
l ดร.วารณุ ี โพธาสนิ ธุ์
สาขาวิชาการหรอื วิชาชพี
l นายสยาม นนทค์ ำ� จนั ทร์
สาขาบริหารราชการ หรือรฐั วสิ าหกิจ
l ดร.บุญทา ชัยเลิศ
สาขาบริหารธุรกิจ
เพลงราชภฏั สดุด ี
เพลงเทิดศักดิส์ ถาบัน



พิฆเนศวรเด่นหลา้ แดนเรา
ลกู ดำ� -เหลือง เคยเนา ถน่ิ นี้
เคยเรยี น-เล่น คำ�่ เช้า แชม่ ช่นื
สรา้ ง “ศิษย์” สมศักดิ์ศรี เด่นดว้ ยความดี

พระพิฆเนศวร

องคเ์ ทพแหง่ ปัญญาและความส�ำเร็จ



ตราประจำ� มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่

สญั ลกั ษณป์ ระจำ� มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่
เป็นพระราชลัญจกรประจ�ำพระองค์รัชกาลที่ ๙ ซงึ่ เป็น
รูปพระที่น่ังอัฐทิศ ประกอบด้วยวงจักร กลางวงจักร
มอี กั ขระอุ หรอื เลข ๙ รอบวงจากมรี ศั มเี ปลง่ ออกโดยรอบ
เหนอื จกั รเปน็ รปู เศวตฉตั ร ๗ ชน้ั ฉตั รตง้ั อยบู่ นพระทนี่ งั่
อัฐทิศ แปลความหมายว่าทรงมีพระบรม เดชานุภาพ
ในแผ่นดิน โดยที่วันบรมราชาภิเษก ตามโบราณ
ราชประเพณีได้เสด็จประทับเหนือพระท่ีนั่งอัฐทิศ
สมาชกิ รฐั สภาถวายนำ้� อภเิ ษกจากทศิ ทงั้ ๘ ดา้ น ดา้ นบนตรา
มีอักษรข้อความว่า “มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่”
ด ้ า น ล ่ า ง ต ร า มี อั ก ษ ร ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ข ้ อ ค ว า ม ว ่ า
CHIANG MAI RAJABHAT UNIVERSITY ตราน้ีมี
5 สี มีความหมายดงั น้ี

สนี ำ้� เงิน แทนคา่ สถาบนั พระมหากษตั ริยผ์ ใู้ หก้ �ำเนดิ และ
พระราชทานนามราชภัฏ
สีเขียว แทนค่า แหลง่ ทีต่ ง้ั ของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ
ในแหลง่ ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มทสี่ วยงาม
สที อง แทนค่า ความเจริญรงุ่ เรืองทางภมู ปิ ัญญา
สสี ้ม แทนค่า ความร่งุ เรืองของศลิ ปวัฒนธรรมท้องถ่ิน
สีขาว แทนคา่ ความคิดอนั บริสุทธ์ิของนกั ปราชญ์
แห่งพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว



ค่านิยมหลกั มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่

C Community สถาบนั อุดมศกึ ษาเพอื่ พฒั นาทอ้ งถิน่ ใหก้ า้ วไกล
M Moral สรา้ งบณั ฑติ ดสี สู่ งั คมไทยดว้ ยอดุ มการณแ์ หง่ ศลี ธรรม
R Royal น้อมน�ำพระราชดำ� รมิ าปฏบิ ัตเิ พ่อื พฒั นาสังคม
U Unity ด้วยจิตอาสาพฒั นาสถาบนั เปน็ หนึ่งเดียว

วสิ ยั ทัศน์

เป็นมหาวทิ ยาลัยชั้นน�ำระดบั ประเทศ ในการผลิตและพัฒนาครู
และเป็นมหาวิทยาลัยเพือ่ การพัฒนาท้องถิ่น

ปรชั ญา การศกึ ษาเปน็ หัวใจของการพัฒนาท้องถ่ิน
อตั ลักษณ์ บัณฑติ มที กั ษะชวี ิต จติ สาธารณะ และสงู้ าน
เอกลักษณ์ สถาบนั อดุ มศกึ ษาเพ่อื การพฒั นาท้องถ่ิน
คำ� ขวญั คนดีสร้างชาติไทย ราชภฏั เชียงใหม่สร้างคนดี



สารแสดงความยินดี

อธิการบดี

มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม่

ตลอดระยะเวลา ๙๒ กว่าป ี มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่ได้ผลติ บคุ ลากรออก
ไปรบั ใช้สังคมเปน็ จ�ำนวนมาก ศษิ ย์เก่าทีส่ �ำเรจ็ การศึกษาท้ังจากวทิ ยาลยั ครูเชียงใหม ่
สถาบนั ราชภฏั เชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม ่ ได้มโี อกาสเข้าทำ� งานใน
หนว่ ยงานและองค์กรตา่ ง ๆ มากมาย ทัง้ ภาครฐั และภาคเอกชน โดยศิษยเ์ กา่ ไดใ้ ช้
ความรู้ ความสามารถของตนสรา้ งผลงานทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน สงั คม และประเทศ
ชาติจนเป็นที่ประจักษ์ การคัดเลือกศิษย์เก่าดีเด่นในสาขาต่าง ๆ เพ่ือประกาศ
เกียรตคิ ณุ และเป็นแนวทางใหแ้ กน่ กั ศึกษาปัจจุบัน ศิษยเ์ กา่ ตลอดจนบุคคลในสงั คม
ได้ยึดถือเป็นแบบอย่างที่ดีต่อไป มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ตระหนักอยู่เสมอว่า
นกั ศึกษาที่เขา้ มาใชช้ วี ิตในร้ัวดำ� – เหลือง แห่งนีจ้ ะตอ้ งไมเ่ พยี งได้รับความรู้ในศาสตร์
หรอื สาขาที่ได้เรยี นเพยี งเทา่ นั้น แต่จะตอ้ งได้รับประสบการณต์ า่ ง ๆ อาทิ การอยู่
รว่ มกนั การทำ� กจิ กรรม การชว่ ยเหลอื การแบง่ ปนั ความสามคั ค ี และการเปน็ ผนู้ ำ�
เป็นต้น ตามค�ำขวัญของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ท่ีว่า “คนดีสร้างชาติไทย
ราชภฏั เชยี งใหม่สรา้ งคนดี”



มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ขอให้ศิษย์ทุกคนจงอย่าหยุดท่ีจะเรียนรู้ โดยให้
พฒั นาตนเองอยู่เสมอ เพ่ือสรา้ งความสำ� เรจ็ ในหนา้ ที่การงาน สรา้ งความภาคภูมใิ จ
ให้กับตนเอง และสร้างช่ือเสียงให้แก่มหาวิทยาลัย โดยส่ิงที่มหาวิทยาลัยคาดหวัง
คอื การทศ่ี ษิ ยเ์ กา่ ไดแ้ สดงความกตญั ญตู อ่ ครบู าอาจารยแ์ ละสถานศกึ ษาดว้ ยการสรา้ ง
คณุ คา่ แห่งตน สรา้ งคุณงามความด ี อยอู่ ยา่ งมศี กั ดศิ์ รี สร้างสรรค์กจิ กรรมศษิ ยเ์ กา่
ช่วยเหลือศิษย์ปัจจุบัน ร่วมกันพัฒนามหาวิทยาลัย และมีสายสัมพันธ์ที่ดีร่วมกับ
สถาบนั อนั ทรงเกยี รติทีเ่ กา่ แกแ่ หง่ นี้
ในนามของผู้บรหิ าร คณาจารย์ บุคลากร และนกั ศกึ ษาทุกคน ขอแสดงความ
ยนิ ดีกับศิษยเ์ ก่าดีเด่น ประจำ� ป ี ๒๕๕๙ ทกุ คน ขออาราธนาสิ่งศักดสิ์ ทิ ธ์ทิ ้งั หลายที่
ศิษย์เก่าเคารพนับถือ บารมแี ห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ฯ บารมีแห่งองค์
พระพิฆเนศวร เทพประจ�ำมหาวิทยาลัย จงปกป้องคุ้มครองให้ศิษย์เก่าทุกคน
ประสบแตค่ วามสขุ ความเจรญิ ไมม่ โี รคภยั และปลอดภยั จากภยนั ตรายทง้ั ปวงทกุ คน
ตลอดไป

(รองศาสตราจารย์ ดร. ประพนั ธ ์ ธรรมไชย)
อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่


ประกาศเกียรติคุณศษิ ยเ์ กา่ ดเี ดน่
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม่

ประจำ� ปี ๒๕๕๙

๔ มกราคม ๒๕๖๐

ณ หอประชมุ ทีปังกรรัศมโี ชติ
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงใหม่ ศูนยแ์ ม่ริม

อ�ำเภอแมร่ มิ จงั หวดั เชยี งใหม่



ผศ.จนิ ตนา เวชมี

ศษิ ย์เกา่ ดเี ด่น

สาขาบริหารสถาบันการศกึ ษา

ต�ำแหนง่ ปัจจุบัน
รองอธกิ ารบดฝี ่ายบริหารและกจิ การนกั ศึกษา
มหาวิทยาลยั ราชภฏั เทพสตรี

ประวัตกิ ารศกึ ษา

l ปี พ.ศ. ๒๕๑๓ ปกศ.สูง วทิ ยาลัยครเู ชยี งใหม่
l ปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ปรญิ ญาตรี คณะครศุ าสตร์ วิทยาลยั วชิ าการศกึ ษาพิษณโุ ลก
l ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ ปริญญาโท คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

ประวตั ิการทำ� งาน
l ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ อาจารยม์ หาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา
l ปี พ.ศ. ๒๕๓๒ รองผู้อำ� นวยการส�ำนักงานสหวทิ ยาลัยพระนครศรอี ยธุ ยา
สำ� นักงานสหวทิ ยาลยั พระนครศรอี ยธุ ยา
l ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ รองอธิการฝา่ ยวางแผนและพฒั นา
วทิ ยาลยั ครพู ระนครศรีอยุธยา
l ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ รองอธกิ ารบดีฝา่ ยบริหาร สถาบันราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา
l ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ รองอธิการบดฝี า่ ยกจิ การพิเศษ สถาบนั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา
l ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ รองอธิการบดฝี า่ ยวจิ ัยและบริการวชิ าการ
สถาบันราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา

๗7

l ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ รองคณบดคี ณะครศุ าสตรฝ์ ่ายวจิ ัยและพัฒนา
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ประธานสภาคณาจารย์และข้าราชการ
มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ผอู้ ำ� นวยการสถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ รองอธิการบดีฝา่ ยบริหาร วางแผนและพฒั นา
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เทพสตรี
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ รองอธิการบดีฝา่ ยบริหารและกิจการนกั ศึกษา
มหาวิทยาลยั ราชภัฏเทพสตรี

ผลงาน เกียรติประวัติ รางวัลภาคภูมใิ จทไี่ ด้รบั
l ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ วทิ ยากรกระบวนการ ใหก้ ับหวั หนา้ สว่ นราชการระดบั จงั หวดั
เนน้ เรอื่ งการสร้างความเขม้ แข็งให้กับชุมชน
l ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ หวั หน้าโครงการประเมินผลจังหวดั ทดลองแบบบรู ณาการเพือ่ การพัฒนา
(จังหวดั ชัยนาท)
l ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ หวั หนา้ โครงการประเมินโครงการประสานพลังแผน่ ดนิ
l ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ผู้ประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการตามค�ำรับรองการปฏบิ ตั ิราชการ
ของผวู้ า่ ราชการจังหวดั
l ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ท่ีปรกึ ษาสถาบนั วจิ ัยและพัฒนา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เทพสตรี



l ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ วิทยากรการวิจยั เพ่อื พฒั นาการเรียนรสู้ ู่การท�ำผลงานวชิ าการใหก้ บั
เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ เปน็ แกนน�ำในการขับเคลอ่ื นการจัดทำ� สมัชชาสขุ ภาพเฉพาะพน้ื ที่
ของจงั หวัด เกี่ยวกบั การพฒั นาเดก็ และเยาวชน
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ เปน็ คณะกรรมการสง่ เสรมิ การเมอื งภาคพลเมอื งประจำ� ภาคกลางตอนบน
และตะวนั ตก
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็นผู้สังเคราะหผ์ ลงานวจิ ัยการปฏิรปู การศึกษาท้องถน่ิ ในชว่ งปี
๒๕๔๗ - ๒๕๕๑ ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ๔๐ แหง่ ในงานประชมุ วชิ าการ
“การวิจยั ทอ้ งถ่นิ เพอื่ แผน่ ดนิ ไทย” ในระดับชาติครัง้ ท่ี ๑ ระหว่างวนั ท่ี
๑-๕ เมษายน ๒๕๕๒ ณ ศูนย์แสดงสนิ ค้าและการประชุมอมิ แพค
เมอื งทองธานี กรุงเทพฯ

จากใจศิษย์เก่า

เมอื่ ถามถงึ ความรสู้ กึ ทไ่ี ดร้ บั รางวลั ศษิ ยเ์ กา่ ดเี ดน่ สาขา
บริหารสถาบันการศึกษาในปีนี้ ผศ.จินตนา เวชมี กล่าวว่าดีใจ
ภาคภูมใิ จทีไ่ ดเ้ รยี นท่มี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่ (สมัยนั้นคอื
วิทยาลัยครูเชียงใหม่) เป็นสถาบัน ท่ีสร้างคนด้วยกระบวนการ
ฝึกปฏิบัติจริง ภายใต้ความเอาใจใส่ท่ีดีของอาจารย์ท่ีปรึกษา
อาจารย์ฝ่ายวิชาการและฝ่ายกิจการนักศึกษา เราได้ฝึกคิด
วางแผนการจัดการศึกษาของตนเอง ตั้งแต่การออกแบบการ
เรียนจากคู่มือนักศึกษา เลือกวิชาเรียน เลือกเวลาเรียน เลือก
อาจารยผ์ สู้ อนจากแผนการเรยี นทฝี่ า่ ยวชิ าการกำ� หนดให้ เราคดิ
เป็นตง้ั แตเ่ รยี น ปกศ.ตน้ เมอ่ื จบการศกึ ษาระดบั ปกศ.ตน้ ก็ได้
เรียนต่อ ปกศ.สูง ตามค�ำแนะน�ำของคณาจารย์ เลือกวิชาเอก
วิชาโท วางแผนการเรียนด้วยตนเอง มีอาจารย์ท่ีปรึกษาคอย
แนะน�ำ เราเช่ือว่าระบบและกลไกที่สถาบันจัดให้ในช่วงท่ีเรียน ท�ำให้เราคิดเป็น ท�ำเป็น ในด้าน
กิจการนักศึกษา เราได้โอกาสในการท�ำงานไม่ว่าจะเป็นงานบรหิ ารองคก์ ารนักศึกษา หรืองานตาม
ประเพณีวัฒนธรรม คนที่ชอบและมีทักษะในการบริหารจัดการได้รับโอกาสฝึกปฏิบัติอยู่เสมอ
ขอขอบคุณผบู้ ริหารและอาจารยว์ ิทยาลยั ครเู ชียงใหม่ ทีใ่ หโ้ อกาสไดฝ้ ึกคดิ ต้ังแตเ่ ดก็ ๆ



สำ� หรบั ความความรู้ที่ไดจ้ ากสถาบนั แห่งนี้ ทง้ั จากการเรยี นวิชาเอก (คณติ ศาสตร)์ และ
วชิ าโท (ภาษาองั กฤษ และวทิ ยาศาสตร)์ สามารถนำ� ไปตอ่ ยอดในการศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาตรี
ท่ีวิทยาลัยวิชาการศึกษาท่ีพิษณุโลก และใช้ต่อในการเรียนปริญญาโทท่ีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แต่นอกเหนือจากความรู้ในศาสตร์ที่เรียนที่ส�ำคัญยิ่งกว่าความรู้ คือ การได้จ�ำลองประสบการณ์
ทเ่ี คยได้รบั ไปดำ� เนินการอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเมอ่ื มีโอกาส การใหโ้ อกาสกบั คนเปน็ เรื่องส�ำคญั ชว่ งหนึ่งที่
ไดท้ ำ� งานดา้ นการพฒั นาเดก็ และเยาวชน ไดใ้ หโ้ อกาสกบั ผนู้ ำ� เดก็ และเยาวชนจดั กจิ กรรมตามบรบิ ท
ของชุมชนภายใต้สโลแกน “เด็กน�ำผู้ใหญ่หนุน” ท�ำให้มีผู้น�ำเด็กและเยาวชนท่ีกล้าแสดงความ
คิดเห็นและก้าวไปเป็นแกนน�ำชุมชนหลายคน หรือแม้กระท่ังการเป็นวิทยากรกระบวนการที่เปิด
โอกาสให้ผู้ร่วมเวทีได้แสดงความเห็นเสนอความคิดก็เป็นส่วนหน่ึงท่ีเราได้รับการฝึกปฏิบัติจาก
วทิ ยาลัยครเู ชยี งใหม่ บม่ เพาะใหเ้ ราเป็นคนฟังคนอนื่ และใหโ้ อกาสคนอ่ืน
ส�ำหรบั บัณฑิตมหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่ ควรมคี ณุ ลกั ษณะอย่างไรนั้น สง่ิ แรกทคี่ วร
มคี อื การทำ� งานเปน็ รเู้ ทา่ ทนั การเปลย่ี นแปลงของสงั คม การปรบั ความรไู้ ปใชก้ บั ชมุ ชนทตี่ นเองอยู่
หรอื องคก์ รทตี่ นเองทำ� งานใหไ้ ด้ ไมอ่ ยากใหบ้ ณั ฑติ ทง้ิ ถน่ิ ออกมาอยใู่ นชมุ ชนเมอื ง อยากเหน็ บณั ฑติ
น�ำความรู้ที่เรียนไปใช้พัฒนาต่อยอดอาชีพของพ่อแม่ หรืออาชีพของคนในชุมชน รักชุมชน
เปน็ ผนู้ ำ� ชมุ ชน อยากใหบ้ ณั ฑติ มคี วามรตู้ ามศาสตรท์ เ่ี รยี นแบบมอื อาชพี มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง
ต่อครอบครวั และตอ่ องคก์ รทท่ี �ำงาน และสุดท้ายขอให้บัณฑิตหวงแหนชมุ ชนท่ีอยู่อาศยั
ในสว่ นของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่ ควรพฒั นาตามเจตนารมณข์ องพระราชบญั ญตั ิ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ ด้วยการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถ่ิน ปรับปรุง
หลักสูตร ในรูปแบบสหวิทยาการ จัดการเรียนรู้ ที่เน้นการปฏิบัติจริง พัฒนาครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษาใหไ้ ดม้ าตรฐานทางวชิ าชพี ครภู ายใตก้ ารมสี ว่ นรว่ มจากภาคเี ครอื ขา่ ยผใู้ ชค้ รู สบื สาน
โครงการตามพระราชด�ำริในเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ล�ำพูน บริหารจัดการงานวิจัย
ที่ตอ่ ยอดพฒั นาภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ถ่ายทอดเทคโนโลยใี หม่ๆ ให้กับชุมชนท้องถิ่น อนุรกั ษ์สบื ทอด
ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมให้เกิดคุณค่าต่อสังคมท้ังด้านจิตใจ วิถีชีวิต และเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ
บริหารจัดการให้เป็นมหาวิทยาลัยรับใช้สังคมภายใต้หลักธรรมาภิบาลบนหลักการเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
ท่ีอยู่ ๑๑๙/๘๓ หมู่ ๒ หมบู่ า้ นมาลวี ลั ย์ ต�ำบลบา้ นเกาะ อำ� เภอพระนครศรีอยธุ ยา
จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา ๑๓๐๐๐

๑๐

นายธนู มีสัตย์

ศษิ ยเ์ กา่ ดเี ดน่

สาขาบริหารสถาบนั การศกึ ษา

ตำ� แหน่งปัจจุบนั
l ผู้อ�ำนวยการ ชำ� นาญการพเิ ศษ
โรงเรียนวดั เวฬวุ นั อ�ำเภอสารภี จังหวดั เชยี งใหม่
l ประธานคณะกรรมการด�ำเนินการ
สหกรณอ์ อมทรัพยค์ รูเชยี งใหม่ จำ� กัด
l คณะกรรมการชมุ นุมสหกรณอ์ อมทรพั ย์
แห่งประเทศไทย
ประวตั กิ ารศึกษา
l ปี พ.ศ.๒๕๒๐ ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชน้ั สงู วทิ ยาลยั ครูเชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๒๗ ปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ วิชาเอกการศกึ ษาผ้ใู หญ่
มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๔๒ ปรญิ ญาโท คณะศกึ ษาศาสตร์ วชิ าเอกการประถมศกึ ษา
มหาวิทยาลยั เชียงใหม่

ประวตั ิการทำ� งาน

l ปี พ.ศ.๒๕๒๒ ครผู สู้ อนระดบั ๒ โรงเรียนบ้านกองวะ อ�ำเภอดอยเตา่ จงั หวัดเชยี งใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๓๔ ครใู หญ่โรงเรียนบา้ นองั คาย อ�ำเภอสะเมงิ จังหวดั เชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๓๖ ครูใหญ่โรงเรยี นวดั หนองแบน อ�ำเภอสารภี จงั หวดั เชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๓๗ ครูใหญโ่ รงเรยี นบ้านสันทราย อ�ำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม ่
l ปี พ.ศ.๒๕๔๒ อาจารยใ์ หญ่โรงเรียนชมุ ชนวัดปากกอง อำ� เภอสารภี จงั หวัดเชยี งใหม่

๑๑

l ปี พ.ศ.๒๕๔๕ ผอู้ �ำนวยการโรงเรียนชุมชนวัดปากกอง อ�ำเภอสารภี จงั หวัดเชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๕๑ ผอู้ ำ� นวยการสถานศึกษาชำ� นาญการพิเศษ โรงเรยี นวัดทา่ ตน้ กวาว
อำ� เภอสารภี จังหวดั เชียงใหม่
l ปัจจุบัน ผู้อำ� นวยการสถานศึกษาชำ� นาญการพิเศษ โรงเรียนวดั เวฬวุ ัน
อำ� เภอสารภี จงั หวัดเชยี งใหม่

ผลงาน เกียรติประวตั ิ รางวลั ภาคภมู ิใจท่ีได้รบั
l ปี พ.ศ.๒๕๕๔ รางวลั สถานศึกษาแบบอย่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ และการบรหิ าร
จัดการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ประจำ� ปี ๒๕๕๔
กระทรวงศกึ ษาธิการ
l ปี พ.ศ.๒๕๕๕ โครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์นอ้ ย ในพระราชดำ� รสิ มเด็จพระเทพรัตน -
ราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี มูลนธิ สิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ
สยามบรมราชกุมารี
l ปี พ.ศ.๒๕๕๕ รางวัลชนะเลศิ เหรียญทองอันดับ ๑ การประกวดวงดนตรลี ูกทุง่
งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียนระดบั ประเทศ สำ� นกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ รางวลั พระราชทานในโครงการคดั เลอื กนกั เรยี น นกั ศกึ ษา และสถานศกึ ษา
เพอื่ รบั รางวลั พระราชทาน ระดับมัธยมศึกษาขนาดเล็ก
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ รางวลั สถานศึกษาสง่ เสริมกจิ กรรมอาเซยี นศกึ ษาดีเด่น ในโครงการ
Chiang Mai Education Hub จังหวัดเชยี งใหม่

๑๒

l ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ รางวลั พระราชทานในโครงการคดั เลอื กนกั เรยี น นกั ศกึ ษา และสถานศกึ ษา
เพ่อื รบั รางวัลพระราชทาน ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา ขนาดกลาง
กระทรวงศึกษาธิการ
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ รางวัลสหกรณ์ดีเดน่ โดยสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย

จากใจศษิ ย์เกา่

“เทิดศักด์ิรักของข้า สูงลอยเลิศฟ้าอากาศไทย นักศึกษาวิทยาลัยครูเชียงใหม่ น้อมใจ
ศรทั ธา เทดิ ศกั ดิ์ รักสงู สง่ เหมือนดังหมูห่ งส์ทรงศักดา เสยี ศักด์ศิ รพี รอ้ มพลีชวี า ยงั ดีกวา่ ดา้ นหน้า
อยู่ไป...”
ตอนหนงึ่ ของบทเพลงสถาบนั ทย่ี งั คงอยใู่ นความรสู้ กึ ของขา้ พเจา้ ความรสู้ กึ ทไ่ี ดม้ าศกึ ษา
ในมหาวทิ ยาลยั แห่งน้ี คือความศรทั ธา ความภาคภูมใิ จท่ีได้มโี อกาสเข้ามาเป็นศิษยข์ องวทิ ยาลยั
ครูเชยี งใหม ่
อกี ความรสู้ กึ หน่ึงของข้าพเจ้า คือ วทิ ยาลยั ครเู ชียงใหม่ เปน็ แหลง่ เรยี นรูแ้ รกท่ีทำ� ให้
ข้าพเจ้า “ท�ำงานเป็น เห็นคณุ ค่าของค�ำวา่ เพื่อน” เพราะเมอ่ื คร้งั เป็นนกั ศึกษา ข้าพเจ้าไดม้ ีโอกาส
ท�ำหน้าท่ีเป็นตัวแทนในองค์การนักศึกษา และได้รับเลือกให้เป็นประธานกีฬาองค์การนักศึกษา
วิทยาลัยครูเชียงใหม่ ได้มีโอกาสสร้างช่ือเสียงให้สถาบันร่วมกับเพื่อนๆนักศึกษา ซึ่งแต่ละคนให้
ความรว่ มมอื ในกิจกรรมทกุ กิจกรรมของสถาบนั เป็นอยา่ งดี
“วิทยาลัยครูเชียงใหม่” เมื่อครั้งที่ข้าพเจ้าเข้ามาศึกษาถือเป็นสถาบันอันมีเกียรต ิ
ซ่ึงนักศึกษาต่างมีเป้าหมายจะน�ำเอาวิชาความรู้ตลอดจนประสบการณ์ท่ีได้รับจากคณาจารย์
ไปพัฒนาตน และสร้างอนาคตให้เด็กไทย ข้าพเจ้าก็มีเป้าหมายไม่ต่างไปจากนักศึกษาคนอ่ืนๆ
วิชาความรู้ ทักษะวิชาการ ประสบการณ์การอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน ตลอดจนการท�ำงานร่วมกับผู้อ่ืน

๑๓

ท่ีได้รับจากสถาบันแห่งน้ี โดยเฉพาะประสบการณ์เม่ือครั้งท�ำหน้าท่ีประธานกีฬาขององค์การ
นักศึกษา ท�ำให้ข้าพเจ้ารูจ้ ักวางแผน การดำ� เนนิ งาน น�ำบุคลากรในองค์กร (ทมี งาน) ท�ำกจิ กรรม
ตามแผนงานไดอ้ ยา่ งราบรื่น ทำ� งานอย่างมคี วามสุข บรหิ ารงานดว้ ยความมนั่ ใจ ประสบผลส�ำเร็จ
ในหนา้ ทก่ี ารงานมผี ลงานเปน็ ที่ประจกั ษ์ และส่งผลใหข้ ้าพเจา้ ได้รับการยอมรับจากผบู้ ังคับบัญชา
จากวงการศึกษา องคก์ ร/หน่วยงานในทอ้ งถิ่น ชุมชน และจากเพือ่ นรว่ มงานมาโดยตลอด
หากจะให้กล่าวถึงคณุ ลกั ษณะของบณั ฑิตราชภฎั ในปจั จุบัน ขา้ พเจา้ เห็นว่า บณั ฑติ
ควรรอบรทู้ กุ สถานการณ์ ทนั ตอ่ เหตกุ ารณข์ องสงั คมโลก มคี วามพรอ้ มตอ่ การเปลย่ี นแปลง สามารถ
อยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ กล้าคดิ กล้าท�ำ กล้าเปน็ ผู้น�ำ มที ักษะการใช้ภาษาไทย และภาษา
ตา่ งประเทศ โดยเฉพาะภาษาของประเทศในกลมุ่ สมาชกิ อาเซยี น มคี วามภาคภูมใิ จในความเปน็
คนไทย แม้จะมีความสามารถในดา้ นการใชภ้ าษาตา่ งประเทศกไ็ ม่ลืมความเป็นคนไทย
ส�ำหรบั ทศิ ทางการพฒั นามหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่ ซง่ึ มกี ารพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง
ทุกด้านมาตามล�ำดับอยู่ในระดับที่น่าพึงพอใจ แต่หากจะมีการพัฒนาต่อไปในอนาคต ข้าพเจ้า
เห็นว่าการพัฒนาด้านผลผลิตน่าจะเป็นสิ่งส�ำคัญ โรงเรียนของข้าพเจ้าเป็นสถานที่ส�ำหรับ
ฝึกประสบการณ์ของนักศึกษาจากหลายๆสถาบัน จ�ำนวนนั้นมีมหาวิทยาลัยราชภัฎรวมอยู่ด้วย
แต่จากการได้สัมผัสกับนักศึกษาท�ำให้ข้าพเจ้าได้ทราบว่าเด็กๆ นักศึกษายังท�ำอะไรอยู่ในกรอบ
ทกี่ �ำหนด ไม่สามารถคดิ สร้างสรรคส์ ่งิ แปลกใหม่เพ่ือพัฒนาการศกึ ษาทส่ี ำ� คัญคือขาดความอดทน
ขาดทกั ษะชวี ติ ดงั นนั้ บทบาทของผบู้ รหิ าร คณาจารย์ ตลอดทง้ั ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งควรมกี ารทบทวน
ถงึ ปญั หาในดา้ นนว้ี า่ ทำ� อยา่ งไรจะใหน้ กั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ราชภฎั เตบิ โตทงั้ พลงั สตปิ ญั ญา คณุ ธรรม
จริยธรรม และทักษะชวี ิต

ท่ีอย่ ู ๒๒๑ หมู่ ๙ ตำ� บลอุโมงค์ อ�ำเภอเมือง จังหวดั ล�ำพนู ๕๑๑๕๐

๑๔

นายไพบลู ย ์ พทุ ธวงค์

ศิษย์เกา่ ดีเด่น

สาขาบริหารสถาบนั การศกึ ษา

ต�ำแหนง่ ปจั จุบนั
ขา้ ราชการบ�ำนาญ
อดีตผู้อำ� นวยการโรงเรียนอนบุ าลเชียงใหม่

ประวัติการศึกษา
l ปี พ.ศ. ๒๕๑๖ ปกศ.สงู วิทยาลยั ครูเชยี งใหม่
l ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่
l ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ปริญญาตรี คณะนิติศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
l ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ปรญิ ญาตรี สาขาวิชาปฐมวยั คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
l ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ ปริญญาโท สาขาการบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์
มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่

ประวตั ิการทำ� งาน
l ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ ครจู ัตวา โรงเรยี นบา้ นผาจกุ อ�ำเภอดอยเตา่ จงั หวัดเชยี งใหม่
l ปี พ.ศ. ๒๕๒๑ ครใู หญ่ โรงเรียนบา้ นห้วยฝาง อำ� เภอดอยเตา่ จังหวัดเชียงใหม่
l ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ผ้ชู ว่ ยหวั หน้าการประถมศกึ ษาอำ� เภอเชียงดาว สปอ.เชียงดาว
จังหวดั เชียงใหม่

๑๕

l ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ผู้ช่วยหวั หนา้ การประถมศกึ ษาอำ� เภอฝาง สปอ.ฝาง จงั หวดั เชียงใหม่
l ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ ผชู้ ว่ ยหวั หน้าการประถมศึกษาอ�ำเภอแมร่ ิม สปอ.แม่รมิ จงั หวัดเชยี งใหม่
l ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ผู้อำ� นวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนบา้ นปา่ กลางมติ รภาพที่ ๑๖๖
อ�ำเภอปัว จังหวัดน่าน
l ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ผอู้ ำ� นวยการสถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นเวยี งฝาง อำ� เภอฝาง จงั หวดั เชยี งใหม่
l ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ผอู้ �ำนวยการสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านบวกครกนอ้ ย อ�ำเภอเมือง
จงั หวัดเชยี งใหม่
l ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา โรงเรยี นคำ� เท่ยี งอนุสรณ์ อ�ำเภอเมอื ง
จังหวดั เชียงใหม่
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ผอู้ ำ� นวยการสถานศกึ ษา โรงเรยี นพทุ ธโิ ศภณ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งใหม่
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ผู้อำ� นวยการสถานศกึ ษา โรงเรยี นอนบุ าลเชยี งใหม่ อ�ำเภอเมอื ง
จงั หวัดเชียงใหม่
l ปัจจุบนั ข้าราชการบ�ำนาญ

ผลงาน เกียรติประวัติ รางวลั ภาคภูมใิ จท่ไี ดร้ ับ
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ รางวัล“นกั บรหิ ารสถานศกึ ษาดีเด่น” จาก สมาคมนกั ข่าวเชยี งใหม ่
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ รางวลั ผทู้ ำ� คณุ ประโยชนต์ อ่ การศึกษาท่ีเปน็ แบบอย่างของ ส.ก.ส.ค.
ประจำ� ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๕
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ รางวลั ทรงคณุ คา่ OBEC AWARD ระดบั เหรยี ญทอง ดา้ นการบรหิ ารจดั การ
ระดับประเทศ จากส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
ประจ�ำปี ๒๕๕๕

๑๖

l ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ รางวัล “ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาทส่ี ง่ เสริมด้านกฬี าดีเด่น”
จาก สมาคมนักข่าวเชียงใหม ่
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ รางวลั “ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาดีเด่น” จาก สำ� นักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา
ประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต ๑
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ รางวลั “พระพฤหสั บดที องแดง” ประจ�ำปี ๒๕๕๗ จาก เลขาธิการ
คณะกรรมการส่งเสรมิ สวัสดกิ ารและสวสั ดภิ าพครูและบุคลากร
ทางการศึกษา (สกสค.) กระทรวงศึกษาธิการ

จากใจศิษยเ์ กา่

นายไพบูลย ์ พุทธวงค์ ศิษยเ์ กา่ ดีเดน่ สาขา
บ ริ ห า ร ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ไ ด ้ ก ล ่ า ว ถึ ง ค ว า ม รั ก
และผกู พนั สถาบนั การศกึ ษาแหง่ นวี้ า่ รสู้ กึ ภมู ใิ จทไี่ ดม้ า
ศกึ ษาในมหาวทิ ยาลัยแหง่ นี้ ซง่ึ ก่อนนเ้ี ปน็ วทิ ยาลัยครู
เชยี งใหม่ เปน็ สถาบันท่ผี ลติ ครูทีม่ ชี ่อื เสยี งของจงั หวัด
เชียงใหม่ บุคคลที่ได้ศึกษาในสถาบันในสถาบันนี้
ได้เป็นผู้บริหาร เป็นครูท่ีประสบความส�ำเร็จในชีวิต
ราชการเป็นจ�ำนวนมาก และตนก็ได้น�ำความรู้จากท่ี
เรยี นไปใชใ้ นการทำ� หนา้ ทคี่ รแู ละผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
มาโดยตลอด ซง่ึ รปู แบบแนวทางและกจิ กรรมทไี่ ดจ้ าก

๑๗

สถานบันการศึกษานี้ เป็นแนวทาง รูปแบบความมุ่งมั่น ต้ังใจในการปฏิบัติงานให้ประสบ
ความส�ำเรจ็
เม่ือถามถึงบัณฑิตราชภัฏควรเป็นอย่างไรในปัจจุบัน บัณฑิตราชภัฏในปัจจุบัน
ควรมีลักษณะความเป็นผู้น�ำ มีจิตอาสาท�ำประโยชน์ให้กับสังคม รวมทั้งเป็นคนดี มีคุณธรรม
จริยธรรม
ส�ำหรับทิศทางในการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏในอนาคตนั้นท่านได้กล่าวทิ้งท้ายว่า
สถาบันที่ดีน้ันต้องผลิตนักศึกษาที่จะจบออกมาไปพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดใกล้เคียง
หรือท้องถิ่นน้ันเอง บัณฑิตที่จบมาต้องเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรมและท�ำคุณประโยชน์
ต่อส่วนรวม มีความรับผดิ ชอบต่อสังคม
ทอ่ี ย ู่ ๖๗ หมู่ ๒ ต�ำบลริมเหนอื อ�ำเภอแมร่ ิม จงั หวดั เชียงใหม่ ๕๐๑๘๐

๑๘

นายบรรเจิด ถาบญุ เรือง

ศิษยเ์ กา่ ดีเดน่

สาขาวชิ าการหรือวิชาชพี

ต�ำแหน่งปัจจบุ ัน
ครวู ทิ ยฐานะ ชำ� นาญการพิเศษ
โรงเรียนอนุบาลปางมะผ้า อำ� เภอปางมะผ้า
จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน

ประวัตกิ ารศึกษา
l ปี พ.ศ.๒๕๔๒ ปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ สาขาการประถมศึกษา
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๕๙ ปรญิ ญาโท คณะสังคมศาสตร์และศิลปะศาสตร์
สาขาการบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั นอร์ท–เชียงใหม่

ประวตั กิ ารท�ำงาน
l ปี พ.ศ.๒๕๔๒ อาจารย์ ๑ ระดับ ๓ โรงเรียนอนบุ าลปางมะผา้ จังหวดั แมฮ่ ่องสอน
l ปี พ.ศ.๒๕๔๕ อาจารย์ ๑ ระดับ ๔ โรงเรียนอนุบาลปางมะผา้ จังหวัดแม่ฮ่องสอน
l ปี พ.ศ.๒๕๔๗ คร ู โรงเรยี นอนุบาลปางมะผ้า จังหวัดแมฮ่ ่องสอน
l ปี พ.ศ.๒๕๕๑ ครูวทิ ยฐานะช�ำนาญการ โรงเรยี นอนบุ าลปางมะผา้ จังหวัดแม่ฮ่องสอน
l ปี พ.ศ.๒๕๕๔ ครวู ิทยฐานะช�ำนาญการพิเศษ โรงเรียนอนบุ าลปางมะผ้า
จงั หวัดแม่ฮ่องสอน

๑๙

ผลงาน เกยี รตปิ ระวัติ รางวัลภาคภมู ิใจท่ีได้รบั
l ปี พ.ศ.๒๕๔๖ บุคลากรตน้ แบบการปฏริ ูปกระบวนการเรียนรู้ สำ� นกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
l ปี พ.ศ.๒๕๔๙ เป็นผ้นู ำ� เสนอผลงานวจิ ยั ในการประชมุ วิชาการ วิถปี ฏิรปู
สู่ “โรงเรียนแห่งการเรยี นร”ู้ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่
ร่วมกบั ศนู ยพ์ นั ธวุ ศิ วกรรม และเทคโนโลยชี ีวภาพแห่งชาติ
l ปี พ.ศ.๒๕๕๑ เป็นผูเ้ สนอผลงานวจิ ยั ในการประชมุ วิชาการ การวจิ ัยเพ่อื พฒั นาตน
วิชาชีพ : การเรยี นรูส้ ู่ความเท่าเทยี มและเปน็ เลิศ คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ร่วมกบั ศนู ยพ์ ันธุวิศวกรรม และเทคโนโลยีชีวภาพ
แห่งชาติ
l ปี พ.ศ.๒๕๕๓ รางวลั ครดู เี ด่น “ครูเจ้าฟา้ กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร”์
โครงการพระเมตตาสมเด็จยา่
l ปี พ.ศ.๒๕๕๔ รางวลั เชิดชเู กียรติ “ครูดใี นดวงใจ” สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน
l ปี พ.ศ.๒๕๕๔ ได้รบั การคดั เลอื กเป็น “ครสู อนด”ี สำ� นักงานสง่ เสริมสังคม
แห่งการเรยี นร้แู ละคณุ ภาพเยาวชน
l ปี พ.ศ.๒๕๕๔ เครอ่ื งหมายเชิดชูเกียรติ หน่งึ แสนครดู ี” ประจ�ำปี ๒๕๕๔
ในฐานะผ้ปู ฏิบัตติ นตามมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณของวิชาชพี
ทางการศกึ ษา คุรสุ ภา

๒๐

l ปี พ.ศ.๒๕๕๕ ได้มีส่วนร่วมในการถ่ายทอดความรู้ผ่านรายการของโทรทัศน์ครูในตอน
นกั วจิ ยั นอ้ ยเรยี นรโู้ รคฤดหู นาว เผยแพรแ่ กค่ ร ู ผบู้ รหิ าร บคุ ลากรทางการ
ศึกษา และผู้ชมทั่วประเทศ เพื่อเปน็ ตวั อย่างทดี่ ใี นการจัดการเรียนรแู้ ละ
การบริหารจัดการสถาบันการศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการ
อดุ มศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
l ปี พ.ศ.๒๕๕๖ เกียรติบัตร เคร่ืองหมายเชิดชูเกียรติ “คุรุสดุดี”ในฐานะผู้ปฏิบัติตนตาม
จรรยาบรรณของวิชาชพี เป็นทป่ี ระจกั ษช์ ดั คุรสุ ภา
l ปี พ.ศ.๒๕๕๗ วุฒบิ ตั ร For Oral Presentation in Multicultural Education
international Conference ๒๐๑๔ : Cultural Sensitivity in
Educational Practices Toward the ๒๑ Century Chiang Mai
University
l ปี พ.ศ.๒๕๕๗ เป็นผู้ได้รับการคัดเลือกในรางวัลครูไทยของแผ่นดิน ประจ�ำปี ๒๕๕๗
ประเภทชมเชย บริษัทเบอร์ล่ี ยคุ เกอร์ จ�ำกัด (มหาชน) รว่ มกับ ครุ สุ ภา
และส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

๒๑

จากใจศษิ ยเ์ กา่

ความร้สู ึกภาคภูมใิ จในมหาวิทยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่ ซง่ึ เป็นสถาบนั การศกึ ษาทขี่ า้ พเจา้
เคยศึกษา ได้รับการปลูกฝัง และสร้างจิตส�ำนึกในการเป็นครูที่ดีแก่ข้าพเจ้า โดยที่มหาวิทยาลัย
ราชภฏั เชียงใหม ่ เปน็ สถาบันการศกึ ษาที่เปดิ โอกาสให้เด็กต่างจังหวดั พน้ื ท่สี ูง ไดม้ สี ถานท่ศี ึกษา
และพัฒนาตนเองต่ออย่างได้เท่าเทียมกนั เพอ่ื กลับไปสรา้ งเด็ก และเยาวชน ใหเ้ ป็นคนดี
ข้าพเจ้าได้ใช้หลักการเปิดโอกาส โดยใช้หลักคิดในการท�ำงานกับลูกศิษย์ว่า เขาไม่ใช่
ตัวปัญหา แต่เขาก�ำลังเผชิญกับปัญหา ไม่น่ิงดูดายกับปัญหาท่ีลูกศิษย์เผชิญอยู่ ไม่ว่าจะเป็น
ด้านการใช้ภาษา การสื่อสาร สุขภาพและทักษะการใช้ชีวิตท่ีต้องอยู่ร่วมกับบุคคลอ่ืนในสังคม
ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม โดยเข้าไปคลุกคลีกับชุมชน ใช้การจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนทสี่ อดคลอ้ งกบั วิถชี ีวติ และความเปน็ อย่ขู องชาวไทยภูเขา ด้านสุขภาพอนามัย โรคติดตอ่
และการสื่อสารภาษาไทย โดยได้ปฏิบัติหน้าที่การสอน ด้วยความเสียสละ เป็นแม่พิมพ์ และ
แบบอย่างของการพัฒนานักเรียน และเยาวชนให้เป็นคนดีและคนเก่ง ตามพระราชปณิธานของ
สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี และสมเดจ็ พระเจา้ พนี่ างเธอ เจา้ ฟา้ กลั ยาณวิ ฒั นา กรมหลวง
นราธวิ าสราชนครินทร์
ส�ำหรับบัณฑิตราชภัฏในปัจจุบันควรมีคุณลักษณะ ต้องเป็นคนที่มีความอดทน
เคารพในคุณค่าของความเป็นมนุษยด์ ้วยกนั และมีทัศนคติเชิงบวก ในการใชช้ ีวติ รว่ มกบั สังคมท่ีมี
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ซึ่งจะท�ำให้นักศึกษาเป็นผู้ที่มีประสิทธิภาพในการท�ำงาน
และสามารถใชช้ วี ติ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี ุณภาพและสร้างสร้างประโยชนแ์ ก่ชุมชนและประเทศชาติ
ทิศทางในการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ในอนาคตมหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงใหม่ ควรเน้นการสร้างทัศนคติต่อการเผชิญปัญหา เหตุการณ์ในโลกปัจจุบันเพิ่มเติม
สร้างกระบวนการคิดวิเคราะห์ มีกระบวนการเรียนรู้ที่ท�ำให้เห็นผลกระทบรอบด้านในสิ่งท่ี
ตัดสินใจเลือกท�ำหรือไม่ท�ำ เพ่ือสามารถน�ำส่ิงที่เรียนรู้ไปปรับใช้ในการท�ำงาน การด�ำรงชีวิต
เมอื่ ส�ำเรจ็ การศกึ ษาไปแลว้
ท่อี ย่ ู โรงเรียนอนุบาลปางมะผา้ อำ� เภอปางมะผ้า จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๕๐

๒๒

ดร.วารุณ ี โพธาสนิ ธ์ุ

ศิษย์เกา่ ดีเด่น

สาขาวิชาการหรอื วชิ าชพี

ต�ำแหน่งปจั จุบัน
อาจารย์มหาวิทยาลยั นอรท์ เชียงใหม่

ประวตั กิ ารศกึ ษา
l ปี พ.ศ.๒๕๑๖ ประกาศนียบตั รการศกึ ษาชน้ั ต้น วิทยาลัยครเู ชยี งใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๑๘ ประกาศนียบัตรการศกึ ษาช้นั สูง สาขาวิทยาศาสตร์ วิทยาลยั ครเู ชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๒๔ ปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร์(เคมี) วทิ ยาลัยครเู ชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๔๒ ปรญิ ญาโท คณะศึกษาศาสตร์ สาขาบริหารการศึกษา
มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม ่
l ปี พ.ศ.๒๕๕๕ ปริญญาเอก คณะครุศาสตร ์ สาขาผู้นำ� ทางการศกึ ษาและพัฒนา
ทรพั ยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่

ประวตั ิการท�ำงาน
l ปี พ.ศ.๒๕๑๘ ครู ๒ ระดับ ๒ โรงเรียนวัดป่าอ้อย อ�ำเภอสันปา่ ตอง จงั หวดั เชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๒๑ อาจารย์ ๑ ระดบั ๓ โรงเรยี นบ้านแม่กุ้งหลวง อ�ำเภอสันปา่ ตอง
จงั หวัดเชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๒๔ อาจารย์ ๑ ระดับ ๕ โรงเรียนบา้ นแมก่ ุ้งหลวง อ�ำเภอสันปา่ ตอง
จังหวัดเชยี งใหม่

๒๓

l ปี พ.ศ.๒๕๒๙ อาจารย์ ๒ ระดับ ๕ โรงเรียนบา้ นแมก่ ุง้ หลวง อ�ำเภอสันปา่ ตอง
จงั หวดั เชยี งใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๓๗ อาจารย์ ๓ ระดบั ๗ โรงเรยี นสันป่าตอง(สวุ รรณราษฏรว์ ทิ ยาคาร)
อำ� เภอสันปา่ ตอง จังหวดั เชยี งใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๓๘ อาจารย์ ๓ ระดบั ๘ โรงเรยี นสันป่าตอง(สุวรรณราษฏรว์ ิทยาคาร)
อ�ำเภอสันปา่ ตอง จังหวดั เชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๔๗ ครู คศ.๔ (ครเู ชย่ี วชาญ) โรงเรียนสนั ป่าตอง (สวุ รรณราษฏร์วทิ ยาคาร)
อ�ำเภอสนั ปา่ ตอง จังหวดั เชยี งใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๕๕ ครู คศ.๔ (ครเู ชีย่ วชาญ) โรงเรยี นสันปา่ ตองวทิ ยาคม อำ� เภอสันป่าตอง
จังหวัดเชยี งใหม่
l ปัจจบุ ัน อาจารยม์ หาวทิ ยาลัยนอรท์ เชียงใหม่

ผลงาน เกยี รติประวตั ิ รางวลั ภาคภูมิใจที่ไดร้ บั
l ปี พ.ศ.๒๕๔๗ ครผู ู้สอนวิทยาศาสตรด์ ีเดน่ สมาคมวทิ ยาศาสตร์แห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถมั ภ์
l ปี พ.ศ.๒๕๕๐ ครูดใี นดวงใจ สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
l ปี พ.ศ.๒๕๕๕ ผบู้ ังคับบญั ชาลกู เสอื ดีเด่น สำ� นักงานลกู เสือแหง่ ชาติ
l ปี พ.ศ.๒๕๕๗ OBEC AWARDS ครูผสู้ อนกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นวชิ าลูกเสือ
ยอดเย่ยี มด้านวชิ าการ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
l ปี พ.ศ.๒๕๕๗ ครูผูส้ อนดีเดน่ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ครุ ุสภา
l ปี พ.ศ.๒๕๕๗ ครูผูส้ อนนกั เรียนไดร้ บั รางวลั เหรยี ญทอง สำ� นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต ๓๔
l ปี พ.ศ.๒๕๕๘ ต้นแบบคนดศี รเี ชียงใหม่ โรงเรียนสนั ป่าตองวิทยาคม
l ปี พ.ศ.๒๕๕๘ ครดู ีวิถีพอเพยี ง สาขาครูผสู้ อนระดับทอง สำ� นกั งานพัฒนาสังคมและ
ความมนั่ คงของมนุษย์จงั หวัด เชยี งใหมแ่ ละศนู ยป์ ระสานงาน
คนดศี รเี ชียงใหม่

๒๔

l ปี พ.ศ.๒๕๕๘ การด�ำเนนิ งานระบบดูแลช่วยเหลอื ระดบั ดีเดน่ สำ� นกั งานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษา มัธยมศกึ ษา เขต ๓๔
l ปี พ.ศ.๒๕๕๘ หนงึ่ แสนครูดี สำ� นกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา เขต ๓๔

จากใจศิษยเ์ กา่

จากการที่ได้มีโอกาสเข้าศึกษาต่อในวิทยาลัยครูเชียงใหม่ เมื่อปี พศ. ๒๕๑๔
ระดับประกาศนียบัตรการศกึ ษา (ป.กศ.ต้น) ดร.วารณุ ี โพธาสนิ ธุ์ ดใี จมากท่สี ามารถสอบคดั เลือก
เข้าเรียนต่อในสถาบันแห่งน้ี มีความประทับใจ อยากจะประกอบอาชีพครู ตามคุณพ่อ
และตงั้ ปณธิ านวา่ จะตอ้ งเรยี นใหส้ ำ� เรจ็ และไดร้ บั การคดั เลอื กใหศ้ กึ ษาตอ่ ในระดบั ประกาศนยี บตั ร
การศกึ ษาขนั้ สงู (ป.กศ.สงู ) วทิ ยาศาสตร์ และสำ� เรจ็ การศกึ ษา ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ สอบบรรจไุ ดโ้ รงเรยี น
วัดปา่ ออ้ ย อำ� เภอสันปา่ ตอง จังหวัดเชยี งใหม่ ชว่ งทีก่ ำ� ลงั ศกึ ษาในวทิ ยาลัยครูเชียงใหม่ เปน็ ชว่ ง
ทไี่ ดร้ บั ประสบการณช์ วี ติ มากมายทงั้ ดา้ นความรแู้ ละชวี ติ การเปน็ นกั ศกึ ษา สง่ิ ทปี่ ระทบั ใจมากทสี่ ดุ
ชวี ติ คอื การเปน็ นกั ศกึ ษาฝกึ สอน ทง้ั ในระดบั ป.กศ.ตน้ และระดบั ป.กศ.สงู ไดเ้ รยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั ิ
ทั้งการร่วมงานกับเพื่อนๆ กับครูในโรงเรียนที่ไปฝึกสอน ท้ังการน�ำเอาความรู้ที่ได้ร�่ำเรียนใน
สถานบันมาใช้จริง นับได้ว่าวิทยาลัยครูเชียงใหม่ได้หล่อหลอมความเป็นครูอย่างภาคภูมิใจ
ใหม้ ที กั ษะชวี ติ ทด่ี ี เมอ่ื ทำ� งานไดป้ ระมาณหา้ ปี กลบั เขา้ มาศกึ ษาตอ่ ในระดบั ครศุ าสตรบ์ ณั ฑติ (คบ.)
และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ดร.วารุณี โพธาสินธุ์ มีความ
ภาคภูมิใจในสถาบันแหง่ น้ี และระลกึ เสมอว่าเรามอี าชพี ที่ดไี ด้เพราะสถาบนั แหง่ น้ี
เม่ือถามถึงการท่ีได้น�ำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการด�ำเนินชีวิต หรือการท�ำงาน
อย่างไรบา้ ง ดร.วารุณี โพธาสนิ ธุ์ กล่าววา่ สามารถน�ำเอาความรู้ไปปรับใช้ในชวี ิต ทัง้ ดา้ นอาชพี

๒๕

การครองตน การครองคน การครองงาน สามารถ
ปฏิบตั ติ ามระเบยี บแบบแผนของสงั คม เป็นสมาชกิ ใน
สังคมอย่างมีความสุข ตลอดจนน�ำประสบการณ์ท่ีได้
ศึกษาเล่าเรียนในสถาบันแห่งน้ี พัฒนาบุคลิกภาพ
พฒั นากริ ยิ ามารยาท พฒั นาจรยิ ธรรม คณุ ธรรม เคารพ
ในสทิ ธขิ องผู้อื่น ปฏิบัติตามหนา้ ทข่ี องตน
สำ� หรบั ความเหน็ วา่ บณั ฑติ ราชภฏั ในปจั จบุ นั
ควรมีคุณลักษณะเช่นไรนั้น บัณฑิตราชภัฏในปัจจุบัน
ควรมคี ณุ ลกั ษณะ มคี วามมงุ่ มนั่ แสวงหาความรู้ มคี วาม
กระตือรือร้นท่ีจะเรียนรู้ตลอดเวลา เป็นคนมีอุดมคติ
และต้องการค้นพบตนเอง ความเป็นตัวของตัวเอง
บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีคุณธรรม จริยธรรม
เพราะวา่ มสี งิ่ ยว่ั ยรุ อบดา้ นทผี่ ลกั ดนั ใหห้ นั เหทศิ ทางไป
ทางอื่น
ส�ำหรับทิศทางในการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ในอนาคตควรเป็นเช่นไร
การยกระดับคุณภาพมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรท่ีมีคุณภาพ
สามารถปรบั ตวั สำ� หรบั งานทเี่ กดิ ขนึ้ ตลอดชวี ติ พฒั นาศกั ยภาพอดุ มศกึ ษาในการสรา้ งความรแู้ ละ
นวตั กรรม เพอ่ื เพมิ่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศในโลกยคุ ใหม่ สนบั สนนุ การพฒั นา
ทย่ี งั่ ยนื ของทอ้ งถิน่ ไทย

ท่ีอยู่ ๒๔๔/๖๙ หมบู่ า้ นลา้ นนาไพรเ์ นอรโี่ ฮม
หมูท่ ี่ ๔ ต�ำบล หนองควาย
อำ� เภอหางดง จงั หวัดเชยี งใหม่
รหสั ไปรษณยี ์ ๕๐๒๓๐

๒๖

นายสยาม นนทค์ ำ� จนั ทร์

ศิษยเ์ กา่ ดเี ด่น

สาขาบรหิ ารราชการ หรอื รฐั วสิ าหกจิ

ต�ำแหนง่ ปจั จุบนั
ผู้อ�ำนวยการศูนยป์ ฏบิ ัติการท่ีอยู่อาศัย
ชุมชนริมคลอง

ประวตั กิ ารศึกษา
l ปี พ.ศ.๒๕๓๘ ปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ สาขาสงั คมศกึ ษา
สถาบันราชภัฎเชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๕๓ ปริญญาโท คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร ์ สาขาพัฒนาสังคม
มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

ประวตั กิ ารทำ� งาน
l ปี พ.ศ.๒๕๓๘ ผชู้ ่วยเลขานุการนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ (ฝา่ ยงานการศึกษาและ
สวัสดิการสังคม) ส�ำนกั งานเทศบาลนครเชียงใหม่ อำ� เภอเมือง
จังหวดั เชยี งใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๔๐ อาจารย์ผ้สู อน โรงเรียนมงฟอรต์ วทิ ยาลัย อ.เมอื ง จ.เชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๔๐ เจ้าหน้าทีป่ ฏบิ ตั ิการชมุ ชน ระดับ ๓ สว่ นปฏิบัตกิ ารภมู ภิ าค
ส�ำนกั งานพฒั นาชุมชนเมอื ง การเคหะแห่งชาติ กระทรวงมหาดไทย
l ปี พ.ศ.๒๕๔๓ เจา้ หนา้ ทป่ี ฏบิ ตั กิ ารชมุ ชน สำ� นกั งานปฏบิ ตั กิ ารภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
สถาบนั พฒั นาองคก์ รชมุ ชน(องค์การมหาชน) กระทรวงการคลัง

๒๗

l ปี พ.ศ.๒๕๔๕ เจา้ หนา้ ทป่ี ฏบิ ตั กิ ารชมุ ชน สำ� นกั งานปฏบิ ตั กิ ารภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
สถาบนั พัฒนาองค์กรชมุ ชน(องคก์ ารมหาชน) กระทรวงการคลัง
l ปี พ.ศ.๒๕๔๗ ผปู้ ระสานงานโครงการบา้ นมนั่ คงภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื สถาบนั พฒั นา
องคก์ รชมุ ชน (องค์การมหาชน) กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมนั่ คงของมนุษย ์
l ปี พ.ศ.๒๕๔๘ หวั หนา้ งานปฏบิ ตั กิ ารชมุ ชน สำ� นกั งานปฏบิ ตั กิ ารภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
สถาบันพัฒนาองคก์ รชุมชน (องคก์ ารมหาชน)
กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์
l ปี พ.ศ.๒๕๕๐ ผ้จู ัดการส�ำนักงานโครงการบา้ นมั่นคง และรักษาการผู้ชว่ ยจดั การ
ฝ่ายงานเมอื ง ส�ำนกั งานปฏิบัติการภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
สถาบนั พฒั นาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) กระทรวงการพฒั นาสังคม
และความมั่นคงของมนษุ ย์
l ปี พ.ศ.๒๕๕๓ ผู้จดั การส�ำนักงานภาคกลางตอนบนและตะวนั ตก
สถาบนั พฒั นาองค์กรชุมชน (องคก์ ารมหาชน)
กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์
l ปี พ.ศ.๒๕๕๔ ผจู้ ัดการส�ำนกั งานภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนกลาง
สถาบนั พัฒนาองคก์ รชุมชน (องคก์ ารมหาชน)
กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์
l ปี พ.ศ.๒๕๕๗ ผจู้ ดั การสำ� นกั งานภาคกรงุ เทพฯและปรมิ ณฑล สถาบนั พฒั นาองคก์ รชมุ ชน
(องคก์ ารมหาชน) กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย ์

๒๘

l ปี พ.ศ.๒๕๕๘ รักษาการ หวั หน้าหนว่ ยปฏิบัติการบ้านม่นั คงและทีด่ นิ ภาคกรงุ เทพฯ
ปริมณฑล และตะวันออก สถาบนั พัฒนาองค์กรชุมชน (องคก์ ารมหาชน)
กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์
l ปัจจุบนั ผู้อ�ำนวยการศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารทอี่ ยู่อาศยั ชมุ ชนริมคลอง
สถาบันพัฒนาองคก์ รชมุ ชน (องค์การมหาชน)
กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์

ผลงาน เกียรติประวัติ รางวลั ภาคภูมิใจทไี่ ด้รบั
l ปี พ.ศ.๒๕๓๔ นักกจิ กรรมดเี ดน่ (ประธานสภานกั เรียน) โรงเรียนเชตพุ นศกึ ษา
l ปี พ.ศ.๒๕๓๕ ท�ำเนียบนักศกึ ษาเรียนดี คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
สถาบันราชภฎั เชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๓๗ นักศึกษาดเี ด่นรางวัลพระราชทาน ภาคเหนือ กระทรวงศกึ ษาธิการ
l ปี พ.ศ.๒๕๓๘ นกั กจิ กรรมดเี ดน่ (นายกองคก์ ารนกั ศกึ ษา ๒ สมยั ) สถาบนั ราชภฎั เชยี งใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๔๒ ผลการประเมนิ ผลงานดีเดน่ ประจ�ำปี สำ� นกั งานพัฒนาชุมชนเมอื ง
l ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ศษิ ยเ์ กา่ ดีเด่นโรงเรียนสามญั ของส�ำนักพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ
สำ� นักพุทธศาสนาแห่งชาติ

๒๙

จากใจศษิ ยเ์ กา่

ผมภูมิใจท่ีได้จบสถาบันการศึกษาแห่งน้ีเพราะเป็นสถาบันท่ีได้หล่อหลอมจิตใจ
ของผมให้มีความมุ่งม่ันในการท�ำงานเพื่อส่วนรวม เป็นสถาบันที่เปิดโอกาสให้ลูกหลานชาวนา
ลูกหลานคนจนได้มีโอกาสยกระดับและพัฒนาตนเองสู่สังคมในปัจจุบันได้อย่างเท่าเทียมกัน
ขอบคุณท่ีสถาบันแห่งน้ีเปิดโอกาสให้ผมได้พัฒนาตนเอง ได้เสริมสร้างคุณลักษณะบัณฑิต
ด้วยกิจกรรมนักศึกษาท่ีสามารถพัฒนาตนเองได้มากเพ่ิมขึ้นจากการเรียนในห้องเรียนอย่างเดียว
มคี รอู าจารยท์ ใี่ กลช้ ดิ เอาใจใสต่ อ่ ลกู ศษิ ยเ์ ปน็ อยา่ งดี เปน็ สถาบนั อดุ มศกึ ษาเพอื่ การพฒั นาทอ้ งถนิ่
ส�ำหรับความรู้ที่ได้รับไปจากสถาบันแห่งนี้ สามารถน�ำผลการเรียนและการฝึกจาก
กจิ กรรมมาประยุกตใ์ ชใ้ นการบรหิ ารองค์กรไดอ้ ยา่ งชดั เจน ทำ� ใหง้ านประสบความส�ำเร็จ สอนให้
มีความม่งุ มนั่ ตอ่ สู้ อดทน ในการด�ำเนนิ ชีวิต สอนใหร้ จู้ ักการแกไ้ ขปัญหา เฉพาะหนา้ การประยกุ ต์
และเข้าใจบรบิ ท สถานการณ์แล้วหาแนวทางการแกไ้ ข
บัณฑิตราชภัฏในปัจจุบันควรมีคุณลักษณะมีความเป็นเลิศท้ังในวิชาการ ความคิดท่ีน�ำ
สงั คม ความรับผิดชอบต่อสงั คม และเข้าใจและน้อมนำ� ปรชั ญาเศษฐกจิ พอเพียง มาใชใ้ นชีวิต
ส�ำหรับ ทิศทางในการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ในอนาคตน้ัน มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเชียงใหม่ ควรจะมีความเป็นเลศิ ดา้ นการพัฒนาสาขาในทอ้ งถ่นิ เข้าถงึ พืน้ ที่และประชาชน
ไมห่ า่ งไกลจากประชาชน สนองตอบตอ่ ความตอ้ งการของทอ้ งถนิ่ ใหส้ มกบั คำ� วา่ สถาบนั อดุ มศกึ ษา
เพอื่ การพัฒนาท้องถ่นิ

ทอ่ี ยู่
๑๙๙/๑๒๗ หมู่ ๑๔ หมู่บา้ นวราสิริหนองไผ่
ถนนศลิ า-โกทา ตำ� บลศลิ า อำ� เภอเมือง
จังหวัดขอนแก่น ๔๐๐๐๐

๓๐

ดร.บญุ ทา ชัยเลศิ

ศิษยเ์ กา่ ดีเดน่

สาขาบรหิ ารธรุ กจิ

ตำ� แหนง่ ปัจจบุ นั
l นายกสมาคมธรุ กจิ ท่องเทย่ี ว จงั หวัดเชียงใหม่
l กรรมการผจู้ ัดการบรษิ ทั ไอวอร่คี อฟฟี่ จำ� กดั
l กรรมการผ้จู ดั การบรษิ ัทนาวาเทค จ�ำกัด
l กรรมการผจู้ ัดการบรษิ ัทแมแ่ ตงคัลเจอร์
แอนด์แฮนด์เมดวลิ เลจ จำ� กดั

ประวตั ิการศกึ ษา
l ปี พ.ศ.๒๕๒๐ ประกาศนยี บัตรวชิ าการศกึ ษาชัน้ ตน้ วทิ ยาลัยครูเชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๒๒ ประกาศนียบัตรวิชาการศกึ ษาชั้นสูง วิทยาลยั ครเู ชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๒๗ ปรญิ ญาตรี คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช
l ปี พ.ศ.๒๕๔๕ ปรญิ ญาโท คณะมนษุ ยศาสตร์ สาขาการจัดการอุตสาหกรรม
การทอ่ งเทยี่ ว มหาวิทยาลยั เชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๕๓ ปรญิ ญาเอก คณะพัฒนาการท่องเทีย่ ว สาขาการจัดการนันทนาการ
และการทอ่ งเทย่ี ว มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ ้

๓๑

ประวตั ิทางการทำ� งาน
l ปี พ.ศ.๒๕๒๓ อาจารย์ ๑ ระดบั ๒ โรงเรยี นแม่อายวิทยาคม อำ� เภอแมอ่ าย
จงั หวัดเชยี งใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๓๐ อาจารย์ ๒ ระดบั ๕ โรงเรยี นเวียงแหงวทิ ยาคม จงั หวัดเชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๓๒ อาจารย์ ๒ ระดบั ๖ โรงเรียนไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๓๔ อาจารย์ ๒ ระดบั ๗ โรงเรียนออนเหนือ จังหวัดเชยี งใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๓๗ อาจารย์ ๒ ระดับ ๗ โรงเรยี นวัฒโนทัยพายพั จังหวัดเชียงใหม่
l ปี พ.ศ.๒๕๔๒ อาจารย์ ๒ ระดับ ๗ สถาบันราชภัฎล�ำปาง จงั หวัดล�ำปาง
l ปี พ.ศ.๒๕๕๓ อาจารย์ พนักงานมหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ จังหวดั เชยี งใหม ่
l ปัจจบุ ัน ประกอบธรุ กิจส่วนตัว

ผลงาน เกยี รตปิ ระวัติ รางวลั ภาคภมู ิใจท่ีได้รบั
l ปี พ.ศ.๒๕๕๔-๕๘ รบั รางวัลแหล่งท่องเท่ียวมาตรฐานยอดเยยี่ มของประเทศไทย
(ประเภทปางชา้ งขนาดใหญพ่ เิ ศษ) จากกรมการท่องเทย่ี ว
กระทรวงการท่องเที่ยวและการกีฬาตดิ ตอ่ กัน ๕ ปี
l ปี พ.ศ.๒๕๕๔-๕๘ รับรางวลั มาตรฐาน ผปู้ ระกอบการรา้ นอาหารฮาลาน ยอดเยี่ยมระดบั
๕ ดาว จากกรมการท่องเท่ียว กระทรวงการท่องเท่ยี วและการกีฬา
ติดตอ่ กัน ๕ ปี
l ปี พ.ศ.๒๕๕๗ ได้รับรางวลั ศษิ ย์เกา่ ดีเดน่ จากสมาคมศิษย์เกา่ โรงเรยี นยุพราชวิทยาลยั

๓๒

l ปี พ.ศ.๒๕๕๙ รางวลั “ สงิ หร์ าช” บคุ คลตน้ แบบของประเทศไทย ดา้ นการบรหิ ารจดั การ
แหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว จากสมาคมผ้สู อ่ื ข่าวแห่งประเทศไทย
และมูลนิธิดินดีน้ำ� ใสของประเทศไทย
l ปี พ.ศ.๒๕๕๙ รางวลั เหมราช บุคคลต้นแบบแห่งปี สาขาผ้นู ำ� ด้านบริหารและพัฒนา
องคก์ รต้นแบบ จากมูลนิธิ ดินดนี ำ้� ใส แห่งประเทศไทย

จากใจศษิ ยเ์ กา่
ดร.บุญทา ชัยเลิศ ศิษย์เก่าดีเด่นสาขาบริหารธุรกิจ เริ่มท�ำธุรกิจคร้ังแรก เม่ือคร้ังสมัย
เป็นครอู ยู่ท่ีอำ� เภอแม่อาย หลังจากว่างเว้นจากภารกจิ จากการสอนชว่ งปดิ เทอม หรอื วนั หยดุ เสาร์
อาทิตย์ ก็จะรับงานเป็นไกด์พานักท่องเที่ยวล่องแพจาก บ้านท่าตอน อ�ำเภอแม่อาย ไปตาม
แมน่ ำ้� กก ถึงจังหวัดเชยี งราย จนเป็นทีร่ ูจ้ กั ของนกั ทอ่ งเทย่ี วท่ัวไป หลงั จากนั้น ดร.บุญทา ชยั เลศิ
ไดเ้ ร่ิมทำ� ธุรกิจคือ ธรุ กจิ ซักรดี โดยการเชา่ หอ้ งแถวบริเวณตลาดอนุสาร เปดิ เป็นร้านซกั รีดรับจา้ ง
ซักเสือ้ ผ้า และผ้าปูที่นอนจากโรงแรมตา่ งๆ และรบั จองทวั ร์ทัว่ ไปควบคกู่ นั ไป ซงึ่ ในสมยั นนั้ ยงั คง
มแี ต่ทัวร์ป่า ซ่งึ ฝรง่ั หรอื นกั ท่องเทยี่ วมักจะชอบท่องเท่ียวไปตามป่าเขาล�ำเนาไพร และการนัง่ ช้าง
ซ่ึงการพานักท่องเที่ยวไปนั่งช้างแต่ละครั้ง จะต้องใช้เวลาเกือบทั้งวัน ซึ่งจะต้องจัดเตรียมอาหาร
ให้นักท่องเท่ียวไปด้วย เพราะเจ้าของช้างในสมัยก่อนไม่ได้จัดเตรียมไว้ให้ จึงมีแนวคิดท่ีจะท�ำ
ปางชา้ งเป็นของตนเองให้บริการครบวงจร เริ่มแรกเช่าท่ี ๕ ไร่ และเชา่ ช้างจากชาวบา้ นมาจำ� นวน
๓ เชือก และมีพนกั งานในสมัยนน้ั มเี พียง ๖ คน นค่ี ือจดุ เรมิ่ ต้นของปางช้างแมแ่ ตง ซ่งึ ในปัจจบุ ัน
มีช้างกว่า ๙๙ เชือก และมีพนักงานกว่า ๕๐๐ คน มีการบริหารจัดการปางช้างจนได้รับรางวัล
ระดับชาติและระดับนานาชาติ ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ดร.บุญทา ชัยเลิศ เริ่มเข้าศึกษาต่อยัง

๓๓

วทิ ยาลยั ครเู ชยี งใหม่ หลงั จากเรยี นจบชน้ั มธั ยมศกึ ษาจาก
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ได้เข้ามาศึกษาต่อในระดับ
ประกาศนียบัตรชั้นต้น ปกศ.ต้น และช้ันสูง ปกศ.สูง
ซ่ึงระหว่างการศึกษาที่วิทยาลัยครูเชียงใหม่ในสมัยน้ัน
ก็มีความตั้งใจเรียนและให้ความร่วมมือเข้าร่วมกิจกรรม
ทกุ อยา่ งทว่ี ทิ ยาลยั ครเู ชยี งใหมจ่ ดั ขนึ้ ซงึ่ ครง้ั หนง่ึ เคยเปน็
นักกีฬาได้รับเหรียญทองชนะเลิศ อันดับท่ี ๑ ในการว่ิง
สถาบนั การศกึ ษาแหง่ นจ้ี งึ นบั ไดว้ า่ เปน็ สถานทหี่ ลอ่ หลอม
ความอดทน และความเปน็ ครู รวมถงึ การเปน็ นกั ธรุ กิจที่
มีความซ่ือสัตย์ให้กับตนเป็นอย่างย่ิง การพักในหอพักท่ี
วิทยาลัยครูในสมัยนั้น ท�ำให้ได้รู้จักและใช้ชีวิตร่วมกับ
เพอ่ื นรว่ มรนุ่ และพน่ี อ้ งเปน็ จำ� นวนมากซง่ึ เปน็ เหตผุ ลหนงึ่
ที่ท�ำให้ ดร.บุญทา ชัยเลิศ ได้พบกับความส�ำเร็จในการ
ประกอบธรุ กจิ ในปจั จบุ นั สำ� หรบั บณั ฑติ มหาวทิ ยาราชภฏั
เชียงใหม่น้ันต้องเป็นคนที่สู้งาน ไม่เลือกงาน ค้นหาส่ิงท่ี
ตนเองถนัด และต้องมีทักษะทางภาษาที่ไม่ว่าจะเป็นภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาอาหรับ
ส�ำหรบั ทิศทางการพัฒนาของมหาวิทยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม่ นัน้ ควรเน้นการใชภ้ มู ปิ ญั ญาชาวบา้ น
ในท้องถ่นิ มาเปน็ จุดเดน่ โดยการใหค้ นทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถในท้องถิ่น มาถ่ายทอดองค์ความรู้
ใหก้ ับนักศกึ ษา

ท่ีอยู่
๒๒๔ หมู่ ๗ ตำ� บลสนั นาเมง็
อ�ำเภอสันทราย จังหวัดเชยี งใหม่
๕๐๒๑๐

๓๔

เพลงราชภฏั สดดุ ี

ขอเดชะ ขตั ิยะองคภ์ มู ิพล โปรดดาลดลพระราชทานนามมา
ราชภัฏพรอ้ มใจศรัทธา เทิดเกยี รตบิ ูชา
ถวายพระองค์ทรงพระเจริญ

ผองเรารักสดุ หทยั หาใครไหนเกิน ต่างชวนเชิญรว่ มหมเู่ ชดิ ชบู ชู า
แหล่งเรยี นนี้ น้องพี่ศรัทธา ตัง้ จติ วญิ ญาณ นอ้ มวนั ทาสถาบันยง่ิ

* ปราชญ์ ของกษัตริย์ ผูกมดั หัวใจเราย่งิ
หย่ิงรกั ในศกั ดิ์ ศักดศ์ิ รีพร้อมพลชี วี นั
แมน้ ยามเรยี น เรง่ เรยี นเพยี รพร้อมพลัน
มงุ่ สรา้ งสรรค์ ปญั ญาสามคั คี

ขอเดชะ ขัติยะ พระบารมี สดดุ ี น้องพ่ี ร่วมพลีกายใจ
ราชภฏั ขอธรรมนำ� ชยั

ใหเ้ กียรตเิ กริกไกร ขออวยชยั เชดิ ชัย ช...โย *
(ซำ้� )

๓๕

เพลงเทดิ ศักดสิ์ ถาบนั

เทิดศกั ดิ์ รกั ของขา้ สูงลอยเลิศฟา้ อากาศไทย
นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม่ พรอ้ มใจศรทั ธา

เทิดศักด์ิ รักสงู สง่ เหมือนดงั หมหู่ งส์ สง่ ศกั ดา
เสยี ศักด์ิศรพี ร้อมพลีชีวา ยังดีกวา่ ด้านหน้าอยูไ่ ป
เรานัก ศกึ ษา มหาวิทยาลัย นามราชภัฏเกรยี งไกร

จะยอมใหใ้ ครเหยียดหรอื
เรานัก ศกึ ษา สถาบันคนดมี ชี อ่ื ไวใ้ ห้ไหนๆ เขาลอื

ชอื่ ดังกอ้ งฟ้าแดนไกล
*๒ รอบ*

๓๖

ศษิ ยเ์ กา่ ดเี ด่น ๕๙

มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่

ทีป่ รึกษา
l รองศาสตราจารย์ ดร.ประพันธ ์ ธรรมไชย อธิการบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่
l ผชู้ ่วยศาสตราจารย์สุกัญญา ค�ำนวนสกุณี รองอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่
l นายสยาม กันหาลิลา ผอู้ ำ� นวยการกองพัฒนานักศึกษา

ข้อมูล/จัดพิมพ/์ เรียบเรยี ง/ถา่ ยภาพ
l นายสยมภ ู อะโน นกั วชิ าการศึกษา

เผยแพร่โดย

l กองพฒั นานกั ศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
โทรศัพท์ 0 5388 5434
เวปไซด์ http://www.offstu.cmru.ac.th/

๓๗






Click to View FlipBook Version