The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nureeta_lovely, 2022-06-04 13:40:30

ภาษาไทย (1)

ภาษาไทย (1)

ยินดีตอนรับสู่ห้องเรียน
บ้านสิชล

- วิชาภาษาไทย

คำนำ

สื่อการเรียนการสอนห้องเรียนบ้านสิชล จัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ของ
นักเรียนห้องเรียนบ้านสิชล เล่มนี้ได้จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้
โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้
สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ทั้งเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม สร้าง
สถานการณ์การเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ทำให้นักเรียนสามารถเชื่อม
โยงความรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ ได้ในเชิงบูรณาการด้วยวิธีการที่หลากหลาย
เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปความรู้ด้วยตนเอง ทำให้นักเรียนได้
รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ ด้านทักษะ/กระบวนการ และด้านคุณธรรม จริยธรรม

จัดทำโดย
นักศีกษาฝึกปฎิบัติวิชาชีพสังคมสงเคราะห์

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตปัตตานี ปีการศึกษา2565

สารบัญ

พยัญชนะไทย 44 ตัว
เสียงในพยัญชนะไทย
เสียงสระ
วรรณยุกต์
เครื่องหมายวรรคตอน
เสียงวรรคยุกต์

พยัญชนะไทย 44 ตัว

พยัญชนะไทย

พยัญชนะไทย มีทั้งหมด 44 ตัว ได้แก่

กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถ
ทธนบปผฝพฟภมยรลวศษสหฬอฮ

เสียงใน พยัญชนะไทย มีทั้งหมด 44 รูป

21 เสียง ดังนี้

44 รูป ออกเสียง 21 เสียง ป ออกเสียง ป
ก ออกเสียง ก พ ภ ผ ออกเสียงคล้ายรูป พ
ข ฃ ค ฅ ฆ ออกเสียงคล้ายรูป ค ฟ ฝ ออกเสียงคล้ายรูป ฟ
ง ออกเสียง ง ม ออกเสียง ม
จ ออกเสียง จ ร ออกเสียง ร
ช ฌ ฉ ออกเสียง ช ย ญ ออกเสียงคล้ายรูป ย
ซ ศ ษ ส ออกเสียงคล้ายรูป ซ ล ฬ ออกเสียงคล้ายรูป ล
ด ฎ ออกเสียงคล้ายรูป ด ว ออกเสียง ว
ต ฏ ออกเสียงคล้ายรูป ต ฮ ห ออกเสียงคล้ายรูป ฮ
ท ธ ฑ ฒ ถ ฐ ออกเสียงคล้ายรูป ท อ ออกเสียง อ
น ณ ออกเสียงคล้ายรูป น
บ ออกเสียง บ

เสียงในพยัญชนะไทย

พยัญชนะไทยแบ่งออกเป็น 3 หมู่ตามไตรยางศ์ คือ
อักษรสูง อักษรกลาง และอักษรต่ำ

1.อักษรสูง คือ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
2.อักษรกลาง คือ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ
3.อักษรต่ำ คือ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ

หน้าที่ของพยัญชนะไทย
ตัวอย่างหน้าที่ของพยัญชนะ ได้แก่

เป็นพยัญชนะต้นของคำ เป็นตัวแรกของคำหรือพยางค์ เช่น คน สวย
เป็นพยัญชนะท้ายคำหรือตัวสะกด ซึ่งเรามักเรียนรู้ในรูปมาตราตัวสะกด
เช่น คำว่า ตก หรือ สุข ที่มีตัวสะกดอยู่ในมาตราแม่ กก
เป็นเสียงพยัญชนะควบกล้ำ เช่น กล้า (กล)
เป็นอักษรนำ-อักษรตาม เช่น หวาน หรูหรา อย่า อยู่ อย่าง อยาก
เป็นอักษรย่อ เช่น ม.ค. ย่อมาจาก มกราคม
เป็นตัวการันต์ เช่น จันทร์ สัตว์

เสียงสระ

เสียงส
ระ

เสียงสระในภาษาไทยมี 32 เสียง ดังนี้
ะ อา อิ อี อึ อื อุ อู
เอะ เอ เเอะ เเอ เอียะ เอีย เอือะ เอือ
อัวะ อัว โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ อำ

ใอ ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ

วรรณยุกต์

วรรณยุกต์



วรรณยุกต์ในภาษาไทยมี 4 รูป 5 เสียง
เสียงวรรณยุกต์ไทยตามหลักภาษาศาสตร์ แบ่งได้ดังนี้

เสียงสามัญ (ระดับเสียงกึ่งสูง-กลาง)
เสียงเอก (ระดับเสียงกึ่งต่ำ-ต่ำ)
เสียงโท (ระดับเสียงสูง-ต่ำ)
เสียงตรี (ระดับเสียงกึ่งสูง-สูง)
เสียงจัตวา (ระดับเสียงต่ำ-กึ่งสูง)

เครื่องหมายวรรคตอน

เครื่องหมายวรรคตอน

. มหัพภาค หรือ จุด ! อัศเจรีย์
, จุลภาค หรือ ลูกน้ำ “” อัญประกาศ
; อัฒภาค ... จุดไข่ปลา
: ทวิภาค หรือ ต่อ _ _ _ เส้นประ
:- วิภัชภาค " บุพสัญญา
- ยัติภังค์
— ยัติภาค / ทับ
() นขลิขิต หรือ วงเล็บ ๆ ไม้ยมก
[ ] วงเล็บเหลี่ยม ฯ ไปยาลน้อย หรือ เปยยาลน้อย
{ } วงเล็บปีกกา ฯลฯ ไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่
? ปรัศนี ๏ ฟองมัน หรือ ตาไก่
๏" ฟองมันฟันหนู หรือ ฟันหนูฟองมั



ฯ อังคั่นเดี่ยว คั่นเดี่ยว หรือ คั่น
๚ อังคั่นคู่ หรือ คั่นคู่
๚ะ อังคั่นวิสรรชนีย์
์ ทัณฑฆาต (ตัวการันต์ คือพยัญชนะที่ถูกทัณฑฆาตกำกับ
เช่น ก์ เรียกว่า กอการันต์)

┼ฺ พินทุ
ตีนครุ หรือ ตีนกา
มหัตถสัญญา (ย่อหน้า)
สัญประกาศ (ขีดเส้นใต้)

เสียงวรรคยุกต์

โดยทั่วไปเสียงพยางค์หนึ่งในภาษาไทย สามารถผันได้ ๕ เสียงวรรณยุกต์ แต่ในภาษาเขียน
จะมีกฎเกณฑ์การผันที่ตายตัว ดังนี้

หมู่อักษร-คำเป็นคำตายเสียงสามัญเสียงเอกเสียงโทเสียงตรีเสียงจัตวา







อักษรกลาง คำเป็น อักษรกลาง คำตาย สระสั้น

กา -

ก่า กะ

ก้า ก้ะ

ก๊า ก๊ะ

ก๋า ก๋ะ

อักษรกลาง คำตาย สระยาว อักษรสูง คำเป็น

--

กาบ ข่า

ก้าบ ข้า

ก๊าบ -

ก๋าบ ขา

อักษรสูง คำตาย สระสั้น อักษรต่ำ คำเป็น

- คา

ขะ -

ข้ะ ค่า

- ค้า

--

อักษรสูง คำตาย สระยาว อักษรต่ำ คำตาย สระยาว

--

ขาบ -

ข้าบ คาบ

- ค้าบ

- ค๋าบ

อักษรต่ำ คำตาย สระสั้น


-


-


ค่ะ


คะ


ค๋ะ


Click to View FlipBook Version