The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การวิเคราะห์รายการค้า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tassanawan.n, 2023-05-21 23:49:03

การวิเคราะห์รายการค้า

การวิเคราะห์รายการค้า

Keywords: การวิเคราะห์รายการค้า

การวิเ วิ คราะห์รายการค้า ครูทัศทั นวรรณ นามสิงห์ การบัญ บั ชีเบื้อ บื้ งต้น ต้


การวิเ วิ คราะห์รายการค้า แบบทดสอบก่อ ก่ นเรีย รี น


เนื้อหาสาระ 1. รูปแบบของกิจการ 2. รายการค้า (Business Transaction) 3. หลักในการวิเคราะห์รายการค้า


1. รูปแบบของกิจการ รูปแบบของกิจการค้าแต่ละประเภทจะแตก ต่างกันออกไปตามสภาพการลงทุนใน กิจการลักษณะการจัดตั้ง การดำ เนินงาน และความสำ คัญทางเศรษฐกิจ แบ่งได้ดังนี้


1. รูปแบบของกิจการ


1. กิจ กิ การเจ้า จ้ ของคนเดีย ดี ว (Single Proprietorship) ได้แ ด้ ก่ กิจ กิ การขนาดเล็ก ล็ ที่มี ที่ บุ มี ค บุ คลคนเดีย ดี วเป็นเจ้า จ้ ของ เช่น ช่ รายค้าย่อ ย่ ย สำ นักงานผู้ป ผู้ ระกอบวิช วิ าชีพ ชี อิสอิ ระ การจัด จั ตั้ง ตั้ ทำ ได้ง่ ด้ า ง่ ย เจ้า จ้ ของดำ เนินงานเองและรับ รั ผิด ผิ ชอบในหนี้สินของร้า ร้ นโดยไม่จำ ม่ จำ กัด กั จำ นวน ข้อ ข้ เสียของ กิจ กิ การค้าเจ้า จ้ ของคนเดีย ดี วคือ เงิน งิ ทุน ทุ มีจำ มี จำ นวนจำ กัด กั การขยายกิจ กิ การทำ ได้ย ด้ าก อายุข ยุ องกิจ กิ การจะสิ้นสุด สุ เท่า ท่ อายุเ ยุ จ้า จ้ ของกิจ กิ การหรือ รื น้อยกว่า ว่ นั้น


2. ห้างหุ้นส่วน (Partnership) คือ กิจ กิ การที่มี ที่ บุ มี ค บุ คล ตั้ง ตั้ แต่ 2 คนขึ้น ขึ้ ไปร่ว ร่ มกัน กั เป็นเจ้า จ้ ของโดยมี สัญญาตกลงรวมทุน ทุ กัน กั เป็นหุ้นส่วนประกอบการค้าเพื่อ หวัง วั กำ ไร โดยผู้เ ผู้ ป็นหุ้นส่วนจะมีทุ มี น ทุ เท่า ท่ กัน กั หรือ รื ไม่เ ม่ ท่า ท่ กัน กั ก็ไก็ ด้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ห้ ย์ ห้ างหุ้น ส่วนแบ่ง บ่ ได้เ ด้ป็น 2 ประเภท


2.1 ห้างหุ้นส่วนสามัญ (Ordinary Partnership) คือ ห้างหุ้น ส่วนประเภทที่ผู้ ที่ เ ผู้ ป็นหุ้นส่วนทุก ทุ คนต้องรับ รั ผิด ผิ ชอบร่ว ร่ มกันในหนี้ สิน โดยไม่จำ กัดจำ นวน ห้างหุ้นส่วนประเภทนี้จะจดทะเบียนเป็น นิติบุ ติ คคลก็ได้หรือ รื ไม่จดทะเบียนก็ได้ 2.2 ห้างหุ้นส่วนจำ กัด (Limited Partnership) คือ ห้าง หุ้นส่วนที่ประก ที่ อบด้วยผู้เ ผู้ ป็นหุ้นส่วน 2 จำ พวก คือ จำ พวกจำ กัด ความรับ รั ผิด ผิ ชอบ และไม่จำ กัดความรับ รั ผิด ผิ ชอบ ห้างหุ้นส่วนจำ กัด กฎหมายบังคับให้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล


3. บริษัทจำ กัด (Company Limited or Corporation) คือ กิจ กิ การที่ตั้ ที่ ตั้ ง ตั้ ขึ้นในรูปของนิติบุคคลด้วยการแบ่งทุน ทุ เป็นหุ้นมี มูลค่าเท่า ๆ ท่ กัน ผู้ที่ ผู้ ที่ ล ที่ งทุน ทุ ซื้อ ซื้ หุ้นของกิจการเรีย รี กว่า “ผู้ถื ผู้ ถื อหุ้น” (Shareholders) ผู้ถื ผู้ ถื อหุ้นต้องรับ รั ผิด ผิ จำ กัดเพียงไม่เกินจำ นวนเงิน งิ ที่ต ที่ นส่งใช้ไช้ ม่ครบมูลค่าของหุ้นที่ต ที่ นถือ การบริห ริ ารงานของ บริษั ริ ษั ทกระทำ โดยคณะกรรมการชุดหนึ่ง ซึ่ง ซึ่ ที่ปที่ ระชุมใหญ่ผู้ถื ผู้ ถื อหุ้น เป็นผู้แ ผู้ ต่ง ต่ ตั้ง ตั้ และบริษั ริ ษั ทจำ กัดต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล แยก ต่าง ต่ หากจากผู้ถื ผู้ ถื อหุ้น ผู้ถื ผู้ ถื อหุ้นจะได้รับ รั ส่วนแบ่งกำ ไรเป็น เงิน งิ ปันผล (Dividends) บริษั ริ ษั ทจำ กัดแบ่งเป็น 2 ประเภท


3.1 บริษัทเอกชนจำ กัด (Private Company Limited) มี จำ นวนผู้ถื ผู้ ถื อหุ้นตั้ง ตั้ แต่ 7 คนขึ้นไป (ป.พ.พ. มาตรา 1097) 3.2 บริษัทมหาชนจำ กัด (Public Company Limited) มีจำ นวน ผู้ถื ผู้ ถื อหุ้นตั้ง ตั้ แต่ 15 คนขึ้นไป (พ.ร.บ. บริษั ริ ษั ทมหาชน จำ กัด พ.ศ. 2535 มาตรา 16) และต้องจองหุ้นรวมกันอย่างน้อย 5 % ของทุน ทุ จดทะเบียน แต่ละคนถือหุ้นไม่เกิน 10 % ของทุน ทุ จดทะเบียน และ ตั้ง ตั้ ขึ้นมาโดย มีวัตถุประสงค์ เพื่อเสนอขายหุ้นต่อประชาชนทั่ว ทั่ ไป ต้อ ต้ งมีคำ นำ หน้าชื่อ ชื่ ว่า “บริษั ริ ษั ท” และคำ ลงท้า ท้ ยว่า “จำ กัด (มหาชน)”


รายการค้า (Business Transaction) รายการค้า หมายถึง ถึ การดำ เนินงาน ในทางการค้าที่ทำ ที่ ทำให้เกิดการโอนเงิน งิ หรือ รืสิ่งของมีค่ มี ค่ าเป็นเงิน งิ ระหว่างกิจการค้า กับ กั บุค บุ คล ภายนอก ซึ่ง ซึ่ อาจจะแตกต่างกัน ออกไปตามลัก ลั ษณะของกิจ กิ การค้า


ตัว ตั อย่า ย่ งรายการค้า ค้ นำ เงินสดหรือ รื สิน สิ ทรัพ รั ย์ม ย์ าลงทุน ทุ ถอนเงินสดหรือ รื สิน สิ ค้าไปใช้ส่ ช้ ว ส่ นตัว ซื้อ ซื้ สิน สิ ทรัพ รั ย์เ ย์ป็น ป็ เงินเชื่อ ชื่ รับ รั รายได้ค่าบริก ริ าร จ่า จ่ ยชำ ระหนี้ รับ รั ชำ ระหนี้


ตัว ตั อย่า ย่ งที่ไที่ ม่ใม่ ช่ร ช่ ายการค้า ค้ การจัด จั แสดงสิน สิ ค้า การเชิญ ชิ ชวนและต้อนรับ รั ลูก ลู ค้า การสาธิต ธิ สิน สิ ค้า การเขีย ขี นจดหมายโต้ตอบ การสอนถามราคา


การวิเคราะห์รายการค้า (BUSINESS TRANSACTION ANALYSIS) การวิเคราะห์รายการค้าเป็นจุดเริ่ม ริ่ ต้นของวงจร บัญชี เป็นขั้นแรกของการจัดทำ บัญชี ซึ่ง ซึ่สำ คัญมาก เพราะหากวิเคราะห์รายการค้า ผิดก็จะทำ ให้ขั้นตอน ต่อ ๆ ไปผิดไปด้วย เช่น ช่ การบันทึกบัญชีใชี นสมุด รายวัน การผ่านบัญชีไชีปสมุดบัญชีแ ชี ยกประเภท ตลอดจนถึงการ จัดทำ งบการเงิน งิ ก็ผิดไปด้วย


การวิเคราะห์รายการค้า (BUSINESS TRANSACTION ANALYSIS) 1. วิเคราะห์รายการค้าที่เกิดขึ้นว่าทำ ให้สินทรัพ รั ย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของกิจการเปลี่ยนแปลงโดย การเพิ่มขึ้นหรือ รื ลดลง อย่างไรบ้าง


การวิเคราะห์รายการค้า (BUSINESS TRANSACTION ANALYSIS) 2. รายการค้าที่เกิดขึ้นเมื่อวิเคราะห์แล้ว การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพ รั ย์ หนี้สิน และส่วนของ เจ้าของนั้นจะต้องทำ ให้สมการบัญชีเ ชีป็นจริง ริ เสมอ กล่าวคือ เมื่อวิเคราะห์รายการค้าแล้ว สินทรัพ รั ย์ที่ เปลี่ยนแปลง จะต้องเท่ากับ หนี้สินที่เปลี่ยนแปลง บวกด้วยส่วนของเจ้าของที่เปลี่ยนแปลงเสมอ


หลักในการวิเ วิ คราะห์รายการค้า 5 ประการ คือ 1. สินทรัพย์เพิ่ม (+) ส่วนของเจ้าของเพิ่ม (+) 2. สินทรัพย์ลด (-) ส่วนของเจ้าของลด (-) 3. สินทรัพ รั ย์อ ย์ ย่า ย่ งหนึ่งเพิ่ม (+) สินทรัพ รั ย์อี ย์ ก อี อย่า ย่ งหนึ่งลด (-) 4. สินทรัพย์เพิ่ม (+) หนี้สินเพิ่ม (+) 5. สินทรัพย์ลด (-) หนี้สินลด (-)


ตัวอย่า ย่ ง


ตัวอย่าง จากรายการค้าต่อไปนี้ ให้ทํา 1. วิเคราะห์รายการค้า โดยใส่เครื่องหมาย + แทนเพิ่ม และ เครื่องหมาย – แทนลด 2. รวมยอดสินทรัพ รั ย์ หนี้สินและส่วนของเจ้าของ 3. แทนค่าในสมการบัญชี


ตัวอย่าง


ตัวอย่าง แทนค่าในสมการบัญ บั ชี สินทรัพ รั ย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้า จ้ ของ 78,200 = 10,500 + 67,700 78,200 = 78,200


การวิเ วิ คราะห์รายการค้าตามหลัก ลั การบัญ บั ชีคู่ Double – Entry หลักการบัญชีคู่ เป็นหลักการบัญชีที่ได้รับ การยอมรับและใช้กันทั่วไปในปัจจุบัน ซึ่งก็คือรายการค้าทุกรายการที่เกิดขึ้น เมื่อได้ทำ การ วิเคราะห์แล้วก็จะนำ ไป บันทึกบัญชี 2 ด้านเสมอ


การวิเ วิ คราะห์รายการค้าตามหลัก ลั การบัญ บั ชีคู่ Double – Entry


หลักการบัน บั ทึกบัญ บั ชีต ชี าม หลักการบัญ บั ชีคู่ ชี คู่ 1. การบัน บั ทึกบัญ บั ชีปชี ระเภทสิน สิ ทรัพ รั ย์ - สินทรัพ รั ย์เ ย์ พิ่มขึ้น ให้บัน บั ทึก ทึ บัญ บั ชีสินทรัพ รั ย์ ด้า ด้ นเดบิต บิ (Dr.) - สินทรัพ รั ย์ล ย์ ดลง ให้บัน บั ทึก ทึ บัญ บั ชีสินทรัพ รั ย์ ด้า ด้ นเครดิต ดิ (Cr.) 2. การบัน บั ทึกบัญ บั ชีปชี ระเภทหนี้สิน สิ - หนี้สินเพิ่มขึ้น ให้บัน บั ทึก ทึ บัญ บั ชีหนี้สิน ด้า ด้ นเครดิต ดิ (Cr.) - หนี้สินลดลง ให้บัน บั ทึก ทึ บัญ บั ชีหนี้สิน ด้า ด้ นเดบิต บิ (Dr.) 3. การบัน บั ทึกบัญ บั ชีปชี ระเภทส่ว ส่ นของเจ้า จ้ ของ (ทุน ทุ ) - ส่วนของเจ้า จ้ ของ (ทุน ทุ ) เพิ่มขึ้น ให้บัน บั ทึก ทึ ที่บั ที่ ญ บั ชีส่วนของเจ้า จ้ ของ ด้า ด้ นเครดิต ดิ (Cr.) - ส่วนของเจ้า จ้ ของ (ทุน ทุ ) ลดลง ให้บัน บั ทึก ทึ ที่บั ที่ ญ บั ชีส่วนของเจ้า จ้ ของ ด้า ด้ นเดบิต บิ (Dr.)


สมุดรายวันขั้นต้น (BOOK OF ORIGINAL ENTRY) สมุดรายวันขั้นต้น (Book of Original Entry) หรือ รื สมุดรายวัน (Journal) หมายถึงสมุดบัญชีที่จะ ใช้จดบันทึกรายการค้าต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เป็นขั้นแรก โดยการจดบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นนั้น จะจด บันทึกโดยเรีย รี งตามลำ ดับก่อนหลังของการเกิด รายการค้า


ประเภทของสมุดบัญชีขั้นต้น (TYPES OF BOOKS OF ORIGINAL ENTRY) แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท 1. สมุด มุ รายวัน วั เฉพาะ (Special Journals) เป็นสมุด มุ บัน บั ทึก ทึ รายการขั้น ขั้ ต้น ต้ ที่ใ ที่ ช้สำช้ สำ หรับ รั บัน บั ทึก ทึ รายการค้า เฉพาะเรื่อ รื่ งใดเรื่อ รื่ งหนึ่งเหมาะสำ หรับ รั ธุรกิจ กิ ประเภท พาณิชยกรรมหรือ รื กิจ กิ การซื้อ ซื้ มาขายไปขนาดใหญ่ โดยมี รายละเอีย อี ดดัง ดั นี้


1 . ส มุ ด มุ ร า ย วั น วั เ ฉ พ า ะ ( S p e c i a l J o u r n a l s )


1 . ส มุ ด มุ ร า ย วั น วั เ ฉ พ า ะ ( S p e c i a l J o u r n a l s )


การบัญ บั ชีเบื้อ บื้ งต้น ต้ ครูทัศทั นวรรณ นามสิงห์ การบัน บั ทึก ทึ รายการใน สมุดรายวัน วั ทั่ว ทั่ ไป


1. หลัก ลั การบัน บั ทึก ทึ รายการค้าในสมุด มุ รายวัน วั ทั่ว ทั่ ไป 2. รายการเปิดบัญ บั ชีและบัน บั ทึก ทึ รายการค้าในสมุด มุ รายวัน วั ทั่ว ทั่ ไป 3. การบัน บั ทึก ทึ บัญ บั ชีโดยใช้โปรแกรม สำ เร็จ ร็ รูปทางบัญ บั ชี (Samart biz)


ความหมายของ สมุด มุ รายวัน วั ขั้นต้น ต้ สมุดบัน บั ทึก ทึ รายการขั้นต้น ต้ (Book of original Entry) คือ สมุดที่ร ที่ วบรวมรายการค้าเข้าไว้ ด้ว ด้ ยกัน กั โดยการบัน บั ทึก ทึ เรีย รี งตาม ลำ ดับ ดั วัน วั ที่ที่ ที่ ที่ เ ที่ กิด กิ รายการค้า ทำ ให้การค้นหารายการค้าหรือ รื การแก้ไก้ ขข้อผิด ผิ พลาดเป็นไป อย่า ย่ งสะดวก นักศึกษายกตัว ตั อย่า ย่ งสมุด มุ รายวัน วั ขั้นต้น ต้


ประเภทของสมุดบัญชีขั้นต้น ต้ สมุดบันทึกรายการขั้นต้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journals) เป็นสมุดบันทึกรายการขั้นต้นที่ใช้สำ หรับบันทึก รายการค้าเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งเหมาะสำ หรับธุรกิจ ประเภทพาณิชยกรรมหรือกิจการซื้อมาขายไปขนาด ใหญ่


ประเภทของสมุดบัญชีขั้นต้น ต้ 2. สมุดรายวันทั่วไป (General Journal) เป็นสมุดบันทึกรายการขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการ ค้าที่ไม่สามารถบันทึกในสมุดรายวันเฉพาะได้ เช่น รายการเปิดบัญชี รายการปรับปรุง รายการ ปิดบัญชี


รูปแบบของสมุด มุ รายวัน วั ทั่ว ทั่ ไป รูปแบบสมุดรายวันทั่วไปจะมีหลายรูปแบบ ซึ่งกิจการจะเลือกใช้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดและลักษณะของการ ดำ เนินธุรกิจของกิจการนั้นๆ แต่รูปแบบที่ ง่ายและถือเป็นแบบมาตรฐาน ( Standard Form )จะเป็นแบบ 2 คอลัมน์ (Two-column Journal) ซึ่งมีรูปแบบดังนี้


รูปแบบของสมุด มุ รายวัน วั ทั่ว ทั่ ไป


แบบทดสอบก่อนเรียน สแกนเลยจ้า จ้ เวลา 10 นาทีน ที ะคะ


หลัก ลั การบัน บั ทึก ทึ รายการค้าในสมุด มุ รายวัน วั ทั่ว ทั่ ไป หลัก ลั การบัน บั ทึก ทึ บัญ บั ชี การบัน บั ทึก ทึ บัญ บั ชีจ ชี ะมี 2 ระบบ คือ ระบบบัญ บั ชีเ ชี ดี่ย ดี่ ว (Single Entry System) และระบบบัญ บั ชีคู่ ชี คู่(Double Entry System) ระบบบัญ บั ชีเ ชี ดี่ย ดี่ วมัก มั จะเกิด กิ ขึ้น ขึ้ ในกิจ กิ การเจ้า จ้ ของคนเดีย ดี ว และ มีก มี ารบัน บั ทึก ทึ บัญ บั ชีโชี ดยผู้ที่ ผู้ ไ ที่ ม่มี ม่ ค มี วามรู้ท รู้ างด้า ด้ นบัญ บั ชี ซึ่ง ซึ่ อาจจะ เป็นเจ้า จ้ ของกิจ กิ การเป็นผู้บั ผู้ น บั ทึก ทึ เอง การบัน บั ทึก ทึ บัญ บั ชี เป็นไป อย่า ย่ งง่า ง่ ยๆ และไม่มี ม่ ก มี ารวิเ วิ คราะห์รายการค้า เช่น ช่ ขายสินค้า เป็นเงิน งิ สด 500 บาท อาจจะบัน บั ทึก ทึ ไว้ใว้ นสมุด มุ สั้นๆว่า ว่ ขายสินค้า 500 บาท เป็นต้น ต้


หลัก ลั การบัน บั ทึก ทึ รายการค้าในสมุด มุ รายวัน วั ทั่ว ทั่ ไป หลัก ลั การบัน บั ทึก ทึ บัญ บั ชี ระบบบัญ บั ชีคู่ ชี คู่ นั้นเป็นการบัน บั ทึก ทึ บัญ บั ชีอ ชี ย่า ย่ งมีห มี ลัก ลั เกณฑ์ โดยนำ ผลจากการวิเ วิ คราะห์รายการค้าไปบัน บั ทึก ทึ บัญ บั ชี ระบบบัญ บั ชีคู่ ชี คู่ เป็นระบบบัญ บั ชีที่ ชี เ ที่ ป็นที่ย ที่ อมรับ รั และนิยมใช้ โดยทั่ว ทั่ ไปเพราะสามารถตรวจสอบและหาข้อ ข้ ผิด ผิ พลาด ได้ ง่า ง่ ย การบัน บั ทึก ทึ บัญ บั ชีจ ชี ะบัน บั ทึก ทึ รายการ 2 ด้า ด้ นเสมอไปใน จำ นวนเงิน งิ ที่เ ที่ ท่า ท่ กัน กั


หลัก ลั การบัน บั ทึก ทึ รายการค้าในสมุด มุ รายวัน วั ทั่ว ทั่ ไป ลัก ลั ษณะของการบัน บั ทึก ทึ รายการบัญ บั ชีจ ชี ะแบ่ง บ่ ออกเป็น 2 ด้า ด้ น คือ ด้า ด้ นซ้า ซ้ ยมือ มื เรีย รี กว่า ว่ ด้า ด้ นเดบิต บิ (Debitหรือ รื Dr.) ส่วนด้า ด้ นขวามือ มื เรีย รี กว่า ว่ ด้า ด้ นเครดิต ดิ (Credit หรือ รื Cr.) คำ ว่า ว่ เดบิต บิ และเครดิต ดิ นั้น เป็นทั้ง ทั้ คำ นามและคำ กริย ริ า คำ นาม หมายถึง ถึ ด้า ด้ นซ้า ซ้ ยมือ มื และด้า ด้ นขวามือ มื ส่วนคำ กริย ริ า หมายถึง ถึ การบัน บั ทึก ทึ บัญ บั ชีด้ ชี า ด้ นซ้า ซ้ ยมือ มื และด้า ด้ นขวามือ มื


หลัก ลั การบัน บั ทึก ทึ รายการค้าในสมุด มุ รายวัน วั ทั่ว ทั่ ไป จากหลัก ลั เกณฑ์ข้ ฑ์ า ข้ งต้น ต้ จะเห็นได้ว่ ด้ า ว่ - ถ้า ถ้ สินทรัพ รั ย์เ ย์ พิ่มขึ้น ขึ้ จะบัน บั ทึก ทึ รายการทางด้า ด้ นเดบิต บิ - ถ้า ถ้ สินทรัพ รั ย์ล ย์ ดลง จะบัน บั ทึก ทึ รายการทางด้า ด้ นเครดิต ดิ - ถ้า ถ้ หนี้สินเพิ่มขึ้น ขึ้ จะบัน บั ทึก ทึ รายการทางด้า ด้ นเครดิต ดิ - ถ้า ถ้ หนี้สินลดลง จะบัน บั ทึก ทึ รายการทางด้า ด้ นเดบิต บิ - ถ้า ถ้ ส่วนของเจ้า จ้ ของเพิ่มขึ้น ขึ้ จะบัน บั ทึก ทึ รายการทางด้า ด้ นเครดิต ดิ - ถ้า ถ้ ส่วนของเจ้า จ้ ของลดลง จะบัน บั ทึก ทึ รายการทางด้า ด้ นเดบิต บิ


จับ จั คู่รายการค้า https://shorturl.asia/AF1DB


หมวดบัญชี หมายถึง การจัดหมวดหมู่บัญชีโดย แยกประเภทออกเป็น 5 หมวดบัญชี หมวดที่ 1 สินทรัพ รั ย์ หมวดที่ 2 หนี้สิน หมวดที่ 3 ส่วนของเจ้า จ้ ของหรือ รื ทุน ทุ หมวดที่ 4 รายได้ หมวดที่ 5 ค่าใช้จ่า จ่ ย


ห ลั ก ลั ก า ร จำ นิ้ ว 5 นิ้ ว จำ ใ ห้ ดี มี ห มี ม ว ด บั ญ ชี อ ยู่ 5 ห ม ว ด


การบัน บั ทึก ทึ รายการเปิดบัญ บั ชี การบันทึก ทึ รายการเปิดบัญชี รายการเปิดบัญชี (Opening Entries) หมายถึง รายการแรก ของงวดบัญชีที่ ชี ที่ ถู ที่ ถู กบันทึก ทึ ในสมุดรายวันทั่ว ทั่ ไป ซึ่ง ซึ่ แยกออกเป็น 2 กรณี คือ 1. เมื่อลงทุน ทุ ครั้ง รั้ แรก 2. เมื่อเริ่มง ริ่ วดบัญชีใหชี ม่


การบัน บั ทึก ทึ รายการเปิดบัญ บั ชี - การบันทึก ทึ รายการเปิดบัญชีเ ชี มื่อลงทุน ทุ ครั้ง รั้ แรก จะแยกเป็น 3 กรณี ดังนี้ กรณีที่ 1 เจ้าของกิจการนำ เงิน งิ สดเพียงอย่างเดียวมา ลงทุน ทุ ตัว ตั อย่างที่ 1 เมื่อวันที่ 1 มกราคม 25x1 นายทองดีนำ เงิน งิ สด 30,000 บาท มาลงทุน ทุ การบันทึก ทึ รายการเปิดบัญชีใชี น สมุดรายวันทั่ว ทั่ ไปเป็นดังนี้


กรณีที่ 2 เจ้า จ้ ของกิจ กิ การนำ เงิน งิ สดและสินทรัพ รั ย์อื่ ย์ น อื่ มา ลงทุน ทุ ตัว ตั อย่า ย่ งที่ 2 เมื่อ มื่ วัน วั ที่ 1 มกราคม 25x1 นายทองดีนำ ดี นำ เงิน งิ สด 30,000 บาทและเครื่อ รื่ งมือ มื ซ่อ ซ่ มรถยนต์มู ต์ ล มู ค่า 20,000 บาท มาลงทุน ทุ การบัน บั ทึก ทึ รายการเปิดบัญ บั ชีใชี นสมุด มุ รายวัน วั ทั่ว ทั่ ไปเป็นดัง ดั นี้


Click to View FlipBook Version