รายงานวจิ ัย
ความหลากหลายและความชกุ ชมุ ของผเี สื้อกลางวันในเขตเกาะยอ อำเภอเมือง
จังหวดั สงขลา
Diversity and Abundance of Butterflies in Ko Yo, Muang District,
Songkhla Province
สริ ริ ัตน์ โสะอน้
ไอลดา ไหมดี
รายงานฉบับนี้เป็นสว่ นหนึ่งของการศึกษา
หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชวี วิทยา
คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา
2565
รายงานวจิ ยั
ความหลากหลายและความชุกชมุ ของผีเส้ือกลางวันในเขตเกาะยอ อำเภอเมือง
จังหวัดสงขลา
Diversity and Abundance of Butterflies in Ko Yo, Muang District,
Songkhla Province
สริ ิรตั น์ โสะอน้
ไอลดา ไหมดี
รายงานฉบับนี้เป็นสว่ นหนึ่งของการศกึ ษา
หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าชีววทิ ยา
คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา
2565
ใบรับรองงานวจิ ัย
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑติ
สาขาวชิ าชีววิทยา
ช่อื เร่ืองวจิ ยั ความหลากหลายและความชกุ ชุมของผเี สือ้ กลางวันในเขตเกาะยอ อำเภอเมือง
ชื่อผทู้ ำงานวจิ ยั จังหวดั สงขลา
Diversity and Abundance of Butterflies in Ko Yo, Muang District,
Songkhla Province
สิริรตั น์ โสะอน้ และไอลดา ไหมดี
คณะกรรมการสอบโครงการวจิ ัย
...............................................อาจารยท์ ี่ปรึกษา .................................................ประธานกรรมการสอบ
(อาจารยว์ ีรยุทธ ทองคง) (อาจารย์ ดร.นุชจรนิ ทร์ เพชรเกลย้ี ง)
…………………………………………...กรรมการสอบ
(อาจารย์สุธนิ ี หมี ยิ)
..............................................ประธานหลักสตู ร ..........................................................................
(อาจารย์ ดร.นชุ จรินทร์ เพชรเกลี้ยง) ผูช้ ว่ ยศาสตรจารยข์ วัญกมล ขุนพิทกั ษ์
คณบดคี ณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เมือ่ วนั ที.่ .......เดือน..............................พ.ศ..........
ลิขสทิ ธมิ์ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา
ก
กิตตกิ รรมประกาศ
การศึกษาวิจัยในครั้งนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดีต้องขอขอบพระคุณ อาจารย์วีรยุทธ ทองคง
ซึ่งเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการวิจัยที่ได้กรุณาให้คำรึกษา แนะนำแนวทาง วิธีการและขั้นตอน
การศึกษางานวิจัยตลอดจนให้ข้อคิดเป็นประโยชน์ในการทำงานวิจัยและตรวจทานแก้ไขรายงานวจิ ัย
ฉบับน้จี นเกิดความสมบูรณ์
ขอขอบพระคุณ อาจารย์ ดร.นุชจรินทร์ เพชรเกลี้ยงและอาจารย์สุธินี หีมยิ ซึ่งเป็นอาจารย์
กรรมการสอบและเป็นอาจารย์ประจำวิชาวิจัยทางชีววิทยาที่ได้ให้คำแนะนำในการเขียนรายงาน
โครงการวิจัยท่ถี กู ต้องจนบรรลุเป้าหมายตามระยะเวลาที่วางไว้สำเรจ็ ลุล่วงไปด้วยดี
ขอขอบคณุ นางสาวสไุ วดา สสั ดี นกั วทิ ยาศาสตรป์ ระจำหลักสูตรชวี วิทยา คณะวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ที่อำนวยความสะดวกในการใช้เครื่องมือตลอดการ
ปฏิบตั ิการ
ขอขอบคณุ หลักสูตรชวี วิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาท่ี
สนับสนุนในการทำวิจัย
สุดท้ายนี้ ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดาและครอบครัวที่เป็นกำลังใจสำคัญและช่วย
สนับสนุนทุนทรัพย์ การทำกบั ดักแมลงในการศกึ ษาครง้ั นี้จนทำให้งานวิจยั ประสบความสำเรจ็ ได้ดว้ ยดี
สริ ริ ตั น์ โสะอน้ และไอลดา ไหมดี
ธนั วาคม 2565
ข
ชื่อเรอื่ ง ความหลากหลายและความชุกชุมของผเี ส้อื กลางวันใน
เขตเกาะยอ อำเภอเมือง จงั หวดั สงขลา
ชือ่ ผู้ทำงานวิจัย สิรริ ตั น์ โสะอ้น รหสั นกั ศึกษา 624237002
ไอลดา ไหมดี รหสั นักศกึ ษา 624237003
อาจารย์ที่ปรกึ ษา อาจารยว์ ีรยุทธ ทองคง
ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาชีววทิ ยา
สถาบนั มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา
ปกี ารศึกษา 2565
บทคัดยอ่
การศึกษาความหลากหลายและความชุกชุมของผีเสื้อกลางวันในเขตเกาะยอ อำเภอเมือง
จังหวัดสงขลา วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิดและความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันที่พบบริเวณเกาะ
ยอ และปัจจัยทางกายภาพบางประการที่มีผลต่อชนิดของผีเสื้อกลางวัน เก็บตัวอย่างในเดือน
พฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2565 จำนวน 5 ครั้ง ทั้งหมด 3 แนวสำรวจ โดยใช้สวิงและกับดัก
พบผีเสื้อกลางวันทั้งหมด 3 วงศ์ 17 ชนิด 84 ตัว วิเคราะห์ความหลากชนิดด้วยสูตร Shannon -
Wiener Diversity Index มีค่าเท่ากับ 3.89 ผีเสื้อวงศ์ขาหน้าพู่เป็นกลุ่มที่พบหลากชนิดมากที่สุด
รองลงมาผีเสื้อวงศ์หนอนกะหล่ำ และวงศ์ที่พบความหลากชนิดน้อยที่สุดผีเสื้อวงศ์หางต่ิง
จากการวิเคราะห์ความถี่ และความชกุ ชุมผเี สือ้ ทพี่ บมากท่ีสดุ คอื ผีเสอ้ื ขาวแคระ
คำสำคัญ : ผเี สื้อกลางวัน ความหลากหลาย เกาะยอ
สารบญั ค
กิตตกิ รรมประกาศ หน้า
บทคดั ยอ่ ก
สารบญั ข
สารบญั ภาพ ค
สารบญั ตาราง จ
บทที่ 1 บทนำ ฉ
1
ความสำคัญและทีม่ าของการวจิ ยั 1
วัตถุประสงคข์ องวิจัย 2
ขอบเขตของงานวจิ ยั 2
ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รับจากการวจิ ยั 2
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กี่ยวขอ้ ง 3
ลักษณะพน้ื ท่เี กาะยอ 3
ผเี สื้อกลางวัน 3
การศึกษาผเี สื้อกลางวันในประเทศไทย 11
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวจิ ัย 13
อปุ กรณ์ 13
วิธกี าร 14
การวเิ คราะหข์ ้อมูล 16
บทท่ี 4 ผลการวจิ ยั 18
ความหลากหลายและความชกุ ชุมของผีเส้ือกลางวัน 18
ความสัมพนั ธข์ องปจั จยั กายภาพอุณหภมู ิและความช้ืนสัมพัทธ์ 23
สารบญั (ต่อ) ง
บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผลการวิจัย และขอ้ เสนอแนะ หน้า
การจำแนกความหลากหลายและความชุกชุมของผีเส้ือกลางวัน 26
ความสมั พันธข์ องปจั จยั กายภาพอณุ หภูมิและความชืน้ สัมพัทธ์ 26
ข้อเสนอแนะ 27
27
เอกสารอา้ งองิ 28
ภาคผนวก 30
ประวัติยอ่ ของผู้วิจัย 38
จ
สารบัญภาพ หน้า
14
ภาพที่ 15
1 แนวสำรวจผีเสอื้ กลางวนั แบ่งเป็น แนวสำรวจท่ี 1 พน้ื ทีเ่ กษตรกรรม แนวที่ 2 20
ป่าธรรมชาติและแนวที่ 3 หมู่บา้ นบริเวณเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวดั สงขลา 20
2 การวางกบั ดัก แนวสำรวจที่ 1 แขวนกับดักทร่ี ิมถนน-สวนผสม แนวสำรวจท2ี่ 21
แขวนกบั ดักทร่ี ิมถนน-ปา่ ธรรมชาติ แนวสำรวจที่ 3 แขวนกับดักที่รมิ 22
24
ถนน-พื้นท่ีชุมชนบริเวณเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 24
3 ผเี สือ้ ผีเส้ือกลางวนั ทีพ่ บในพนื้ ทเี่ ขตเกาะยอ วงศห์ างตง่ิ Papilionidae
(ผเี สื้อหางติง่ ธรรมดา)
4 ผีเสื้อผเี สือ้ กลางวันท่พี บในพน้ื ที่เขตเกาะยอ วงศห์ นอนกะหลำ่ Pieridae
(ก) ผเี สอ้ื ขาวแคระ (ข) ผีเสือ้ หนอนใบกุ่มธรรมดา
(ค) ผเี สอื้ หนอนใบกุม่ เส้นดำ (ง) ผเี ส้ือเหลืองสยามลายขีด
5 ผเี ส้อื กลางวนั ท่พี บในพ้นื ท่เี ขตเกาะยอ วงศ์ขาหนา้ พู่ Nymphalidae
(ก) ผีเสอ้ื กะลาสีแถบสัน้ (ข) ผีเส้ือไขเ่ มยี นเลียน
(ค) ผีเส้ือแพนซีมยุรา (ง) ผีเส้อื ม้าน้ำเงนิ
(จ) ผเี สือ้ บารอนมะม่วง (ฉ) ผีเสื้อเหลอื งหนามธรรมดา
(ช) ผเี สอ้ื ตาลพุม่ สี่จดุ เรยี ง (ซ) ผีเสอ้ื หนอนหนามกระทกรก
(ฌ) ผีเสื้อหนอนใบรกั ฟา้ (ญ) ผีส้ือไวน์เคาทข์ อบฟา้
(ฎ) ผีเสือ้ สีตาลจดุ หา้ ธรรมดา (ฏ) ผเี สื้อสะพายขาวปีกโคง้
6 ค่าความถี่ของผีเสอื้ กลางวัน ทัง้ 3 แนวสำรวจในพ้นื ท่ีเกาะยอ
(ก) ค่าความถ่ขี องผีเสอ้ื กลางวันแต่ละแนวสำรวจ
(ข) ความถีข่ องผเี สอ้ื กลางวนั แต่ละวงศ์
7 ค่าอณุ หภูมิ แนวสำรวจ 3 แนวในเขตเกาะยอ อำเภอเมอื ง จงั หวดั สงขลา
8 คา่ ความชนื้ สัมพทั ธแ์ นวสำรวจ 3 แนวในเขตเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวดั สงขลา
ฉ
ตารางที่ สารบญั ตาราง หนา้
1 18
จำแนกผีเสือ้ กลางวัน ค่าความถแี่ ตล่ ะชนิดในเขตเกาะยอ อำเภอเมือง
2 จงั หวดั สงขลา ท่พี บในเดือนพฤษภาคมถึง เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2565 23
จำนวนชนดิ และจำนวนตัวของผเี ส้อื กลางวนั ท่ีพบในเขตเกาะยอ ท้ัง 3
3 แนวเส้นสำรวจ 25
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งจำนวนชนิดและจำนวนตัวของผีเส้ือกลางวันกับ
ปจั จยั ทางกายภาพ โดยใชว้ ิธี Pearson correlation บริเวณแนว
สำรวจทั้ง 3 แนวสำรวจ
1
บทท่ี 1
บทนำ
1. ความสำคัญและทม่ี าของการวิจัย
เกาะยอตั้งอยู่ที่ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา มีพื้นที่ 15 ตารางกิโลเมตร เป็นเกาะกลาง
ทะเลสาบสงขลา เกาะยอมีลักษณะเป็นภูเขาที่ไม่สูงมาก เป็นที่ราบเชิงเขาติดทะเล เกาะยอมีเนื้อที่
รวมทั้งพื้นน้ำ 17.95 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 11,220 ไร่ และมีเนื้อที่เฉพาะพื้นดิน 15 ตาราง
กิโลเมตรหรือ 9,375 ไร่พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้ในการเกษตรคือปลูกสวนผลไม้ประมาณ 3,800 ไร่คิดเป็น
ร้อยละ 40.53 ของพื้นที่รวมปลูกยางพาราประมาณ 3,223 ไร่คิดเป็นร้อยละ 34.38 ของพื้นที่รวม
และพ้ืนทก่ี ารเกษตรอน่ื ๆ 2,275 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 24.27 ของพื้นทีร่ วมและพนื้ ทส่ี าธารณประโยชน์
77 ไร่คิดเป็นร้อยละ 0.82 ของพื้นที่รวม การทำสวนผลไม้แบบผสม มีผลไม้ตลอดปีทำให้เป็นที่อยู่
อาศัยและมีแหล่งหาอาหารจำนวนมาก เหมาะแก่การดำรงชีวิตของผีเสื้อกลางวัน บ่งบอกถึงความ
อุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ในเกาะยอค่อนข้างมีความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิอากาศบน เกาะยอ
ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตแ้ ละลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือคือ มี 2 ฤดู ได้แก่ ฤดู
รอ้ นเริม่ ต้ังแตเ่ ดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม เนื่องจากอยู่ใกล้ทะเลมีกระแสลมและไอน้ำพัดผ่าน
ทำใหอ้ ากาศร้อนเบาบางลง ฤดฝู นมี 2 ชว่ งไดแ้ กช่ ่วงมรสุมตะวันตกเฉยี งใต้เริ่มตงั้ แต่เดือนพฤษภาคม
ถึงเดือนตุ-ลาคมเป็นช่วงที่ฝนตกไม่มาก ช่วงที่ 2 เป็นช่วงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเริ่มตั้งแต่เดือน
ตลุ าคมถงึ เดือนมกราคมเป็นช่วงทฝี่ นตกมาก (องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลเกาะยอ, 2552)
ผีเสื้อกลางวันเป็นแมลงที่มีสีสันที่สวยงามหากินตอนเช้ามืดกลางวันและตอนพลบค่ำมี
ความสําคัญต่อระบบนิเวศและสร้างความสมดุลให้แก่ธรรมชาติช่วยในการผสมเกสรซึ่งเป็นจดุ กําเนดิ
ชีวิตของพรรณไม้หลายชนิด เนื่องจากผีเสื้อกลางวันมีความใกล้ชิดกับพืชดอกโดยเฉพาะการกิน
น้ำหวานที่ต้องใช้ปากที่มีลักษณะเป็นท่องวงยื่นเข้าไปในเกสรดอกไม้ทําให้ละอองเกสรของดอกไม้
จะติดตามขาและลาํ ตวั เมื่อลงตอมดอกอืน่ จะทำให้เกิดการผสมพันธุ์ของเกสรตัวผ้แู ละตัวเมียเป็นส่วน
สําคัญในการช่วยขยายพันธุ์ถือเป็นการสืบต่อสายพันธุ์ให้กับพืชชนิดต่างๆ (จารุจินต์และเกรียง ไกร,
2544) สว่ นตวั หนอนผีเสือ้ จะกัดกนิ ใบอ่อนของพืชอาศัยและบางชนิดทำหน้าท่ีชว่ ยกำจัดเพล้ียอ่อนซ่ึง
เป็นศัตรูพืช จัดผีเสื้อเป็นผู้บริโภคอันดับต้นของห่วงโซ่อาหาร ผีเสื้อมีความสําคัญในระบบนิเวศของ
ธรรมชาติ ซง่ึ มคี ุณคา่ หากเกิดการเปล่ียนแปลงของประชากรผีเสื้อทั้งชนิดและจาํ นวนสง่ ผลกระทบต่อ
ระบบนเิ วศนนั้ ระบบกจ็ ะเสยี สมดลุ สง่ ผลกระทบถงึ มนุษย์ (ณัฐวัฒน์ วิริยะสุชน, 2562)
2
ดังนั้นต้องการศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อกลางวัน วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงชนิดและ
ความหลากหลายของจำนวนผีเสื้อในพื้นที่เกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา รวมท้ังศึกษาเพื่อการ
เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศปัจจัยทางกายภาพของส่ิงแวดล้อมที่มตี อ่ ผเี สื้อ และเป็นข้อมูลพ้ืนฐานใน
พ้ืนท่ีเกาะยอตลอดถงึ ความสำคัญในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
2. วัตถุประสงคข์ องวจิ ยั
2.1 เพ่ือศกึ ษาถงึ ชนดิ และความหลากหลายของผเี ส้ือกลางวันที่พบบรเิ วณเกาะยอ
2.2 เพือ่ ศึกษาปจั จยั ทางกายภาพบางประการท่มี ผี ลต่อชนิดของผีเสอื้ ในพ้นื ทเี่ กาะยอ เชน่
ความชื้น อณุ หภูมิ
3. ขอบเขตของงานวิจยั
สำรวจความหลากหลายและความชกุ ชุมของผีเสือ้ กลางวันในเขตเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัด
สงขลา และปัจจัยสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ อุณภูมิ ความชื้น โดยเก็บตัวอย่างในเดือน
พฤษภาคมถึงเดอื นมถิ นุ ายนจำนวน 5 ครงั้ ท้งั หมด 3 แนวสำรวจ
4. ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ บั จากการวจิ ยั
4.1 เพ่ือใช้ในการประเมินความอดุ มสมบูรณ์ของระบบนิเวศบริเวณเกาะยอ อำเภอเมอื ง
จังหวัดสงขลา
4.2 เพ่ือใชเ้ ป็นตัวบง่ ช้สี ภาพแวดล้อมทางกายภาพบรเิ วณเกาะยอ อำเภอเมอื ง จังหวัดสงขลา
3
บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ียวข้อง
1. ลกั ษณะพน้ื ที่เกาะยอ
เกาะยอเป็นเกาะที่ตั้งอยู่กลางทะเลสาบสงขลาตอนล่าง เป็นพื้นที่ในอำเภอเมือง
จังหวัดสงขลา ระยะห่างจากเมืองสงขลาไปทางทิศทางตะวันตกเฉียงใต้ โดยทางบกประมาณ 15
กโิ ลเมตร และโดยทางนำ้ หรอื ทางทะเลประมาณ 6 กิโลเมตร ทตี่ ้ังตามพกิ ดั ทางภูมิศาสตรเ์ กาะยอตั้งอยู่
บริเวณเส้นรุ้งที่ 6 องศา 17 ลิปดาถึง 7 องศา 56 ลิปดาเหนือ และเส้นแวงที่ 100 องศา 1 ลิปดา
ถงึ เสน้ แวงท่ี 101 องศา 6 ลิปดาตะวันออก ลักษณะทางกายภาพเกาะยอ เปน็ เกาะมีน้ำลอ้ มรอบกลาง
ทะเลสาบสงขลาลักษณะภูมิประเทศสว่ นใหญเ่ ป็นเนนิ เขา และภูเขาสงู ประมาณ 10–151 เมตร มีเขา
กุฏิเป็นภเู ขาสงู สุดประมาณ 151 เมตร มลี กั ษณะเป็นภเู ขาหินและเนนิ เขาดินลูกรังตั้งเรียงรายในแนว
เหนือ–ใต้ตอนทิศเหนือสุดของเกาะ เป็นเขาบ่อพื้นที่ราบลุ่มมีน้อย พื้นที่ราบที่พบส่วนใหญ่เป็นที่ราบ
ระหว่างเนินเขาและริมฝั่งทีร่ าบลุม่ ทพ่ี บส่วนใหญ่พบทางด้านใต้และทางทิศตะวันออกของเกาะมีท่ีราบ
ตามเนินเขาที่มีความลาดชันพบทั่วไปในด้านตะวันตกและทิศเหนือของเกาะพื้นที่บริเวณเป็นที่ราบน้ี
ใช้เป็นที่ตั้งบ้านเรือน ทำนา ทำสวนผลไม้ และสวนผัก ส่วนสวนยางพารานิยมปลูกบนภูเขาและ
เนินเขา แหล่งน้ำธรรมชาติน้อย เนื่องจากพื้นที่เป็นที่สูงมีน้ำทะเลล้อมรอบแหล่งน้ำที่พบส่วนใหญ่
จึงเป็นบ่อน้ำที่ขุดขึ้นเพื่อใช้ในการอุปโภคและบริโภค เกาะยอเป็นเกาะที่มีน้ำล้อมรอบเกิดขึ้นจาก
การกระทำของธรรมชาติซึ่งมีประโยชน์ในการหลบคลื่นลมในอดีตใช้เป็นที่จอดเรือหรือท่าเรือ
(องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลเกาะยอ, 2552)
2. ผีเสอ้ื กลางวัน
ผีเสื้อเป็นแมลงจำพวกหนึ่งเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชั้นสูงอยู่ในไฟลัม อาร์โทรโทดา
(Arthropoda) จัดเป็นไฟลัมที่มีจำนวนชนิดของสัตว์มากที่สุด สำหรับผีเสื้อเมื่อรวมทั้งผีเสื้อกลางวัน
และผีเสื้อกลางคืนมีจำนวนชนิดมากถึง 140,000 ชนิดเป็นแมลงที่มีความแตกต่างกันในเรื่องขนาด
มากที่สุด บางชนิดมีขนาดที่เล็กมากเมื่อกางปีกเต็มที่จะใหญ่ไม่เกิน 1/4 นิ้ว และบางชนิดจะมีขนาด
ทีใ่ หญ่มาก (ศูนย์วิจัยความหลากหลาย, 2561)
4
อนกุ รมวธิ านของผีเสอ้ื กลางวัน Kingdom : Animal
Phylum : Arthopoda
class : Insecta
Order : Lepidoptera
ผเี สอื้ แบ่งออกเป็น 2 กลมุ่ คอื ผเี สอื้ กลางวนั ซึ้งมีทัง้ ผเี สือ้ กลางวนั (butterflies) และ
ผีเสื้อบินเร็ว (skippers) ซึ่งหากินทั้งเวลากลางวันและเวลาโพล้เพล้ จึงเป็นผีเสื้อกึ่งกลางวันกึ่งกลาง
คืน อีกกลุ่มหนึ่งคือ ผีเสื้อกลางคืน (moths) เป็นผีเสื้อที่หากินกลางคืนโดยเฉพาะแต่ก็มีบางชนิดท่ี
หากินกลางวันทั้งผีเสื้อกลางวัน ผีเสื้อบินเร็ว และผีเสื้อกลางคืน มีจำนวนมามายในโลกนี้ถึงกว่า
140,000 ชนิด ในแต่ละประเภทยังแบ่งแยกย่อยเป็นวงศ์ (family) ทั้งหมด 77 วงศ์ เฉพาะผีเสื้อ
กลางวัน มี 11 วงศ์ นอกนั้นเป็น ผีเสื้อกลางคืนทั้งหมด เฉพาะในประเทศไทยพบผีเสื้อไม่ต่ำกว่า
1,300 ชนดิ ชนิดกลางวนั แบ่งออกเป็น 5 วงศ์ ส่วนชนดิ กลางคนื ยังไมม่ ีการสรปุ การสำรวจใดๆ ใน
แต่ละวงศ์ของผีเสื้อกลางวัน ยังเป็นวง์ย่อย (subfamily) และต่อจากวงศ์ย่อยจึงจะเป็นชนิดของ
ผีเส้ือ(butterflies) แตล่ ะตวั (นิดดา หงส์วิวัฒน์, 2554)
2.1 ชนดิ ของผเี สื้อกลางวนั
ผีเสื้อกลางวันมีลักษณะเด่นคือปีกคู่หน้ากับคู่หลังจะซ้อนกันแบบแนบติดกัน มีหนวด
แบบกระบองบางชนิดปลายหนวดเปน็ รูปตะขอ ลำตัวค่อนข้างยาวมีขนบางๆสามารถแบง่ ออกได้เปน็
5 วงศ์ หลักแตล่ ะวงศม์ ลี ักษณะเดน่ และแตกต่างกนั (นดิ ดา หงสว์ วิ ัฒน์, 2554)
วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง (Family Papilionidae) มีตั้งแต่ขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่มีหางย่ืน
ยาวออกจากปีกคู่หลังเป็นรูปทรงขาคู่หน้าเป็นกระจุกขนเรียกว่า (epiphysis) มีเล็บที่ปลายตีนเป็น
เล็บเดี่ยวเพศผู้มีขนตามขอบปีกคู่หลังบินได้เร็วและนาน เมื่อแดดจัดจะมีการรวมกลุ่มตามพื้นทราย
ออกไข่เป็นฟองเดี่ยวทรงกลมมีต่อมออสมีทีเรียมเป็นง่ามยื่นออกมา จากส่วนหัว คอยปล่อยกลิ่นฉุน
เพ่อื ขบั ไลศ่ ตั รู เมอื่ เปน็ ดักแด้ มเี สน้ ใยคาดกลางลำตวั ของดักแดต้ ดิ กับก่ิงไมห้ รือกา้ นใบ ดักแด้บางชนดิ
มีปลายหัวแยกเป็นสองแฉก บางชนิดมีเขาที่ปล้องลำตัว พบไม่น้อยกว่า 64 ชนิด มี 2 วงศ์ย่อยผีเสื้อ
อพอลโล (Subfamily) และวงศ์ย่อยผีเสื้อหางติ่ง (Subfamily Papilioninae) (นิดดา หงส์วิวัฒน์,
2554)
วงศ์ผีเสื้อหนอนกะหลำ่ (Family Pieridae) มีตั้งแต่ขนาดกลางจนถงึ ขนาดใหญ่ พื้นปกี
มักเป็นสีขาว สีเหลือง สีส้ม มีขา 3 คู่ ที่ปลายตีนมีเล็บแยกออกเป็นสองแฉกชอบดูดน้ำและอาหาร
ตามพื้นทรายช้ืนๆ ชอบอยู่รวมกนั เป็นกลุม่ และชอบอพยพระหว่างถิ่น เวลาอพยพจะบินแยกกันเป็น
กลมุ่ ยอ่ ยราว 5-10 ตวั บนิ เรียงกนั เป็นสาย ไข่มีรปู ทรงกระสวยวางตามแนวตั้งมักวางไข่ฟองเดี่ยวและ
เป็นกลุ่ม หนอนจะเป็นรูปทรงกระบอกปกคลุมด้วยขนละเอียด ดักแด้มีรูปร่างหักงอ มีหนามหรือสัน
5
ยึดเกาะด้วยปลายส่วนท้อง และมีเส้นใยคาดกลางลำตัว พบไม่น้อยกว่า 58 ชนิด มี 2 วงศ์ย่อย คือ
วงศ์ยอ่ ยผีเสือ้ หนอนกะหลำ่ (Subfamily Pierinae) และวงศ์ยอ่ ยผเี สือ้ เณร (Subfamily Coliadinae)
(นิดดา หงส์ววิ ัฒน์, 2554)
วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ (Family Nymphalidae) มีขนาดเล็กขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่
มีขาคู่หน้าเป็นเพียงโคนขาสั้นๆ มีกระจุกขนปกคลุม มี 4 ขา สีสันของปีกจะแตกต่างกันแต่ละชนิด
ไข่ทรงกลม เปลอื กไข่มผี ิวเรยี บ ตวั หนอนมที งั้ หนามคล้ายเขาบนหวั หนามคูย่ าวชนปลอ้ งลำตัว หนาม
หนามปลายแยกเป็นสองแฉก เม่อื เปน็ ดักแดม้ ักห้อยหัวลง ปลายทอ้ งยึดติดเพียงจุดเดียว บางชนิดเข้า
ดักแด้ใตใ้ บไม้บนพ้ืนดิน พบไม่นอ้ ยกว่า 367 ชนดิ มี 11 วงศย์ อ่ ย คือ
วงศ์ย่อยผีเสอื้ หนอนใบรัก (Subfamily Danainae)
วงศย์ อ่ ยผเี สอ้ื สีตาล (Subfamily Satyrinae)
วงศย์ อ่ ยผีเสื้อปา่ (Subfamily Morphinae)
วงศ์ย่อยผีเสือ้ กะทกรก (Subfamily Acracinae)
วงศย์ อ่ ยผเี สอ้ื ลายเงิน (Subfamily Arynninae)
วงศ์ยอ่ ยผีเสื้อขาหนา้ พู่ (Subfamily Nymphalidae)
วงศย์ อ่ ยผเี สอ้ื กะลาสี (Subfamily Limenitidinae)
วงศย์ อ่ ยผีเสื้อเจ้าชาย (Subfamily Apaturinae)
วงศ์ย่อยผเี สอ้ื ตาลหนาม (Subfamily Charaxinae)
วงศ์ย่อยผีเสื้อพุทรา (Subfamily Calinginae)
วงศ์ย่อยผเี สอ้ื หัวแหลม (Subfamily Libytheinae) (นิดดา หงสว์ ิวัฒน์, 2554)
วงศ์ผีเสื้อสีน้ำเงิน (Family Lycaenidae) มีขนาดเล็กมากไปจนถึงขนาดกลาง ดวงตา
จะอยู่ติดกับฐานหนวด ขาคู่หน้าของเพศผู้จะมีขนาดเล็ก มีปล้องเชื่อมติดกัน ส่วนเพศเมียมีขาท่ี
สมบรู ณ์ มี 5 ปลอ้ ง ปีกของผเี ส้อื ในวงศน์ ีม้ สี ีนำ้ เงิน ฟ้า เขียว และสที องแดง มีหางทดี่ ้านขา้ งขอบปีกคู่
หลงั มมุ ปกี หลังมีจุดสีดำขนาดใญ่คล้ายลูกตา ทำให้ชว่ งหลงั ของผีเส้ือดูคล้ายหัวเทยี ม มีทั้งหนวดและ
ตากลมโตขณะเกาะจะหุบปีกยกท้องขึ้นสูง หมอบหัวลงต่ำและขยับปีกคู่หลังขึ้นสลับกัน ซึ่งเป็นการ
หลอกล่อศัตรูให้เข้าใจผดิ คิดว่าส่วนกน้ น้นั คอื หวั ไขผีเสื้อมีลักษณะค่อนขา้ งแบน มรี ูพรุนหรือปุ่มทั่วทั้ง
ฟอง เมอ่ื เปน็ หนอนมีรูปรา่ งแบนยาว หวั หดเขา้ ไปในตัว หลายชนดิ มตี ่อมผลิดน้ำหวานอยู่บนหลังเพ่ือ
ลอ่ มดให้มาดูดกนิ และรักษาชีวิตมัน เมอื่ เปน็ ดักแด้จะใช้ปลายส่วนท้องและเส้นใยคาดลำตัวติดกับกิ่ง
ไมห้ รือเกาะกบั สิ่งอน่ื ๆ พบไม่น้อยกว่า 369 ชนิด มี 8 วงศ์ยอ่ ย คอื
วงศย์ อ่ ยผีเสื้อมรกต (Subfamily Poritiinae)
วงศย์ ่อยผีเสอ้ื มอท (Subfamily Liphyrinae)
วงศย์ อ่ ยผเี สอ้ื หนอนกนิ เพลย้ี (Subfamily Miletinae)
6
วงศ์ยอ่ ยผีเสือ้ ฟา้ (Subfamily Polyommatinae)
วงศย์ ่อยผีเสื้อสีนำ้ เงิน (Subfamily Lycaeninae)
วงศย์ ่อยผเี สื้อฟ้าก่อไม้ (Subfamily Theclinae)
วงศย์ ่อยผเี สื้อสหี มากสุก (Subfamily Curetinae)
วงศ์ยอ่ ยผีเสอ้ื ปีกกง่ึ หุบ (Subfamily Riodininae) (นดิ ดา หงส์ววิ ฒั น์, 2554)
วงศ์ผีเสื้อบนิ เรว็ (Family Hesperiidae) จะหากินในตอนเช้ามืด กลางวัน และพลบคำ่
จะอยู่กึ่งกลางวันและกลางคืน มีขนาดเล็กมากไปจนถึงขนาดกลางมีลักษณะเฉพาะตัวคือ หัวค่อนข้าง
ใหญแ่ ละใหญก่ ว่าสว่ นอก โคนหนวดเป็นรูปกระบองมปี ลายหนวดโคง้ เปน็ รูปตะขอ ปีกมีขนาดเล็กและ
สั้นเฉพาะผีเสื้อในวงศ์ย่อยปีกราบเท่านั้นที่มีขนาดปีกใหญ่กว่าชนิดอื่นๆ ขณะเกาะมีทั้งหุบปีกตั้งข้ึน
และกางปีกราบลงคล้ายผีเสื้อกลางคืน ผีเสื้อในวงศ์น้ีบินได้รวดเรว็ มาก การวางไข่มักวางไข่ในแนวต้งั
ตัวหนอนมีอกคอดเล็กและหัวโต มักซ่อนตัวอยู่ใต้ใบไม้ที่ดึงมาห่อหุ้ม แล้วเชื่อมติดเข้าด้วยกันด้วยใย
จากตัวหนอน และเข้าดกั แด้ภายในใบไม้ท่ีอาศัย โดยใช้ปลายท้องและใยคาดยดึ ดักแดไ้ ว้ พบประมาณ
273 ชนดิ มี 3 วงศย์ ่อย คือ
วงศ์ยอ่ ยผเี สื้อหน้าเขม็ (Subfamily Coeliadinae)
วงศย์ ่อยผเี สื้อปกี ราบ (Subfamily Pyrginae)
วงศ์ยอ่ ยผีเสอ้ื บินเร็ว (Subfamily Hesperiinae) (นิดดา หงส์วิวัฒน์, 2554)
2.2 รปู รา่ งลักษณะของผเี สื้อกลางวนั
ผเี ส้อื เป็นสัตวท์ ่ีมีโครงกระดูกภายในแต่มีเปลือกนอกแข็งห่อหุ้มรอบตัว (Exoskeleton)
เป็นสารจําพวกไคติน (Chitin) ภายในเปลอื กแข็งเป็นทยี่ ึดของกล้ามเนื้อท่ีใช้ในการเคล่ือนที่ลําตัวของ
ผีเสื้อประกอบด้วยปล้องที่มีลักษณะคล้ายวงแหวนหลายวงเรียงต่อกันเชื่อมยึดด้วยเยื่อบางๆ เพื่อให้
เคลื่อนไหวได้สะดวก โดยวงแหวนทั้งหมด 14 ปล้อง ร่างกายแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ส่วนหัว 1 ปล้อง
ส่วนอก 3 ปลอ้ ง และสว่ นท้อง 10 ปล้อง
หัว (Head) มีตาประกอบ เป็นตาทีป่ ระกอบด้วยตาขนาดเล็กหลายอันรวมกัน สามารถ
มองเห็นได้แต่เป็นภาพซ้อนไม่ชัดเจนเหมือนตาคน ตาแมลงสามารถรับรูสีได้ ช่วงสีม่วง-เขียว ทําให้
สามารถมองเห็นแสงอัลตราไวโอเลตได้ดี ซ่ึงคนมองไม่เห็นแต่ถ้าเปน็ สีในชว่ งอื่นเช่น สีแดงจะมองเห็น
เหมือนสีเทา หรือดําดอกไม้ที่ผีเสื้อชอบมักมีสีม่วง เหลือง และแดงนอกจากนี้ผีเสื้อกลางคืนส่วนใหญ่
จะมตี าเดย่ี ว (Simple eyes หรือ Ocelli) ตรงตําแหนง่ หนา้ ผาก ระหวา่ งหนวดทงั้ สองแตม่ กั ถูกขนปก
คลุมจนมองไม่เห็นมีหน้าทีร่ ับรู้ความเข้มของแสง เพื่อให้รูว้ ่าเป็นเวลากลางวันหรือกลางคนื (ณัฐวัฒน์
วริ ยิ ะสชุ น, 2562)
7
หนวด (Antenna) อยู่ด้านบนสุดของหัว มี 1 คู่ เพื่อช่วยในการรับกลิ่นและการทรงตวั
ในระหว่างบนิ ในผีเสื้อกลางคนื บางชนดิ ตัวผู้สามารถใช้หนวดรับรูกลิ่น (Pheromone) ของตัวเมียได้
เปน็ ระยะทางไกลถึง 2 กโิ ลเมตร (ณฐั วฒั น์ วริ ิยะสชุ น, 2562)
ปาก (Mouth) เป็นลักษณะแบบท่อดูด มีลักษณะคล้ายงวงช้าง (Proboscis) สามารถ
ยืดออกตอนกินอาหารและม้วนกลับเขาไปในเวลาปกติ อาหารที่ผีเสื้อกินต้องเป็นของเหลว
เช่นน้ำหวานจากดอกไม้ น้ำจากผลไมที่มีรสหวานน้ำเลี้ยงจากพืชบางชนิดและแร่ธาตุที่ป่นอยู่ในดิน
ระยางค์ปากส่วนอื่น เช่น ริมฝีปากบน (Labrum) ลดรูปลงไปมีขนาดเล็กมาก (ณัฐวัฒน์ วิริยะสุชน,
2562)
อก (Thorax) มี 6 ขา และ 4 ปีก ส่วนอกแบ่งเป็น 3 ปล้อง (Segment) ด้านล่างของ
แต่ละปล้องมีขา 1 คู่ คู่ด้านบนมีปก 2 คู่ ตําแหน่งของโคนปีกคู่แรก (Front Wing) อยู่ในปล้องเดียว
กับขาคู่ที่สองและปีกคู่ที่สอง (Hind Wing) อยู่ตรงกับขาคู่ที่ 3 ปีก มีลักษณะเป็นแผ่นบางไม่มี
กล้ามเนื้อปีกคู่แรกมักยาวกว่าคู่ที่สองภายในปีก (Vein) มีลักษณะเป็นท่ออากาศ (Trachea) และ
มีเสน้ ประสาทชว่ ยในการรับความรู้สึก
ท้อง (Abdomen) คือส่วนที่อยู่ถัดจากส่วนอกไปจนถึงปลายลําตัว ซึ่งมี 10 ปล้องแต่
เห็นจากภายนอก 8 ปลอ้ งอกี 2 ปลอ้ ง ทีเ่ หลอื เปลี่ยนแปลงไปเป็นอวัยวะสืบพนั ธุ์ ผเี ส้ือไม่มีจมูกแต่ใช้
รู (Spiracles) บริเวณด้านข้างลําตัวทําหน้าที่เหมือนจมูก เพื่อช่วยในการหายใจพบทั้งสองข้างของ
ปล้องท้องและบางปลอ้ งของส่วนอกปล้องละ 1 คู่ ซึ่งด้านนอกสุดมลี ้ินที่สามารถเปิดปิดใหอ้ ากาศเขา้
ออกได้เองโดยอัตโนมัติรูหายใจพบในแมลงทุกชนิด ส่วนท้ายสุดของท้องด้านบนเป็นทวารหนัก
(ณัฐวัฒน์ วิรยิ ะสุชน, 2562)
2.3 วงจรชีวิตของผเี สือ้ กลางวัน
การสืบพันธุ์ของผีเสื้อโดยปกติตัวเมียผสมพันธุ์กับตัวผู้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น แต่ตัวผู้
สามารถผสมพนั ธุ์กับตวั เมียไดห้ ลายตวั เม่อื ผีเสื้อเพศผู้-เพศเมยี ผสมพันธุ์กนั แลว้ ตวั เมียจะหาที่วางไข่
บนใบและลําต้นของพืชอาหาร การเลือกพืชอาหารสําหรับของลูกเป็นความสามารถเฉพาะตัวของ
ผีเสอื้ ชนิดนัน้ ประกอบดว้ ย 4 ระยะ คอื ไข่ตวั หนอน ดักแด้ และตวั เต็มวัย
ระยะไข่ หลังจากที่ผีเสื้อได้รับการผสมพันธุ์ผีเสื้อเพศเมียจะบินออกหาต้นพืช
ที่เหมาะสม เป็นอาหารของตัวหนอนที่จะฟักออกมาด้วยสัญชาตญาณพิเศษของผีเสื้อตัวเมียเพียง
การแตะสัมผสั กับใบพชื สามารถร้ไู ดท้ ันทีวา่ ใชใ่ บพชื ทตี่ ้องการ ผีเสอื้ เพศเมียจะวางไข่ใกล้ๆ หรือบนพืช
อาหารของตัวหนอน ไข่มีขนาดรูปร่างและลักษณะภายนอกที่แตกต่างกันออกไปโดยทั่วไปผีเสื้อจะ
วางไข่ฟองเดี่ยวๆ แต่ผีเสื้อบางชนิดวางไข่เป็นกลุ่มๆ ขณะที่วางไข่จะขับสารเหนียวออกมา เพื่อให้ไข่
8
ยึดติดกับใบพืชส่วนมากไข่ของผีเสื้อมีสีขาว เหลืองอ่อน หรือเขียวเมื่อไข่จะฟักสีจะเปลี่ยนเป็นสีเข้ม
(จารุจินต์ นภีตะภัฏ และเกรยี งไกร สุวรรณภักด์ิ, 2544)
ระยะหนอน หลังจากผีเสื้อวางไข่แล้ว 5-10 วันหนอนจะใช้ปากเจาะเปลือกไข่ให้แตก
ออกและกินเปลือกไข่เป็นอาหารมื้อแรกเพราะเปลือกไข่มีสารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของ
หนอนผีเสื้อ หลังจากนั้นตัวหนอนเริ่มกินใบพืชเป็นอาหารจนกว่าจะเข้าดักแด้หนอน ผีเสื้อมีการลอก
คราบเพื่อขยายการเติบโตของรา่ งกายประมาณ 4-6 ครั้ง ครั้งสุดท้ายเปลอื กนอกแข็งกลายเป็นดักแด้
หนอนผีเสื้อบางชนิดไม่กินใบพืชเป็นอาหารแต่กินเพลี้ยอ่อนเป็นอาหาร (จารุจินต์ นภีตะภัฏ และ
เกรียงไกร สุวรรณภักด์ิ, 2544)
ระยะดักแด้ เมื่อตัวหนอนโตเต็มที่จะต้องมองหาสิ่งท่ีทีจ่ ะลอกคราบเพือ่ เข้าดักแด้ซึง่ ไม่
สามารถเคลื่อนไหวได้แต่ภายในเปลือกดักแด้การพัฒนาต่างๆ เกิดขึ้นตลอดเวลาเป็นระยะที่มี
การสะสมอาหารไว้อย่างเต็มที่ซึ่งเป็นที่ดึงดูดบรรดาตัวเบียนต่างๆ ตัวหนอนของผีเสื้อ
แตล่ ะชนดิ มคี วามต่างกนั ไประยะดักแด้ใช้เวลาประมาณ 7-10 วนั (จารจุ นิ ต์ นภตี ะภัฏ และเกรียงไกร
สุวรรณภกั ด,ิ์ 2544)
ระยะตัวเต็มวัย ลักษณะของผีเสื้อตัวเต็มวัยประกอบด้วย ส่วนหัว ส่วนอก และส่วน
ท้องดังน้สี ่วนหวั ประกอบด้วย ตา หนวด และปากตารวมมีขนาดใหญ่เคล่ือนไหวไม่ได้อาจมี หรือไม่มี
ขนปกคลุมประกอบด้วย Facets หรือ Corneal lens จำนวนมากหนวด มี 1 คู่ อยู่ระหว่างดวงตา
ท้ายหน้าที่ในการดมกลิ่นปากเป็นท่อ (Proboscis หรือ Haustellum) สำหรับดูดอาหารที่เป็น
ของเหลวเช่น น้ำ น้ำหวานขณะที่ไม่ได้กินอาหารปากจะถูกม้วนเก็บเป็นวงคล้ายขดลานนาฬิกา
(จารุจินต์ นภีตะภฏั และเกรยี งไกร สุวรรณภักดิ์, 2544)
2.4 พฤตกิ รรมของผเี สื้อกลางวัน
พฤติกรรมการผสมพันธุ์ ผีเสื้อเพศผู้ใช้วิธีการในการมองหาเพศเมียเพื่อการผสมพันธ์ุ
2 วธิ ี คือผีเส้อื เพศผู้บนิ หาเพศเมยี ท่ีพรอ้ มผสมพนั ธุ์ซ่งึ มักเป็นสถานที่ ท่ีผีเสอื้ นัน้ ค้นุ เคยและผีเสอ้ื เพศผู้
บินโดยการร่อนไปยังฝูงตัวเมีย เมื่อพบเพศเมียที่พร้อมจะผสมพันธุ์เพศผู้บังคับเพศเมียลงสู่ พ้ืน
เพื่อผสมพันธุ์เเต่หากมีเพศผู้อีกตัวหนึ่งเฝ้าอยู่ก่อนเกิดการต่อสู้เกิดขึ้นโดยผีเสื้อเจ้าถิ่นจะบินเเบบ
ควงสวา่ งเพือ่ ขบั ไล่ (พงศ์เทพ อัครธนกุล, 2525)
พฤติกรรมการวางไข่ ผีเสื้อหลายชนิดที่เป็นศัตรูทำลายพืชผลที่ปลูกผีเสื้อตัวเต็มวัย
เพศเมียวางไข่บน หรือบริเวณใกล้ๆ พืชอาหารของตัวหนอนและมีความสามารถในการแยกแยะ
พืชอาหารได้อย่างถูกต้องปกตจิ ะวางไข่ 1-2 ครง้ั บนพืชอาหารแต่มหี ลายชนิดทวี่ างไข่ต่อเนื่องกันเป็น
สัปดาหจ์ นถึง 10 วัน โดยตวั เตม็ วยั เพศเมยี ใช้จดุ สัมผสั ที่ปลายเท้า ผเี สื้อวางไข่บนพ้นื ผิวพืชอาหารที่มี
สีเขียวโดยอาศัยกลิ่นของพืชด้วยอวัยวะรับความรู้สึกที่ได้รับการกระตุ้นจากสารเคมีที่สะสมในต้นไม้
9
(Chemoreception) เป็นเครื่องบ่งชี้สถานที่หรือต่ำแหน่งวางไข่ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับต่ำแหน่งของ
การวางไข่ เชน่ อณุ หภูมติ ำ่ แหนง่ พชื อาหารที่มีความสัมพันธ์กับพืชอาหารใกล้เคียงและการวางไข่ของ
แมลงชนิดอื่นการวางไขใ่ นชว่ งฤดูหนาวขึน้ อยู่กับการตอบสนองของการวางไข่ตอ่ อุณหภูมิในแต่ละวนั
โดยไม่มีรูปแบบการวางไข่การพัฒนารูปแบบคาดเดาการวางไข่ในแต่ละวันที่เหมือนกันรูปแบบการ
วางไข่ในช่วงฤดรู อ้ นสามารถประเมินไดจ้ ากกลุ่มไข่ และแม่ผีเสือ้ จะคน้ หาพืชอาหารและความชอบใน
การเลือกพืชอาหารสามารถประเมินได้ จากอัตราการวางไข่ต่ำแหน่งบนพืชอาหารนั้นการเลือกการ
วางไข่เป็นกระบวนการที่ซับซ้อนของแมลงกินพืชการวางไข่ของแม่ผีเสื้อตามต่ำแหน่งต่างๆ
บนพืชอาหารว่ามีความหลากหลาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ 1.ความเหมาะสมของพืชอาหาร 2.อัตราของการ
ถูกล่าและถูกเบียนจากศัตรูธรรมชาติ 3.พฤติกรรมการเลือกพืชอาหารที่แน่นอนของแม่ผีเสื้อหรือตัว
หนอนที่เพ่ิงฟกั จากไข่ (นิดดา หงส์ววิ ฒั น์, 2554)
พฤติกรรมการหากิน โดยทั่วไปใบพืชที่เป็นอาหารของหนอนผีเสื้อจะมีสารอาหาร
ที่จำเป็นต่อตัวหนอน หนอนผีเสื้อส่วนมากมีความสัมพันธ์กับพืชอาหารแบบ Monophagous คือ
กินพชื 2-3 ชนดิ หรอื เพียงชนดิ เดียวเท่านั้น เปน็ อาหารหนอนผีเสื้อบางชนิดเป็นแบบ Oligophagous
คอื สามารถกินพชื อาหารไดห้ ลายชนดิ ผเี ส้อื กลางวันมีแหล่งอาหาร 2 แหลง่ ใหญ่คือดอกไม้และโป่งดิน
ที่มีแร่ธาตุอาหารโดยผีเสื้อเพศผู้ส่วนใหญ่อยู่ตามโป่งดินเกือบทั้งหมด โป่งดินจะอยู่ตามริมน้ำแอ่งน้ำ
หรือพื้นที่ชื้นแฉะและมีแร่ธาตุอาหารปะปนอยู่เช่น นำจากมูลสัตว์ ปัสสาวะสัตว์ ซากเน่าเปื่อย จาก
สิ่งมีชีวิตและผลไม้ผีเสื้อมักออกหากินเมื่อมีแสงแดดในเวลา 8.00 น. จนถึง 11.00 น. หรือจนกว่า
แสงแดดจหมดหากสภาพอากาศครม้ึ ฟา้ คร้ึมฝนหรือมลี มแรง ผเี สื้อหลบตามพ่มุ ไม้ (นดิ ดา หงส์ววิ ัฒน์,
2554)
พฤติกรรมการนอน ผีเสื้อกลางวันอาศัยช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสมเช่นเวลากลางคืนหรือ
ช่วงท้องฟ้ามืดครึ้มผีเสื้อจะนอนหลับ โดยผีเสื้อหุบปีกและเอาหัวลงหนวดชี้ตรงไปข้างหน้าบางชนิด
นอนใตต้ ้นไม้บางชนดิ นอนเป็นกลมุ่ (นดิ ดา หงสว์ วิ ัฒน์, 2554)
พฤติกรรมการบิน การบินเร็วหรือช้าของผีเสื้อมีความสัมพันธ์ระหว่างลำตัวและ
ปกี ของผีเสื้อมสี ่วนในการบนิ ผเี ส้อื ท่ีมีขนาดลำตัวใหญ่เมื่อเปรยี บเทยี บกับปีกทีม่ ีขนาดเล็ก ผีเสื้อชนิด
นั้นจะต้องกระพือปีกถี่และบินเร็ว หากผีเสื้อที่มีขนาดใหญ่เมื่อเปรียบเทียบลำตัวผีเสื้อจะไม่ค่อย
กระพือปีกบอ่ ยมันบินในลักษณะรอ่ นจงึ บนิ ช้า (นดิ ดา หงสว์ ิวฒั น์, 2554)
พฤติกรรมการอบอนุ่ รา่ งกาย เนื่องจากผเี สื้อเป็นสัตว์เลือดเย็นไม่สามารถปรับอุณหภูมิ
ให้คงที่อยู่ได้จึงจําเป็นต้องมีวิธีการอบอุ่นร่างกาย วิธีที่พบบ่อยคือ การผึ่งเเดด (นิดดา หงส์วิวัฒน์ ,
2554)
10
2.5 ปัจจัยชีวิตของผเี ส้ือกลางวนั
แสงแดด ช่วยในการทำใหร้ ่างกายอบอุ่นและให้มีปีกท่แี ข็งแรง ผีเสอื้ แตล่ ะชนิดต้องการ
แสงแดดที่แตกต่างกันออกไป ผีเสื้อที่ต้องการแดดน้อยหลบอยู่ใต้ร่มไม้ส่วนผีเสื้อที่ต้องการแดดจัด
อยู่ท่โี ล่งแจ้งและบางชนิดต้องการแสงแดดแคร่ ำไรจะอยู่ตามพุ่มไม้ (นิดดา หงส์วิวัฒน์, 2554)
น้ำ ผีเสื้อต้องการน้ำที่สามารถดูดกินได้และความชื้นจากอากาศ เพื่อรักษาสมดุลของ
ผีเสื้อแหล่งน้ำที่สำคัญ คือแหลงทรายชื้น โคลนเหลว ซากที่เน่าเปื่อย ผลไม้สุก ริมแม่น้ำและดินโป่ง
(นิดดา หงสว์ ิวัฒน์, 2554)
ลม เป็นปัจจัยที่สำคัญในการสร้างความสมดลุ ระหว่างอุณหภูมิในร่างกายและความชนื้
ภายนอก (นิดดา หงสว์ วิ ฒั น์, 2554)
2.6 ภัยวัยออ่ นของผเี สื้อ
เริ่มต้นตั้งแต่เปน็ ไข่ เปน็ อาหารของสัตว์หลายชนิด เมื่อเริ่มเปน็ หนอนทำให้เปน็ อาหาร
อนั โอชะของสัตวต์ า่ งๆอีกมากชนิดดงั น้ัน ตวั ออ่ นของผีเสอ้ื จึงมวี ธิ ีอำพลางตัว ต้งั แตว่ างไข่ในท่ีมิดชดิ
สีของไขก่ ลมกลนื กับธรรมชาติ เม่อื เป็นตัวหนอนมีวิธีอำพรางตัวตา่ งๆ มตี าหลอกอันใหญ่ทห่ี ัวตัว
หนอน บางตัวสามารถขบั กล่ินเหมน็ ออกมาขบั ไลศ่ ัตรู บางตัวมีขนทเ่ี ป็นพิษปกคลมุ ท้ังตัว บางตัวใช้
วธิ กี ารพึ่งพากันกับมด ดว้ ยการขับสารน้ำหวานออกจากตวั ให้เป็นอาหารมด อาศัยมดให้ดูแลชวี ิตมนั
เปน็ ต้น หนอนหลายตวั กนิ ยางพชื ท่ีเป็นพษิ จะกลายเปน็ หนอนมีพิษ ตวั มนั เองกจ็ ะปลอดภยั ดว้ ยพษิ ท่ี
อยู่ในตวั เมื่อตวั หนอนเขา้ สรู่ ะยะดักแด้ ซ่งึ เป็นชว่ งทต่ี ัวหนอนจะนิง่ สงบ ช่วยตัวเองไม่ได้ จงึ ต้องหลบ
ที่หลบซอ่ นที่มดิ ชิดเพื่อเขา้ ดักแด้ ผเี สื้อกลางคืนบางชนดิ อยู่ใตด้ ิน บางชนิดใช้ใบไม้ม้วนหุ้มดักแด้ไว้
ดกั แดบ้ างชนิดสามารถสง่ เสยี งขม่ ขู่ศัตรูได้ แมลงบางชนดิ จะวางไขบ่ นตัวหนอน เมื่อตัวหนอนเข้า
ดักแด้ ไขข่ องแมลงนั้นออกมาเปน็ ตัวหนอนและกัดกินตัวออ่ นดักแด้ เม่ือหนอนออกจากดกั แด้ จงึ
กลายเปน็ แมลงชนิดอื่นที่ไมใ่ ช่ผเี สื้อ (นดิ ดา หงสว์ ิวัฒน์, 2554)
2.7 ศัตรขู องผีเสอื้ กลางวนั
ผีเสื้อมักเป็นอาหารใหแ้ ก่พวกนกและแมลงต่างๆ ทำให้ผีเสือ้ มีวิธีการป้องกันตวั เองจาก
สตั วต์ ่างๆ ได้หลายวิธี
บินหนี ผีเสื้อมีวิธีการบินเป็น 2 กลุ่ม คือพวกที่บินเร็วอย่างเช่น ผีเสื้อตาลหนาม
(Charaxes) ผีเสื้อหางติ่ง (Papilio) บินได้เร็วมากจนมีศัตรูน้อยชนิดที่อาจบินไล่จับได้ทันพวกนี้อีก
กลุ่มหนึ่งบินได้ช้าและบินแปลกไปจากผีเสื้อทั่วไป เพื่อให้ศัตรูงงเวลาเห็นจนไม่คิดว่าเป็นผีเสื้อเช่น
ผีเสื้อกะลาสี(Neptis) และผีเสื้อแผนที่ (Cyrestis) กลุ่มหลังนี้บินรอนไปช้าๆ นานๆ จะกระพือปีก
มีลวดลายลวงตาบางอย่างบนปีกทําให้ศัตรูติดตามได้ยาก ปกติพวกที่มีสารพิษอยูในตัวมักบินช้า
เพอ่ื ใหศ้ ัตรรู ู้จกั และเปน็ การประกาศคณุ สมบัติในตวั ของมันหรอื เปน็ การลว่ งตาศตั รู
11
เวลา คือเลือกเวลาหากนิ ในชว่ งเชา้ ตรู่หรอื ใกล้คำ่ เพ่ือเลีย่ งสัตว์อ่นื
พรางตัว ด้วยสีปีกของพวกมันและจุดดำที่น่ากลัวพวกมันจะหลบไปอยู่ที่รกป่าไผ่
หรือเกาะนิ่งๆเป็นการเลยี นแบบธรรมชาตเิ ช่น พวกผีเสื้อสกุลกะลาสีปีกมีแถบสีขาวพาดขวางดูคล้าย
แสงแดด
หลอกลอ่ ผีเสอ้ื สร้างหวั เทียมหลอกล่อศัตรโู ดยมแี ต้มดวงตาโตอยู่ทีป่ ีกหลังมีขนยื่นออก
ด้านหลังคล้ายหนวดเวลาเกาะยกส่วนหลังสูงให้ดูสมจริงว่าหัวอยู่ด้านนั้นเมื่อถูกโจมตีด้านท้าย
เอาชีวติ รอดด้วยด้านหัวผีเสอ้ื ประเภทนี้มักจะตัวเล็กตวั บอบบาง
พษิ พษิ ร้ายผเี ส้ือบางตัวมีพิษในตัวเองเพราะหนอนผเี สื้อมีพิษจะอาศัยใบพืชที่มีพิษเป็น
อาหารเช่นยางต้นรัก ยางต้นข้าวสาร ยางต้นไทรทำให้สัตว์ต่างๆ ไม่อยากกินเพราะกินแล้วสัตว์ผู้ล่า
เกดิ อาการตวั ชาเมาและอาจถึงขน้ั เป็นอมั พาต
เลียนแบบ แบ่งออกได้เป็น 2 อย่าง คือ 1. การเลียนแบบ แบบเบติส (batesian
mimicry) ตัวที่มีสีสดใสมีกลิ่นและรสไม่ดีเป็นตัวแบบ (model) ให้ตัวเลียนแบบ (mimic) ซึ่งเป็น
ผเี สอื้ ที่ศัตรูชอบกนิ มาเลยี นแบบท้งั รูปรา่ งสีสนั และนิสัยการบิน 2. การเลียนแบบมลู เลอร์ (mullerian
mimicry) กลุ่มผีเสื้อที่ศัตรูไม่ชอบกินอยู่แล้วมาเลียนแบบกันเองทําให้ลักษณะบบนั้นศัตรูรู้จักได้ง่าย
และเร็วข้นึ กวา่ เดิมเชน่ พวกผเี ส้ือหนอนใบรักสฟี า้ (Danaus) (นิดดา หงสว์ วิ ฒั น์, 2554)
3. การศึกษาผีเสือ้ กลางวนั ในประเทศไทย
การศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันในประเทศจากการศึกษาของ พงศ์เทพ
สุวรรณวารี (2555) ศึกษาการเปรียบเทียบความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันของน้ำตกบางแห่งใน
พื้นที่มรดกโลก ดงพญาเย็น – เขาใหญ่เป็นเวลา 19 เดือน พบผีเสื้อทั้งหมด 306 ชนิด ได้ทำการ
สำรวจ 6 น้ำตก เมื่อคำนวณความหลากหลายของผเี สือ้ กลางวนั พบน้ำตกปางสีดามีความหลากหลาย
มากท่ีสุด
การศึกษาความสัมพันธ์ของความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันและระบบนิเวศป่าต่างๆใน
สถานนีวจิ ัยส่ิงแวดล้อมสะแกราชของ พงศ์เทพ สุวรรณวารี (2553) ใช้เวลาทง้ั หมด 3 ปี เก็บตัวอย่าง
36 ครั้ง พบผีเสื้อกลางวันทั้งหมด 304 ชนิด พบผีเสื้อกลางวันที่หายาก 15 ชนิด คือ ผีเสื้อกะลาสี
เหลืองเล็ก ผีเสื้อฟ้าขีดสี่ใหญ่ ผีเสื้อฟ้าจุดขาวลายเรียง ผีเสื้อกระดำขอบยักต์ ผีเสื้อกระดำธรรมดา
ผีเสื้อกระดำเพศสัน้ ผีเสื้อมรกตอมฟ้า ผีเสื้อม่วงทองธรรมดา ผีเสื้อลายซกิ แซก ผีเสื้อปีกค้างคาวพม่า
ผีเสื้อหนอนกาฝากเหลืองขอบดำ ผีเสื้อไกเซอร์ดำ ผีเสื้อปาชาธรรมดา ผีเสื้อเจ้าหญิงฟ้า และ
ผีเสอื้ มมุ ใตป้ ีกขาว
12
จากการศึกษาความหลากชนิดของผเี สื้อกลางวนั ในอุทยานแห่งชาติภูเรือ อำเภอภูเรอื จังหวดั
เลย ของกิตติ ตันเมืองปัก และคณะ (2560) ได้ทำการสำรวจและเก็บรวบรวมผีเสื้อตามระดับความ
สูงพบ 5 วงศ์ 161 ชนิด โดยดัชนีความหลากชนิดมีค่าเท่ากับ 4.420 ผีเสื้อที่มีความชุกชุมมากที่สุด
ได้แก่ ผีเสื้อสีตาลจุดตาห้าธรรมดา ผีเสื้อเณรธรรมดา ผีเสื้อเณรจิ๋ว ผีเสื้อกะลาสีธรรมา ผีเสื้อแพนซีสีตาล
และผเี สือ้ ลายเสือขดี ยาว
การศึกษาความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันในอุทยานแห่งชาติเขานัน จังหวัด
นครศรีธรรมราช ของจารุจินต์ นภีตะภัก และคณะ (2551) จากการสำรวจผีเสื้อกลางวันระยะเวลา
1 ปี พบผีเสื้อกลางวันทั้งสิ้น 307 ชนิด ในจำนวนนี้เป็นผีเสื้อกลางวันที่พบเฉพาะภาคใต้เท่านั้น
77 ชนิด และผีเสื้อต่างถิ่น 1 ชนิด คือ ผีเสื้อจูเรีย โดยดัชนีความหลากหลายของผีเสื้อมีค่าเท่ากับ
4.456 สำหรับการศึกษาในพื้นท่ีเกาะยอทั้ง 3 แนวสำรวจ มีการศึกษาประชากรผีเสื้อเพื่อให้เป็น
ฐานขอ้ มูลผีเส้ือในพ้ืนที่
13
บทท่ี3
วิธีการดำเนนิ การวิจยั
1. อปุ กรณ์
1.1 อุปกรณส์ ำหรบั เกบ็ ตัวอย่างภาคสนาม
1.1.1 เชือก
1.1.2 กับดกั ผเี สอ้ื
1.1.3 เคร่อื งจพี ีเอส
1.1.4 สวงิ จบั แมลง
1.1.5 กล่องถ่ายรูป
1.1.6 ไฮโครมเิ ตอร์
1.1.7 กล่องพลาสติก
1.1.8 อุปกรณจ์ ดบันทึก
1.1.9 ไม้บรรทัด/สายวดั
1.2 อุปกรณส์ ำหรบั เกบ็ ตัวอยา่ งแมลง
1.2.1 โฟม
1.2.2 สำลี
1.2.3 กรรไกร
1.2.4 เข็มหมดุ
1.2.5 มดี คตั เตอร์
1.2.6 ขวดฆา่ แมลง
1.2.7 เขม็ ปักแมลงเบอร์ 3
1.2.8 กระดาษบันทึก (Label)
1.2.9 กลอ่ งสำหรบั เก็บตัวอย่างแมลง
1.3 สารเคมี
1.3.1 ลกู เหมน็
1.3.2 เอทลิ อะซเิ ตต (ethyl Acetate)
1.4 อุปกรณ์สำหรับเก็บปัจจัยสงิ่ แวดล้อม
1.4.1 ไฮโครมิเตอร์
1.4.2 เครื่องวัดอณุ หภูมิ
14
1.5 การจำแนกผเี สอ้ื
1.5.1 ผีเสอื้ แสนสวยหนงั จำแนกผเี สอ้ื ด้วยภาพถ่าย (SANGDAD PUBLISHING
หนงั สอื ความร้)ู
2. วิธกี าร
2.1 การวางแนวสำรวจและเก็บขอ้ มูล
2.1.1 กำหนดพื้นที่ศึกษา โดยกำหนดเส้นทางศึกษาจากพื้นที่ทั้งหมดจำนวน 3 แนว
สำรวจ (Line transect) ใชก้ ารวดั เส้นทางการสำรวจดว้ ยสายวัด วางแนวสำรวจพนื้ ที่เกบ็ ตวั อย่าง 3 แนว
สำรวจ แต่ละแนวใช้ระยะทาง 2 กิโลเมตร ดังนี้ แนวสำรวจที่ 1 พื้นที่เกษตรกรรม แนวสำรวจที่ 2
ครอบคลุมพื้นที่อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และแนวสำรวจที่ 3 พื้นที่ชุมชนพร้อมทั้งระบุพิกัด
เรม่ิ ตน้ และพกิ ดั ส้ินสุดท้ายดว้ ย GPS สำรวจและเก็บตวั อย่างทงั้ หมด 5 ครง้ั โดยเกบ็ 1 คร้ังตอ่ สปั ดาห์
ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ.2565 สำรวจ 2 ช่วงเวลาตั้งแต่ 08.00-11.00 น.และ
15.00-18.00 น.
2
1
ภาพท่ี 1 แนวสำรวจผเี สอ้ื กลางวนั แบ่งเปน็ แนวสำรวจที่ 1 พ้ืนที่เกษตรกรรม แนวท่ี 2 ป่าธรรมชาติ
และแนวที่ 3 หมบู่ า้ นบรเิ วณเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวดั สงขลา
(Maxar Technokogies, 2022)
15
2.1.2 วิธีการสำรวจโดยใช้สวิงจับแมลง โฉบผีเสื้อจากเส้นกลางถนนตลอดสองฝ่ัง
ด้านละ 1.5 เมตรเดินด้วยความเร็วสมำ่ เสมอและให้สวงิ ตง้ั ฉากกบั ลำตวั แล้วเหวยี่ งสวงิ ไปท่ีผเี สื้อพร้อม
สะบดั ถงุ สวงิ พบั ปิดปากขอบเพอ่ื ไม่ให้ผเี สื้อบนิ ออก โฉบผีเส้อื ทกุ ตวั ท่ีอยตู่ ลอดเสน้ ทางศึกษา
2.1.3 การวางกับดักผีเสื้อด้วยผลไม้สุกเป็นเยื่อล่อเช่นกล้วยน้ำว้า มะม่วงสุก และ
มะละกอ นำไปแขวนไว้ที่เส้นทางสำรวจ 3 แนวสำรวจ โดยวางกับดักแนวละ 2 จุด แนวสำรวจที่ 1
แขวนกับดักไว้ที่ริมถนนกับสวนผสม แนวสำรวจที่2 แขวนกับดักไว้ที่ริมถนนกับในในป่าธรรมชาติ
แนวสำรวจที่ 3 แขวนกับดักไว้ที่ริมถนนกับในพื้นที่ชุมชน แต่ละแนวสำรวจวางกับดัก ตั้งแต่
06.00 – 18.00 น. วางสงู จากพื้นดนิ ประมาณ 150 เซนติเมตร
ภาพที่ 2 การวางกับดัก แนวสำรวจท่ี 1 แขวนกบั ดักท่ีรมิ ถนน-สวนผสม แนวสำรวจท2ี่
แขวนกับดกั ทีร่ ิมถนน-ปา่ ธรรมชาติ แนวสำรวจที่ 3 แขวนกบั ดักทร่ี ิมถนน-พ้นื ทชี่ ุมชนบริเวณ
เกาะยอ อำเภอเมอื ง จังหวัดสงขลา
16
2.1.4 การเก็บตัวอย่างผีเสื้อ นำตัวอย่างที่ได้โดยวิธีการจับด้วยสวิงและการวาง
กับดักจับผีเสื้อทำการเก็บตัวอย่างด้วยวิธีการทำแห้ง นำผีเสื้อที่จับได้สลบผีเสื้อโดยใช้ขวดฆ่าแมลง
ขนาด 1.5 ลิตร ภายในบรรจุปูนพลาสเตอร์ที่มีความหนาประมาณ 1 เซนติเมตร และใช้หลอดหยด
สารเอทิลอะซิเตต (ethyl Acetate) ประมาณ 4-5 หยดในสำลีที่บรรจุไว้ภายในขวดหลังจากผีเส้ือ
ตายใช้คมี ปากคบี ผีเส้ือใส่ในกระดาษสามเหลีย่ มเพ่ือเก็บรกั ษาแบบชว่ั คราว
2.1.5 การจดั เกบ็ แบบถาวรโดยนำผีเส้ือมาจดั รูปร่าง โดยใชโ้ ฟมเป็นฐานรองผีเส้ือใช้
เข็มปักแมลงขนาดเบอร์ 3 ปักบรเิ วณอกเยื้องไปทางด้านขวาจัดปีกใหก้ างออกโดยให้ขอบล่างของปีกคู่
หน้าตั้งฉากกับลำตัว ขอบบนของปีกคู่หลังอยู่ใต้ขอบล่างของปีกคู่หน้าแล้วตรงึ ด้วยกระดาษที่มขี นาด
ความกว้างประมาณ 0.3-0.5 ความยาวไม่จำกัดปักด้วยเข็มหมุด เพื่อคงรูปร่างตามที่จัดไว้ ตั้งไว้ใน
บริเวณท่อี ากาศถ่ายเทสะดวกไม่มมี ดและแมลงรบกวนประมาณ 5 วนั เพอื่ ใหผ้ เี สือ้ แหง้ เกบ็ ใสใ่ นกล่อง
เกบ็ ตัวอย่างผีเส้ือโดยจำแนกด้วยหนังสือผีเส้ือแสนสวยพร้อมทั้งบันทึกรายละเอียดลงในกระดาษป้าย
บันทึก (Label) โดยระบุสถานที่ ชื่อผู้เก็บ วันที่เก็บ ป้ายบันทึกข้อมลู อีก 1 แผ่นสำหรับบนั ทกึ ข้อมลู
ทางชวี วิทยา
2.2 ศึกษาปัจจัยส่งิ แวดลอ้ ม
ศึกษากายภาพของของพนื้ ที่แต่ละจดุ ได้แก่ ความช้นื อณุ หภูมิ โดยใช้ไฮโครมเิ ตอรใ์ นการวัด
3. การวเิ คราะหข์ ้อมูล
3.1 วิเคราะห์หาคา่ ดชั นคี วามหลากชนิด
วิเคราะห์หาค่าดัชนีความหลากชนิดของผีเสื้อกลางวัน Shannon Wiener Diversity
Index (H′) เป็นดัชนีที่แสดงความเป็นเนื้อเดียวกัน เน้นถึงความหลากชนิดและสัดส่วนของแต่ละชนิด
หากมีความหลากชนิดมากและสัดส่วนจำนวนแต่ละชนิดเท่าๆ กันค่าดัชนีชนิดนี้สูงตามไปด้วยเมื่อ
วเิ คราะห์ผลการมีคา่ สงู หมายถึงพื้นทด่ี ังกลา่ วมีความหลากชนิดสงู หากพบว่ามคี า่ วิเคราะหต์ ำ่ หมายถึง
พ้นื ท่ดี งั กล่าวมคี วามหลากหลายต่ำ (ธรรมนูญ เต็มไชย และทรงธรรม สุขสว่าง, 2556)
มสี ูตรดังน้ี
H′ = - ∑ = ln Pi
เม่ือ H′ = ดัชนคี วามหลากชนดิ
Pi = จํานวนตัวของ Species ที่ I หารจำนวนตัวทัง้ หมด
S = จำนวนชนดิ
I = Species ที่ 1,2,3….N
17
3.2 หาคา่ ความถีค่ วามหลากหลายของผเี สอ้ื กลางวัน
คา่ ความถี่สัมพัทธ์ของผีเส้ือกลางวัน โดยดดั แปลงจาก Relative Frequency, RF
คือ คา่ ความถ่ีของผีเสื้อท่ีต้องการต่อค่าความถี่ท้ังหมดของผเี ส้ือทุกชนดิ ท่ีพบ เป็นอัตราร้อยละ โดยหา
ได้จากสูตรดังน้ี (นจิ ปวริชศา ภพักตรจ์ ันทร์, 2560)
ความถี่ (%) = จำนวนตวั อยา่ งชนดิ พนั ธ์ุ A x 100
จำนวนแปลงตวั อยา่ งท่ีทำการสำรวจ
3.3 หาค่าความชกุ ชุม
ค่ารอ้ ยละความชุมแบ่งออกไดเ้ ป็น 4 ระดับ โดยดดั แปลงจาก Pettingill (1950) ดงั นี้
ระดบั ที่ 1 จดั เป็นผีเสอ้ื ท่ีพบน้อย โอกาสท่ีพบ 1-30 เปอรเ์ ซ็นต์
ระดับที่ 2 จดั เปน็ ค่าท่ีพบปานกลาง โอกาสที่พบ 31-64 เปอรเ์ ซน็ ต์
ระดับที่ 3 จดั เปน็ ค่าที่พบบอ่ ย โอกาสท่ีพบ 65-85 เปอรเ์ ซ็นต์
ระดบั ท่ี 4 จัดเปน็ คา่ ท่ีพบบอ่ ยมาก โอกาสที่พบ 86-100 เปอร์เซน็ ต์ (กติ ติ ตันเมืองปัก และคณะ,
2560)
ความชุกชุม = จำนวนครง้ั ท่ีพบผเี สื้อกลางวันชนิดน้ัน x 100
จำนวนครัง้ ท่ีสำรวจผเี สอ้ื กลางวนั ทงั้ หมด
18
บทที่ 4
ผลการวจิ ัย
1. ความหลากหลายและความชกุ ชุมของผเี ส้ือกลางวนั
จากการสำรวจผเี ส้ือกลางวันในพนื้ ทีเ่ กาะยอ อำเภอเมือง จงั หวัดสงขลา สำรวจผเี สือ้ กลางวัน
ท้งั หมด 5 คร้ัง ในเดือนพฤษภาคม ถึงเดอื นมถิ ุนายน พ.ศ. 2565 โดยวิธีการใชส้ วิงและกบั ดักพบผเี สื้อ
กลางวัน ทั้งหมด 3 วงศ์ ได้แก่ ผีเสื้อวงศ์หางติ่ง (ภาพท่ี 3) ผีเสื้อวงศ์หนอนกะหล่ำ (ภาพที่ 4) และ
ผีเสื้อวงศ์ขาหน้าพู่ (ภาพที่ 5 ) 17 ชนิด ผีเสื้อหางติ่งธรรมดา ผีเสื้อขาวแคระ ผีเสื้อหนอนใบกุ่มธรรมดา
ผีเสื้อเหลืองสยามลายขีด ผีเสื้อหนอนใบกุ่มเส้นดำ ผีเสื้อกะลาสีแถบสั้น ผีเสื้อบารอนมะม่วง
ผีเส้ือตาลพุ่มสุ่ดเรียง ผีเสื้อปีกไข่เมียนเลียน ผีเสื้อแพนซีมยุรา ผีเสื้อไวส์เคาท์ขอบฟ้า
ผีเสื้อสะพายขาวปีกโค้ง ผีเสื้อสีตาลจุดห้าสีจาง ผีเสื้อหนอนใบรักฟ้า ผีเสื้อหนอนหนามกะทกรก
ผีเสื้อเหลืองหนามธรรมดา และ ผีเสื้อม้าน้ำเงิน จำนวน 84 ตัว (ตารางท่ี 1) โดยมีค่าความถี่การปรากฏ
ของผเี สอื้ กลางวันหากเขา้ ในพนื้ ที่แนวสำรวจท่ี 1 พืน้ ทกี่ ารเกษตร พบ 12 ชนิด 41 ตวั มีโอกาสพบอยู่ท่ี
49 เปอร์เซ็นต์ แนวเส้นทางสำรวจที่ 2 พน้ื ทอ่ี นุรกั ษณ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พบ 10 ชนิด 35 ตัว
มีโอกาสพบอยู่ที่ 42 เปอร์เซ็นต์ และแนวเส้นทางสำรวจที่ 3 พื้นที่ชุมชน พบ 6 ชนิด 8 ตัว มีโอกาส
พบอยู่ที่ 9 เปอร์เซน็ ต์ และ ค่าความชุกชมุ ของแต่ละชนิด พบมากทีส่ ุด คือ ผเี ส้อื ขาวแคระ (ภาพท่ี 6)
ตารางท่ี 1 จำแนกผเี สอื้ กลางวัน คา่ ความถ่แี ตล่ ะชนิดในเขตเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
ท่ีพบในเดือนพฤษภาคมถึง เดือนมถิ ุนายน พ.ศ. 2565
วงศ์ ช่ือสามญั ชื่อวิทยาศาสตร์ จำนวนตวั ความถี่ ความชุกชมุ
Papilionidae ผีเส้ือหางตง่ิ ธรรมดา (เปอร์เซ็นต)์ (เปอรเ์ ซน็ ต)์
(ผีเสือ้ หางต่งิ )
Papilio polytes romulus 1 1.19 6.66
Pieridae ผีเสื้อขาวแคระ Leptosia nina 16 19.05 40
(ผีเสื้อหนอน ผีเส้อื หนอนใบกมุ่ ธรรมดา Appias albina darada 5 5.95 26.66
กะหล่ำ)
ผเี สื้อเหลอื งสยามลายขดี Cepora nerissa dapha 8 9.52 20
ผีเส้ือหนอนใบกุ่มเสน้ ดำ Appias libythea olferna 14 16.67 26.66
19
ตารางที่ 1 (ต่อ) จำแนกผเี สอื้ กลางวนั ค่าความถี่แตล่ ะชนิดในเขตเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวดั สงขลา
ที่ พบในเดือนพฤษภาคมถึง เดอื นมิถนุ ายน พ.ศ. 2565
วงศ์ ช่อื สามญั ชือ่ วิทยาศาสตร์ จำนวนตัว ความถี่ ความชกุ ชมุ
(เปอรเ์ ซน็ ต)์ (เปอร์เซ็นต)์
Nymphalidae ผีเสื้อกะลาสแี ถบส้ัน Neptis columella
(ผีเสื้อขาหนา้ พ)ู่ martabana 1 1.19 6.66
ผีเสื้อบารอนมะมว่ ง Euthalia aconthea
garuda 4 4.76 20
ผีเสอ้ื ตาลพุ่มสจี่ ดุ เรยี ง Mycalesis mineus
mineus 10 11.90 20
ผเี สอ้ื ปกี ไข่เมยี นเลยี น Hypolimnas missippus
missippus 2 2.38 6.66
ผเี สื้อแพนซมี ยุรา Junonia almana
almana 4 4.76 6.66
ผีเสื้อไวสเคาท์ขอบฟ้า Tanaecia julii
ผเี สื้อสะพายขาวปีก 1 1.19 6.66
โค้ง Labadea martha 4 4.76 13.33
ผเี สอ้ื สีตาลจดุ ห้าสจี าง martha
ผเี ส้ือหนอนใบรกั ฟ้า Ypthima buldus buldus 7 8.33 20
1 1.19 6.66
ผีเสือ้ หนอนหนาม Ideopsis ssimillis
กะทกรก persimillis 4 4.76 6.66
ผเี สือ้ เหลืองหนาม Acraea Violae
ธรรมดา 1 1.19 6.66
ผเี สอ้ื ม้านำ้ เงนิ Polyura athamas
athamasv 1 1.19 6.66
Polyura schreiber
assamensis
20
ภาพที่ 3 ผีเส้อื ผเี ส้อื กลางวนั ทีพ่ บในพื้นท่เี ขตเกาะยอ วงศห์ างตง่ิ Papilionidae (ผเี สื้อหางติ่งธรรมดา)
(ก) (ข)
(ค) (ง)
ภาพที่ 4 ผเี ส้ือผีเสือ้ กลางวนั ทพ่ี บในพน้ื ท่ีเขตเกาะยอ วงศ์หนอนกะหล่ำ Pieridae
(ก) ผเี สือ้ ขาวแคระ (ข) ผีเสื้อหนอนใบกุ่มธรรมดา (ค) ผเี ส้อื หนอนใบกุ่มเสน้ ดำ (ง) ผเี สื้อเหลืองสยามลายขดี
21
(ก) (ข)
(ค) (ง)
(จ) (ฉ)
(ช) (ซ)
ภาพที่ 5 (ต่อ) ผีเสื้อกลางวนั ที่พบในพน้ื ทเ่ี ขตเกาะยอ วงศ์ขาหนา้ พู่ Nymphalidae
(ก) ผเี สื้อกะลาสีแถบสนั้ (ข) ผเี สอ้ื ไขเ่ มียนเลียน (ค) ผีเสอ้ื แพนซีมยุรา
(ง) ผเี ส้อื มา้ น้ำเงิน (จ) ผีเส้ือบารอนมะม่วง (ฉ) ผเี สื้อเหลืองหนามธรรมดา
(ช) ผเี สือ้ ตาลพมุ่ ส่จี ุดเรียง (ซ) ผเี สือ้ หนอนหนามกระทกรก
22
(ฌ) (ญ)
(ฎ) (ฏ)
ภาพที่ 5 (ต่อ) ผเี ส้อื ผีเสอื้ กลางวันที่พบในพ้ืนทีเ่ ขตเกาะยอ วงศ์ขาหน้าพู่ Nymphalidae
(ฌ) ผีเสือ้ หนอนใบรกั ฟ้า (ญ) ผีสือ้ ไวน์เคาทข์ อบฟ้า (ฎ) ผีเสื้อสีตาลจดุ ห้าธรรมดา (ฏ) ผเี สอ้ื สะพายขาวปีกโคง้
(ก) (ข)
ภาพท่ี 6 คา่ ความถี่ของผเี สอื้ กลางวนั ทั้ง 3 แนวสำรวจในพื้นทเ่ี กาะยอ
(ก) ค่าความถ่ีของผเี สอื้ กลางวันแต่ละแนวสำรวจ (ข) ความถข่ี องผีเสอื้ กลางวันแตล่ ะวงศ์
23
2. ความสัมพันธ์ของปจั จัยกายภาพอุณหภูมิและความชื้นสมั พัทธ์
คำนวณดัชนีความหลากหลายเปรียบเทียบในแต่ละแนวสำรวจที่ใช้ศึกษาค่าดัชนีความ
หลากหลายของ Shannon-Weiner Index พบวา่ พืน้ ที่เกาะยอมีความหลากหลายของผีเส้ือกลางวัน
ส่วนค่าดัชนีความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันแต่ละแนวสำรวจมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด
เมอ่ื คำนวณความหลากหลายของผเี สอื้ กลางวันโดยใช้ Shanon wiener index พบว่า แนวสำรวจที่ 1
มีความหลากหลายมากที่สุดคือ 2.27 รองลงมาแนวสำรวจที่ 2 คือ 1.79 และ แนวสำรวจที่ 3 คือ
0.61 โดยดัชนีความหลากหลายทง้ั 3 แนวเสน้ ทางสำรวจ มีคา่ เทา่ กบั 3.89 (ตารางที่ 2) และจากการ
สำรวจพบว่าความชุกชุมของผีเสื้อกลางวันทั้ง 3 แนวสำรวจ โดยวิเคราะห์ค่าร้อยละความชุกชุม
(Relative abundance) (Pettingill, 1950) พบผีเสื้อที่มีความชุกชุมมากที่สุด ได้แก่ ผีเสื้อขาวแคระ
มีค่าเท่ากับ 40 เปอร์เซ็นต์ รองลงมา ได้แก่ ผีเสื้อใบกุ่มธรรมดา ผีเสื้อใบกุ่มเส้นดำ มีค่าเท่ากับ 26.66
เปอร์เซ็นต์ ผีเสื้อจุดห้าตาสีจาง ผีเสื้อตาลพุม่ ส่ีจุดเรียง ผีเสื้อบารอนมะม่วง ผีเสื้อเหลืองสยามลายขีด
มีคา่ เท่ากับ 20 เปอรเ์ ซน็ ต์ ผเี ส้อื สะพายขาวปกี โค้ง มคี ่าเทา่ กบั 13.33 เปอร์เซน็ ต์ และค่าความชุกชุม
ทมี่ คี ่าน้อยทีส่ ุดคอื ผเี สือ้ หางตง่ ธรรมดา ผีเส้ือกะลาสแี ถบสนั้ ผเี สอ้ื ปีกไข่เมียนเลยี น ผีเสอ้ื แพนซีมยุรา
ผีเสื้อไวท์เคาท์ขอบฟ้า ผีเสื้อหนอนใบรักฟ้า ผีเสื้อหนอนหนามกะทกรก ผีเสื้อเหลืองหนามธรรมดา
ผีเสอ้ื ม้านำ้ เงนิ มีค่าเทา่ กบั 6.66 เปอรเ์ ซน็ ต์ (ภาพท่ี 7)
ตารางท่ี 2 จำนวนชนดิ และจำนวนตวั ของผเี สอ้ื กลางวนั ทพี่ บในเขตเกาะยอ ทั้ง 3 แนวเส้นสำรวจ
แนวสำรวจ จำนวนชนิด จำนวนตวั Shanon wiener index ความชกุ ชุม
(ตวั ) (ตัว) (เปอรเ์ ซน็ ต์)
แนวสำรวจ 1 12 41 2.27
แนวสำรวจ 2 10 35 1.79 18.82
แนวสำรวจ 3 6 8 0.97 17.64
7.05
อุณหภูมิแต่ละแนวสำรวจมีค่าเฉลี่ยดังนี้ แนวสำรวจที่ 1 มีค่าเฉลี่ยสูงสุดที่ 33.2 องศา
เซลเซียส และมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดที่ 27.2 องศาเซลเซียส แนวสำรวจที่ 2 มีค่าเฉลี่ยสูงสุดที่ 32.4 องศา
เซลเซียส และมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดที่ 27.2 องศาเซลเซียส และแนวสำรวจที่ 3 มีค่าเฉลี่ยสูงสุดที่ 31.8
องศาเซลเซียส และมคี า่ เฉลีย่ ตำ่ สดุ ที่ 26.6 องศาเซลเซยี ส (ภาพที่ 7)
24
อุณหภูมิ
31 สปั ดาห์ท่ี2 สปั ดาหท์ ี่3 สัปดาห์ท่ี4 สัปดาหท์ ่ี5
30.5 แนวสารวจ แนวสารวจ แนวสารวจ
30
29.5
29
28.5
28
27.5
27
26.5
สปั ดาห์ท1่ี
ภาพที่ 7 คา่ อุณหภูมิ แนวสำรวจ 3 แนวในเขตเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
ความชื้นแต่ละแนวสำรวจจะมีค่าเฉลี่ยดังนี้ แนวสำรวจที่ 1 มีค่าเฉลี่ยสูงสุดที่ 66
เปอร์เซ็นต์ และมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดที่ 57.8 เปอร์เซ็นต์ แนวสำรวจที่ 2 มีค่าเฉลี่ยสูงสุดที่ 66 เปอร์เซ็นต์
และมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดที่ 58 เปอร์เซ็นต์ และแนวสำรวจที่ 3 มีค่าเฉลี่ยสูงสุดที่ 66 เปอร์เซ็นต์และมี
คา่ เฉล่ยี ต่ำสุดที่ 58 เปอรเ์ ซ็นต์ (ภาพที่ 8)
ความชื้นสมั พัทธ์
67 สปั ดาห์ที่2 สปั ดาห์ที่3 สปั ดาหท์ ่ี4 สปั ดาห์ที่5
66 แนวสารวจ แนวสารวจ แนวสารวจ
65
64
63
62
61
60
59
58
57
สปั ดาห์ท่ี1
ภาพที่ 8 ค่าความช้นื สัมพัทธแ์ นวสำรวจ 3 แนวในเขตเกาะยอ อำเภอเมือง จงั หวดั สงขลา
25
จากการศึกษาศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจยั ทางกายภาพ ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้นสัมพทั ธ์ท่ี
มีผลต่อจำนวนชนิดและจำนวนตัวของผีเสื้อกลางวัน ในพื้นที่เกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 3
แนวสำรวจได้แก่ แนวสำรวจท่ี 1 พน้ื ทเี่ กษตรกรรม แนวสำรวจที่ 2 ครอบคลุมพื้นที่อนุรักษ์ธรรมชาติ
และสง่ิ แวดลอ้ ม และแนวสำรวจที่ 3 พ้นื ท่ชี ุมชน ชนิดของผเี ส้อื กลางวันมคี วามสัมพันธ์กับจำนวนตัว
ผเี สอ้ื อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 ส่วนค่าความสมั พันธ์ของอุณหภูมิในแนวสำรวจท่ี 1 ไม่มี
ความสัมพันธ์กับจำนวนตัวของผีเสื้อกลางวันอย่างมีนัยสำคัญ ค่าความสัมพันธ์ของอุณหภูมิในแนว
สำรวจที่ 2 ความสัมพันธ์กับจำนวนตัวของผีเสื้อกลางวันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ค่า
ความสัมพันธ์ของอุณหภมู ิในแนวสำรวจที่ 3 ไม่มีความสัมพันธก์ ับจำนวนตัวของผเี สือ้ กลางวันอย่างมี
นัยสำคัญทางสถติ ิ และค่าความสัมพนั ธ์ของความชื้น ทั้ง 3 แนวสำรวจไมม่ คี วามสมั พันธก์ ับจำนวนตัว
ของผเี ส้ือกลางวันอยา่ งมีนัยสำคัญ (ตารางท่ี 3)
ตารางท่ี 3 ความสัมพันธ์ระหวา่ งจำนวนชนดิ และจำนวนตัวของผเี ส้อื กลางวนั กบั ปัจจยั ทางกายภาพ
โดยใชว้ ิธี Pearson correlation บรเิ วณแนวสำรวจทงั้ 3 แนวสำรวจ
แนวสำรวจ ชนดิ -จำนวนตัว อุณภูมิ-จำนวนตวั ความชื้น-จำนวนตวั
-0.764 -0.202
แนวสำรวจที่ 1 0.610** -0.933* -0.075
-0.662 -0.503
แนวสำรวจที่ 2 0.642**
แนวสำรวจท่ี 3 0.667**
** มคี วามสัมพันธอ์ ยา่ งมีนัยสำคัญทร่ี ะดับ 0.01
* มีความสัมพันธ์อยา่ งมีนยั สำคัญที่ระดบั 0.05
26
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผลการวจิ ัย และข้อเสนอแนะ
1. การจำแนกความหลากหลายและความชกุ ชุมของผเี ส้ือกลางวนั
จากการสำรวจผีเสื้อกลางวันในเขตเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ในช่วงเดือน
พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ถงึ มิถนุ ายน พ.ศ. 2565 ระยะเวลา 5 สปั ดาห์ พบผีเสอื้ กลางวันท้ังสิน้ 3 วงศ์
17 ชนิด 84 ตัว ดัชนีความหลากหลายทั้ง 3 แนวสำรวจ โดยสูตรของ Shannon - Wiener Index
(H´) มีค่า 3.89 วงศ์ที่มีความหลากหลายมากที่สุด คือ วงศ์ขาหน้าพู่ มีค่า 1.39 เนื่องจากผีเสื้อขาหน้าพู่
สามารถกินพืชอาหารได้หลากหลาย หรือมีแหล่งอาหารจำนวนมากส่งผลให้ผีเสื้อกลางวันวงศ์นี้พบ
มากตลอดเส้นทางการศึกษา รองลงมาผีเสื้อวงศ์หนอนกะหล่ำ มีค่า 1.00 และวงศ์ผีเสื้อหางติ่ง มีค่า
0.09 จากการสำรวจความชุกชุม พบว่าของผีเสื้อกลางวันทั้ง 3 แนวสำรวจ วิเคราะห์ความชุกชุม
(Pettingill, 1950) พบผีเสื้อที่มีความชุกชุมมากที่สุด ได้แก่ ผีเสื้อขาวแคระ เท่ากับ 40 เปอร์เซ็นต์
เปรียบเทียบกับพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขานัน จังหวัดนครศรีธรรมราช มีความแตกต่างกันในเรื่องของ
ระยะเวลาในการเก็บตัวอย่าง ค่าความหลากหลาย (H´) เท่ากับ 4.25 เริ่มศึกษาข้อมูลเดือนเว้นเดือน
ในเวลา 1 ปี ตั้งแต่ปลายปี 2549 ถึงปลายปี 2550 พบผีเสื้อกลางวัน 5 วงศ์ 307 ชนิด ประกอบด้วย
วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง วงศ์ผีเสื้อหนอนกะหล่ำ วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ วงศ์ผีเสื้อสีน้ำเงิน และวงศ์ผีเสื้อบินเร็ว
(จารจุ นิ ต์ นภตี ะภัฏ และคณะ, 2551) อาจเนื่องมาจากทงั้ สองบริเวณนี้มีลกั ษณะของพน้ื ท่ี ที่แตกต่าง
กัน เกาะยอมีลักษณะเป็นภูเขาที่ไม่สูงมาก เป็นที่ราบเชิงเขาติดทะเล เกษตกรรมในรูปแบบสวนผสม
ทำให้เป็นที่อยู่อาศัยและมีแหล่งหาอาหารจำนวนมาก ในส่วนของอุทยานแห่งชาติเขานันมีลักษณะ
เปน็ เทอื กเขาสงู สภาพปา่ เป็นปา่ ดงดิบช้ืนท่ีมีความอดุ มสมบูรณ์ เปน็ แหล่งตน้ นำ้ ท่สี ำคัญมีจุดเด่นทาง
ธรรมชาตทิ ่ีสวยงาม (อุทยานแหง่ ชาติเขานัน, 2564) และได้มกี ารสำรวจแบ่งเป็นการจับผีเสื้อกลางวัน
โดยสวิงและกับดกั เพือ่ พิสูจน์ว่าการจับผีเส้ือกลางวันทีใ่ ช้สวงิ ได้ผลมากกว่าการจับผีเสือ้ แบบใชก้ ับดัก
กับดักสามารถจบั ผีเสื้อกลางวนั ได้ แต่มีประสทิ ธิภาพน้อยกวา่ สวิง อาจเนื่องจากเหย่ือในกับดัก ได้แก่
กล้วยน้ำว้า มะม่วงสกุ และมะละกอ ไมเ่ ปน็ ทีส่ นใจของผีเส้ือกลางวนั ผลการใชส้ วงิ ในแนวสำรวจที่ 1
พบจำนวน ผีเสื้อ 11 ชนิด 36 ตัว ใช้กับดักพบผีเสื้อกลางวัน 3 ชนิด จำนวน 5 ตัว แนวสำรวจที่ 2
พบผเี ส้ือกลางวันท่ีใชส้ วิงจำนวน 4 ชนิด 23 ตวั ใชก้ ับดักพบผีเส้ือกลางวัน 6 ชนดิ 12 ตัว แนวสำรวจท่ี
3 พบผเี ส้ือกลางวันทีใ่ ช้สวิงจำนวน 3 ชนิด 5 ตัว ใช้กบั ดักพบผเี สื้อกลางวนั 3 ชนิด 3 ตวั ซึ่งแตกต่าง
กับการศึกษาของ จารุจินต์ นภีตะภัฏ และคณะ (2551) รายงานว่าพบผีเสื้อกลางวัน 45 ชนิด
27
ซึ่งตอบสนองต่อกับดักที่แขวนไว้ แบ่งเป็นผีเสื้อที่ตอบสนองต่ออาหาร 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ผีเสื้อกลาง
วันทต่ี อบสนองตอ่ ผลไม้เน่า กลุ่มท่ี 2 ตอบสนองตอ่ เหยื่อของคาว กลุ่มที่ 3 ตอบสนองทงั้ 2 ประเภท
2. ความสัมพันธ์ของปัจจัยกายภาพอุณหภูมิและความชื้นสมั พัทธ์
จากการวิเคราะหค์ วามสมั พนั ธ์โดยใช้ Pearson Correlation พบวา่ ปัจจยั ทางกายภาพ
ที่มีผลต่อจำนวนตัวผีเสื้อโดยพบว่าความชื้นสัมพัทธ์มีความสัมพันธ์เชิงลบกับจำนวนตัวและจำนวน
ชนิดของผีเสื้อกลางวัน และอุณหภูมิมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับจำนวนตัวและจำนวนชนิดผีเสื้อ
กลางวัน ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจของ Moss and Pollard (1993) และ Pollard et al (1993) ท่ี
พบว่าสภาพอากาศมีผลต่อจำนวนชนิดและปริมาณของผเี ส้ือกลางวัน เมอื่ อากาศมคี วามชื้นสัมพัทธ์สูง
พบว่าจำนวนชนิดและปริมาณของ ผีเสื้อกลางวันลดลงเนื่องจากอากาศที่มีความชื้นสูงจะทำให้ผีเสื้อ
กลางวันเข้าสู่ระยะพักตัว และเมื่อเทียบกับการศึกษา พงศ์เทพ สุวรรณวารี (2555) พบว่า
ความสัมพันธ์ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิอากาศและความหลากชนิดของผีเสื้อกลางวัน มี
ความสัมพันธไ์ ปในทศิ ทางเดยี วกนั ส่วนความสมั พันธ์ระหวา่ งความช้นื สัมพัทธ์และความหลากชนิดของ
ผีเสื้อกลางวัน พบว่ามีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงข้าม เนื่องจากผีเสื้อกลางวันมักอาศัยอยู่ในพื้นที่ท่ี
ค่อนข้างมีอุณหภูมิอากาศสูง เพราะอุณหภูมิอากาศมีผลต่อการเจริญพัฒนาของตัวหนอนผีเสื้อและ
ดักแด้ระยะสุดท้าย ซึ่งอุณหภูมิที่สูงจะส่งผลให้หนอนผีเสื้อเจริญเข้าสู่ระยะดักแด้เร็วมากขึ้น การ
เจริญเติบโตของผีเสื้อกลางวันจึงสูงขึ้นตามอุณหภูมิจึงมีความสัมพันธ์ในทิ ศทางบวกกับจํานวนชนิด
ของผเี สื้อกลางวัน ทําใหป้ ระชากรตัวเตม็ วัยของผีเสื้อกลางวนั และจาํ นวนชนิดลดน้อยลง ดังน้ันปัจจัย
ทางกายภาพโดยเฉพาะสภาพอากาศ จงึ สง่ ผลต่อชนิดและความหลากหลายของผเี สอ้ื กลางวัน
ขอ้ เสนอแนะ
1. การเก็บข้อมูลความหลากหลายและความชุกชุมของผีเสื้อกลางวันในบริเวณเกาะยอควรใช้
เวลาไมน่ ้อยกว่า 3 เดือนเพ่อื ให้สามารถพบผีเสื้อกลางวนั ไดค้ รอบคลุม
2. ควรมกี ารศกึ ษาเพิม่ เตมิ ในดา้ นเหย่อื ลอ่ ทีใ่ ช้กบั ดักเพ่ือใหม้ ีประสทิ ธภิ าพดีย่ิงข้ึน
28
เอกสารอ้างอิง
กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพุ์ ืช. (2557). รายงานการสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ
เขตรกั ษาพันธ์สุ ัตวป์ า่ โตนงาชา้ ง จังหวัดสงขลา (Online). https://kb.psu.ac.th, 29
ตลุ าคม 2565.
กติ ติ ตนั เมืองปกั , ศริ ิกรณ์ ศรีโพธ์ิ และพสิ ุทธ์ิ เอกอำนวย. (2560). ความหลากชนิดของผีเสื้อกลางวนั
ในอทุ ยานแห่งชาติภูเรอื อำเภอภเู รอื จังหวดั เลย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 60(1): 65-78
จารจุ นิ ต์ นภีตะภัฏ และเกรียงไกร สุวรรณภักด์.ิ (2544). คูม่ ือดูผีเส้ือในประเทศไทย. พิมพ์คร้ังท่ี 1.
กรงุ เทพมหานคร: สำนักพิมพ์วนา.
จารจุ ินต์ นภีตะภัฏ, วยี ะวัฒน์ ใจตรง และทัศนยั จีนทอง. (2551). ความหลากหลายของผีเสอื้ กลางวนั
ในอุทยานเขานัน จงั หวดั นครศรธี รรมราช (Online). https://oer.learn.in.th, 24
ตลุ าคม 2565.
ณัฐวัฒน์ วริ ยิ ะสุชน. (2562). การศกึ ษาความหลากหลายของผเี สื้อกลางวันในบรเิ วณอ่างเก็บนำ้
หว้ ยหินขอ้ ณ อทุ ยานแห่งชาตภิ ูสระดอกบัว. สำนักบรหิ ารพ้ืนทอ่ี นรุ ักษ์ท่ี9
(อบุ ลราชธานี) กรมอุทยาน แหง่ ชาติสตั วป์ า่ และพนั ธพุ์ ชื .
ธรรมนญู เตม็ ไชย และทรงธรรม สขุ สวาง. (2556). ความสัมพันธร์ ะหวา่ งขนาดแปลงตัวอย่างกับ
ดชั นคี วามหลากหลาย. เอกสารวจิ ยั การนาํ เสนอผลงานวิชาการเครือขายงานวจิ ยั
นิเวศวทิ ยาป่าไม้ประเทศไทย ศนู ยน์ วัตกรรมอุทยานแห่งชาตแิ ละพ้นื ทคี่ มุ้ ครอง.
นิจปวรชิ ศา ภพกั ตร์จันทร์. (2560). โครงสร้างสังคมพชื และปัจจยั ท่มี ีอิทธพิ ลต่อการสบื ตอ่ พันธ์ุ
ตามธรรมชาติในพ้ืนที่ชายป่าเตง็ รงั และชายปา่ เบญจพรรณ ท่เี กิดจากการทำไร่
ข้าวโพดในพ้นื ที่สงู บรเิ วณลุ่มน้ำแม่คำมี จงั หวดั แพร่. ปริญญาวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์สง่ิ แวดลอ้ ม. มหาวทิ ยาลัยนเรศวร.
นดิ ดา หงษว์ ิวัฒน์. (2554). ผีเส้ือแสนสวย. พิมพ์ครั้งท่ี 1 ฉบับปรับปรงุ . กรงุ เทพมหานคร:
สำนักพมิ พค์ ต.ิ
พงศ์เทพ สวุ รรณวารี. (2553). ความสมั พันธ์ของความหลากหลายของผเี สื้อกลางวนั และระบบ
นเิ วศปา่ แบบตา่ งๆ ในสถานีวจิ ัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช. เอกสารวจิ ัย มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีสุรนาร.ี
29
พงศ์เทพ สุวรรณวารี. (2555). การเปรยี บเทียบความหลากหลายของผีเสื้อกลางวนั ของน้ำตกบาง
แหง่ ใน พนื้ ทม่ี รดกโลก ดงพญาเย็น – เขาใหญ่. เอกสารวิจยั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี
สุรนารี.
ศนู ย์วิจัยความหลากหลาย. (2561). ผีเส้ือกลางวัน (Online). http://srdi.yru.ac.th, 7 มกราคม 2565.
สํานักบริหารพืน้ ท่ีอนุรักษท่ี 16. (2556). รายงานการสารวจความหลากหลายทางชีวภาพ เขตรักษา
พนั ธสุ ัตวป์ ่าสันปันแดน จังหวดั แม่ฮ่องสอน.
องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลเกาะยอ. (2552). สภาพทั่วไปและขอ้ มูลพนื้ ฐานขององค์การบริหาร สว่ น
ตำบลเกาะยอ (Online). http:3A%2F%2Fwww.kohyor.go.th, 7 มกราคม 2565.
อทุ ยานแหง่ ชาติเขานนั . (2564). ลักษณะพื้นท่ีอุทยานแหง่ ชาตเิ ขานนั จงั หวดั นครศธี รรมราช
(online). https://kotchawong1127.wordpress.com, 23 ตุลาคม 2565.
Moss, D. and E.Pollard. (1993). Calculation of collated indices of abundance of
butterflies based on monitored sites. Ecological Entomology.18: 77-83.
Pettingill, O.S. (1950). A laboratory and field manual of ornithology. Burgress
Publishing, Minnesota. 58 : 119-120.
Pollard, E., C.A.M. Van Swaay, and T. J. Yates (1993). Changes in butterfle numbers in
Britain and the Netherlands, 1990-91. Ecological Entomology. 18: 93-94.
30
ภาคผนวก
31
ภาคผนวก ก
การวเิ คราะหข์ ้อมลู (ความถี่)
การวิเคราะห์ความถี่ ตามสํานักบรหิ ารพน้ื ท่ีอนุรักษที1่ 6
ความถี่ (%) = ความถี่ของชนิดพันธุ์ A x 100
จำนวนแปลงตวั อย่างท่ที ำการสำรวจ
ความถีข่ องแต่ละเสน้ ทาง เส้นทาง1 เส้นทาง2 เสน้ ทาง3 เสน้ ทาง1 เส้นทาง2 เสน้ ทาง3
ผเี ส้ือสะพายขาวปีกโคง้ 2.38 0.00 0.00 1.19 0.00 1.19
ผีเสื้อเหลืองสยามลายขีด 5.95 1.19 2.38 0.00 0.00 0.00
ผีเสอ้ื ขาวแคระ 10.71 5.95 2.38 0.00 0.00 0.00
ผีเสอ้ื หนอนใบก่มุ ธรรมดา 1.19 3.57 1.19 0.00 0.00 0.00
ผเี สอ้ื สีตาลจดุ ตาหา้ สจี าง 7.14 0.00 0.00 0.00 0.00 1.19
ผเี สอื้ แพนซีมยุรา 3.57 0.00 0.00 1.19 0.00 0.00
ผเี สอ้ื พุ่มสี่จดุ เรียง 2.38 0.00 0.00 0.00 8.33 1.19
ผีเสอ้ื ไขเ่ มยี นเลียน 2.38 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
ผเี สอ้ื กะทกรก 4.76 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
ผเี สอ้ื กะลาสแี ถบส้ัน 1.19 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
ผเี สอ้ื หนอนใบรักฟ้า 1.19 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
ผเี สอ้ื ใบกมุ่ เสน้ ดำ 0.00 16.67 0.00 0.00 0.00 0.00
ผเี สอ้ื บารอนมะมว่ ง 0.00 0.00 0.00 3.57 1.19 0.00
ผีเสอ้ื ม้านำ้ เงิน 0.00 0.00 0.00 0.00 1.19 0.00
ผีเสอ้ื เหลอื งหนามธรรมดา 0.00 0.00 0.00 0.00 1.19 0.00
ไวทเ์ คาท์ขอบฟ้า 0.00 0.00 0.00 0.00 1.19 0.00
ผีเสื้อหางต่งิ ธรรมดา 0.00 0.00 0.00 0.00 1.19 0.00
รวม 42.86 27.38 5.95 5.95 14.29 3.57
32
ภาคผนวก ข
จำนวนผีเสอื้ 3 แนวสำรวจ (คร้ังท่พี บ)
ชนดิ ผเี สอ้ื แนวสำรวจที่ 1 แนวสำรวจท่ี 2 แนวสำรวจท่ี 3 รวมท้ังหมด
ผเี สื้อหางต่งิ ธรรมดา - 1 - 1
ผีเสอ้ื ขาวแคระ 3 2 1 6
ผีเสอ้ื หนอนใบกุ่มธรรมดา 1 2 1 4
ผเี สื้อเหลอื งสยามลายขดี 1 1 1 3
ผเี ส้อื หนอนใบกุ่มเส้นดำ - 4 - 4
ผีเสอ้ื กะลาสีแถบสนั้ 1 - - 1
ผีเสอ้ื บารอนมะมว่ ง 2 1 - 3
ผเี สื้อตาลพมุ่ สจ่ี ุดเรยี ง 1 1 1 3
ผีเสอ้ื ปีกไข่เมยี นเลียน 1 - - 1
ผีเสอ้ื แพนซีมยรุ า 1 - - 1
ผเี สอ้ื ไวสเคาท์ขอบฟา้ - 1 - 1
ผเี สอ้ื สะพายขาวปกี โคง้ 1 - 1 2
ผีเส้อื สตี าลจดุ หา้ สจี าง 2 - 1 3
ผีเสือ้ หนอนใบรักฟา้ 1 - - 1
ผเี สื้อหนอนหนาม 1 - - 1
กะทกรก
ผเี สื้อเหลอื งหนาม - 1 - 1
ธรรมดา
ผีเสือ้ มา้ น้ำเงนิ - 1 - 1
33
ภาคผนวก ค
จำนวนผเี ส้อื 3 แนวสำรวจ
วิธีการใช้สวงิ แนวสำรวจที่ 1 แนวสำรวจท่ี 2 แนวสำรวจที่ 3
ชนิด จำนวน (ตัว) ชนดิ จำนวน(ตัว) ชนิด จำนวน(ตวั )
ครั้งที่ 1
ครง้ั ท่ี 2 27 13 12
ครง้ั ที่ 3 14 12 11
ครงั้ ที่ 4 36 24 11
ครง้ั ที่ 5 4 11 36 00
รวม 48 28 11
14 36 9 23 45
วิธีการใชก้ ับดกั
แนวสำรวจที่ 1 แนวสำรวจท่ี 2 แนวสำรวจที่ 3
ชนิด จำนวน(ตวั ) ชนิด จำนวน(ตัว)
ชนิด จำนวน(ตวั ) 11 00
22 00
ครัง้ ท่ี 1 1 1 11 11
11 11
ครั้งท่ี 2 1 2 17 11
6 12 33
ครง้ั ท่ี 3 0 0
ครง้ั ท่ี 4 1 1
ครงั้ ที่ 5 1 1
รวม 4 5
34
ภาคผนวก ง
ความสัมมพนั ธ์ทางกายภาพ (อุณหภูม)ิ
แนวสำรวจท่ี1
จำนวนตัว 14 R² = 0.5898
12
10 29 30 31
อณุ หภมู ิ
8
6
4
2
0
28
แนวสำรวจที่2
จำนวนตัว 16 R² = 0.0013
14
12 29 30 31
10 อณุ หภมู ิ
8
6
4
2
0
28
จำนวนตัว แนวสำรวจท่ี3
2.5
2 R² = 0.0833
1.5
1
0.5
0
27.5 28 28.5 29 29.5 30 30.5
อณุ หภมู ิ
35
ภาคผนวก จ
ความสมั มพนั ธ์ทางกายภาพ (อณุ หภูม)ิ
แนวสำรวจท่ี1
จำนวนตัว 14 R² = 0.1216
12
10 62 64 66 68
ควำมชืน้ 68
8
6 แนวสำรวจท่ี2
4
จำนวนตัว 2 R² = 0.0035
0
62 64 66
60 ควำมชืน้
20
15
10
5
0
60
จำนวนตัว 2.5 แนวสำรวจท่ี3
2
R² = 0.2308 68
1.5
1 62 64 66
ควำมชืน้
0.5
0
60
36
ภาคผนวก ช
ลักษณะพ้ืนทแ่ี นวสำรวจ
37
ภาคผนวก ซ
การจำแนกชนิดผเี สอื้ กลางวัน
38
ประวตั ิยอ่ ของผูว้ ิจัย
ชือ่ -สกุล นางสาว สริ ริ ัตน์ โสะอ้น
วันเดอื นปเี กดิ วันท่ี 27 สงิ หาคม พ.ศ. 2543
ท่ีอยู่ 34 หมู่ 3 ตำบลเขากอบ อำเภอหว้ ยยอด จงั หวดั ตรงั
ประวัตกิ ารศึกษา
สำเรจ็ การศึกษาระดบั ช้ันประถมศึกษาโรงเรยี นบา้ นเขากอบ ตำบลเขากอบ
พ.ศ. 2555 อำเภอห้วยยอด จงั หวดั ตรงั
สำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ช้ันมัธยมศึกษาตอนตน้ โรงเรยี นห้วยยอด ตำบลหว้ ย
พ.ศ. 2558 ยอด อำเภอหว้ ยยอด จังหวัดตรัง
สำเร็จการศกึ ษาระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนหว้ ยยอด ตำบล
พ.ศ. 2561 หว้ ยยอด อำเภอหว้ ยยอด จงั หวัดตรงั
เข้าศึกษา สาขาชีววิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
พ.ศ. 2562 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา
39
ประวตั ิยอ่ ของผวู้ ิจัย
ชือ่ -สกุล นางสาวไอลดา ไหมดี
วันเดอื นปเี กดิ 29 กุมภาพนั ธ์ 2543
ทอี่ ยู่ 50 หมู่ 1 ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนนุ จงั หวัดพัทลงุ 93110
ประวัติการศึกษา
สำเร็จการศกึ ษาระดับชนั้ ประถมศึกษาโรงเรยี นบา้ นควนดินแดง จงั หวดั
พ.ศ. 2555 พัทลุง
สำเร็จการศึกษาระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรียนควนขนุน จังหวัดพทั ลงุ
พ.ศ. 2558 สำเร็จการศึกษาระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนควนขนุน จงั หวดั
พ.ศ. 2561 พัทลุง
เข้าศกึ ษา สาขาชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา
40