The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือสัมมนา6-10-66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by San Feesabilillah, 2023-10-05 14:17:43

คู่มือสัมมนา6-10-66

คู่มือสัมมนา6-10-66

คู่มือการจัดโครงการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ จัดทำโดย นายศิรวิทย์ ชูเย็น 6320210018 นายณัฐนนท์ นวลแก้ว 6320210022 นางสาวดารนุช แก้วมณี 6320210023 นางสาวนาดาร์ หมัดดำรง 6320210026 นายไนยชน ดำจำนงค์ 6320210030 นางสาวปิยณัฐ หัดสหมัด 6320210032 นางสาวฟาดา ปรีพันธ์ 6320210033 นางสาวอัยนุรอาซีกีน ฮามะ 6320210039 นายฮาซัน อุมา 6320210044 นางสาวจุฑาทิพย์ เทพพรหม 6320210335 นางสาวมารียัม เจะแม 6320210346 นางสาววิจิตรา ติระนนท์ 6320210349 นางสาวอัฉราภรณ์ สะอาด 6320210352 นายอารีซัน เปาะซา 6320210357 นางสาวฮูดายยะห์ รอนิง 6320210359 นางสาวนูรีซัล ดอเล๊าะ 6320210494 นางสาวยูนีตา กามู 6320210499 นางสาวสามีย์รา เปาะจิ 6320210502 คู่มือการจัดโครงการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระฉบับบนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 428-481 การสัมมนาในการพัฒนาสังคม (Seminar In Social Development ) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566


ก คำนำ คู่มือการจัดสัมมนาทางวิชาการในงานพัฒนาสังคมฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 428-481 การสัมมนาในการพัฒนาสังคม (Seminar In Social Development) โดยการจัดสัมมนาครั้งนี้ภายใต้หัวข้อ “การพัฒนาคุณภาพชีวิตกับการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมในดินแดนลังกาสุกะ” มีวัตถุประสงค์1. เพื่อพัฒนาศักยภาพ ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์ของผู้เข้าร ่วม ผู้นำเสนอโครงร่างการศึกษา อิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้จัดสัมมนา และผู้นำเสนอโครงร่างการศึกษาอิสระ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ในการจัด สัมมนา 2.เพื่อเป็นประโยชน์หรือแนวทางให้กับผู้เข้าร่วมสัมมนาที่ต้องการศึกษาในการทำวิจัย เพื่อเป็นเวที ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงร่างการศึกษาอิสระระหว่างนำเสนอ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เข้าร่วม โครงการ โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาประกอบไปด้วย ดร.สวัสดิ์ ไหลภาภรณ์ ผศ.ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก รวมถึง คณาจารย์ทุกท่านในสาขาวิชาพัฒนาสังคมที่ให้คำปรึกษาในการจัดการคู่มือการสัมมนาครั้งนี้และขอบคุณ สมาชิกทุกคนที่ให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินงานจนเสร็จลุล่วงด้วยดี คณะผู้จัดทำ 25 สิงหาคม 2566


ข สารบัญ หน้า คำนำ……………………………………………………………………………………………………………ก สารบัญ…………………………………………………………………………………………………………ข บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดสัมมนา………………………………………………..…1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสัมมนา……………………………………………………………......2 ความหมายของการสัมมนา…………………………………………………………….....…2 ความสำคัญของการสัมมนา……………………………………………………….........….2 ประโยชน์ของการสัมมนา………………………………………………………….......……3 วัตถุประสงค์ของการสัมมนา……………………………………………………….....…….3 องค์ประกอบของการสัมมนา……………………………………………………….....……3 รูปแบบของการสัมมนา…………………………………………………………………….....6 จุดมุ่งหมายของการจัดสัมมนา…………………………………………………………......6 เทคนิคการจัดสัมมนา……………………………………………………………………........6 ลักษณะการสัมมนาที่ดี……………………………………………………………………..….7 บทที่ 2 โครงสร้างและบทบาทหน้าที่…………………………………………………………………8 โครงสร้างหน้าที่…………………………………………………………………………………..9 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของประธาน……………………………………….10 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของรองประธาน………………………………….15 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของเลขานุการ…………………………………….18 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของฝ่ายเหรัญญิก………………………………...20 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของฝ่ายพิธีกร……………………………………..24 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของฝ่ายสารสนเทศ……………………………...26 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของฝ่ายประชาสัมพันธ์………………………...28 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของฝ่ายวิชาการ…………………………………..30 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของฝ่ายประสาน/สถานที่……………………..32 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของฝ่ายสวัสดิการ………………………………..34 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของฝ่ายทะเบียน/ประเมินผล………………..36 บทที่ 3 ใบโครงการการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ……………………………………..38 ชื่อโครงการ………………………………………………………………………………………..39


ค สารบัญ (ต่อ) หน้า หลักการและเหตุผล……………………………………………………………………………39 วัตถุประสงค์………………………………………………………………………………………39 ผู้รับผิดชอบโครงการ…………………………………………………………………………..39 เป้าหมายของโครงการ………………………………………………………………………...39 ลักษณะการดำเนินโครงการ…………………………………………………………………40 แผนปฏิบัติโครงการ…………………………………………………………………………….40 ภาคผนวก ก. รูปภาพที่เกี่ยวข้อง……………………………………………………………………..43 ภาคผนวก ข. เอกสารที่เกี่ยวข้อง…………………………………………………………………….59 บรรณานุกรม………………………………………………………………………………………………..71


1 บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดสัมมนา


2 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสัมมนา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสัมมนาเป็นเทคนิคการหล่อหลอมแนวความคิดในรูปแบบของการ ประชุมกลุ่มอย่างหนึ่งที่ต้องอาศัยกลุ่มร่วมในการหาทิศทางการพัฒนาแนวคิดสู่เป้าหมายการสัมมนานั้นอาจ กล่าวได้ว่าเป็นการประชุมแบบหนึ่งที่จัดในรูปแบบจำเพาะเพื่อมุ่งผลเชิงวิชาการภายใต้กรอบการประชุม ใหญ่ที่อาจแบ่งออกเป็นการประชุมนั้น ๆ ในส่วนของการสัมมนา โดยทั่วไปผู้ที่เข้าร่วมสัมมนาต้องเป็นผู้ที่มี ประสบการณ์ในประเด็นเป้าหมาย เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและหาแนวทางการแก้ปัญหา ตามหลักการมีส่วน ร่วม การสัมมนาเป็นการประชุมกลุ่มประเภทหนึ่ง ที่ต้องอาศัยกลุ่มเป็นหลักโดยทั ่วไปผู้ที่จะเข้า สัมมนาจะต้องเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในเรื ่องนั้น ๆ มาประชุมเพื่อศึกษาปัญหา วิเคราะห์ สรุป และ หา แนวทางแก้ปัญหาร่วมกันตามหลักการของประชาธิปไตย ส่วนการสัมมนาตามหลักสูตร ในวงการ ศึกษา ได้ จัดวิชานี้ให้นักศึกษาขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมาย ให้นักศึกษารู้จักศึกษาค้นคว้าเนื้อหาสาระและ ข้อมูลเอกสารจาก แหล ่งต่าง ๆ คัดเลือกรวบรวมเรียบเรียง วิเคราะห์วิจารณ์ข้อมูลที ่เกี ่ยวข้องกับเรื ่อง ที ่นักศึกษาสนใจ สามารถเขียนรายงานเป็นผลงานทางวิชาการตามรูปแบบสากลนิยม และนำผลเป็นการรายงานในเรื่องที่ได้ ศึกษาค้นคว้า ความหมายของการสัมมนา การสัมมนา หมายถึงการที่กลุ่มบุคคลได้ร่วมใจพยายามแสวงหาความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้ว พยายามแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดที่แต่ละคนแต่ละกลุ่มศึกษามาเพื่อหาแนวทางหาข้อสรุปในเรื่องนั้น ๆ ทำให้ผู้ร่วมสัมมนาสามารถใช้ความรู้จากการสัมมนาไปปฏิบัติหน้าที่ของตนอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิด ประโยชน์ต่อส่วนรวมให้มากที่สุด เทคนิคการหล่อหลอมแนวความคิดในรูปของการประชุมกลุ่ม ร่วมคิดหา แนวทางจากการหารือและแนวคิดตามหลักการมีส่วนร่วม ในการวิเคราะห์ปัญหา ซึ่งได้มีนักวิชาการได้ให้ ความหมาย ดังต่อไปนี้ การสัมมนามีความหมายหลากหลายรูปแบบซึ่งเกี่ยวข้องกับความรู้ความสนใจในเรื่องเดียวกัน เพื่อร่วมกันแก้ปัญหาบนพื้นฐานของหลักการความรู้ โดยมีผู้เชี่ยวชาญเป็นวิทยากรให้คำแนะนำ นอกจากนี้ การสัมมนายังเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการสอนในมหาวิทยาลัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้มีการค้นคว้าหาองค์ ความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ (อำไพ สุจริตกุล, 2518 และจิตต์นิภา ศรีไสย์, 2523) นอกจากนี้สมคิด แก้ว สนธิ และสนันท์ ปัทมาคม (2524) ได้กล่าวไว้ว่า การสัมมนาเป็นการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดผ่านการ ระดมสมอง ให้ความเหมาะกับผู้เข้าร ่วมสัมมนาโดยมีผู้ดำเนินรายการอำนวยความสะดวกให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงตามเป้าหมายของการสัมมนา (ไพโรจน์ เนียมนาค, 2544) สอดคล้องกับนิรันดร์ จุลทรัพย์. (2550) ความสำคัญของการสัมมนา การสัมมนาเป็นกระบวนการเรียนรู้หรือแก้ไขปัญหา โดยอาศัยกระบวนการกลุ ่ม (Group Process) มีจุดมุ่งหมายเพื่อการแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็น และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ในระหว่าง ผู้เข้าร่วมสัมมนาและนำผลที่ได้จากการสัมมนามาใช้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา รวมถึงการสร้างองค์ ความรู้ใหม่ การสัมมนามีบทบาทสำคัญต่อองค์กรในกระบวนการพัฒนาบุคลากรและพัฒนาทรัพยากรของ หน่วยงาน เพื่อให้มีการบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ การสัมมนาถูกนำมาใช้ในการประมวลองค์ความรู้


3 แนวคิด และประสบการณ์ โดยการประชุมพบปะพูดคุย บรรยาย ซักถาม อภิปราย ระดมความคิดเห็น ทั้ง วิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญ และผู้ร่วมการสัมมนาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ซึ่งกันและกัน เพื่อเป็น หนทางของการหาข้อสรุปอันเป็นองค์ความรู้ใหม่ ที่จะใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรและทรัพยากร อื ่น ๆ โดยผ ่านการระดมความคิดร ่วมกันเพื ่อหาข้อสรุปที ่ดีที ่สุดซึ ่งแต ่ละประเด็นของการสัมมนามี กระบวนการแลกเปลี ่ยนที ่หลากหลาย เช ่น การประชุมหารือการแสดงความคิดเห็นซึ ่งการสัมมนามี ความสำคัญ ดังนี้ การสัมมนาเป็นการประชุมเพื่อแสวงหาแนวทางในการปฏิบัติงาน การตัดสินใจและการแก้ไข ปัญหา ในการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ นอกจากนี้การประชุมสัมมนายังเป็นการแสวงหาแนวทางสำหรับการ ตัดสินใจและเพื่อหาข้อสรุปที่เป็นที่ยอมรับโดยส่วนรวมจึงเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะทำให้คนในองค์กรมีความ เข้าใจตรงกันลดความขัดแย้ง และสามารถนำพาองค์กรสู ่เป้าหมายที ่กำหนดไว้(เกษกานดา สุภาพจน์, 2549, ปาน กิมปีและกรรณิการ์ แย้มเกสร, 2545) ทั้งนี้การสัมมนาจำเป็นต้องมีกระบวนการปรึกษาหารือ ซึ ่งเป็นกลไกสำคัญต่อการกำหนดนโยบายการลงมติการริเริ่มสร้างสรรค์การวิเคราะห์การวิจัย และการ แก้ปัญหาต่าง ๆ เราจึงต้องใช้การประชุมให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาองค์กร (สมคิด บางโม, 2551 และสมิตร สัชฌุกร, 2552) จากการศึกษาความสำคัญของการสัมมนาข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า การสัมมนามีความสำคัญ ต่อการแลกเปลี่ยนแนวคิดร่วมกัน เพื่อนำไปสู่กระบวนการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพผ่านการกำหนดข้อสรุป ที่เชื่อมโยงในการกำหนดนโยบาย และแก้ปัญหาต่าง ๆ ภายใต้กลไกของการสัมมนา ประโยชน์ของการสัมมนา การสัมมนาเป็นการเปิดโอกาสให้คนได้มีการแลกเปลี่ยน พบปะ พูดคุย ปรึกษาหารือร่วมกัน ภายใต้กระบวนการระดมความคิดร่วมกันอันเป็นผลประโยชน์ในการกำหนดเป้าหมายและการแก้ไขปัญหา ต่าง ๆ ซึ่งสามารถสรุปประโยชน์การสัมมนาได้ วัตถุประสงค์ของการสัมมนา 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพ ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์ของผู้เข้าร่วม ผู้นำเสนอ โครงร่างการศึกษาอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้จัดสัมมนา ผ่านกระบวนการเรียนรู้ในการจัด สัมมนา 2. เพื่อเป็นประโยชน์หรือแนวทางให้กับผู้เข้าร่วมสัมมนาที่ต้องการศึกษาในการวิจัย องค์ประกอบของการสัมมนา การสัมมนาเป็นวิธีการประชุมและการสอนรูปแบบหนึ ่งที ่มีกลุ ่มบุคคลมาร ่วมแสดงความ คิดเห็น โดยใช้หลักการ เหตุผล ประสบการณ์ และความรู้ต่าง ๆ นำมาเสนอแนะแลกเปลี่ยนเพิ่มพูน หาประ ประโยชน์ร่วมกันในการแก้ปัญหานั้น ๆ ให้สำเร็จลุล่วงด้วยดี หรือนำแนวทางที ่ได้รับจากการสัมมนาไป ประยุกต์ใช้ในบริบทต่าง ๆ ซึ่งมีองค์ประกอบสำคัญ 5 ด้าน ดังนี้ 1.องค์ประกอบด้านเนื้อหา มีความสำคัญที่สะท้อนให้เห็นถึงสาระของแก่นเรื่องประกอบกับ การจัดลำดับก่อนหลังอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้ 1.1 ชื่อเรื่อง หรือชื่อโครงการควรเป็นเรื่องที่ต้องการศึกษาและเป็นเรื่องที่ถนัด มีความทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันสามารถกำหนดปัญหา รวมถึงการหาแนวทางการแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็น ระบบ และต้องมีความกระชับในเชิงของความหมาย


4 1.2 จุดมุ ่งหมายของการจัดสัมมนา โดยปกติแล้วการจัดสัมมนาเพื ่อเป็นการฝึกผู้เข้าร ่วม สัมมนาหรือนักศึกษา เพื่อให้ได้เกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อศึกษาและสำรวจประเด็นปัญหา ที่อยู่ในความสนใจ โดยใช้วิธีการหรือแนวทางการแก้ปัญหาเรื่องใดเรื่องหนึ่งด้วยกระบวนการแลกเปลี่ยน เรียนรู้เพื่อสรุปผลในเรื่องดังกล่าว 1.3 กำหนดการสัมมนานับว่าเป็นเรื่องที่จำเป็นประการหนึ่งที่ผู้จัดสัมมนาควรมีการวางแผน กำหนดและจัดทำอย่างเป็นระบบ ทั้งนี้การกำหนดช่วงเวลาของการสัมมนาจำเป็นต้องระบุหัวข้อที่ชัดเจน รวมถึงกลุ่มบุคคลผู้ดำเนินการรับผิดชอบ อีกทั้งต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับวัน เดือน ปีที่จัดสัมมนาและสถานที่จัด สัมมนา 1.4 ผลจากการสัมมนา เป็นสิ่งที่ผู้จัดสัมมนาได้คาดหวังให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รับประโยชน์ ทั้ง เชิงปริมาณ เช่น การสัมมนามีผู้เข้าร่วม จำนวน 70 คน และประโยชน์ในเชิงคุณภาพ เช่น ผู้เข้าร่วมสัมมนา ได้รับความรู้และสามารถนำความรู้สู่การประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 2.องค์ประกอบด้านบุคลากร มีความเกี ่ยวข้องกับกระบวนการในการจัดสัมมนาแต ่ละ ครั้ง ประกอบไปด้วยบุคลากรฝ่ายต่าง ๆ ดังนี้ 2.1 บุคลากรฝ่ายจัดสัมมนา หรือคณะกรรมการจัดสัมมนามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน การสัมมนาให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที ่ตั้งไว้ซึ ่งสามารถแบ ่งบทบาทหน้าที ่สำคัญเป็นฝ่ายต่าง ๆ ได้แก่ ประธาน รองประธาน เลขานุการ ฝ่ายทะเบียน ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายสารสนเทศ ฝ่ายประสานงาน ฝ่ายพิธีกร ฝ่ายเหรัญญิก และฝ่ายประเมินผล ทั้งนี้คณะกรรมการแต่ละฝ่ายที่กำหนดขึ้นมีการประสานงานเพื่อให้เกิด การทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ 2.2 วิทยากร คือ บุคคลที ่ทำหน้าที ่เป็นผู้บรรยาย ผู้นำอภิปราย และเป็นผู้ถ ่ายทอด ความรู้ประสบการณ์โดยนำเสนอผ ่านสื ่อต ่าง ๆ เพื ่อให้ผู้เข้าร ่วมสัมมนาเกิดกระบวนการเรียนรู้ ผ่าน ประสบการณ์อย่างเป็นระบบ โดยอาศัยความรู้ความสามารถ รวมถึงความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เป็นตัว แปรสำคัญในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันผ่านหารสัมมนา 2.3 ผู้เข้าร ่วมสัมมนา คือ บุคคลที ่มีความสนใจใฝ ่รู้หรือเป็นผู้ประสบปัญหา รวมถึง ผู้ที่ ต้องการแสวงหาแนวความคิดใหม ่ๆ หรือมีความมุ ่งหมายต้องการแลกเปลี ่ยนเรียนรู้ซึ ่งกันและกัน โดย ผู้เข้าร่วมสัมมนาส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีพื้นฐานด้านความรู้และมีประเด็นปัญหาที่สนใจคล้ายคลึงกัน 3.องค์ประกอบด้านสถานที่สถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้สัมมนาควรมีดังนี้ 3.1 ห้องประชุมใหญ่ หมายถึงห้องประชุมขนาดใหญ่ที่ใช้ในการสัมมนากำหนดที่นั่ง สามารถ บรรจุผู้เข้าร่วมสัมมนาได้จำนวนมาก ควรระบุสถานที่ตั้งและการเดินทางเข้าถึงสถานที่จัดสัมมนา 3.2 ห้องประชุมขนาดกลางหรือขนาดเล็กอาจต้องมีมากกว ่าหนึ ่งห้องควรอยู ่ในพื้นที่ใกล้ กัน หรือบริเวณเดียวกันกับห้องประชุมใหญ่ ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการร่วมกิจกรรมหรือประสานงาน หาก มีปัญหาและเพื่อความสะดวกในการเดินทางมายังห้องประชุมใหญ่ 3.3 ห้องรับรอง เป็นห้องที่ใช้สำหรับรับรองวิทยากร แขกพิเศษเพื่อให้พักผ่อนหรือเตรียม ตัว ก่อนการสัมมนา แต่หากสถานที่มีพื้นที่จำกัดอาจใช้ส่วนหน้าของห้องประชุมจัดวางโต๊ะรับแขกสามารถ ใช้ประโยชน์บนพื้นที่ดังกล่าว 3.4 ห้องรับประทานอาหารว ่างมุมพักผ ่อนนอกห้องหรือหน้าห้องประชุม เป็นพื้นที ่จัดไว้ สำหรับให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้มาพักรวมทั้งเป็นจุดพักรับประทานอาหารว่าง 3.5 อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ได้แก่ ชุดไมโครโฟน เครื่องฉายภาพ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ไฟฟ้าเกี่ยวกับเครื่องเสียง สี แสง และอื่น ๆ


5 3.6 ห้องรับประทานอาหารเป็นห้องที่อำนวยความสะดวกที่จัดไว้สำหรับให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้ ร่วมรับประทานอาหารอาจเป็นทั้งห้องรับประทานอาหารเช้า กลางวัน และอาหารเย็นในพื้นที่เดียวกัน 3.7 อุปกรณ์เครื่องมือประเภทเครื่องพิมพ์และวัสดุอื่นที่จำเป็นในการจัดทำเอกสารประกอบ คำบรรยายเอกสารสรุปการจัดสัมมนา ตลอดจนเอกสารและแบบฟอร์มอื่น ๆ ที่ใช้ในการสัมมนา 3.8 อุปกรณ์ด้านเครื่องใช้สำนักงานที่มีความจำเป็น ได้แก่ ดินสอ ปากกา ปากกาสำหรับเขียน กระดานไวท์บอร์ด น้ำยาลบคำผิด กระดาษถ่ายเอกสาร กระดาษใช้พิมพ์งาน เครื่องเขียนไม้บรรทัด คลิป เสียบ ป้ายชื่อ STAFF โดยอุปกรณ์เหล่านี้จัดเตรียมให้พร้อมที่จะใช้งานได้ทันทีที่ต้องการ 4.องค์ประกอบด้านเวลา การกำหนดเวลาสำหรับการสัมมนา เป็นองค์ประกอบที ่สำคัญ ประการหนึ ่งผู้จัดการสัมมนาควรวางแผนให้ดีว ่าควรจะใช้วันใดเวลาใดดำเนินการจัดการสัมมนาจึงจะ เหมาะสมเพื่อให้เกิดความสะดวกแก่ทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นผู้จัดสัมมนาจะได้มีเวลาสำหรับการเตรียมการ วิทยากรและผู้เข้าร่วมสัมมนาสะดวกที่จะมาสัมมนาจึงควรคำนึงถึงในเรื่อง ดังต่อไปนี้ 4.1 ระยะเวลาสำหรับการเตรียมการผู้จัดสัมมนาควรวางแผนพร้อมกำหนดช่วงเวลาสำหรับ การปฏิบัติงานให้มีความชัดเจนในงานแต่ละประเภท เช่น การประชุมวางแผนจัดทำโครงการการวางแผน ศึกษาดูงานนอกสถานที่เพื่อประกอบการสัมมนาวางแผนเกี่ยวกับวิทยากรการจัดสถานที่งบประมาณและ การวางแผนการประเมินผล ทั้งนี้ผู้จัดทำสัมมนาจึงควรวางแผนไว้อย ่างรอบคอบเพื ่อสามารถคาดคะเน สถานการณ์ให้พร้อมรับมือสำหรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้น 4.2 การเชิญวิทยากรเป็นเรื ่องสำคัญที ่ผู้จัดสัมมนาควรมีการวางแผนให้พร้อมเนื ่องจาก วิทยากรบางท่านเป็นผู้ที่มีชื่อเสียงและมักมีข้อจำกัดด้านเวลา ดังนั้นควรมีการประสานงานล่วงหน้าเพื่อให้ ตรงกับวันที่วิทยากรสะดวกและในกรณีเกิดความผิดพลาดที่วิทยากรไม่สามารถเข้าร่วมได้ ผู้จัดสัมมนาควร เปลี่ยนวิทยากรที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงแทนเพื่อให้สามารถขับเคลื่อนการจัดสัมมนาได้อย่างสมบูรณ์ 4.3 วัน เวลา ที่ใช้สำหรับการจัดสัมมนาขึ้นอยู่กับขอบเขตกว้างมากน้อยเพียงใด อาจเพียงวัน เดียวบางเรื่องอาจใช้เวลามากกว่านั้นขึ้นอยู่กับจำเป็น ทั้งนี้บางเรื่องอาจต้องมีกิจกรรมเสริม เช่น การศึกษา ดูงานเพื่อประกอบการสัมมนาแต่หากใช้เวลามากเกินไปอาจส่งผลทำให้บรรยากาศของการสัมมนาน่าเบื่อ หรืออาจต้องใช้งบประมาณเพิ่มขึ้นโดยใช่เหตุ ดังนั้นในการกำหนดวันเวลาในจัดการสัมมนาที่ชัดเจนส่งผล ต่อการจัดเตรียมงานได้อย่างเหมาะสมภายใต้เงื่อนไขของการเปลี่ยนแปลงที่สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา 5.องค์ประกอบด้านงบประมาณการดำเนินงานจัดสัมมนาย ่อยมีค ่าใช้จ ่ายเกี ่ยวกับการ ดำเนินงานค่อนข้างมาก คณะผู้ดำเนินงานจัดทำสัมมนาต้องวางแผนงานด้านค่าใช้จ่ายอย่างรอบคอบ เพื่อให้ งบประมาณค่าใช้จ่ายอยู่บนพื้นฐานความเป็นจริงและเหมาะสมซึ่งมีรายละเอียดสำคัญ ดังนี้ 5.1 จัดประมาณการค่าใช้จ่ายแต่ละฝ่ายที่ทำหน้าที่รับผิดชอบงาน จัดประมาณการค่าใช้จ่ายที่ ต้องใช้จ่ายทั้งหมดของฝ่ายตนเองออกมาในรูปของบัญชีค่าใช้จ่าย นำเสนอฝ่ายเหรัญญิกและที่ประชุม เพื่อ พิจารณาถึงความเหมาะสมสำหรับค่าใช้จ่ายแต่ละรายการของแต่ละฝ่ายก่อน โดยให้มีรายละเอียดให้มาก ที่สุดเพื่อป้องกันความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น 5.2 ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องจัดซื้อ ควรมีรายการราคากลาง เพื่อลดความผิดพลาดในการประมาณค่าใช้จ่ายโดยการวางแผนค่าใช้จ่ายอย่างรอบคอบ 5.3 จัดทำงบประมาณรวมการวางแผนเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายของแต่ละฝ่ายเห็นชอบจากที่ประชุม จากนั้นจัดทำงบประมาณรวมทั้งโครงการ จากนั้นเสนอผู้รับผิดชอบหรือเสนอฝ่ายบริหาร เพื่ออนุมัติรายการ งบประมาณตามแผนที่แต่ละฝ่ายที่ได้รับผิดชอบ จากการศึกษาองค์ประกอบของการสัมมนาข้างต้นสามารถ สรุปได้ว่า องค์ประกอบของการจัดสัมมนามี5 ด้าน ประกอบด้วย ด้านเนื้อหา ด้านบุคลากร ด้านสถานที่


6 และด้านเวลาล้วนมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการบรรลุเป้าหมายตามกรอบของการจัดสัมมนา (ผล ยาวิชัย , 2553 และเกษกานดา สุภาพพจน์, 2549) รูปแบบของการจัดสัมมนา การสัมมนาแต่ละครั้งมีกิจกรรมที ่ใช้ในขณะสัมมนาหลายกิจกรรม เช ่น การอภิปรายการ ประชุมกลุ่มย่อย และเทคนิคการประชุมแบบต่างๆ สามารถเลือกใช้เป็นแนวทางในการสัมมนาตามความ เหมาะสมของรูปแบบและสถานการณ์นั้น ๆ เทคนิคและวิธีการต่าง ๆ ในการสัมมนามีดังนี้ การอภิปราย การที่บุคคลกลุ่มหนึ่งมีเจตนา จะพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่งปรึกษาหารือกัน ออก ความคิดเห็นเพื่อแก้ปัญหาที่มีอยู่ หรือเพื่อเป็น การแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็น ถ่ายทอดประสบการณ์ที่ ได้รับให้ได้ทราบซึ่งในที่สุดก็มีการ ตัดสินตกลงใจร่วมกัน(สมพงศ์ เกษมสิน, 2519) ทั้งนี้การจัดสัมมนาสามารถจัดกลุ ่มหรือลักษณะกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ประกอบไป ด้วย 1) การ สัมมนากลุ่ม (Group Seminar) เป็นการสัมมนาที่ใช้คนไม่จำกัดจำนวนทั้งผู้พูดและผู้ฟัง โดยการจัดสัมมนา รูปแบบนี้มักใช้ในวงการศึกษาหรือหน ่วยราชการโดยทั ่วไป 2) การจัดสัมมนา ในที่ชุมชน (Community Seminar) เป็นการจัดสัมมนาที่ประกอบด้วย บุคคล 2 ฝ่าย ได้แก่ ผู้สัมมนา เป็นผู้พูดและผู้ฟังอีกฝ่ายหนึ่ง เมื่อการสัมมนายุติลงจะมีการเปิดให้ซักถาม (Forum-period) การสัมมนาลักษณะดังกล่าวมีประโยชน์มาก ที่สุดในการให้ความรู้ความคิด ประสบการณ์ ข้อเท็จจริง และเป็นการแก้ปัญหาสังคมโดยส่วนรวม 3) การจัด สัมมนาแบบโต้วาที (Debate Seminar) เป็นการสัมมนาแบบโต้แย้งกันอย่างมีเหตุผล โดยมีฝ่ายผู้เสนอ และ ฝ่ายผู้ค้านที่ใช้วิธีการหาเหตุผลมา หักล้างความคิดซึ่งกัน ทั้งนี้มีประธานเป็นผู้ดำเนินรายการโต้วาที ซึ่ง วิธีการนี้ใช้สำหรับการหาข้อมูล หรือนโยบายที่ต้องการเลือกสิ่งหนึ่งสิ่งใดไปปฏิบัติและยังตกลงกันไม่ได้ผ่าน วิธีการอภิปรายในการประชุม 4) การอภิปรายแบบพาเนล (Panel Discussion) เป็นการอภิปรายที่มีสมาชิก จำนวน 3-8 คน โดยมีผู้พูดเป็นผู้ที่ศึกษาหาความรู้ ค้นคว้าหลักฐานข้อเท็จจริงมาพูดต่อหน้าผู้ฟัง เป็นการ สนทนา อย ่างเป็นกันเอง โดยมีผู้ดำเนินการเป็นผู้เชิญให้ผู้สัมมนาแสดงความรู้ ความคิด และให้ ข้อเสนอแนะ สำหรับตอนท้ายของการจัดสัมมนา 5) การสัมมนาแบบซิมโปเซียม (Symposium Discussion) เป็นการจัดสัมมนาทางวิชาการเพื่อแลกเปลี ่ยนความรู้โดยผู้เข้าร่วมสัมมนา มีลักษณะของ ความ ชำนาญการด้านใดด้านหนึ่งและเตรียมข้อมูล ความรู้หรือข้อเท็จจริง ส่วนผู้ดำเนินการอภิปรายจะมี หน้าที่เชื่อมโยงในเรื่องต่าง ๆ ตลอดระยะเวลาของการอภิปราย หน่วยงานที่ใช้การสัมมนา รูปแบบนี้ ได้แก่ หน่วยงานทางการศึกษา แพทย์ ทหาร และธุรกิจ ทั้งนี้การจัดสัมมนาแบบซิมโปเซียม มีลักษณะคล้ายการ สัมมนาเชิงบรรยาย โดยใช้ระยะเวลาประมาณคนละ 10-15 นาทีและ 6) การจัดสัมมนาแบบปุจฉา-วิสัชนา (Colloquy) เป็นลักษณะของการโต้ปัญหาระหว่างกลุ่มวิทยากร กลุ่มผู้พูด และผู้ฟังโดยสามารถซักถาม วิทยากรได้อย่างใกล้ชิด ซึ่งเป็นการแก้ไขข้อข้องใจระหว่างกลุ่มคนทั้งสองกลุ่มได้เป็นอย่างดี จุดมุ่งหมายของการจัดสัมมนา เพื่อเป็นการฝึกความกล้าแสดงออกในการแสดงความคิดเห็นมีการแลกเปลี่ยนต่อกันทั้งกับผู้ นำเสนอ ผู้เข้าร่วม และคณาจารย์โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อหาข้อเท็จจริง นำความรู้หรือข้อคิดเห็นมาปรับแก้ ปัญหาที่พบเจอ เทคนิคการจัดสัมมนา 1.การบรรยาย (Lecture of Speech) เป็นวิธีการที่นิยมใช้กันมานานเนื่องด้วยการจัดสัมมนา รูปแบบการบรรยายสามารถดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว โดยใช้ผู้ทรงคุณวุฒิเพียงรายเดียวในการจัดสัมมนา


7 ซึ่งเป็นเทคนิคที่น่าเบื่อสำหรับผู้เข้าร่วมสัมมนา โดยที่ไม่มีโอกาสได้ร่วมในการบรรยาย ทั้งนี้จุดอ่อนไม่ได้อยู่ ที่วิธีการแต่อยู่ที่ผู้บรรยายสามารถถ่ายทอดและสร้างความสนใจแก่ผู้เข้าร่วมสัมมนา 2.การอบรมระยะสั้น (Short Courses) เป็นการฝึกอบรมหรือการเรียนบางวิชาอย ่าง เร่งรัด ภายในระยะเวลา 1 วันถึง 2 สัปดาห์ซึ่งการเรียนเป็นแบบง่าย ๆ การเรียนระยะสั้นเป็นการเรียนรู้ เพิ่มเติมเฉพาะสาขาวิชาของคนบางกลุ่มที่ทำงานในสาขานั้น ๆ เป็นประจำ 3.การปฐมนิเทศ (Orientation Training) เป็นการให้ความรู้แก่สมาชิกใหม่เกี่ยวกับเรื่องราว ของหน่วยงานเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานนโยบายวัตถุประสงค์สภาพแวดล้อมหรือระเบียบข้อบังคับ ของหน่วยงานลักษณะคล้ายกับการจัดอบรมสัมมนาโดยมีวิทยากรบรรยายแนะนำให้ความรู้ต่าง ๆ 4.การสาธิต ( Demonstration) เป็นการแสดงหรือการนำของจริงมาแสดงวิธีการให้ได้เห็น การปฏิบัติจริงเหมาะกับงานกลุ่มเล็ก ๆ นิยมใช้กับหัวข้อวิชาที่มีการปฏิบัติเช่น การอบรมเกี่ยวกับการใช้ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ 5.สถานการณ์จำลอง (Simulation) เป็นการจำลองสถานการณ์ในชีวิตจริงโดยจัดสถานการณ์ ขึ้นแล้วกำหนดบทบาทของสมาชิกให้ทำตามบทที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งสมาชิกทั้งกลุ่มต้องร่วมกันเล ่นหรือ แบ่งเป็นกลุ่มเล็ก ๆ หลายกลุ่มจากนั้นมีการอภิปรายสถานการณ์และเหตุการณ์เพื่อนำผลไปใช้ประโยชน์ 6.การแบ่งกลุ่มเล็ก (Knee Group) เป็นการอภิปรายกลุ่มย่อยตั้งแต่ 3-5 คน ในเรื่องใด ๆ ที่ กำหนดให้หรือเรื่องที่สนใจร่วมกัน เพื่อสรุปผล แนวทางการแก้ปัญหา แสวงหาข้อยุติภายใต้การนำของ ประธานกลุ่ม มีเลขาเป็นผู้บันทึกและสรุปข้อเสนอแนะ ลักษณะการสัมมนาที่ดี 1. ผู้เข้าร่วมสัมมนาทราบวัตถุประสงค์ของการสัมมนา 2. จัดให้มีกิจกรรมในการการแก้ปัญหาร่วมกัน 3. จัดให้มีกิจกรรมในการเรียนรู้ร่วมกัน 4. จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็น และข้อเท็จจริงร่วมกัน 5. ผู้เข้าร่วมสัมมนามีทัศนคติที่ดีต่อปัญหา ข้อเท็จจริงผู้เข้าร่วมสัมมนาและตนเอง 6. ผู้เข้าร่วมสัมมนาต้องใช้ความคิดร่วมกันในการแก้ปัญหามีผู้นำที่ดี 7. ผู้เข้าร่วมสัมมนาเป็นผู้ฟังที่ดี 8. ผู้เข้าร่วมสัมมนาเป็นผู้พูดที่ดี 9. ผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกคนเป็นผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในการดำเนินการประชุมสัมมนา เพื่อให้ งานสัมมนาบรรลุเป้าหมาย


8 บทที่ 2 โครงสร้างและบทบาทหน้าที่


9โครงสร้างหน้าที่ นายฮาซัน อุมา ประธาน ประธาน ป นายอารีซัน เปาะซา รองประธาน รอง ป มารียัม เจ๊ะแม เลขานุการ ฮูดัยยะห์ รอนิง เหรัญญิก ศิรวิทย์ ชูเย็น สารสนเทศ ณัฐนนท์ นวลแก้ว สารสนเทศ รอง ป นูรีซัล ดอเล๊าะ วิชาการ รอง ป ไนยชน ด าจ านงค์ สถานที่/ประสาน รอง ป วิจิตรา ติระนนท์ พิธีกร ฟาดา ปรีพันธ์ พิธีกร รอง อัฉราภรณ์ สะอาด ทะเบียน/ประเมิน ปิยณัฐ หัดสหมัด ทะเบียน/ประเมิน ยูนีตา กามู ประชาสัมพันธ์ ป จุฑาทิพย์ เทพพรหม ประชาสัมพันธ์ รอง สามีย์รา เปาะจิ สวัสดิการ ป นาดาร์ หมัดด ารง สวัสดิการ อัยนุรอาซีกีน ฮามะ วิชาการ รอง ป ดารนุช แก้วมณี วิชาการ รอง ป ดร.ธันยากร ตุดเกื้อ อาจารย์ที่ปรึกษา ดร. สุไลมาน หะโมะ อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. จิรัชยา เจียวก๊ก อาจารย์ที่ปรึกษา สวัสดิ์ ไหลภาภรณ์ อาจารย์ที่ปรึกษา ประธาน ป อาจารย์อับดุลคอลิก อัรรอฮีมีย์ อาจารย์ที่ปรึกษา


10 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของประธาน นายฮาซัน อุมา หมายเลขโทรศัพท์: 065-4197410 รับผิดชอบตำแหน่งประธาน หลักการและเหตุผล ประธานโครงการสัมมนา นับเป็นตัวแปรสำคัญของกลุ ่มในการขับเคลื ่อนการจัดสัมมนา ประธานเปรียบเสมือนโค้ชที่จะต้องผสานกลุ่ม ควบคุมดูแล ขับเคลื่อนกลุ่มให้มีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ในการปฏิบัติงานเพื่อมุ่งไปสู่วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ร่วมกัน เนื่องด้วยการด าเนินงานต่าง ๆ จะต้องมีผู้น าในการ ด าเนินงานเพื่อท าหน้าที่ขับเคลื่อนการจัดงานสัมมนา ควบคุม ติดตาม ประสานงานร่วมกับ ทุกฝ่าย วางแผน ด าเนินการจัดท าโครงการร่วมกับฝ่ายต่าง ๆ ให้ค าปรึกษาช่วยเหลือ และสนับสนุน ทุกฝ่าย วิเคราะห์ปัญหา หาแนวทางแก้ไขตัดสินปัญหา ด าเนินการจัดประชุมฝ่ายต่าง ๆ และคุณสมบัติอีกอย่างเพราะฉะนั้นผู้น า จะต้องวางตัวเป็นกลาง เปิดโอกาสให้ผู้อื่นมีส่วนร่วมแสดง ความคิดเห็นในการวางแผนงานใช้มนุษยสัมพันธ์ ที่ดีระหว่างผู้น ากับผู้ตามมีความเป็นกันเองเพื่อกระตุ้น ผลักดันให้สมาชิกมีแรงจูงใจให้เต็มใจที่จะมีส่วนร่วม หรือมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพื่อการบรรลุเป้าหมายตามที่ตั้งไว้ของโครงการสัมมนา คุณสมบัติของประธาน 1.มีภาวะผู้นำในการทำงาน 2.มีแรงบันดาลใจให้กับผู้อื่น 3.มีเป้าหมายที่ชัดเจน 4.มีวิสัยทัศน์กว้างไกลและกล้าที่จะเปลี่ยนแปลง 5.พร้อมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมีภาวะการตัดสินใจที่ดี 6.พร้อมจะเป็นผู้ตามที่ดี 7.มีการสื่อสารที่ดีและมีประสิทธิภาพ 8.มีความยุติธรรม 9.มีภาวะผู้นำในการทำงาน 10.ตรงต่อเวลา มีวิจัยต่อตัวเองและผู้อื่น บทบาทและหน้าที่ของประธาน 1.คอยนัดสมาชิกเพื่อประชุมงาน 2.คอยแบ่งหน้าที่ให้กับสมาชิกโดยถามความคิดเห็นจากสมาชิก 3.คอยแบ่งงานให้กับสมาชิกแต่ละตำแหน่งที่ได้ 4.ต้องนัดประชุมบ่อยบ่อยเพื่อติดตามความคืบหน้าของงานที่มอบหมาย 5.คอยควบคุมการดำเนินงานของสมาชิก


11 ภาระงานหน้าที่ของประธานในการติดตามแต่ละฝ่าย ฝ่ายที่ รับผิดชอบ งานที่ได้รับมอบหมาย ความคืบหน้า หมายเหตุ สำเร็จ ไม่ สำเร็จ พิธีกร วิจิตรา/ฟาด้า -บทคำพูดประกอบงาน -ควบคุมหรือกำกับ รายงานภาคพิธีกรตาม กำหนด -จัดเตรียมของที่ระลึก ✓ สารสนเทศ ศิรวิทย์/ณัฐนนท์ -ออกแบบโลโก้ทีมผู้จัด และธีมนำเสนอ -จัดทำวิดีโอ ประชาสัมพันธ์ -โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ (ทำร่วมกับฝ่าย ประชาสัมพันธ์) -จัดทำวิดีโอแนะนำ -ควบคุมระบบ คอมพิวเตอร์และเครื่อง เสียงทั้งหมดในวันจัด สัมมนา -จัดทำป้ายตั้งโต๊ะสำหรับ ผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์ และผู้นำเสนอ ✓ ฝ่ายเหรัญญิก ฮูดัยยะห์ -วางแผน ควบคุมดูแล เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายต่าง ๆ -เก็บเงินสมาชิกภายใน กลุ่ม เก็บใบเสร็จค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ✓


12 -จัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายของทีม ทะเบียนและ ประเมิน อัฉราภรณ์/ ปิยณัฐ -ใบลงทะเบียนสำหรับ ผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์ ผู้นำเสนอ ผู้เข้าร่วม และ ผู้จัด-ข้อมูลช่องทางการ ติดต่อผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์-รวบรวมข้อมูลผู้เข้าร่วม สัมมนา-เอกสารประกอบการ สัมมนาของผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์-ใบประเมินผู้เข้าร่วม-สรุปผลการประเมินการ จัดสัมมนา-ยกร่างใบคะแนนสำหรับ ผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์ ในการพิจารณาผู้ นำเสนอ ✓ เลขานุการ มารียัม -เตรียมร่างใบโครงการ จัดสัมมนา-คำกล่าวประธาน โครงการ-คำกล่าวรายงานของ ประธานในพิธี-หนังสือเรียงเชิญ ประธานในพิธีเปิดการจัด สัมมนา-หนังสือเรียงเชิญ ผู้ทรงคุณวุฒิในการจัด สัมมนา ✓


13 ฝ่ายวิชาการ อัยนุรอาซีกีน/ ดารานุช/นูรีซัล -คู่มือการจัดสัมมนา-แฟ้มการสัมมนา และ หนังสือต่าง ๆ ที่ใช้ใน งานสัมมนา-รวบรวมไฟล์งานทั้งหมด-จัดเตรียมไฟล์ของผู้ นำเสนอให้พร้อมสำหรับ การแชร์ในวันสัมมนา (ประสานงานกับฝ่าย สารสนเทศ) -กำหนดการโครงการ สัมมนา ✓ ฝ่าย ประสานงาน/ สถานที่ ไนยชน -ติดต่อบุคลากรทั้ง ภายใน – ภายนอกและ หน่วยงานต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการจัด สัมมนา-รูปแบบห้องจัดสัมมนา-ติดต่อประธาน และ ผู้ทรงคุณวุฒิตาม กำหนดการในแผนการ ดำเนินงาน-ติดต่อเจ้าหน้าที่และ อุปกรณ์สารสนเทศที่ใช้ ในงานสัมมนาทั้งหมด ✓ ฝ่ายสวัสดิการ นาดาร์/ สามีย์ร่า -อาหารเบรกช่วงเช้า-เครื่องดื่ม-อาหารผู้ทรงคุณวุฒิ และคณาจารย์-อาหารเบรกช่วงบ่าย-เตรียมอุปกรณ์พยาบาล-อาหารว่าง ✓


14 ฝ่าย ประชาสัมพันธ์ ยูนีตา/ จุฑาทิพย์ -โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ (ทำร่วมกับฝ่าย สารสนเทศ) -ป้ายStaff -ประชาสัมพันธ์การ สัมมนา โดยผ่านโชเชียล มีเดีย ✓


15 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของรองประธาน นายอารีซัน เปาะซา หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ: 065-8766205 รับผิดชอบตำแหน่งรองประธาน หลักการและเหตุผล ต าแหน ่งรองประธานมีหน้าที ่ในการช ่วยเหลือ ท างานร ่วมกับประธาน และสามารถ ที ่จะ ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานในกรณีที่ประธานไม ่สามารถที ่จะปฏิบัติหน้าที่ได้ในสภาวะฉุกเฉินและควรมี คุณสมบัติการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดีนอกจากนี้ยังต้องปฏิบัติงานตามที่ประธานได้มอบหมาย หมายถึง จะต้องท าหน้าที่คู่กับประธาน แต่อยู่ในต าแหน่งผู้ช่วยประธานเว้นแต่ประธานมีภารกิจหรือไม่สามารถที่จะ ปฏิบัติหน้าที่ได้รองประธานท าหน้าที่ควบคุม ดูแลงานเบื้องหน้าและเบื้องหลังแทนประธานได้ทันทีเช่น การควบคุม ดูแล ติดตาม วางแผน ประสานงานร่วมกับฝ่ายต่าง ๆ ในการด าเนินจัดท าโครงการ รวมถึง ให้ ค าปรึกษา ช่วยเหลือ สนับสนุนแต่ละฝ่าย วิเคราะห์ปัญหา รวมถึงหาแนวทางแก้ไขประกอบ การตัดสินใจ ปัญหาและด าเนินการจัดประชุมคณะกรรมการแทนประธานได้เพื ่อให้การจัดสัมมนา ส าเร็จไปตาม เป้าหมายที่วางไวของโครงการสัมมนา คุณสมบัติของรองประธาน 1.มีภาวะผู้นำในการทำงาน 2.มีแรงบันดาลใจให้กับผู้อื่น 3.มีเป้าหมายที่ชัดเจน 4.มีวิสัยทัศน์กว้างไกลและกล้าที่จะเปลี่ยนแปลง 5.พร้อมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมีภาวะการตัดสินใจที่ดี 6.พร้อมจะเป็นผู้ตามที่ดี 7.มีการสื่อสารที่ดีและมีประสิทธิภาพ 8.มีความยุติธรรม 9.มีภาวะผู้นำในการทำงาน 10.ตรงต่อเวลา มีวิจัยต่อตัวเองและผู้อื่น บทบาทและหน้าที่ของรองประธาน 1.ทำหน้าที่แทนประธานในกรณีที่ ประธานลากิจ หรือติดธุระ 2.ติดตามตรวจสอบงานที่มอบหมายของแต่ละฝ่าย 3.ทำงานร่วมกับประธานในฐานะผู้ช่วย


16 ภาระงานหน้าที่ของรองประธานในการติดตาม ฝ่ายที่ รับผิดชอบ งานที่ได้รับมอบหมาย ความคืบหน้า หมายเหตุ สำเร็จ ไม่สำเร็จ สารสนเทศ -ออกแบบโลโก้ทีมผู้จัด และธีมนำเสนอ -จัดทำวิดีโอประชาสัมพันธ์ -โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ (ทำร่วมกับฝ่าย ประชาสัมพันธ์) -จัดทำวิดีโอแนะนำ -ควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ และเครื่องเสียงทั้งหมดในวัน จัดสัมมนา -จัดทำป้ายตั้งโต๊ะสำหรับ ผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์ และผู้นำเสนอ ✓ เลขานุการ -เตรียมร่างใบโครงการจัด สัมมนา -คำกล่าวประธานโครงการ -คำกล่าวรายงานของ ประธานในพิธี -หนังสือเรียงเชิญประธานใน พิธีเปิดการจัดสัมมนา -หนังสือเรียงเชิญ ผู้ทรงคุณวุฒิในการจัด สัมมนา ✓ ฝ่ายวิชาการ -คู่มือการจัดสัมมนา ✓


17 -แฟ้มการสัมมนา และ หนังสือต่าง ๆ ที่ใช้ในงาน สัมมนา -รวบรวมไฟล์งานทั้งหมด -จัดเตรียมไฟล์ของผู้นำเสนอ ให้พร้อมสำหรับการแชร์ใน วันสัมมนา (ประสานงานกับ ฝ่ายสารสนเทศ) -กำหนดการโครงการ สัมมนา ฝ่าย ประสานงาน/ สถานที่ -ติดต่อบุคลากรทั้งภายใน – ภายนอกและหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัด สัมมนา -รูปแบบห้องจัดสัมมนา -ติดต่อประธาน และ ผู้ทรงคุณวุฒิตามกำหนดการ ในแผนการดำเนินงาน -ติดต่อเจ้าหน้าที่และ อุปกรณ์สารสนเทศที่ใช้ใน งานสัมมนาทั้งหมด ✓ ฝ่ายสวัสดิการ -อาหารเบรกช่วงเช้า -เครื่องดื่ม -อาหารผู้ทรงคุณวุฒิ และ คณาจารย์ -อาหารเบรกช่วงบ่าย -เตรียมอุปกรณ์พยาบาล -อาหารว่าง ✓


18 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของเลขานุการ นางสาวมารียัม เจะแม หมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อ: 062-1816845 รับผิดชอบตำแหน่งเลขานุการ หลักการและเหตุผล เลขานุการ เปรียบเสมือนมือขวาหรือผู้ช่วยประธาน ซึ่งเป็นทั้งผู้ที่มีความรู้ความช านาญ ใน การท างานขององค์กร ถือเป็นผู้ที่มีบทบาทส าคัญอันเปรียบเสมือนฟันเฟืองส าคัญในการขับเคลื่อนองค์กรสู่ ความส าเร็จ เนื่องจากการด าเนินงานของเลขานุการมีลักษณะงานที่ต้องใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์ในการท างาน เพื่อให้เป็นที่ไว้วางใจของประธาน ในการจะด าเนินงานจึงจ าเป็นจะต้องมีทักษะเฉพาะด้าน ซึ่งจะน าไปสู่การ ปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย ดังนั้นผู้เป็นเลขานุการจึงจ าเป็นต้องมีบุคลิกภาพ ที่สอดคล้องกับลักษณะงาน เช ่น มีความคล ่องตัว มีระบบระเบียบ เป็นบุคคลที ่น่านับถือและไว้วางใจ ได้เป็นคนที ่รักและชอบงาน ส านักงาน ฉะนั้นเลขานุการถือมีบทบาทส าคัญในการแบ่งเบาภาระ ของประธาน ตั้งแต่การวางแผนงาน เบื้องต้นตลอดจน การมองภาพรวมของการท างานทั้งองค์กร ในการจัดกิจกรรมสัมมนา คุณสมบัติของเลขานุการ เลขานุการคือเป็นบุคคลที่ทำหน้าที่สำคัญเกี่ยวกับประชุมและสัมมนา และเปรียบเสมือนมือ ขวาของประธาน 1.เตรียมการประชุมเป็นระยะๆจนถึงสัมมนา 2.อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ร่วม 3.การออกหนังสือเชิญประชุม 4.เตรียมการจัดสัมมนา 5.เตรียมออกหนังสือประธานวิทยากรผู้ดำเนินรายการผู้เข้าร่วมสัมมนา 6.มีความรับผิดชอบสูงเนื่องจากตำแหน่งเลขานุการเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการทำงาน 7.คำกล่าวเปิดเตรียมร่างคำกล่าวเปิด-ปิดในการจัดสัมมนา บทบาทและหน้าที่ของเลขานุการ 1.การจัดการรายงานประชุมและสรุปประชุม 2. ค้นคว้าหาข้อมูล เพิ่มเติมเพื่อประกอบการตัดสินใจในการทำงาน 3. การจัดเก็บและดูแลเอกสาร 4.ร่างคำกล่าวเปิดพิธีและปิดพิธี 5.จัดทำบันทึกข้อความ


19 ตารางภาระงานของเลขานุการ ฝ่ายที่ รับผิดชอบ งานที่ได้รับมอบหมาย ความคืบหน้า เหตุผล สำเร็จ ไม่สำเร็จ เลขานุการ เตรียมร่างใบโครงการจัดสัมมนา ✓ คำกล่าวประธานโครงการ ✓ คำกล่าวรายงานของประธานในพิธี ✓ หนังสือเรียงเชิญประธานในพิธีเปิด การจัดสัมมนา ✓ หนังสือเรียงเชิญผู้ทรงคุณวุฒิในการ จัดสัมมนา ✓


20 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของเหรัญญิก นางสาวฮูดัยยะห์ รอนิง หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ: 064-9728419 รับผิดชอบตำแหน่งเหรัญญิก หลักการและเหตุผล เหรัญญิก เป็นบุคคลที ่ท าหน้าหน้าที ่ควบคุมดูแลเกี ่ยวกับการเงิน การบัญชีงบประมาณ ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ของแต่ละฝ่าย สามารถตรวจสอบเกี่ยวกับงบประมาณของแต่ละฝ่ายที่เสนอมา และเข้มงวด เกี่ยวกับการจ่ายเงินให้แก่ ฝ่ายต่าง ๆ ซึ่งจะต้องมีหลักฐานการรับและการจ่ายเงินอย่าง ชัดเจน สามารถตอบ ค าถามกับทุกฝ่ายได้รวมถึงต้องจัดท าบัญชีรายรับ รายจ่าย และงบประมาณ ให้เป็นที่เรียบร้อยเมื่อการจัด สัมมนาเสร็จสิ้น เนื่องจากการจัดสัมมนาต้องมีการจัดท าเอกสารประกอบ ในการจัดสัมมนา คุณสมบัติของเหรัญญิก บุคคลที ่มีหน้าที ่ควบคุมดูแลเกี ่ยวกับการเงินทำบัญชีงบประมาณรายรับรายจ ่ายงบดุล ตรวจสอบงบประมาณของแต่ละฝ่ายเข้มงวดเกี่ยวกับการจ่ายเงินเก็บหลักฐานการรับจ่ายเงินอย่างชัดเจน และสามารถตอบคำถามโดยอาศัยหลักฐานทางการบัญชีได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ บทบาทและหน้าที่เหรัญญิก 1.เตรียมเรื่องเกี่ยวกับงบประมาณและใบสำคัญทางการเงิน 2.จัดเตรียมของที่ระลึกสำหรับวิทยากร 3.จัดทำบัญชีเบิกจ่ายเงินและวัสดุตลอดสัมมนา 4.ติดต่อและประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ายต่างๆในเรื่องการเงินและวัสดุ 5.ให้คำปรึกษาในเรื่องการเงินและวัสดุแก่คณะกรรมการฝ่ายต่างๆ 6.จัดทำรายงานสรุปผลการใช้จ่ายเงินเสนอต่อประธานและที่ประชุมตลอดจนเก็บหลักฐาน ต่างๆ


21 ตารางการใช้งบประมาณ รายการ จำนวน ราคารวม (บาท) 1. ฝ่ายวิชาการ - ค่าเอกสารประกอบการสัมมนา เก็บจากทีมนำเสนอ ทีมผู้จัดออกให้ 8 ชุด 2082 630 - สไลด์นำเสนอ (เก็บจากทีมผู้นำเสนอ) 8 ชุด 288 - แฟ้มใส่เอกสาร (เก็บจากทีมผู้นำเสนอ) 4 แพ๊ค 320 - คู่มือการจัดสัมมนา 6 ชุด 366 - ใบกำหนดการ 30 แผ่น 30 2. ฝ่ายสวัสดิการ - ของที่ระลึก (ประธาน) 1 100 - กระดาษห่อของขวัญ 3 แผ่น 20 - กาแฟ 1 แพ๊ค 34 - ไมโล 1 แพ๊ค 90 - หลอด 1 แพ๊ค 20 - ข้าวเหนียวหน้าปู 70 ห่อ 560 - ขนมดู 350 ลูก 350 - ช้อน 1 แพ๊ค 10 - น้ำเปล่า 1 แพ๊ค (12ขวด) 69 - น้ำเปล่าเจาะ 2 ลัง 140 - ซองกระดาษน้ำตาล 1 แพ๊ค 110 - น้ำตาลทรายซอง 1 แพ๊ค 32 - ครีมเทียม 50 ซอง 50 - ทิชชู 1 แพ๊ค 45 - ไม้จิ้มฟัน 1 กระปุก 32 - ขนมเค้ก 3 กล่อง 150 - ค่าเงาะ 4 กก. 100


22 - น้ำตาลทราย 4 กก. 96 - ค่าลูกอม 4 แพ๊ค 72 - ใบเตย 4 กำ 30 - ถุงใส่น้ำหอม 5 ใบ 35 - แก้วน้ำพลาสติก 1 แถว 60 - ถ้วยกระดาษ 1 แพ๊ค 46 - ถุงขยะ 2 แพ๊ค 52 - แก้วน้ำ (ของที่ระลึกให้นักแสดง) 10 ใบ 300 3. ฝ่ายโสตทัศนอุปกรณ์ - บัตรStaff 27 อัน 270 4. ฝ่ายสารสนเทศ - สติ๊กเกอร์โลโก้ 1 แผ่น 55 5. ฝ่ายทะเบียนและประเมิน - ใบลงทะเบียน ผู้จัดสัมมนา ผู้เข้าร่วมสัมมนา ผู้นำเสนอ คณาจารย์ 23 แผ่น 30 - ป้ายชื่อคณาจารย์, ผู้นำเสนอ 14 แผ่น 28 - คิวอาร์โค้ดแบบประเมิน 15 แผ่น 15 - คิวอาร์โค้ดเอกสารผู้นำเสนอ 15 แผ่น 15 - สคริปต์พิธีกร 6 แผ่น 6 - คำกล่าวรายงานเปิด/ปิด 2 แผ่น 2 - ใบประเมินผู้นำเสนอ 8 ชุด 39 6. ฝ่ายประสานงานและสถานที่ - กระดาษลัง 16 กล่อง 30 - เทปเยื่อ 2 ม้วน 52


23 - สื่อการนำเสนอ (รูปภาพนิทรรศการ) 22 แผ่น 44 - เข็มหมุด 2 กล่อง 20 - กระดาษรูฟ 12 แผ่น 40 - กระดาษโพสต์อิท 4 แพ๊ค 65 - ถ่านไมค์ 4 ก้อน 60 - เอกสารบันทึกข้อความ 4 แผ่น 10 ค่าใช้จ่ายของแต่ฝ่าย จำนวนเงิน(บาท) 1.ฝ่ายวิชาการ 1,026 บาท 2.ฝ่ายสวัสดิการ 2,603 บาท 3.ฝ่ายโสตทัศนอุปกรณ์ 270 บาท 4.ฝ่ายสารสนเทศ 55 บาท 5.ฝ่ายทะเบียนและประเมิน 120 บาท 6.ฝ่ายประสานงานและสถานที่ 321 บาท รวมเงินที่ใช้ทั้งหมด 4,395 บาท เก็บเงินสมาชิกในกลุ่มจำนวน 18 คน คนละ 300 บาท = 5,400บาท ตารางภาระงานของเหรัญญิก ฝ่ายที่ รับผิดชอบ งานที่ได้รับมอบหมาย ความคืบหน้า หมายเหตุ สำเร็จ ไม่สำเร็จ เหรัญญิก ว าง แ ผ น ค ว บ ค ุ ม ด ู แ ล เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ✓ เก็บเงินสมาชิกภายในกลุ่ม ✓ เก็บใบเสร็จค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ✓ จัดทำบัญชีรายรับ-รายจ ่าย ของทีม ✓


24 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของฝ่ายพิธีกร นางสาวฟาดา ปรีพันธ์ หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ: 064-1706052 นางสาววิจิตรา ติระนนท์ หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ: 099-0237837 รับผิดชอบตำแหน่งฝ่ายพิธีกร กลักการและเหตุผล พิธีกรเป็นหนึ ่งในหัวใจของงานสัมมนางานต ่างๆ มีบทบาทส าคัญ เนื ่องจากพิธีกร คือ ผู้ด าเนินการในงานพิธีต่าง ๆ เป็นบุคคลที่ทำหน้าที ่ก ากับผู้น ากิจกรรมและคอยจัดในงานอยู่เสมอ สร้าง บรรยากาศภายในงานและมีหน้าที ่ควบคุมงานต ่างๆรวมถึงการแก้สถานการณ์เฉพาะหน้าได้ดีและ อ านวยการให้กิจกรรม รายการหรือพิธีการต่างๆ ด าเนินการเป็นไปตามกับแผนที่วางไว้รวมถึงเป็นผู้สร้าง และควบคุมบรรยากาศของภาคพิธีการ และเชื่อมโยงกับกิจกรรมภายในงานตั้งแต่ เริ่มจนเสร็จเรียบร้อยตาม วัตถุประสงค์และก าหนดการที่วางไว้โดยคำนึงถึงถึงการควบคุมดูแลสถานการณ์และการแก้ปัญหาเฉพาะ หน้าเพื่อให้องค์ประกอบโดยรวมของกิจกรรมสัมมนาออกมาอย่างสมบูรณ์ที่สุด บทบาทและหน้าที่ของฝ่ายพิธีกร 1.เป็นผู้ให้ข้อมูล ได้แก่กำหนดการ และรายละเอียดของรายการ 2.แนะนำวิทยากร และผู้ที่เกี่ยวข้อง 3.เป็นผู้เริ่ม คือ กล่าวทักทายและกล่าวต้อนรับ เชิญเข้าสู่พิธีการเชิญวิทยากรขึ้นพูด และ แนะนำประวัติของวิทยากร 4.เป็นผู้เชื่อมประสานเหตุการณ์ตามลำดับแต่ละรายการ 5.เป็นผู้แก้ปัญหาเฉพาะหน้าระหว่างดำเนินรายการในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลหรือมี สถานการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น เช่น ไมโครโฟนไม่ติด ไฟดับ ฯลฯ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น และบรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดงาน คุณสมบัติของฝ่ายพิธีกร 1.แต่งกายสุภาพและเหมาะสมกับพิธีการ 2.ไปถึงสถานที่จัดงานก่อนเวลาเริ่มงานประมาณ 1 ชั่วโมง เพื่อเตรียมตัว และสำรวจความ พร้อมของเวทีแสง สีเสียง และทดสอบไมโครโฟน ฯลฯ 3.ทำหน้าที่ให้สุดฝีมือ 4.ทำจิตใจให้แจ่มใส ควบคุมตนเองให้อยู่ในอาการสงบ ไม่ประหม่า 5.มีหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส มีการวางกริยา ท่าทาง และใช้สายตาต่อผู้ฟังได้อย่างเหมาะสม 6.มีการสรุปเนื้อหาที่วิทยากรพูดไว้ได้อย่างกระชับและชัดเจน 7.สื่อสารให้ผู้ฟังหรือผู้ร่วมกิจกรรมเข้าใจ และให้ความร่วมมือทำกิจกรรมได้เป็นอย่างดี


25 ตารางภาระงานของฝ่ายพิธีกร ฝ่ายที่ รับผิดชอบ งานที่ได้รับมอบหมาย ความคืบหน้า หมายเหตุ สำเร็จ ไม่สำเร็จ ฝ่ายพิธีกร บทคำพูดประกอบงาน ✓ ควบคุมหรือกำกับรายงาน ภาคพิธีกรตามกำหนด ✓ จัดเตรียมของที่ระลึก ✓


26 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของฝ่ายสารสนเทศ นายณัฐนนท์ นวลแก้ว หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ: 093-6040498 นายศิรวิทย์ ชูเย็น หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ: หลักการและเหตุผล ฝ่ายสารสนเทศท าหน้าที่ด าเนินงานเบื้องหน้าและเบื้องหลังงานสัมมนา โดยฝ่ายสารสนเทศ รับผิดชอบในส่วนของวิดีโอผู้จัดและวิดีโอธีมกิจกรรมที่เกิดขึ้นในวันจัดสัมมนา ประกอบไปด้วย 1) จัดท า วิดีโอผู้จัดและธีมน าเสนอ 2) ออกแบบร่างโปสเตอร์สัมมนา 3) บันทึกรูปภาพและวิดีโอ บรรยากาศในวัน สัมมนา เพื่อรวบรวมภาพกิจกรรม ตั้งแต่การเปิดงาน การน าเสนอ การแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นระหว ่าง คณะกรรมการและผู้น าเสนอ จนกระทั้งจบการสัมมนา ส่วนเบื้องหลังฝ่าย สารสนเทศมีหน้าที่รับผิดชอบ ออกแบบโลโก้ผู้จัด โลโก้ธีม และโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์รวมถึงสร้าง วิดีทัศน์เพื่อเชิญชวนลงทะเบียนเข้า ร่วมวันงานสัมมนาและหัวข้อในการสัมมนา บทบาทและหน้าที่ของฝ่ายสารสนเทศ 1.พัฒนาระบบงานและบุคลากรด้านสารสนเทศและการสื่อสาร 2.สนับสนุนเครื่องมือและอุปกรณ์สารสนเทศและการสื่อสารและให้บริการด้านการรับส่ง ข่าวสารการติดตั้งการตรวจซ่อม การบารุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์สารสนเทศและการสื่อสารแก ่ส ่วน ราชการต่าง ๆ และจังหวัด 3.กาหนดแนวทางและระเบียบในการจัดระบบการสารวจการจัดเก็บการประมวลผลการใช้ ประโยชน์และการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ และบริการสื่อสารของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง และ เป็นศูนย์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารของกระทรวง 4.ปฏิบัติงานร ่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที ่เกี่ยวข้องหรือที ่ได้รับ มอบหมาย คุณสมบัติของฝ่ายสารสนเทศ 1.สามารถใช้โปรแกรมได้หลากลาย 2.สามารถตัดต่อวิดีโอได้ 3.เข้าใจเครื่องเสียง เช่น ลำโพงไมค์โครโฟน 4.สามรถใช้คอมพิวเตอร์ในการดำเนินงาน เช่น ควบคุมสไลด์และสิ่งต่างๆที่ต้องใช้ในงาน สัมมนา 5.มีความคิดสร้างสรรค์ที่จะออกแบบกราฟฟิกต่างๆ


27 ตารางภาระงานของฝ่ายสารสนเทศ ฝ่ายที่ รับผิดชอบ งานที่ได้รับมอบหมาย ความคืบหน้า หมายเหตุ สำเร็จ ไม่สำเร็จ ฝ่าย สารสนเทศ ออกแบบโลโก้ทีมผู้จัด และธีมนำเสนอ ✓ จัดทำวิดีโอประชาสัมพันธ์ ✓ โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ (ทำร่วมกับฝ่าย ประชาสัมพันธ์) ✓ จัดทำวิดีโอแนะนำ ✓ ควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ และเครื่องเสียงทั้งหมดใน วันจัดสัมมนา ✓ จัดทำป้ายตั้งโต๊ะสำหรับ ผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์ และผู้นำเสนอ ✓


28 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของฝ่ายประชาสัมพันธ์ นางสาวยูนีตา กามู หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ: 064-8325278 นางสาวจุฑาทิพย์ เทพพรหม หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ: 063-0893316 รับผิดชอบตำแหน่งฝ่ายประชาสัมพันธ์ หลักการและเหตุผล การประชาสัมพันธ์เป็นหน ่วยงานที ่สำคัญ และมีความจำเป็นต่อ การจัดสัมมนา อย ่างยิ่ง เพราะฉะนั้นการบริหารควรตระหนัก และให้ความสำคัญกับงานประชาสัมพันธ์โดยมีการบริหารการจัดการ อย่างเต็มรูปแบบมีการจัดสรรงบประมาณอย่างชัดเจน งานประชาสัมพันธ์เป็นงานที่ต้องสร้างความสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ ให้การบริการข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง และชัดเจนรวมไปถึงความน่าสนใจของข้อมูลข่าวสาร ที ่จะสื ่อสารออกไปอันก ่อให้เกิดความเข้าใจที ่ตรงกัน การเผยแพร ่ข้อมูลข ่าวสาร โดยผ ่านสื ่อ เช่น หนังสือพิมพ์วิทยุสถาบัน และหน่วยงานต่างๆ เพื่อเป็นการสร้างความน่าเชื่อถือในสังคม และก่อให้เกิด ภาพลักษณ์ที่ดีของงานจัดสัมมนา บทบาทและหน้าที่ของฝ่ายประชาสัมพันธ์ หน้าที่ความรับผิดชอบของนักประชาสัมพันธ์- จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ภายนอก และภายใน - ศึกษานโยบาย เป้าหมาย และพันธกิจของหน่วยงาน เพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผน และดำเนินงาน - จัดทำสื่อที่เหมาะสม ประกอบข้อมูลที่ถูกต้อง และน่าสนใจเพื่อสร้างความน่าสนใจให้กับการประชาสัมพันธ์ คุณสมบัติของฝ่ายประชาสัมพันธ์ มีความรู้ภาษาอังกฤษดีมากทั้งการ พูด อ่าน เขียน ใช้เครื่องมือการสื่อสารได้ทุกชนิด รวมทั้ง เครื ่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ที ่สามารถผลิตสื่อโฆษณาได้และการรู้จักการใช้ อินเทอร์เน็ต มีมนุษยสัมพันธ์ดีต่อบุคคลภายในบุคคล ภายนอก บรรณาธิการ


29 ภาระหน้าที่ของฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายที่ รับผิดชอบ งานที่ได้รับมอบหมาย ความคืบหน้า หมายเหตุ สำเร็จ ไม่ สำเร็จ ฝ่าย ประชาสัมพันธ์ โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ (ทำร่วมกับฝ่าย สารสนเทศ) ✓ ป้ายStaff ✓ ประชาสัมพันธ์การ สัมมนา โดยผ่านโซเชียล มีเดีย ✓


30 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของฝ่ายวิชาการ นางสาวอัยรุรอาซีกีน ฮามะ หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ 061-1792616 นางสาวดารนุช แก้วมณี หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ 066-1260825 นางสาวนูรีซัล ดอเล๊าะ หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ: 065-0795012 รับผิดชอบตำแหน่งฝ่ายวิชาการ หลักการและเหตุผล ฝ่ายวิชาการมีความสำคัญมาก ในการรวบรวมหรือจัดระบบงาน และต้องป็นคนที่มีความ ละเอียดรอบคอบในการทำงานเนื่องต้องทำเอกสารสำคัญสำหรับใช่ในงานสัมมนา ฝ่ายวิชาการต้องดำเนิน ทำเอกสารเพื่อจัดทำโครงการตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้และทำหน้าที่ยกร่างคู่มือการจัดสัมมนา จัดแฟ้ม สำหรับเอกสาร และรวบรวมไฟลทั้งหมด บทบาทและหน้าที่ของฝ่ายวิชาการ 1.จัดท าคู่มือการจัดสัมมนา 2.จัดท าแฟ้มการสัมมนา สำหรับเอกสารต่างๆที่ใช้ในการสัมมนา 3.รวบรวมไฟล์งานทั้งหมด 4.จัดเตรียมไฟล์ของผู้น าเสนอให้พร้อมส าหรับการแชร์ในวันสัมมนา (ประสานกับฝ ่าย สารสนเทศ) คุณสมบัติของฝ่ายวิชาการ 1.มีความรับผิดชอบ 2.มีการทำงานเป็นขั้นตอน 3.มีความคล่องแคล่ว 4.มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี 5.มีการวางแผนในการท างาน และมีความละเอียดรอบคอบ 6.มีความมุ่งมั่นในการท างาน และติดตามงานอย่างมีระบบ


31 ตารางภาระหน้าที่ของฝ่ายวิชาการ ฝ่ายที่ รับผิดชอบ งานที่ได้รับมอบมาย ความคืบหน้า หมายเหตุ สำเร็จ ไม่สำเร็จ ฝ่ายวิชาการ คู่มือการจัดสัมมนา ✓ แฟ้มการสัมมนา และ หนังสือต่าง ๆ ที่ใช้ในงาน สัมมนา ✓ รวบรวมไฟล์งานทั้งหมด ✓ จัดเตรียมไฟล์ของผู้ นำเสนอให้พร้อมสำหรับ การแชร์ในวันสัมมนา (ประสานงานกับฝ่าย สารสนเทศ) ✓ กำหนดการโครงการ สัมมนา ✓


32 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของฝ่ายประสานงาน/สถานที่ นายไนยชน ดำจำนงค์ หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ: 082-1987156 รับผิดชอบตำแหน่งฝ่ายประสานงาน/สถานที่ หลักการและเหตุผล การประสานงาน เป็นการติดต่อสื ่อสารให้เกิดความคิด ความเข้าใจตรงกันในการร ่วมมือ ปฏิบัติงานให้สอดคล้องทั้งเวลา และกิจกรรมที่ต้องกระท าให้บรรลุวัตถุประสงค์อย ่างสมานฉันท์และมี ประสิทธิภาพเพื ่อให้งานด าเนินไปอย ่างราบรื ่น ไม ่เกิดการท างานซ้ำซ้อน ทั้งนี้การประสานงานจึงเป็น กระบวนการหนึ่งของการบริหารและการปฏิบัติงาน ความส าเร็จของการประสานงาน ขึ้นอยู่กับบทบาทและ ความสามารถของบุคคล การประสานงานเกิดจากความต้องการให้งาน ที่ท าประสบผลส าเร็จ โดยผู้ปฏิบัติ ต้องมีความรับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ของตนเองอย่างเหมาะสม รวมถึงมีการสื่อสารที่ตรงกันอย่างรวดเร็ว และราบรื่น เพื่อสามารถท าให้ทุกฝ่ายปฏิบัติงานภายใต้เป้าหมายเดียวกัน ฝ ่ายสถานที ่เป็นส ่วนที ่สำคัญที ่จะทำให้งานสัมมนามีความน ่าสนใจและทันสมัยมากขึ้น เนื ่องจากฝ ่ายสถานที่จะต้องสามารถดึงดูดผู้เข้าร่วมให้สนใจงานสัมมนาได้รวมทั้งการจัดนิทรรศการที่ สามารถอธิบายหรือบ่งบอกถึงตรีมงานในงานสัมมนา ทำให้ผู้เข้าร่วมสามารถรู้ได้ทันที่เมื่อเข้าห้องสัมมนา เพราะรูปแบบที่ตกแต่งภายในงานจะบอกถึงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับงานสัมมนาทั้งหมด บทบาทและหน้าที่ของฝ่ายประสานงาน 1.ติดต่อสื่อสารกับฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ดีมีความเข้าใจตรงกัน 2.จัดหาข้อมูลที ่จำเป็นและเกี่ยวข้องตลอดจนการแลกเปลี ่ยนข้อมูลในการทำงานกับฝ ่าย ต่างๆ 3.ประสานงานอำนวยความสะดวกและติดตามแขกตลอดการเข้าร่วมการประชุมและเมื่อมี ภารกิจอื่นๆนอกเหนือจากการเข้าร่วมประชุม 4.ติดต่อกับบุคคลภายใน และภายนอกที่เกี่ยวข้องกับงานสัมมนา 5.ติดต่อเจ้าหน้าที่สำหรับอุปกรณ์ต่างๆในการจัดสัมมนาทั้งหมด บทบาทและหน้าที่ของฝ่ายสถานที่ 1.เตรียมสถานที่จัดเวทีป้าย บนเวทีและวัสดุอุปกรณ์ในการสัมมนา 2.การจัดประดับดอกไม้ทั้งบนโต๊ะและหน้าเวทีทั้งหมด 3.การจัดซุ้มรับเค้กการจัดสถานที่ในการรับประทานอาหารและอาหารว่าง 4.ประสานงานกับฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการจัดสถานที่รับลงทะเบียนห้องประชุมใหญ่ห้องประชุม กลุ่มย่อย


33 คุณสมบัติของฝ่ายประสานงาน 1.มีทักษะการสื่อสาร 2.มีการวางแผนการท างานอย่างเป็นระบบ 3.มีความอดทน และมีสติตลอดระยะเวลาการท างาน 4.มีความรับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ได้รับมอบหมาย 5.มีความละเอียดรอบคอบในบทบาทหน้าที่ได้รับมอบหมาย 6.มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม และสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้ 7.มีความตรงต่อเวลา คุณสมบัติของฝ่ายสถานที่ 1.มีความสามารถในการออกแบบห้องที่จะจัดสัมมนา 2.มีความคิดที่สร้างสรรค์และแปลกใหม่ 3.สามารถจัดแต่งห้องให้ดูสวยงานและน่าสนใจ 4.สามารถออกแบบนิทรรศการที่จะใช้ในงานสัมมนา 5.สามารถจัดมุมต่าง ๆ ที่จะใช้ในยามสัมมนา เช่น มุมถ่ายรูปมุมถ่ายวีดีโอถ่ายทอดสดและมุม การยืนของสมาชิกจัดสัมมนา ตารางภาระหน้าที่ของฝ่ายประสานงาน/สถานที่ ฝ่ายที่ รับผิดชอบ งานที่ได้รับมอบมาย ความคืบหน้า หมายเหตุ สำเร็จ ไม่สำเร็จ ฝ่าย ประสานงาน/ สถานที่ ติดต่อบุคลากรทั้งภายใน – ภายนอก และ หน่วยงานต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการจัด สัมมนา ✓ รูปแบบห้องสัมมนา ✓ ติดต่อประธาน และ ผู้ทรงคุณวุฒิตาม กำหนดการในแผนการ ดำเนินงาน ✓ ติดต่อเจ้าหน้าที่และ อุปกรณ์สารสนเทศที่ใช้ใน งานสัมมนาทั้งหมด ✓


34 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของฝ่ายสวัสดิการ นางสาวนาดาร์ หมัดดำรงนนท์ หมายเลยโทรศัพท์ติดต่อ: 065-9837669 นางสาวสามีย์รา เปาะจิ หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ: 093-1070908 รับผิดชอบหน้าที่ตำแหน่งฝ่ายสวัสดิการ หลักการและเหตุผล บุคคลที่เป็นปัจจัยหลักของความสำเร็จในการพัฒนาทุกด้านการจัดเตรียมอาหารว่างเพราะ ต้องเตรียมของในหลายๆอย่างเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดสัมมนาในครั้งนี้ฝ่ายสวัสดิการยังต้องคอยดูแล ทุกคนในการจัดสัมมนาเป็นเรื่องละเอียดอ่อนและหาแนวทางแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าให้ได้ด้วยเช่นกัน ยัง ต้องทำงาน ดูแลอาหารการกินของผู้ร่วมเข้าสัมมนาว่ามีใครแพ้อาหารชนิดไหนบ้าง จัดดูอาหารว่าเหมาะสม กับการนำมาให้ปูสัมมนาหลักฐานหรือไม่ คำนึงถึงความสดใหม่ของอาหารทุกอย่าง แล้วก็ต้องทำงานร่วมกับ ฝ่ายเหรัญญิกเพื่อประสานงานในค่าใช้จ่ายในแต่ละส่วนของการซื้อของต้องคำนึงถึงราคาและจำนวนเงินที่ จำกัดงบประมาณในแต่ละครั้ง บทบาทหน้าที่ของฝ่ายสวัสดิการ 1. จัดควบคุมดูแลสวัสดิการ และการให้บริการในด้านต่างๆในการจัดสัมมนากลุ่มบุคคลที่ทำ หน้าที่ในเรื่องอาหารหรืออาหารว่างและเครื่องดื่ม ต้อง จัดเตรียมภาชนะสาหรับใส่เครื่องดื่ม อาหารว่างให้ เรียบร้อย 2.ต้องประสานงาน กับฝ่ายทะเบียน เพื่อจะได้ทราบจานวนผู้เข้าร่วมสัมมนาทั้งหมด 3.ฝ่ายสวัสดิการ นอกจากจะประสานงานกับฝ่ายทะเบียนแล้วก็ยังต้องประสานกับสถานที่ด้วย โดยปกติการจัดห้องสัมมนาเพื่อจะต้องอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้เข้าร่วมสัมมนา 4. จัดหาเครื่องมือและเวชภัณฑ์เพื่อปฐมพยาบาลและการให้บริการสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วม คุณสมบัติของฝ่ายสวัสดิการ 1. ทำงานร่วมกับฝ่ายเหรัญญิกในการดูแลงบประมาณในการซื้ออาหาร 2. เช็คยอดจำนวนของผู้เข้าร่วมอยู่เสมอ 3. ดูแลเรื่องการกินและการประถมพยาบาลเบื้องต้นอย่างเคร่งครัด


35 ตารางภาระงานของฝ่ายสวัสดิการ ฝ่ายที่ รับผิดชอบ งานที่ได้รับมอบมาย ความคืบหน้า หมายเหตุ สำเร็จ ไม่สำเร็จ ฝ่าย สวัสดิการ อาหารเบรคช่วงเช้า ✓ เครื่องดื่ม ✓ อาหารผู้ทรงคุณวุฒิ และ คณาจารย์ ✓ อาหารเบรคช่วงบ่าย ✓ เตรียมอุปกรณ์พยาบาล ✓ อาหารว่าง ✓


36 บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของฝ่ายทะเบียน/ประเมิน นางสาวอัฉราภรณ์ สะอาด หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ: 098-7378649 นางสาวปิยณัฐ หัดสหมัด หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ: 062-0600881 รับผิดชอบตำแหน่งฝ่ายทะเบียน/ประเมิน หลักการและเหตุผล ฝ่ายทะเบียนรับผิดชอบเกี่ยวกับงานเอกสารต่างๆของการจัดสัมมนา และเตรียมข้อมูลสำหรับการ ลงทะเบียนในงานสัมมนา ซึ่งแบบฟอร์มจะอยู่ในรูปแบบ ออนไลน์และเซ็นชื่อเพื่อที่จะให้ผู้เข้าร่วมสามารถ เลือกใช้ช่องทางใด ช่องทางหนึ่ง อีกทั้งฝ่ายทะเบียนมีหน้าที่รองช่วยฝ่ายประเมินด้วยเช่นกัน การสัมมนาในครั้งนี้เป็นรูปแบบออฟไลน์ฝ่ายประเมินมีบทบาทรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ ผล ดำเนินงานเพื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายในการจัดสัมมนา รวมถึงการรวบรวมสะท้อนคิดของแต่ละฝ่ายเพื่อ สรุปให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเกิดประสิทธิผลในครั้งต่อไป ด าเนินการรวบรวมข้อมูลด้วย Google Form บทบาทและหน้าที่ของฝ่ายทะเบียน 1.เตรียมเอกสารแบบฟอร์มส าหรับลงทะเบียนของผู้จัดสัมมนา ผู้ทรงคุณวุฒิและคณาจารย์ ผู้เข้าร่วมสัมมนา และผู้น าเสนอ 2.สร้าง Google form สำหรับลงทะเบียนออนไลน์ 3.จัดท าป้ายตั้งโต๊ะส าหรับผู้ทรงคุณวุฒิคณะกรรมการและผู้นำเสนอ 4.เตรียมข้อมูลของผู้เข้าร่วมสัมมนาทั้งหมด เช่น ผู้เข้าร่วม ผู้ทรงคุณวุฒิเป็นต้น บทบาทหน้าที่ของฝ่ายประเมิน 1.ทำแบบระเมิน 2.นำข้อมูลการประเมินมาวิเคราะห์ 3.สรุปผลการประเมิน 4.ยกร่างใบคะแนนส าหรับกรรมการ และผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาผู้น าเสนอ คุณสมบัติของฝ่ายทะเบียน 1. มีความคล่องแคล่ว 2.มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีและมีใจรักในงานด้านการบริการ 3.มีความละเอียดรอบคอบ 4.รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 5.มีคลิกภาพทางใจโดยสามารถเก็บอารมณ์ได้ 8.มีความภาคภูมิใจในหน้าที่การปฏิบัติงานของตน


37 คุณสมบัติของฝ่ายประเมิน 1.ความคล่องแคล่ว 2.มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีและมีใจรักในงานด้านการบริการ 3.มีความละเอียดรอบคอบ 4.รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 5.มีคลิกภาพทางใจโดยสามารถเก็บอารมณ์ได้ 6.ความภาคภูมิใจในหน้าที่การปฏิบัติงานของตน ภาระหน้าที่ของฝ่ายทะเบียน/ประเมิน ฝ่ายที่ รับผิดชอบ งานที่ได้รับมอบหมาย ความคืบหน้า หมายเหตุ สำเร็จ ไม่สำเร็จ ฝ่าย ทะเบียน/ ประเมิน ใบลงทะเบียนสำหรับ ผู้ทรงคุณวุฒิคณาจารย์ ผู้นำเสนอ ผู้เข้าร่วม และผู้ จัดสัมมนา ✓ ข้อมูลช่องทางการติดต่อ ผู้ทรงคุณวุฒิคณาจารย์ ✓ รวบรวมข้อมูลผู้เข้าร่วม สัมมนา ✓ เอกสารประกอบการ สัมมนาของผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์ ✓ ใบประเมินผู้เข้าร่วม ✓ สรุปผลการประเมินการจัด สัมมนา ✓ ยกร่างใบคะแนนสำหรับ ผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์ใน การพิจารณาผู้นำเสนอ ✓


38 บทที่ 3 ใบโครงการการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ


39 โครงการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ ภายใต้หัวข้อ โครงการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ ภายใต้หัวข้อ.ประจำปี 2566 ชื่อโครงการ โครงการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ ภายใต้หัวข้อ “การพัฒนาพฤติกรรมการเรียนรู้ ทุกช่วงวัย ในพื้นที่ชายแดนใต้” ประจำปี 2566 หลักการและเหตุผล การจัดสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ ภายใต้หัวข้อ “โครงการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ ภายใต้หัวข้อ “การพัฒนาพฤติกรรมการเรียนรู้ ทุกช่วงวัยในพื้นที่ชายแดนใต้” ประจำปี 2566 เป็นความ ร ่วมมือของนักศึกษา โดยมีคณาจารย์ประจำหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยสงขลานครินท์ วิทยาเขตปัตตานีเป็นที่ปรึกษา ในการจัดโครงการสัมมนาในครั้งนี้เป็นการจัด โครงการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระเพื่อพัฒนาศักยภาพ ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์ของ ผู้เข้าร่วม ผู้นำเสนอโครงร่างการศึกษาอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้จัดสัมมนา และผู้นำเสนอโครงร่างการศึกษา อิสระ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ในการจัดสัมมนา และเพื่อเป็นประโยชน์หรือแนวทางให้กับผู้เข้าร่วมสัมมนาที่ ต้องการศึกษาในการทำวิจัย นำไปสู่องค์ความรู้โดยใช้กระบวนการวิจัยเป็นฐานในการเรียนรู้ที่เชื่อมโยง ทฤษฎี และการปฏิบัติภายใต้การแสวงหาความรู้จากงานวิจัยอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ การจัดสัมมนา เพื่อเป็นการเรียนรู้กระบวนการวางแผนการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพ ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์ของผู้เข้าร่วม ผู้นำเสนอ โครงร่างการศึกษาอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้จัดสัมมนา และผู้นำเสนอโครงร่างการศึกษา อิสระ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ในการจัดสัมมนา 2. เพื่อเป็นประโยชน์หรือแนวทางให้กับผู้เข้าร่วมสัมมนาที่ต้องการศึกษาในการทำวิจัย ผู้รับผิดชอบโครงการ นายฮาซัน อุมา ตำแหน่งประธาน โครงการจัดสัมมนาฯ ดร.สวัสดิ์ ไหลภาภรณ์ ตำแหน่งอาจารย์ สังกัดหลักสูตรพัฒนาสังคม ผศ.ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก ตำแหน่งอาจารย์ สังกัดหลักสูตรพัฒนาสังคม ดร.ธันยากร ตุดเกื้อ ตำแหน่งอาจารย์ สังกัดหลักสูตรพัฒนาสังคม อาจารย์อับดุลคอลิก อัรรอฮีมีย์ ตำแหน่งอาจารย์ สังกัดหลักสูตรพัฒนาสังคม ดร.สุไลมาน หะโมะ ตำแหน่งอาจารย์ สังกัดหลักสูตรพัฒนาสังคม เป้าหมายของโครงการ เชิงปริมาณ นักศึกษาที่ลงทะเบียน 428 – 482 การศึกษาอิสระ2 และ428 – 481 การสัมมนาใน การพัฒนาสังคม รวมถึงคณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 70 คน เชิงคุณภาพ นักศึกษาสามารถจัดสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระผ่านกระบวนการวางแผนงาน อย่างเป็นระบบโดยใช้กระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานทางด้านวิชาการและ เป็นประโยชน์ต่อสังคม


40 ลักษณะการดำเนินโครงการ โครงการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระครั้งนี้ได้ซึ่งภายในงานจัดให้มีคณาจารย์และผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญให้ความรู้และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นตามวัตถุประสงค์ของโครงการ และมีกิจกรรมนำเสนอโครงร่างการศึกษาอิสระในประเด็นต่าง ๆ ระหว ่างผู้ทรงคุณวุฒิผู้นำเสนอ และ ผู้เข้าร ่วมโครงการโดยมีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ที่น่าสนใจในการพัฒนาสังคม เป็นส ่วนหนึ ่งของการ พัฒนากระบวนการการสอน การวิจัย และนวัตกรรมการเรียนรู้ แผนปฏิบัติโครงการ เดือน กิจกรรม กรกฎาคม สิงหาคม Week 1 Week 2 WeeK 3 Week 4 Week 1 Week 2 Week 3 Week 4 1.ขั้นตอนการวางแผน (Plan) ประชุมแต่งตั้ง คณะกรรมการ/การวางแผน กำหนดรูปแบบโครงการ/ ออกแบบโลโก้ 2.ขั้นตอนการปฏิบัติตาม แผน (Do) ประสานงานเรื่อง สถานที่/อาหารสำหรับ ผู้เข้าร่วม/ประชาสัมพันธ์ โครงการ/ประสานงาน คณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ 3.ขั้นตอนการตรวจสอบ/ ประเมินและนำผลประเมิน มาวิเคราะห์ (Check) ตรวจสอบขั้นตอนของ การดำเนินผลของการ ดำเนินงาน/สรุปผลการจัด สัมมนา


41 4.ขั้นตอนการปรับปรุงการ ดำเนินการให้เหมาะสม (Art) ประเมินตนเองและ ปรับปรุงแก้ไขตามความ เหมาะสมของโครงการ นำ ผลที่ได้จากการโครงการใน ครั้งนี้นำไปต่อยอดเพื่อ ดำเนินการครั้งต่อไป


42 ลชื่อ……………………………………….ผู้รับผิดชอบโครงการ (นายฮาซัน อุมา) ตำแหน่ง ประธานโครงการ ลงชื่อ………………………………………อาจารย์ที่ปรึกษา (ดร.สวัสดิ์ ไหลภาภรณ์) ตำแหน่งอาจารย์ที่ปรึกษา ลงชื่อ………………………………….…..อาจารย์ที่ปรึกษา (ผศ.ดร.จิรัชยา เจียวก๊ก) ตำแหน่งอาจารย์ที่ปรึกษา ลงชื่อ……………………………………..อาจารย์ที่ปรึกษา (ดร.ธันยากร ตุดเกื้อ) ตำแหน่งอาจารย์ที่ปรึกษา ลงชื่อ……………………………………….อาจารย์ที่ปรึกษา (อาจารย์อับดุลคอลิก อัรรอฮีมีย์) ตำแหน่งอาจารย์ที่ปรึกษา ลงชื่อ……………………………………….อาจารย์ที่ปรึกษา (ดร.สุไลมาน หะโมะ) ตำแหน่งอาจารย์ที่ปรึกษา


43 ภาคผนวก ก. รูปภาพที่เกี่ยวข้อง


44 ภาพที่ 1 โลโก้ผู้จัดสัมมนา โลโก้ข้างต้นได้นำไอเดียความคิดมาจากผลงานวิจัยของทีมผู้จัด ทั้งสิ้น 9 เรื่อง สัญลักษณ์ของโลโก้ที่มีความโดดเด่นโดยสื่อถึงหัวข้อวิจัยของแต่ละกลุ่มภายในทีมของผู้จัด ความเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมบนพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยสีน้ำตาล หมายถึงความน ่าเกรงขาม สง่างาม และสื ่อถึงความเสมอภาค สีเหลือง หมายถึงความเจริญรุ ่งเรือง โลโก้สันติภาพที่แสดงถึงความสันติภาพที ่อยากจะสื ่อผ่าน สมาชิกในกลุ่มในการทำงาน ฝูงนกพิราบ แสดงถึงความเป็นอิสระทางด้านความคิดภายใต้ ขอบเขตความสันติภาพ และรวมถึงลวดลายที่นำมาใช้จะทั้งลายจีนและไทยเข้ามา ผสมผสานให้มีความลงตัว ซึ่งจะสื่อถึงความเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมผ่านโลโก้นี้อย่างเห็นได้ ชัด


45 ภาพที่ 2 โลโก้งาน การจัดสัมมนาของสาขาวิชาพัฒนาสังคม ปี 2566 ภาคใต้หัวข้อ “การพัฒนา พฤติกรรมการเรียนรู้ทุกช่วงวัยในพื้นที่ชายแดนใต้” โดยได้ใช้ความโดดเด่นหรือสัญลักษณ์ ที่สื่อถึงหัวข้อวิจัยของแต่ละกลุ่ม ซึ่งสีในโลโก้ในแต่สีมีความหมาย อย่างสีฟ้าหมายถึง : ความสงบ ความรอบคอบ สีเหลืองหมายถึง : ความสว่าง มีความหวัง มีพลังงาน และมี ความสุข รูปคนในโลโก้ จากเล็กถึงใหญ่หมายถึง : คนทุกช่วงวัย หนังสือหมายถึง : เป็น แหล่งแห่งการเรียนรู้ หมวกบัณฑิตหมายถึง : บุลคลที่มีคุณภาพ มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ สามารถที่จะช่วยเหลือผู้อื่นได้ รูปมือที่เป็นเสมือนอ้อมกอด หมายถึง ไม ่ว ่าจะเป็นช่วงอายุไหน การเรียนรู้เป็นสิ ่งสำคัญเสมอ“แหล่งการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญ สำหรับทุกช่วงวัย เรียนรู้อย่างมีความสุขโดยผ่าน บรรยากาศที่มีความสงบสุข ทำให้การ เรียนรู้มีคุณภาพมากขึ้น และสามรถสร้างบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถที่จะช่วยเหลือ สังคมได้


Click to View FlipBook Version