The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เกวลี เลขที่5, 2020-12-22 02:27:23

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

ความรู้ทั่วไปคอมพิวเตอร์

ความร้พู ื้นฐานเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์

สารบัญ 2

หน้า

บทที่ 1 ความรูพ้ ืน้ ฐานเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์......................................................................................................1
1.1 คอมพิวเตอร์ หมายถงึ ................................................................................................................................3

1.2 คณุ สมบัติของคอมพิวเตอร์ ..........................................................................................................................................3
1.2.1 ความเปน็ อัตโนมตั ิ (Self Acting) ..................................................................................................................3
1.2.2 ความเร็ว (Speed).........................................................................................................................................3
1.2.3 ความเชื่อถือ (Reliable) ................................................................................................................................3
1.2.4 ความถูกต้องแม่นยา (Accurate)...................................................................................................................3
1.2.5 เก็บข้อมลู จานวนมาก ๆ ได้ (Store massive amounts of information)..................................................3
1.2.6 ยา้ ยข้อมลู จากทีห่ น่งึ ไปยังอกี ทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (Move information)....................................................3
1.2.7 ทางานซา้ ๆได้ (Repeatability).....................................................................................................................3

1.3 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์.....................................................................................................................................4
1.3.1 อปุ กรณน์ าข้อมลู เขา้ (Input Device) ...........................................................................................................4
1.3.2 อุปกรณป์ ระมวลผล (Processing Device) ...................................................................................................5
1.3.3 หน่วยเก็บข้อมลู สารอง (Secondary Storage Device) ...............................................................................6
1.3.4 อปุ กรณแ์ สดงผล (Output Device) ............................................................................................................7

1.4 ประโยชนข์ องคอมพวิ เตอร์............................................................................................................................................7
1.4.1 งานธรุ กิจ.......................................................................................................................................................7
1.4.2 งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข..........................................................................................8
1.4.3 งานคมนาคมและส่ือสาร................................................................................................................................8
1.4.4 งานวิศวกรรมและสถาปตั ยกรรม ...................................................................................................................8
1.4.5 งานราชการ...................................................................................................................................................8
1.4.6 การศกึ ษา ......................................................................................................................................................8

1.5 ประเภทของคอมพวิ เตอร์ ............................................................................................................................................8
1.5.1 ตามลักษณะการใช้งาน..................................................................................................................................9
1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ..........................................................................................................................9

1.6 องคป์ ระกอบของคอมพิวเตอร์ ....................................................................................................................................10
1.6.1 ฮารด์ แวร์ (Hardware) ................................................................................................................................10
1.6.2 ซอฟต์แวร์ (Software)................................................................................................................................10
1.6.3 บุคลากร (People ware)............................................................................................................................11

1.6.4 ข้อมลู /สารสนเทศ (Data/Information)...................................................................................12

3

บทที่ 1 ความรู้พ้นื ฐานเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์

1.1 คอมพิวเตอร์ หมายถึง
คอมพวิ เตอร์ คอื อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกสท์ ท่ี างานตามชดุ คาสงั่ อย่างอัตโนมัติ โดยจะทาการคานวณเปรยี บเทียบ

ทางตรรกกับข้อมูล และให้ผลลัพธอ์ อกมาตามต้องการ โดยมนุษยไ์ ม่ตอ้ งเขา้ ไปเกย่ี วข้องในการประมวลผล

1.2 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ปัจจุบันน้ีคนส่วนใหญ่นิยมนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ มากมาย ซ่ึงผู้ใช้ส่วนใหญ่มักจะคิดว่าคอมพิวเตอร์เป็น

เคร่ืองมือท่ีสามารถทางานได้สารพัด แต่ผู้ท่ีมีความรู้ทางคอมพิวเตอร์จะทราบว่า งานที่เหมาะกับการนาคอมพิวเตอร์มาใช้
อย่างย่งิ คอื การสร้าง สารสนเทศ ซึง่ สารสนเทศเหล่าน้ันสามารถนามาพิมพอ์ อกทางเคร่ืองพิมพ์ ส่งผา่ นเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์
หรอื จัดเก็บไว้ใช้ในอนาคตก็ได้ เนื่องจากคอมพวิ เตอรจ์ ะมคี ณุ สมบัติต่าง ๆ คือ

1.2.1 ความเป็นอตั โนมตั ิ (Self Acting) การทางานของคอมพวิ เตอรจ์ ะทางานแบบอัตโนมตั ิภายใต้คาส่งั ที่ได้ถูก
กาหนดไว้ ทางานดังกลา่ วจะเรม่ิ ตง้ั แต่การนาข้อมูลเข้าสู่ระบบ การประมวลผลและแปลงผลลพั ธอ์ อกมาให้อยใู่ นรูปแบบที่
มนษุ ย์เข้าใจได้

1.2.2 ความเรว็ (Speed) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันน้สี ามารถทางานได้ถึงรอ้ ยล้านคาส่ังในหน่ึงวนิ าที
1.2.3 ความเชอื่ ถือ (Reliable) คอมพวิ เตอร์ทุกวันนี้จะทางานได้ท้ังกลางวันและกลางคืนอย่างไม่มีข้อผิดพลาด และ
ไมร่ ู้จกั เหน็ดเหนื่อย
1.2.4 ความถูกต้องแม่นยา (Accurate) วงจรคอมพิวเตอร์นั้นจะให้ผลของการคานวณท่ีถูกต้องเสมอหากผลของ
การคานวณผิดจากทีค่ วรจะเป็น มกั เกิดจากความผิดพลาดของโปรแกรมหรือข้อมูลที่เขา้ สู่โปรแกรม
1.2.5 เก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้ (Store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
จะมีที่เก็บข้อมูลสารองท่ีมีความสูงมากกว่าหน่ึงพันล้านตัวอักษร และสาหรับระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่จะสามารถเก็บ
ขอ้ มูลไดม้ ากกว่าหนงึ่ ลา้ น ๆ ตัวอักษร
1.2.6 ยา้ ยข้อมูลจากที่หนึ่งไปยงั อีกทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (Move information) โดยใช้การติดตอ่ สื่อสารผา่ น
ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรซ์ ่ึงสามารถส่งพจนานกุ รมหน่ึงเล่มในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ไปยังเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ที่อยู่
ไกลคนซีกโลกได้ในเวลาเพยี งไมถ่ งึ หน่ึงวนิ าที ทาใหม้ ีการเรียกเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ทเ่ี ช่ือมกนั ท่วั โลกในปัจจุบนั วา่ ทางด่วน
สารสนเทศ (Information Superhighway)
1.2.7 ทางานซ้าๆได้ (Repeatability) ช่วยลดปญั หาเร่ืองความอ่อนลา้ จากการทางานของแรงงานคน นอกจากนีย้ ัง
ลดความผิดพลาดต่างๆได้ดีกว่าด้วย ข้อมูลที่ประมวลผลแม้จะยุ่งยากหรือซับซ้อนเพียงใดก็ตาม จะสามารถคานวณและหา
ผลลัพธ์ไดอ้ ย่างรวดเร็ว

4

1.3 ส่วนประกอบของคอมพวิ เตอร์
จาแนกหน้าท่ีของฮาร์ดแวร์ตา่ งๆ สามารถแบ่งเป็นส่วนสาคญั 4 ประเภท คือ อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า (Input Device)

อุปกรณ์ประมวลผล (Processing Device) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Device) อุปกรณ์แสดงผล
(Output Device)

รปู ท่ี 1 แสดงวงจรการทางานของคอมพวิ เตอร์

1.3.1 อุปกรณน์ าขอ้ มูลเขา้ (Input Device)

รูปที่ 2 อุปกรณน์ าเขา้ แบบตา่ งๆ ทีพ่ บเห็นในปัจจุบัน

เป็นอุปกรณ์ท่ีเก่ียวข้องกับการนาเข้าข้อมูลหรือชุดคาสั่งเข้ามายังระบบเพ่ือให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลต่อไปได้ ซึ่ง
อาจจะเป็น ตวั เลข ตวั อักษร ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว เสยี ง เปน็ ตน้

5

1.3.2 อปุ กรณ์ประมวลผล (Processing Device)
อปุ กรณป์ ระมวลผลหลักๆ มดี งั นี้

1.3.2.1 ซีพียู (CPU-Central Processing Unit) หนว่ ยประมวลผลกลางหรอื ซีพียู เรียกอีกชื่อหน่ึงว่า
โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (Chip) นับเป็นอุปกรณ์ท่ีมีความสาคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการ
ประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามาทางอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลตามชุดคาส่ังหรือโปรแกรมท่ีผู้ใช้ต้องการใช้งาน หน่วย
ประมวลผลกลาง

1.3.2.2 หน่วยความจาหลัก (Main Memory) หรือเรียกว่า หน่วยความจาภายใน (Internal Memory)
สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่

- รอม (Read Only Memory - ROM) เป็นหน่วยความจาท่ีมีโปรแกรมหรือข้อมูลอยู่แล้ว
สามารถเรียกออกมาใช้งานได้แต่จะไม่สามารถเขียนเพิ่มเติมได้ และแม้ว่าจะไม่มีกระแสไฟฟ้าไปเลี้ยงให้แก่ระบบข้อมูลก็ไม่
สญู หายไป

- แรม (Random Access Memory) เป็นหน่วยความจาที่สามารถเก็บข้อมูลได้เม่ือมี
กระแสไฟฟา้ หลอ่ เล้ยี งเทา่ นัน้ เมือ่ ใดไมม่ ีกระแสไฟฟ้ามาเลย้ี งข้อมูลที่อยู่ในหนว่ ยความจาชนิดนจี้ ะหายไปทนั ที

1.3.2.3 เมนบอร์ด (Main board) เป็นแผงวงจรต่อเชื่อมอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการทางานของ
คอมพิวเตอร์ทั้งหมด ถือได้ว่าเป็นหัวใจหลักของ พีซีทุกเคร่ือง เพราะจะบอกความสามารถของเครื่องว่าจะใช้ซีพียูอะไรได้
บา้ ง มปี ระสทิ ธภิ าพเพยี งใด สามารถรองรบั กบั อปุ กรณ์ใหม่ไดห้ รือไม่

รูปที่ 3 เมนบอรด์ หรอื แผงวงจรหลัก

1.3.2.4 ซิปเซ็ต (Chip Set) ซิปเซ็ตเป็นชิปจานวนหนึ่งหรือหลายตัวที่บรรจุวงจรสาคัญๆ ท่ีช่วยการ
ทางานของซีพียู และติดต้ังตายตัวบนเมนบอร์ดถอดเปล่ียนไม่ได้ ทาหน้าท่ีเป็นตัวกลางประสานงานและควบคุมการทางาน
ของหน่วยความจารวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างท้ังแบบภายในหรือภายนอกทุกชนิดตามคาสั่งของซีพียู เช่น SiS, Intel, VIA,
AMD เปน็ ตน้

6

1.3.3 หน่วยเก็บขอ้ มูลสารอง (Secondary Storage Device)

เน่ืองจากหน่วยความจาหลักมีพ้ืนท่ีไม่เพียงพอในการเก็บข้อมูลจานวนมากๆ อีกท้ังข้อมูลจะหายไปเมื่อปิดเครื่อง
ดังนัน้ จาเปน็ ตอ้ งหาอุปกรณ์เก็บขอ้ มลู ทีม่ ีขนาดใหญ่ข้ึน เช่น

1.3.3.1 ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นฮาร์ดแวรท์ ่ีทาหน้าท่ีเกบ็ ขอ้ มูลในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ท้ังโปรแกรม
ใช้งานต่างๆ ไฟลเ์ อกสาร รวมทัง้ เป็นทีเ่ ก็บระบบปฏบิ ตั ิการทีเ่ ปน็ โปรแกรมควบคมุ การทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอรด์ ว้ ย

1.3.3.2 ฟล็อบป้ีดิสก์ (Floppy Disk) เป็นอุปกรณ์บันทึกขอ้ มูลที่มีขนาด 3.5 นิ้ว มีลักษณะเป็นแผ่นกลม
บางทาจากไมลาร์ (Mylar) สามารถบรรจุข้อมูลได้เพยี ง 1.44 เมกะไบต์ เท่านนั้ ี

1.3.3.3 ซีดี (Compact Disk - CD) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบดิจิทัล เป็นสื่อที่มีขนาดความจุสูง
เหมาะสาหรับบันทึกข้อมูลแบบมัลติมีเดีย ซีดีรอมทามาจากแผ่นพลาสติกกลมบางที่เคลือบด้วยสารโพลีคาร์บอเนต (Poly
Carbonate) ทาให้ผิวหน้าเป็นมันสะท้อนแสง โดยมีการบันทึกข้อมูลเป็นสายเดียว (Single Track) มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 120 มิลลิเมตร ปัจจุบันมีซีดีอยู่หลายประเภท ได้แก่ ซีดเี พลง (Audio CD) วีซีดี (Video CD - VCD) ซีดี- อาร์ (CD
Recordable - CD-R) ซดี ี-อาร์ดับบลิว (CD-Rewritable - CD-RW) และ ดวี ดี ี (Digital Video Disk - DVD)

ส่อื เกบ็ ข้อมูลอนื่ ๆ
1) รมี ฟู เอเบิลไดร์ฟ (Removable Drive) เปน็ อุปกรณ์เก็บข้อมูลที่ไมต่ ้องมตี วั ขับเคล่ือน (Drive) สามารถพกพา

ไปไหนได้โดยตอ่ เขา้ กบั เครื่องคอมพิวเตอร์ดว้ ย Port USB ปจั จุบนั ความจขุ องรมี ูฟเอเบิลไดรฟ์ มตี ้ังแต่ 8 , 16 , 32 , 64 ,
128 จนถงึ 1024 เมกะไบต์ ท้งั นยี้ ังมีไดร์ฟลักษณะเดียวกัน เรยี กในช่อื อื่นๆ ไดแ้ ก่ Pen Drive , Thump Drive , Flash
Drive

2) ซบิ ไดรฟ์ (Zip Drive) เปน็ สอ่ื บันทึกข้อมูลที่จะมาแทนแผ่นฟลอ็ ปปี้ดสิ ก์ มขี นาดความจุ 100 เมกะไบต์
ซ่ึงการใชง้ านซิปไดร์ฟจะต้องใช้งานกับซปิ ดิสก์ (Zip Disk) ความสามารถในการเก็บข้อมูลของซิปดสิ กจ์ ะเกบ็ ข้อมูลได้
มากกว่าฟล็อปป้ีดิสก์

3) Magnetic optical Disk Drive เ ป็ น สื่ อ เ ก็ บ ข้ อ มู ล ข น า ด 3.5 นิ้ ว ซ่ึ ง มี ข น า ด พ อ ๆ กั บ
ฟล็อบป้ีดิสก์ แต่ขนาดความจมุ ากกว่า เพราะว่า MO Disk drive 1 แผ่นสามารถบันทกึ ข้อมลู ไดต้ ้ังแต่ 128 เมกะไบต์ จนถึง
ระดับ 5.2 กกิ ะไบต์

4) เทปแบค็ อพั (Tape Backup) เป็นอปุ กรณ์สาหรบั การสารองข้อมูล ซงึ่ เหมาะกบั การสารองข้อมูลขนาดใหญ่
มากๆ ขนาดระดับ 10-100 กิกะไบต์

5) การ์ดเมมโมรี (Memory Card) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลท่ีมีขนาดเล็ก พัฒนาข้ึน เพ่ือนาไปใช้กับอุปกรณ์
เทคโนโลยีแบบต่างๆ เชน่ กลอ้ งดิจิทัล คอมพิวเตอร์มือถือ (Personal Data Assistant - PDA) โทรศัพทม์ ือถอื

7

1.3.4 อุปกรณ์แสดงผล (Output Device)
คืออุปกรณ์สาหรับแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ และเป็นอุปกรณ์ส่งออก (Output
device) ทาหนา้ ท่แี สดงผลลพั ธเ์ มือ่ ซีพยี ทู าการประมวลผล

รูปท่ี 4 แสดงอปุ กรณ์แสดงผลข้อมลู แบบตา่ งๆ

1.3.4.1 จอภาพ (Monitor) เปน็ อปุ กรณ์แสดงผลลพั ธ์ที่เป็นภาพ ปจั จบุ ันแบง่ ออกเป็น 2 ชนิด คอื จอภาพ
แบบ CRT (Cathode Ray Tube) และ จอภาพแบบ LCD (Liquid Crystal Display)

1.3.4.2 เครอ่ื งพมิ พ์ (Printer) เปน็ อปุ กรณท์ ี่ทาหนา้ ทแ่ี สดงผลลัพธใ์ นรูปของอักขระหรือรปู ภาพทจ่ี ะไป
ปรากฏอยู่บนกระดาษ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ เคร่ืองพิมพ์ดอตเมตริกซ์ (Dot Matrix Printer) เคร่ืองพมิ พแ์ บบพน่
หมึก (Ink-Jet Printer) เคร่อื งพมิ พแ์ บบเลเซอร์ (Laser Printer) และพลอ็ ตสเตอร์ (Plotter)

1.3.4.3 ลาโพง (Speaker) เป็นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ที่อยู่ในรูปของเสียง สามารถเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์
ผา่ นแผงวงจรเก่ยี วกับเสยี ง (Sound card) ซงึ่ มีหน้าที่แปลงขอ้ มูลดิจติ อลไปเปน็ เสียง

1.4 ประโยชนข์ องคอมพิวเตอร์
จากการท่ีคอมพวิ เตอรม์ ีลกั ษณะเด่นหลายประการ ทาให้ถกู นามาใชป้ ระโยชน์ต่อการดาเนินชวี ิตประจาวันในสงั คม

เป็นอย่างมาก ที่พบเห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่างๆ เช่น พิมพ์จดหมาย รายงาน เอกสารต่างๆ ซึ่ง
เรียกว่างานประมวลผล (Word processing) นอกจากน้ียังมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ อีกหลายด้าน
ดังตอ่ ไปนี้

1.4.1 งานธุรกิจ เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทาบัญชี
งานประมวลคา และติดต่อกับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งานอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ก็ใช้
คอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคมุ การผลิต และการประกอบชิ้นสว่ นของอุปกรณ์ตา่ งๆ เชน่ โรงงานประกอบรถยนต์ ซึ่งทา
ใหก้ ารผลิตมคี ุณภาพดีขนึ้ บรษิ ทั ยงั สามารถรบั หรืองานธนาคาร ท่ใี ห้บรกิ ารถอนเงนิ ผา่ นตู้ฝากถอนเงนิ อตั โนมตั ิ (ATM) และ
ใช้คอมพิวเตอรค์ ิดดอกเบย้ี ใหก้ บั ผู้ฝากเงิน และการโอนเงินระหว่างบัญชี เชอื่ มโยงกันเป็นระบบเครือขา่ ย

8

1.4.2 งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในนามาใช้ในส่วนของการ
คานวณที่ค่อนข้างซับซ้อน เช่น งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวดไปสู่อวกาศ หรืองานทะเบียน
การเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซ่ึงจะให้ผลที่แม่นยากว่าการตรวจด้วยวิธีเคมีแบบเดิม และให้
การรักษาได้รวดเรว็ ขนึ้

1.4.3 งานคมนาคมและส่ือสาร ในส่วนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใช้คอมพิวเตอร์ในการจองวันเวลา ท่ีนั่ง ซ่ึงมีการ
เชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้ ทาให้สะดวกต่อผู้เดินทางที่ไม่ต้องเสยี เวลารอ อีกท้ังยังใช้ในการควบคุมระบบ
การจราจร เชน่ ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรือในการสอ่ื สารกใ็ ช้ควบคมุ วงโคจรของดาวเทียมเพือ่ ใหอ้ ยู่
ในวงโคจร ซง่ึ จะช่วยส่งผลต่อการส่งสัญญาณให้ระบบการสื่อสารมีความชดั เจน

1.4.4 งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรอื จาลอง
สภาวการณ์ ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเม่ือเกิดแผ่นดินไหว โดยคอมพิวเตอร์จะคานวณและแสดงภาพ
สถานการณ์ใกลเ้ คียงความจริง รวมทั้งการใช้ควบคุมและตดิ ตามความก้าวหน้าของโครงการต่างๆ เช่น คนงาน เครื่องมอื ผล
การทางาน

1.4.5 งานราชการ เป็นหน่วยงานทมี่ กี ารใชค้ อมพิวเตอร์มากทสี่ ุด โดยมีการใช้หลายรปู แบบ ทัง้ นี้ข้ึนอยกู่ ับบทบาท
และหนา้ ทีข่ องหนว่ ยงานน้นั ๆ เชน่ กระทรวงศึกษาธกิ าร มกี ารใชร้ ะบบประชมุ ทางไกลผ่านคอมพวิ เตอร์ ,
กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ได้จัดระบบเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตเพ่ือเชอื่ มโยงไปยังสถาบนั ต่างๆ, กรมสรรพากร ใช้จัด
ในการจัดเกบ็ ภาษี บันทึกการเสยี ภาษี เป็นตน้

1.4.6 การศึกษา ได้แก่ การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการเรียนการสอน ซ่ึงมีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยการสอนใน
ลักษณะบทเรียน CAI หรืองานด้านทะเบียน ซ่ึงทาให้สะดวกต่อการค้นหาข้อมูลนักเรียน การเก็บข้อมูลยืมและการส่งคืน
หนงั สือห้องสมุด

1.5 ประเภทของคอมพวิ เตอร์
เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ แบ่งออกเปน็ หลายประเภท ขนึ้ อยู่กับเกณฑท์ ีใ่ ชใ้ นการแบ่ง

เกณฑท์ ่ใี ช้จาแนก ประเภทคอมพิวเตอร์
ตามลกั ษณะการใชง้ าน - แบบใช้งานทั่วไป (General purpose computer)
- แบบใชง้ านเฉพาะ (Special purpose computer)
ตามขนาดและความสามารถ - ซเู ปอร์คอมพวิ เตอร์ (Supercomputer)
- เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe computer)
- มินิคอมพวิ เตอร์ (Minicomputer)
- ไมโครคอมพวิ เตอร์ (Microcomputer)
- คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld computer)

9

1.5.1 ตามลกั ษณะการใช้งาน

1.5.1.1 แบบใช้งานทั่วไป (General Purpose Computer)
หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลท่ีมีความยืดหยุ่นในการทางาน (Flexible) โดยได้รับการออกแบบให้สามารถ
ประยุกตใ์ ช้ในงานประเภทต่างๆ ได้โดยสะดวก โดยระบบจะทางานตามคาสั่งในโปรแกรมท่เี ขยี นข้ึนมา และเม่ือผใู้ ช้ต้องการ
ให้เครื่องคอมพิวเตอรท์ างานอะไร ก็เพียงแตอ่ อกคาสั่งเรยี กโปรแกรมท่ีเหมาะสมเขา้ มาใช้งาน โดยเราสามารถเก็บโปรแกรม
ไว้หลายโปรแกรมในเคร่ืองเดียวกันได้ เช่น ในขณะหน่ึงเราอาจใช้เครื่องน้ีในงานประมวลผลเก่ียวกับระบบบัญชี และใน
ขณะหน่งึ กส็ ามารถใช้ในการออกเชค็ เงินเดือนได้ เป็นตน้

1.5.1.2 แบบใช้งานเฉพาะดา้ น (Special Purpose Computer)
หมายถงึ เครอื่ งประมวลผลข้อมูลที่ถูกออกแบบตวั เคร่ืองและโปรแกรมควบคมุ ใหท้ างานอยา่ งใดอย่างหนึง่ เป็นการ
เฉพาะ (Inflexible) โดยท่ัวไปมกั ใช้ในงานควบคมุ หรอื งานอุตสาหกรรมทเ่ี น้นการประมวลผลแบบรวดเร็ว เชน่ เครอื่ ง
คอมพวิ เตอร์ควบคมุ สัญญาณไฟจราจร คอมพิวเตอร์ควบคุมลิฟต์ หรือคอมพวิ เตอรค์ วบคมุ ระบบอัตโนมตั ิในรถยนต์ เป็นตน้

1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ

เป็นการจาแนกประเภทของคอมพวิ เตอร์ที่พบเห็นได้มากทีส่ ุดในปัจจบุ ัน ซึง่ สามารถแบ่งออกไดด้ งั น้ี
1.5.2.1 ซุปเปอรค์ อมพิวเตอร์ (Super Computer)

หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลท่ีมีความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุด โดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่อ
งานด้านวิทยาศาสตร์ที่ต้องการการประมวลผลซับซ้อน และตอ้ งการความเรว็ สูง เช่น งานวิจัยขีปนาวธุ งานโครงการอวกาศ
สหรฐั (NASA) งานสือ่ สารดาวเทยี ม หรอื งานพยากรณ์อากาศ เป็นตน้

1.5.2.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe computer)
เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์เปน็ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ทางานร่วมกบั อปุ กรณ์หลายๆ อยา่ งดว้ ยความเรว็ สงู ใช้ใน
งานธุรกิจขนาดใหญ่ มหาวิทยาลยั ธนาคารและโรงพยาบาลเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ สามารถเก็บข้อมูลท่ีมปี ริมาณมาก ๆ เช่น
ในการส่งั จองท่นี ง่ั ของสายการบินทีบ่ ริษัททัวรร์ ับจองในแต่ละวัน นอกจากนย้ี ังสามารถเชอื่ มโยงใชง้ านกบั เคร่อื งเทอร์มนิ ัล
(Terminal) หลาย ๆ เคร่อื ง ในระยะทางไกลกนั ได้ เช่น ระบบเอท่เี อ็ม (ATM) การประมวลผลข้อมลู ของระบบเมนเฟรมนี้มี
ผูใ้ ชห้ ลาย ๆ คนในเวลาเดยี วกัน (Multi-user) สามารถประมวลผลโดยแบง่ เวลาการใชซ้ ีพยี ู (CPU) โดยผ่านเครื่องเทอรม์ ินัล
การประมวลผลแบบแบ่งเวลาน้ีเรยี กวา่ Time sharing

1.5.2.3 มนิ ิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer)
ธุรกิ จแ ล ะห น่ วย งาน ที่ มี ข น าด เล็ ก ไม่ จ าเป็ น ต้ อ งใช้ ค อ ม พิ ว เต อ ร์ข น าด เม น เฟ รม ซ่ึ งมี ราค าแ พ ง
ผู้ผลิตคอมพวิ เตอร์จึงพฒั นาคอมพวิ เตอร์ใหม้ ีขนาดเลก็ และมรี าคาถูกลง เรยี กว่า เคร่ืองมนิ ิคอมพิวเตอร์ โดยมีลกั ษณะพิเศษ
ในการทางานรว่ มกับอุปกรณ์ประกอบรอบข้างทมี่ ีความเรว็ สูงได้ มีการใช้แผ่นจานแม่เหล็กความจสุ งู ชนดิ แข็ง (Harddisk) ใน
การเก็บรักษาข้อมูล สามารถอ่านเขียนข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว หน่วยงานและบริษัทที่ใช้คอมพิวเตอร์ขนาดน้ี ได้แก่ กรม กอง
มหาวิทยาลยั ห้างสรรพสนิ คา้ โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ

1.5.2.4 ไมโครคอมพวิ เตอร์ (Microcomputer)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดเล็กที่สุด ราคาถูกที่สุด ใช้งานง่าย และนิยมมากที่สุดราคาของเคร่ือง
ไมโครคอมพิวเตอร์จะอยใู่ นชว่ งประมาณหม่นื กว่า ถึง แสนกว่าบาท ในวงการธุรกิจใช้ไมโครคอมพิวเตอร์กับงานทุก ๆ อย่าง

10

ไมโครคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กพอท่ีจะตั้งบนโต๊ะ (Desktop) หรือ ใส่ลงในกระเปา๋ เอกสาร เช่น คอมพิวเตอรว์ างบนตัก (Lap
top) หรือโน้ตบุ๊ก (Note book) ไมโครคอมพิวเตอร์สามารถทางานในลักษณะประมวลผลได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องเชื่อมโยง
กับคอมพิวเตอร์เคร่ืองอื่นเรียกว่าระบบแสตนอโลน (Standalone system)มีไว้สาหรับใช้งานส่วนตัวจึงเรียกเคร่ือง
ไมโครคอมพิวเตอรไ์ ด้อีกชอ่ื หน่งึ ว่า คอมพิวเตอร์สว่ นบุคคลหรอื เครื่องพีซี (PC:Personal Computer) และสามารถนาเครอ่ื ง
ไมโครคอมพิวเตอร์มาเช่ือมต่อกับเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องอ่ืน ๆ หรือเช่ือมต่อกับเครื่องเมนเฟรม เพื่อขยาย
ประสทิ ธภิ าพเพมิ่ ข้ึน ทาให้เคร่อื งไมโครคอมพิวเตอรเ์ ปน็ ทน่ี ยิ มใช้กันแพรห่ ลายอย่างรวดเรว็

1.5.2.5 คอมพิวเตอร์มอื ถือ (Handheld Computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุดเม่ือเทียบกับคอมพิวเตอรป์ ระเภทอื่นๆ อีกทั้งสามารถพกพาไปยังที่ต่างๆ ได้ง่าย
กว่า เหมาะกับการจัดการข้อมูลประจาวัน การสร้างปฏิทินนัดหมาย การดูหนังฟังเพลงรวมถึงการรับส่งอีเมล์ บางรุ่นอาจมี
ความสามารถเทียบเคียงได้กับไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ปาล์ม พ็อกเก็ตพีซี เป็นต้น นอกจากน้ีโทรศัพท์มือถือบางรุ่นก็มี
ความสามารถใกลเ้ คยี งกับคอมพิวเตอร์มือถอื ในกล่มุ นใ้ี นแง่ของการรนั โปรแกรมจัดการกับข้อมลู ทั่วไปโดยใช้ระบบปฏบิ ตั ิการ
Symbian หรอื ไมก่ ็ Linux

1.6 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เครอื่ งคอมพิวเตอร์ท่ีเราเหน็ ๆ กันอยูน่ ้ีเปน็ เพยี งองค์ประกอบส่วนหนึ่งของระบบคอมพวิ เตอร์เท่านั้น แต่ถ้าต้องการ

ให้เคร่ืองคอมพวิ เตอร์แต่ละเคร่ืองสามารถทางานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพตามที่เราตอ้ งการนั้น จาเป็นต้องอาศยั องค์ประกอบ
พน้ื ฐาน 4 ประการมาทางานร่วมกัน ซึ่งองค์ประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วย ฮารด์ แวร์ (Hardware)
ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากร (People ware) ข้อมลู / สารสนเทศ (Data/Information)

1.6.1 ฮารด์ แวร์ (Hardware)

หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบข้ึนเป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและ
สัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซ่ึงสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการ
ทางาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หน่วย
แสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าท่ีการทางาน
แตกต่างกนั

1.6.2 ซอฟต์แวร์ (Software)

หมายถึง ส่วนท่ีมนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคาส่ังที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เคร่ือง
คอมพิวเตอร์ทางาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มี
ซอฟต์แวร์เรากไ็ มส่ ามารถใช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์ทาอะไรไดเ้ ลย ซอฟต์แวรส์ าหรับเครอื่ งคอมพวิ เตอร์สามารถแบ่งได้ ดงั น้ี

1.6.2.1 ซอฟตแ์ วร์สาหรับระบบ (System Software) คือ ชดุ ของคาสงั่ ทเี่ ขยี นไว้เปน็ คาส่งั สาเร็จรูป ซง่ึ
จะทางานใกลช้ ดิ กับคอมพวิ เตอรม์ ากท่สี ุด เพือ่ คอยควบคุมการทางานของฮารด์ แวร์ทุกอยา่ ง และอานวยความสะดวกใหก้ ับ
ผู้ใช้ในการใช้งาน ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีกค็ ือ DOS, Windows, UNIX, Linux รวมทัง้ โปรแกรมแปลคาสง่ั

11

ที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic, FORTRAN, Pascal, COBOL, C เป็นต้น นอกจากน้โี ปรแกรมที่ใช้ในการ
ตรวจสอบระบบเชน่ Norton’s Utilities กน็ ับเป็นโปรแกรมสาหรับระบบดว้ ยเช่นกัน

1.6.2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมท่สี ่งั คอมพวิ เตอร์
ทางานต่างๆ ตามท่ผี ้ใู ช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจดั เกบ็ ข้อมูล เปน็ ต้น ซอฟตแ์ วรป์ ระยุกตส์ ามารถจาแนกได้
เปน็ 2 ประเภท คือ

- ซอฟต์แวร์สาหรบั งานเฉพาะดา้ น คือ โปรแกรมซ่ึงเขยี นข้ึนเพอื่ การทางานเฉพาะอย่างทีเ่ ราต้องการ บาง
ทีเ่ รยี กว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทาบัญชีจ่ายเงนิ เดือน โปรแกรมระบบเช่าซ้ือ โปรแกรมการทาสินค้าคงคลัง
เปน็ ต้น ซง่ึ แต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงอื่ นไข หรือแบบฟอรม์ แตกตา่ งกนั ออกไปตามความตอ้ งการ หรือกฎเกณฑ์ของแต่ละ
หน่วยงานท่ีใช้ ซ่ึงสามารถดดั แปลงแก้ไขเพ่ิมเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้ เพื่อใหต้ รงกับความต้องการ
ของผ้ใู ช้ และซอฟต์แวรป์ ระยุกต์ทเ่ี ขียนข้ึนน้โี ดยสว่ นใหญ่มักใช้ภาษาระดบั สูงเป็นตวั พัฒนา

- ซอฟตแ์ วรส์ าหรับงานท่วั ไป เปน็ โปรแกรมประยุกตท์ ่ีมีผ้จู ัดทาไว้ เพอ่ื ใช้ในการทางานประเภทต่างๆ ท่ัวไป
โดยผใู้ ช้คนอื่นๆ สามารถนาโปรแกรมนี้ไปประยุกตใ์ ชก้ ับข้อมลู ของตนได้ แตจ่ ะไม่สามารถทาการดัดแปลง หรอื แก้ไข
โปรแกรมได้ ผ้ใู ชไ้ มจ่ าเป็นต้องเขยี นโปรแกรมเอง ซึง่ เป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม
นอกจากนี้ ยังไม่ต้องใช้เวลามากในการฝึกและปฏบิ ัติ ซ่ึงโปรแกรมสาเรจ็ รูปนี้ มกั จะมีการใชง้ านในหน่วยงานท่ขี าดบุคลากร
ท่ีมีความชานาญเปน็ พิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนนั้ การใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรปู จงึ เปน็ ส่งิ ทอี่ านวยความสะดวกและเป็น
ประโยชน์อยา่ งยิ่ง ตวั อย่างโปรแกรมสาเรจ็ รปู ทนี่ ิยมใช้ไดแ้ ก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet
Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นตน้

1.6.3 บคุ ลากร (People ware)

หมายถงึ บคุ ลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมคี วามรเู้ ก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์ สามารถใชง้ าน สั่งงานเพ่ือให้
คอมพิวเตอร์ทางานตามทต่ี ้องการ แบง่ ออกได้ 4 ระดับ ดังน้ี

1.6.3.1 ผู้จดั การระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพวิ เตอร์ใหเ้ ปน็ ไปตาม
เป้าหมายของหนว่ ยงาน

1.6.3.2 นักวิเคราะหร์ ะบบ (System Analyst) คือ ผทู้ ศี่ ึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหมแ่ ละทาการ
วเิ คราะหค์ วามเหมาะสม ความเปน็ ไปได้ในการใช้คอมพวิ เตอร์กับระบบงาน เพือ่ ให้โปรแกรมเมอรเ์ ป็นผ้เู ขยี นโปรแกรมให้กับ
ระบบงาน

1.6.3.3 โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสง่ั งานเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์เพ่ือให้ทางาน
ตามความต้องการของผ้ใู ช้ โดยเขยี นตามแผนผงั ทีน่ ักวเิ คราะหร์ ะบบไดเ้ ขียนไว้

1.6.3.4 ผใู้ ช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซ่งึ ต้องเรียนรวู้ ิธีการใชเ้ คร่ือง และวธิ กี ารใชง้ าน
โปรแกรม เพ่ือใหโ้ ปรแกรมที่มอี ยูส่ ามารถทางานไดต้ ามทตี่ ้องการ
เนื่องจากเป็นผู้กาหนดโปรแกรมและใชง้ านเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ มนุษยจ์ ึงเป็นตวั แปรสาคัญในอันทีจ่ ะทาใหผ้ ลลัพธม์ คี วาม
น่าเชอ่ื ถอื เน่อื งจากคาสงั่ และขอ้ มูลท่ีใชใ้ นการประมวลผลไดร้ ับจากการกาหนดของมนุษย์ (People ware) ทง้ั ส้นิ

12

1.6.4 ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)
ข้อมูล (Data) เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอย่างหน่ึง การทางานของคอมพิวเตอร์จะเก่ียวข้องกับข้อมูลต้ังแต่การนา
ข้อมูลเข้าจนกลายเป็นข้อมูลที่สามารถใช้ประโยชน์ต่อได้หรือท่ีเรียกว่า สารสนเทศ (Information) ซ่ึงข้อมูลเหล่านี้อาจจะ
เปน็ ไดท้ ้งั ตวั เลข ตวั อักษร และขอ้ มลู ในรปู แบบอ่นื ๆ เช่น ภาพ เสียง เปน็ ต้น
ข้อมูลที่จะนามาใช้กับคอมพิวเตอร์ได้นั้น โดยปกติจะต้องมีการแปลงรูปแบบหรือสถานะให้คอมพิวเตอร์เข้าใจก่อน
จึงจะสามารถเอามาใช้งานในการประมวลผลต่างๆ ได้เราเรียกสถานะน้ีว่า สถานะแบบดิจิตอล ซ่ึงมี 2 สถานะเท่านั้น คือ
เปดิ (1) และ ปิด(0)

………………………………………………………………………………………………………………


Click to View FlipBook Version