รายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภททดลอง
เรื่อง การศกึ ษาและเปรยี บเทยี บชนิดของสาร Chitosan ทสี่ กัดจากสาร
Chitin ของก้งุ และหอยเชอร่ี ในการยบั ย้ังเช้อื Alternaria sp.
โดย
1. นางสาวปพชิ ญา เสนาบุญ
2. นางสาวณิชกานต์ สอนเนย
3. นายณัฐวัตร เจตยิ านันท์
ครูผฝู้ ึกสอน
1. นายฉัตร เจนชัย
2. นางจีรพรรณ หนอ่ แก้ว
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์
สำนักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์
ประเภททดลอง ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
เนื่องในงานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน ครัง้ ท่ี 68 วันท่ี 10-11 เดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. 2561
เร่อื ง การศกึ ษาและเปรยี บเทียบชนดิ ของสาร Chitosan ที่สกัดจากสาร
Chitin ของกงุ้ และหอยเชอรี่ ในการยับยั้งเช้อื Alternaria sp.
โดย เสนาบญุ
สอนเนย
1. นางสาวปพิชญา เจติยานันท์
2. นางสาวณชิ กานต์
3. นายณัฐวตั ร
ครูผู้ฝึกสอน
3. นายฉัตร เจนชัย
4. นางจรี พรรณ หน่อแก้ว
ข
กิตติกรรมประกาศ
การศึกษาคน้ ควา้ น้ีสาเร็จได้ดว้ ยความร่วมมือในการทางานเป็นหมคู่ ณะของผู้จดั ทาและความ
เอื้อเฟ้ือจากบดิ า มารดา เพ่ือนๆนกั เรียน และการคน้ คว้าเอกสารที่เก่ียวข้องจากอาจารย์ฉัตร เจนชัย
อาจารยจ์ ีรพรรณ หน่อแก้ว อาจารย์กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และท่านผู้อานวยการโรงเรียน
สาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ดร.นารี คูหาเรืองรอง ท่ีได้ให้การ
สนับสนุนและเป็นกาลงั ใจจนโครงงานนสี้ าเร็จลลุ ว่ งด้วยดี
นางสาวปพชิ ญา เสนาบุญ
นางสาวนชิ ากร สอนเนย
นายณฐั วตั ร เจตยิ านนั ท์
ก
โครงงานการทดลอง เร่ือง การศกึ ษาและเปรียบเทียบชนิดของสาร Chitosan ทสี่ กัดจากสาร Chitin
ของกุ้งและหอยเชอร่ี ในการยับย้ังเชื้อ Alternaria sp ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4
ชอ่ื ผ้จู ดั ทา 1. นางสาวปพชิ ญา เสนาบุญ
2. นางสาวณชิ กานต์ สอนเนย ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5
3. นายณัฐวัตร เจติยานันท์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5
ครูทีป่ รกึ ษา 1. นายฉัตร เจนชยั
2. นางจีรพรรณ หนอ่ แกว้
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตาบลคลองหนึ่ง
อาเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี
โทรศพั ท์ 02-5290864
บทคดั ย่อ
การศึกษาผลของสาร chitosan ท่ีสกัดจากเปลือกกุ้งและหอยเชอรี่ ซึง่ เป็นวัสดุเหลือทง้ิ ทพ่ี บ
ได้มากในชีวิตประจาวนั เม่ือทาการสกัดด้วยสารละลาย 40% NaOH จะให้ผลยับยั้งการเจริญเติบโต
ของเช้อื Alternaria sp. ทีเ่ ปน็ สาเหตุของโรคใบจดุ ในพชื
เม่ือทาการทดสอบผลการยับยั้งการเจริญของเช้ือ Alternaria sp. ด้วยวิธีการ paper disc
diffusion พบวา่ สารสกดั chitosan จากเปลือกกุ้งและหอยเชอรี่ทค่ี วามเขม้ ขน้ 10% สามารถยับย้ัง
การเจรญิ เติบโตของเชื้อรา Alternaria sp. ได้ โดยระยะของ clear zone ระหวา่ ง paper disc ทจี่ ุ่ม
ในสารละลาย chitosan จากเปลือกกุ้งและหอยเชอร่ี กับโคโลนีของเชอ้ื ราท่อี ายุ 10 วัน เฉล่ยี เท่ากับ
0.8 cm และ 0.45 cm ตามลาดบั
ดังนัน้ นอกจากการนาวสั ดเุ หลือท้ิงที่มีองคป์ ระกอบของไคตินมาใชป้ ระโยชนใ์ นการยับยั้งเชื้อ
ราที่เป็นสาเหตุโรคพืชแล้ว ยังเป็นการช่วยลดการใช้สารเคมีในการยับย้ังโรคพืช และลดการตกค้าง
ของสารเคมีในสิง่ แวดล้อมได้อกี ด้วย
สารบญั ค
เร่ือง หนา้
บทคัดย่อ ก
กิตตกิ รรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบญั ตาราง ง
สารบัญรปู ภาพ จ
บทท่ี 1 บทนา 1
1
ท่มี าและความสาคัญ 1
วัตถปุ ระสงค์ 1
สมมตฐิ าน 2
ตัวแปรทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 2
ขอบเขตของการศึกษา 2
นิยามคาศพั ท์เฉพาะ 2
ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับ 3
บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
4
ไคตนิ (Chitin) ไคโตซาน (Chitosan) 5
5
กุง้ 6
11
ห้อยเชอรี่ 13
16
การผลติ ไคติน และไคโตซาน 19
19
ลกั ษณะเชื้อรา Alternaria sp. 19
19
บทที่ 3 อุปกรณแ์ ละวิธีการดาเนินการ 20
บทท่ี 4 ผลการดาเนินการ 21
บทที่ 5 สรปุ ผลการดาเนนิ การ
สรปุ ผลการทดลอง
อภิปรายผลการทดลอง
ขอ้ เสนอแนะ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
ง
สารบัญตาราง หน้า
16
เรอ่ื ง 16
ตารางท่ี 1 ผลการทดลองของการสกดั สาร Chitosan ท่ีสกัดจากสาร Chitin 17
17
ของกงุ้ และหอยเชอร่ี
ตารางท่ี 2 ผลของสาร Chitosan ทส่ี กดั จากสาร Chitin ของกงุ้ ในการยบั ยง้ั
เช้อื Alternaria sp.
ตารางที่ 3 ผลของสาร Chitosan ทส่ี กัดจากสาร Chitin ของหอยเชอร่ี ในการยับยัง้
เช้อื Alternaria sp.
ตารางที่ 4 การเปรียบเทียบสาร Chitosan ทสี่ กดั จากสาร Chitin ของกุ้งและ
หอยเชอร่ี ในการยบั ยงั้ เชอื้ Alternaria sp.
สารบญั รปู ภาพ จ
เรือ่ ง หนา้
4
ภาพที่ 1 โครงสรา้ งของ Chitin, Chitosan, Cellulose 7
8
ภาพท่ี 2 ลกั ษณะของกงุ้ 9
ภาพท่ี 3 ลักษณะของหอยเชอรี่
ภาพที่ 4 การผลิตไคตนิ และไคโตซานจากกงุ้ และหอยเชอรี่
1
บทท่ี 1
บทนำ
1.1 ทม่ี ำและควำมสำคัญ
จากการศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับสาร Chitosan และที่ได้อ่านงานวิจัยของนักศึกษาและ
อาจารย์ จากมหาวทิ ยาลัยท้ังภายในและภายนอกเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากสาร Chitosan ไม่ว่า
จะเป็นด้านเกษตรกรรม ด้านการแพทย์ ด้านอุตสาหกรรม อีกทั้งคุณครูยังเคยกล่าวเก่ียวกับสาร
Chitosan ในชน้ั เรยี นทางกลมุ่ ของเรามคี วามเหน็ ว่าเปน็ ส่งิ ท่ีน่าสนใจเป็นอยา่ งมาก จงึ เป็นแรงผลักดัน
ให้ในกลุ่มของเราจะศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสาร Chitosan ที่สกัดจากสาร Chitin น้ีมากข้ึน
โดยผลจากการศกึ ษาปรากฏว่า สาร Chitosan ท่ีสกัดจากสาร Chitin นนั้ สามารถสกัดได้จากเปลือก
ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เชน่ กุง้ ปู หอย แมลงปีกแข็งและพืชชนิดต่างๆได้ เมื่อมองท่ีคนสว่ นใหญ่
นยิ มรับประทานกุ้ง เพราะเป็นสัตวท์ ่ีหาได้งา่ ย และมีราคาถูกแต่เปลือกกุ้งทีเ่ หลือจากการรับประทาน
นั้น ก็กลายเป็นเศษอาหารท่ีไร้ค่า ส่วนหอยเชอรี่น้ันถือว่าเป็นศัตรูท่ีสาคัญของชาวนาคนก็ไม่นิยม
นามารับประทานกันวัตถุดบิ ทั้งสองชนิดนี้เป็นส่งิ ที่ไม่มีใครนามาใช้ให้เกดิ ประโยชน์ กลุ่มของเราจึงนา
ความรู้ที่ได้น้ันมาใช้ โดยเราจะนาสาร Chitosan ท่ีสกัดจากสาร Chitin จากเปลือกกุ้งและเปลือก
หอยเชอร่ีน้ี นามาทดลองยับยงั้ เช้อื Alternaria sp. ซ่ึงเชื้อตัวนีเ้ ป็นสาเหตุท่ีทาใหเ้ กดิ โรคใบจุดในพืช
การศึกษาทดลองและเปรียบเทียบชนิดของสาร Chitosan ที่สกัดจากสาร Chitin ของกุ้ง
และหอยเชอรี่มีแต่การทดลองกับการยับยั้งเชื้อชนิดอื่นๆ และสวนใหญ่จะยังคงอยู่ในระดับหอง
ปฏิบัตกิ ารยังไมมกี ารนา Chitosan ทสี่ กดั จากสาร Chitin ของกุ้งและหอยเชอร่ีไปทดลองใช้ยบั ยั้งโรค
ท่ีเกิดจาก Alternaria sp. ดังนั้นทางผทู้ ดลองจึงสนใจทจ่ี ะทดสอบการออกฤทธิ์ยับย้ังการเกดิ โรคของ
เช้อื รา Alternaria sp.เพอื่ เปนแนวทางในการนาไปใชส้ าหรับแปลงปลูกจรงิ ในภาคเกษตรกรรมตอไป
1.2 วตั ถุประสงค์
2.1 เพื่อสกัดสาร Chitosan ทสี่ กัดจากสาร Chitin จากเปลือกกงุ้ และหอยเชอร่ี
2.2 เพื่อเปรียบเทียบชนิดของสาร Chitosan ที่สกัดจากสาร Chitin ของกุ้งและหอยเชอรี่
ในการยับยง้ั เชื้อ Alternaria Sp.
1.3 สมมติฐำน
สาร Chitosan ท่ีสกัดจากสาร Chitin ของกุ้งและหอยเชอร่ีสามารถยับยั้งเชื้อ Alternaria
Sp. ได้
2
1.4 ตัวแปรทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
4.1 ตัวแปรต้น คือ สกัดสาร Chitosan จากกงุ้ และหอยเชอร่ี
4.2 ตวั แปรตาม คือ ผลของการยับยัง้ เชอ้ื Alternaria Sp.
4.3 ตวั แปรควบคุม
4.3.1 Alternaria Sp.
4.3.2 อุณหภมู ิ
4.3.3 ระยะเวลา
4.3.4 ปริมาณโซเดยี มไฮดรอกไซด์ (NaOH)
4.3.5 ปริมาณกรดเกลอื (HCl)
4.3.6 ความเข้มขน้ ของสารละลายจากเปลือกกุ้งและเปลือกหอยเชอรี่
4.3.7 อาหารเลี้ยงเชื้อ PDA (Potato dextrose agar)
1.5 ขอบเขตกำรศกึ ษำ
1.5.1 เชอ้ื คอื เชอ้ื รา Alternaria Sp. ท่ีเปน็ สาเหตใุ นการเกิดโรคใบจดุ ในพชื
1.5.2 ก้งุ คอื ส่วนเปลือกแข็งของกุ้ง
1.5.3 หอยเชอร่ี คือ ส่วนเปลอื กของหอยเชอร่ที ี่นามาจากแปลงนาสาธติ ในมหาวิทยาลยั
1.6 นิยำมศพั ทเ์ ฉพำะ
1.6.1 Chitosan หมายถึง อนุพันธ์ของไคตินท่ีตัดเอาหมู่อะซิทิล ของน้าตาล N-acetyl-D-
glucosamine ออกตัง้ แต่ 50% ข้ึนไป และมสี มบัติในการละลายในกรดออ่ น
1.6.2 Chitin หมายถึง โพลิเมอร์ธรรมชาติ โดยพบเป็นองค์ประกอบของเปลือกแข็งท่ีหุ้ม
เซลล์ของรา ยีสต์ และจุลินทรีย์หลายชนิด หรือ พบเป็นโครงสร้างแข็งของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
เช่น ก้งุ ปู และแมลงทกุ ชนดิ ซึ่งโครงงานนี้จะสกดั สาร Chitin จากเปลอื กกุง้ และหอยเชอรี่
1.6.3 Alternaria Sp. หมายถึง เชื้อราชนิดหนึ่งที่ก่อให้เกิดโรคกับพืชต่างๆ มากมายหลาย
ชนดิ โดยเฉพาะผักต่างๆ
1.6.4 การยับยั้ง คือ ประสิทธิภาพการทางานของไคโตซานจากเปลือกกุ้งและเปลือก
หอยเชอรี่
1.7 ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั
1.7.1 ได้ทราบกระบวนการในการสกดั Chitosan จากเปลอื กกงุ้ และหอยเชอร่ี
1.7.2 สามารถนาวัตถุดบิ จากธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ในการกาจดั โรคท่ีเกิดกับพชื ได้
1.7.3 สามารถนาส่ิงทใ่ี กล้ตัวมาประยุกตใ์ ช้ให้เกิดประโยชน์
1.7.4 เปน็ การนอ้ มนาทฤษฏีของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
3
บทท่ี 2
เอกสารทีเ่ กีย่ วขอ้ ง
การศกึ ษาครงั้ นี้ ไดศ้ กึ ษารวบรวมเอกสาร แนวคดิ ทฤษฎีและผลการวจิ ัยท่เี กย่ี วขอ้ ง เพ่อื เป็น
แนวทางในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เร่ือง การศึกษาและเปรียบเทียบชนิดของสาร Chitosan
ที่สกัดจากสาร Chitin ของกุ้งและหอยเชอร่ี ในการยับยั้งเช้ือรา Alternaria sp. ในพืชกลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
อาเภอคลองหลวง จังหวดั ปทมุ ธานี ดงั นี้
2.1 ไคติน (Chitin) ไคโตซาน (Chitosan)
2.2 กุ้ง
2.3 ห้อยเชอร่ี
2.4 การผลติ ไคติน และไคโตซาน
2.5 ลกั ษณะเชื้อรา Alternaria sp.
4
2.1 ไคตนิ และไคโตซาน
ไคติน เป็นสารโพลีแซคคาไรด ์ (Polysaccharide) ประกอบด้วยน้าตาลโมเลกุลเดี่ยวชนิด
กลูโคสมาต่อกันเป็นสายยาว ซึ่งมีหมู่อะซีโตมิโด (-NHCOCH3) เป็นองค์ ประกอบเรียกว่า
polyacetyl amino glucose (ปิ ย ะ บุ ต ร, 2 5 4 7 ) ไค ติ น มี ช่ื อ ท างเค มี ว่า poly-β-(1 ,4 )-2 -
acetamido-2deoxy-D-glucose มีสูตรโมเลกุล (C8H13O5N)n ประกอบด้วย คาร์บอน 47.29%
ไฮโดรเจน 6.45% ไนโตรเจน 6.89% และออกซิเจน 39.37% โดยน้าหนัก เนื่องจากไคตินเป็น
สารโพลีเมอร์ท่ีไม่มี ประจุ ทาให้ไม่สามารถละลายในตัวทาละลายทมี่ ีขัว้ และไมม่ ีข้วั ได้ ดังนน้ั จึงมีการ
เปลี่ยนแปลง โครงสร้างของไคตินท่ีสกัดได้โดยวิธีทางเคมีให้เป็นสารใหม่ที่เรียกว่า ไคโตซาน
(รัตมณี, 2540)
ไคโตซาน เป็นโพลีเมอร์ของน้าตาลกูลโคสท่ีมีหมู่อะมิโน (-NH2) มาประกอบเรียกว่า poly
amino glucose มีสูตรโมเลกุล (C6H12O4N)n ไคโตซานมีชื่อทางเคมีว่า poly-β-(1,4)-2-amino-
2deoxy-D-glucose (รัตมณี, 2540) ไคโตซานจัดเป็นอนุพันธ์ของไคติน ซ่ึงเกิดจากการกาจัดหมู่
อะซตี ิล (deacetylation) ออกจากไคตินในสารละลายดา่ งเขม้ ขน้ เพ่อื ให้เกิดเปน็ โพลเี มอรท์ ี่สามารถ
ละลายในกรดอินทรียไ์ ด้หลายชนดิ เชน่ กรดอะซติ ิก , กรดซิตรกิ และกรดแลคติก เป็นต้นปจั จบุ นั จงึ มี
การนาไคโตซานไปประยุกต์ใช้ในรูปแบบต่าง ๆ มากกว่าไคติน แต่ไคโตซาน ยังคงไม่สามารถ ละลาย
ในตัวทาละลายอนิ ทรีย์ นา้ และเบสได้ ( ปยิ ะบุตร, 2547)
ภาพที่ 1 โครงสรา้ งของ Chitin, Chitosan, Cellulose
5
2.2 กงุ้
กุ้ง จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ช้ัน Crustacea อันดับ Decapoda มีด้วยกัน
หลายวงศ์ กุ้งเป็นสัตว์น้า หายใจด้วยเหงือก ลาตัวยาว แบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้องๆ เปลือกที่หุ้ม
ท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปลอ้ งท่ี 8 สว่ นใหญ่กรมี ลี ักษณะแบนข้าง ก้ามและขาอยู่ทส่ี ่วนหวั และอก
มี 10 ขา มีทัง้ ในน้าจดื และนา้ เค็ม โดยปกตชิ อบหลบซอ่ นตัวอยู่เงยี บๆ ตามพื้นน้าหรือในซอกมืดๆ จะ
ออกหากินในเวลากลางคืน กุง้ กินท้งั พืชและสัตว์เป็นอาหาร เชน่ กนิ กงุ้ ด้วยกันเอง ลูกปลา ไส้เดือน
สัตว์หน้าดินขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ ข้าว เน้ือมะพร้าวตลอดจนซากสตั ว์ สามารถแบง่ ออกไดห้ ลายชนิด
เช่น กุ้งกุลาดา กุ้งก้ามกราม กุ้งนาง กุ้งหลวง กุ้งก้ามเกลี้ยง กุ้งตะกาด กุ้งตะเข็บ กุ้งฝอย กุ้ง
หัวแข็ง กุ้งหัวโขน กุ้งขาว กุ้งรู กุ้งหิน กุ้งดีดขัน กุ้งแชบ๊วย กุ้งเครย์ฟิช ส่วนประกอบของเปลือกกุ้ง
ส่วนใหญ่เปน็ ไคติน รองลงมาก็เปน็ จาพวกแรธ่ าตุ โปรตีน ส่วนของไขมนั เป็นต้น
ทม่ี า: วิกพิ ีเดยี สารานุกรมเสรี (ออนไลน์ , https://th.wikipedia.org/wiki/กงุ้ )
ภาพที่ 2 ลกั ษณะของกุ้ง
2.3 หอยเชอรี่
หอยเชอร่ี หรือ หอยโข่งอเมริกาใต้ หรือ หอยเป๋าฮื้อน้าจืด (อังกฤษ: Golden applesnail,
Channeled applesnail; ช่ือวิทยาศาสตร์: Pomacea canaliculata) เป็นหอยน้าจืดจาพวกหอย
ฝาเดียว มีถ่ินกาเนิดในทวีปอเมริกาใต้ แบ่งหอยเชอรี่ได้ 2 พวก คือ พวกที่มเี ปลือกสเี หลืองปนน้าตาล
เน้ือและหนวดสีเหลือง และพวกมีเปลือกสีเขียวเข้มปนดา และมีสีดาจาง ๆ พาดตามความยาว เนื้อ
และหนวดสนี ้าตาลอ่อน หอยเชอรี่เจรญิ เติบโตและขยายพันธุ์ได้อย่างรวดเรว็ ลูกหอยอายเุ พียง 2 – 3
เดอื น จะจับคู่ผสมพันธ์ุได้ตลอดเวลา หลังจากผสมพันธุ์ได้ 1 – 2 วัน ตัวเมียจะวางไข่ในเวลากลางคืน
โดยคลานไปวางไข่ตามท่ีแห้งเหนือน้า เช่น ตามก่ิงไม้ ต้นหญ้าริมน้า โคนต้นไม้ริมน้า ข้าง ๆ คันนา
และตามต้นข้าวในนา ไข่มีสีชมพูเกาะติดกันเป็นกลุ่มยาว 2 – 3 น้ิว แต่ละกลุ่มประกอบด้วยไข่เป็น
ฟองเล็ก ๆ เรียงตัวเป็นระเบียบสวยงาม ประมาณ 388 – 3,000 ฟอง ไข่จะฟักออกเป็นตัวหอย
ภายใน 7 – 12 วนั หลังวางไข่
หอยเชอรี่ ประเทศไทยนาเข้ามาคร้ังแรกจากประเทศญ่ีปุ่นและไต้หวัน ในฐานะของหอยท่ี
กาจัดตะไคร่น้าและเศษอาหารในต้ปู ลา ซ่ึงนิยมเล้ียงกันอย่างแพรห่ ลายราวก่อนปี พ.ศ. 2530 ตอ่ มา
ไดม้ ีผู้คิดจะเล้ียงเพาะขยายพันธุ์เป็นสัตว์เศรษฐกิจเพ่ือการบริโภค แต่ทว่าไมไ่ ด้รับความนิยมจงึ ปล่อย
6
ลงแหล่งน้าธรรมชาติ จนกลายเป็นปัญหาชนิดพันธ์ุต่างถิ่นในปัจจุบัน เน้ือหอยเชอร่ีมีโปรตีนสูงถึง
34 - 53 เปอร์เซ็นต์ ไขมัน 1.66 เปอร์เซ็นต์ ใช้ประกอบอาหารได้หลายอย่างเช่น ส้มตา หรือทา
นา้ ปลาจากเน้ือหอยเชอรี่ ใช้ทาเป็นอาหารสัตว์เล้ยี ง เช่น เป็ด ไก่ สุกร เป็นต้น เปลือกก็สามารถปรับ
สภาพความเปน็ กรดเป็นด่างของดินได้ ตวั หอยทง้ั เปลือกถ้านาไปฝงั บรเิ วณทรงพมุ่ ไมผ้ ล เมื่อเน่าเปอื่ ย
ก็จะเป็นป๋ยุ ทาให้ต้นไม้เจริญเติบโตเรว็ และได้ผลผลิตดีไม่ควรบริโภคเน้ือหอยเชอร่ใี นบริเวณทอี่ ยู่ใกล้
โรงงานอตุ สาหกรรมท่ีปลอ่ ยนา้ เสยี หรอื บรเิ วณพนื้ ท่ที ่ีมีการใช้สารเคมีกาจัดศตั รูพชื
สถาบันหัวใจและปอดแห่งชาติของแคนาดา ระบุว่า หอยเชอรี่อุดมไปด้วยคุณค่าทางอาหาร
คอื เป็นแหล่งของวิตามินเอ บีหน่ึง (ไทอามีน) บสี อง (ไรโบฟลาวิน) บีสาม (ไนอาซนิ ) ซี (กรดแอสคอร์
บคิ ) และดี (แคลซิฟรี อล) การบริโภคหอยเชอร่ีชว่ ยให้ร่างกายได้รบั แร่ธาตุประเภท แร่เหล็ก ทองแดง
ไอโอดนี แมกนีเซียม แคลเซียม สังกะสี แมงกานสี และฟอสฟอรสั อย่างไรก็ตาม หอยเชอรี่ดิบอาจมี
พยาธแิ ละแบคทเี รีย จงึ ควรหลีกเล่ยี ง
ท่มี า: วกิ พิ ีเดยี สารานุกรมเสรี (ออนไลน์ , https://th.wikipedia.org/wiki/หอยเชอรี่)
ภาพท่ี 3 ลักษณะของหอยเชอร่ี
2.4 การผลติ ไคตนิ และไคโตซาน
การผลิตไคตินสามารถทาได้ 2 วีิธิคือ การผลิตจากกระบวนการทางชีวภาพ และจาก
กระบวนการทางเคมี ซ่ึงกระบวนการทางชีวภาพเป็นการสกัดไคตินจากจุลินทรีย์ที่ทาการเพาะเล้ียง
เช่น เชื้อรา หรือยีสต โ์ ดยการใช้เอ็นไซม์ในการเข้าทาปฏิกิริยาเป็นวิธีท่ีมีความยุ่งยาก จึงใช้ในกรณี
ที่เปลือกของสัตว์น้ามีไม่เพียงพอต่อความต้องการ ส่วนข้ันตอนการผลิตไคติน และไคโตซานด้วย
กระบวนการทางเคมีรวบรวมจากจิราภรณ์ (2544) รัตนา (2544) และศูนย์ชีวภาพไคตินไคโตซาน
(2548) สรุปได้ดังต่อไปนี้คือ นาเปลือกหรือกระดองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังไปตากแดดให้ แห้ง
แล้วบดใหม้ ีขนาดเลก็ หลังจากน้ันจงึ นาไปกาจดั แร่ธาตุออกจากเปลอื กสตั ว์น้าโดยใช้ สารละลายกรด
เช่น กรดไฮโดรคลอริค เม่ือกาจัดแร่ธาตุออกหมดแล้วจึงนามากาจัดโปรตีนด้วย สารละลายเบส เช่น
โซเดียมไฮดรอกไซด์ ทคี่ วามเข้มข้น 1 – 10% อุณหภมู ิประมาณ 65 – 100 องศาเซลเซยี ส เป็นเวลา
ประมาณ ½ - 6 ชั่วโมง ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับความเข้มข้นของสารละลายด่างและอุณหภูมิที่ใช้ ต่อมาจึง
กาจัดรงค์วัตถุออกโดยใช้ เอทานอล หรือ อะซิโตน และอาจใช้สารฟอกขาวอ่ืน ๆ ร่วมด้วย เช่น
โซเดียมไฮโปคลอไรด์ หรือโปแตสเซียมเปอร์แมงกาเนต เป็นต้น ผลผลิตที่ได้จากขั้นตอนนี้คือ ไคติน
7
หลังจากน้ันเมื่อนาไคตนิ มาทาปฏิกิริยากับสารละลายด่างเข้มข้นเช่น สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
ความเข้มข้น 50% โดยน้าหนัก ที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ช่ัวโมง ผลผลิตที่ได้คือ
ไคโตซาน โดยหลักเกณฑ์สาคัญทีใ่ ช้ในการผลิตไคโตซานคอื เม่ือนาไคตินมาทาปฏิกริ ยิ ากับ สารละลาย
ด่างท่ีเข้มข้นมาก ควรลดอุณหภูมิและเวลาในการทาปฏิกิริยาลง เพ่ือป้องกันการ เส่ือมสภาพของ
ไคโตซาน
เปลอื กกงุ้ และหอยเชอรี่
บดแยกขนาด
แยกโปรตีนออก (ต้มกับด่าง 4-8%)
ล้างนา้ ใหห้ มดด่าง
แยกเกลอื แร่ออก (ตม้ กับกรด 4-8%)
ลา้ งนา้ แล้วทาใหแ้ หง้
ไคติน
ทาปฏกิ ริ ิยาหมู่อะซตี ลิ (ใช้ด่างเขม้ ข้น 40-50% ภายใตอ้ ุณหภูมิสงู )
ล้างนา้ แล้วทาให้แหง้
ไคโตซาน
ภาพท่ี 4 การผลิตไคตนิ และไคโตซานจากกุ้งและหอยเชอร่ี
8
2.4.1 ปัจจัยทม่ี ผี ลต่อคณุ ภาพไคโตซาน
คุณภาพของไคตินมีผลต่อคุณภาพของไคโตซานท่ีผลิตได้ เน่ืองจากไคตินเป็นสารตั้งต้นใน
การผลิตไคโตซาน การท่ีไคตินจะมีคุณภาพดีหรือไม่นั้นข้ึนอยู่กับปัจจัย 2 อย่างคือ วัตถุดิบท่ีนา
มาผลติ และกรรมวธิ ที ่ีใช้ในการสกัด ซ่ึงมดี ังต่อไปน้ี
1) ขนาดของวัตถุดิบ การใช้วัตถุดิบท่ีมีขนาดเล็ก (1 mm) จะให้ไคโตซานท่ีมีความหนืด
และน้าหนักโมเลกุลสูง กว่าการใช้วัตถุดิบท่ีมีขนาดใหญ่ (2, 6.4 mm) เน่ืองจากไคตินที่มีขนาดใหญ่
ต้องการใช้เวลาในการบวมตัวนานกว่า อัตราเร็วในการกาจัดหมู่อะซีติลจึงเกิด ข้ึนช้ากว่า และส่งผล
ทาใหเ้ กดิ ปฏิกริ ยิ า depolymerization สูงตามมา (Bough et al., 1978)
2) ชนิดของสารละลาย สารละลายด่างท่ีนิยมใช้ในการกาจัดหมู่อะซิติลในไคตินคือ สาร
ละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ นอกจากน้ียังพบว่า การใช้สารละลายโปแตสเซียมไฮดรอกไซดี์ในการ
กาจัดหมู่อะซิติลยังมีผลทาให้ไดไ้ คโตซานท่ีมีความหนืดสูงกว่าการใช้สารละลายด่างชนิดอื่น (รัตมณี,
2540)
3) ระยะเวลาในการทาปฏิกิริยาและ ความเข้มข้นของสารละลายด่าง ระดั บการ
เกิดปฏิกิริยา deacetylation จะเป็นไปอย่างรวดเร็วในช่วงต้นของปฏิกิริยา หลังจากนั้นจะค่อย ๆ
ลดลงจนกระทั่ง คงท่ี Wu and Bough (1978) พบว่าหากนาไคตินไปทาปฏิกริ ิยากาจัดหมู่อะซิตลิ ใน
สารละลาย 50 % โซเดียมไฮดรอกไซด์ที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซยี ส เปน็ เวลา 1 ชัว่ โมง ไคโตซานท่ี
ผลิตได้จะมีระดับการกาจัด หมู่อะซีติล 68% แต่หากเพ่ิมระยะเวลาในการทาปฏิกิริยาต่อไปเป็น 5
ชั่วโมง ระดับของการกาจัด หมู่อะซีติลจะมีค่าสูงขนึ้ เพียงเล็กน้อย แต่น้าหนักโมเลกุลและความหนืด
ของไคโตซานจะลดต่าลง นอกจากนี้ Alimuniar and Zainuddin (1992) พบว่าหากใช้ความเข้มข้น
ของสารละลายด่างต่าเกิน ไปหรอื กระทาในสภาวะทไี่ ม่รนุ แรงพอ อาจส่งผลทาให้ไคโตซานไม่สามารถ
ละลายในกรดอินทรีย์ ได้เช่นการใช้สารละลายด่างที่มีความเข้มข้นต่ากว่า 45% ทาปฏิกิริยาที่
อณุ หภูมหิ ้องเปน็ เวลา 30 วนั
4) อุณหภูมิในการกาจัดหมู่อะซิติล การกาจัดหมู่อะซิติลส่วนมากจะกระทาที่อุณหภูมิ
ทค่ี ่อนข้างสูง ได้แก่อุณหภูมิ 80 – 100 องศาเซลเซยี ส และ 145 – 150 องศาเซลเซยี ส ซ่ึงอุณหภูมิที่
สูงข้ึนจะมีผลทาให้ระดับ การกาจัดหมู่อะซีติลของไคโตซานสูงข้ึน แต่น้าหนักมวลโมเลกุลของ
ไคโตซานจะลดลง (ศูนย์วัสดุ ชีวภาพไคตินไคโตซาน , 2548) ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า การใชอ้ ุณหภูมิท่ีสูง
เกินไปในการกาจัดหมู่อะซิติลจะทา ให้ไคโตซานท่ีผลิตได้สูญเสียสภาพธรรมชาติ และโมเลกุล
เกิดปฏิกริ ิยาเสื่อมสภาพได้ (degradation) จึงควรลดอุณหภูมิในการกาจดั หมู่อะซติ ิลลงหากใช้ความ
เข้มข้นของสารละลายดา่ งท่ี สงู ข้นึ เพ่ือป้องกันไม่ให้เกิดภาวะในการกาจัดหมู่อะซติ ิลท่ีรุนแรงเกินไป
5) สภาวะในช่วงการผลิตไคติน การแยกแร่ธาตุในขั้นตอนการผลิตไคตินมีผลต่อขนาด
โมเลกุลของไคโตซาน โดยการใช้กรดเกลือที่มี pH ไม่ต่ากว่า 3 จะได้ไคโตซานท่ีมีความหนืดสูง
นอกจากน้ียังพบว่าความหนืดของไคโตซานจะลดลง เมื่อเพ่ิมระยะเวลาใน ขั้นตอนการกาจัดแร่ธาตุ
(Myint et al., 2002) และยงั พบว่าในกระบวนการผลิตหากทาการแยกแร่ธาตุออกกอ่ นกาจัดโปรตีน
ไคโตซานท่ีได้จะมีค่าความหนืดสูงกว่าไคโตซานท่ีผลิตจากข้ันตอนการแยกโปรตีนออกก่อน
แรธ่ าตุ (Lertsutthiwong et al., 2002)
9
6) อัตราส่วนระหว่างไคตินกับสารละลายด่าง เป็นอีกปัจจัยหน่ึงท่ีมีผลต่อคุณภาพของ
ไคโตซาน โดยสารละลายด่างที่ใช้ควรมีปริมาณมากเพียงพอในการทาให้เกิดปฏิกิริยากับไคตินได้
อย่างท่ัวถึง อย่างไรก็ตาม รัตนา (2544) รายงานว่า อัตราส่วนของไคตินต่อสารละลายด่างที่สูง
มากกวา่ 1: 10 จะไม่มีผลในการเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการเกดิ ปฏิกิรยิ า deacetylation ของไคตนิ
7) การฟอกสี โดยใช้ 0.5% ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์มีผลทาให้ความหนืด ของสาร ละลาย
ไคโตซานใน 2% acetic acid มคี ่าลดลง ส่วนไคโตซานท่ไี มผ่ า่ นกระบวนการฟอกสจี ะมีค่า ความหนืด
มากกวา่ ไคโต ซานชนิดที่ฟอกสีหลังกาจัดแรธ่ าตุ ฟอกสีหลังกาจดั โปรตีน และฟอกสี หลังกาจดั หมู่อะ
ซิติล ตามลาดบั (รัตมณี, 2540)
นอกจากนี้ยังพบว่า เปลือกสัตว์น้าท่ีต่างชนิดกัน ย่อมส่งผลทาให้ได้ปริมาณไคตินและ
ไคโตซานที่แตกต่างกันดังน้ี กระดองหมึกกล้วย กระดองหมึกหอม เปลือกกุ้ง และหัวกุ้ง ให้ปริมาณ
ไคโตซาน 30, 28, 22.5 และ 14% (น้าหนักแห้ง) ตามลาดับ โดยเปลือกกุ้งให้ปริมาณไคโตซาน
มากกวา่ ส่วนหัว (อัธยา และคณะ, 2536) เยาวภา (2534) ผลิตไคติน และไคโตซานจากเปลือกกุ้งขาว
ได้ 29.33 และ 22.89% ตามลาดับ ส่วนเปลือกหอยให้ผลผลิตเป็นไคตินต่าเน่ืองจากส่วนใหญ่เป็น
สว่ นประกอบของแคลเซยี มจากการทดสอบของ พัฒนันท์ (2545) ท่ไี ด้สกดั ไคโตซานจากเปลือก หอย
5 ชนิด คือ หอยเชลล์หอยลาย หอยเสียบ หอยแมลงภู่ และหอยหลอดพบว่าเม่ือนาเปลือกหอย มา
กาจดั แรธ่ าตุและโปรตนี ออกจะเหลือเป็นไคตินเพียง 0.02 – 1.99% เท่านั้น ส่วนปูมา้ และปูทะเล มี
ปริมาณไคติน 18.51 และ14.14% ซึ่งส่วนใหญ่ไคตินสะสมอยู่ที่เปลือกขาเดินขาว่ายน้ามากท่ีสุด
รองลงมาคือส่วนทอ้ ง กระดอง และก้ามตามลาดับ ปราณี (2541)
การท่ีเปลือกสัตว์ทะเลแต่ละชนิดมีการสะสมไคติน ในปริมาณที่แตกต่างกัน เนื่องจากมี
กิจกรรมในการดารงชีวิตท่ีแตกต่างกัน ณรงค์ (2536 อ้างถึงใน ปราณี , 2541) อธิบายว่าปูท่ีมีการ
เคลอื่ นท่หี รือมกี จิ กรรมในรอบวันสงู จะมีปริมาณไคตินตอ่ น้าหนักเปลือกแห้งสูงกว่าปูทม่ี ีการ เคลอื่ นท่ี
หรือมีกิจกรรมต่า เน่ืองจากต้องลดปริมาณแคลเซียมในเปลือกลง เพ่ือทา ให้ปูมีน้าหนักเบาและ
สามารถเคล่ือนไหวได้ง่ายข้ึน จึงเกิดการสะสมไคตินในเปลือกขึ้นสูงแทนเพราะไคตินเป็น สารท่ีมี
ความแขง็ แรงและมีความยืดหยนุ่ มากกวา่ ดังน้ันปูม้าที่มีเปลือกเหนียวบาง และมีกิจกรรมใน รอบวัน
สูงจะมีปริมาณไคตินในเปลือกสูงกว่าปู ทะเลที่มีเปลือกแข็งหนา และมีพฤติกรรมฝังตัวอยู่ กับท่ี
ในขณะท่ีการทดสอบของ พัฒนันท์ (2545) พบว่าเปลือกหอยมี การสะสมแคลเซียมและ โปรตีนเป็น
องค์ประกอบประมาณ 32.66 – 38.96% และ 0.55 – 4.89% ตามลาดับซ่ึงแสดงให้เห็น
ว่าองค์ประกอบหลกั ของเปลือกหอย คอื เกลือแร่ซึง่ มปี รมิ าณเถ้ามากถึง 99.53 – 99.84%
2.4.2 สมบตั ิทางเคมี และกายภาพของไคตนิ และไคโตซาน
ไคตินและไคโตซานท่ีผลิตจากวัตถุดิบที่แตกต่างกัน ย่อมส่งผลทาให้มีสมบัติทางเคมี และ
กายภาพท่ีไม่เหมือนกัน ดังนั้นการตรวจสอบสมบัติทางเคมี และกายภาพของไคตินและไคโตซาน จึง
สามารถบ่งบอกถึงคุณภาพของไคตินและไคโตซานได โ้ ดยสามารถสรุปคุณสมบัติทางเคมี และ
กายภาพของไคตินและไคโตซานไดด้ งั นี้
1) การละลาย (Solubility) ไคตินและไคโตซานสามารถละลายได้ดีในกรดเข้มข้นจาพวก
กรดไฮโดรคลอรกิ กรดซัลฟรู กิ กรดฟอสฟอริก และกรดฟอร์มกิ แต่ไม่สามารถละลายในตัวทา ละลาย
10
ทั่วไป เช่น น้ากรดเจือจางที่มีค่า pH มากกว่า 6 ด่างท่ีเจือจางหรือเข้มข้น แอลกอฮอลล์ และตัวทา
ละลายอินทรยี ์อืน่ ๆ (พัฒนนั ท,์ 2545)
2) ระดับการกาจัดหมู่อะซีติล (Degree of Deacetylation, %DD) เป็นปัจจัยพื้นฐานทาง
โครงสร้างที่มีความสาคัญต่อสมบัติของไคโตซาน เช่น การละลาย ความหนืด และการดูดความช้ืน
(นันทิยา, 2548) ซึ่งมีผลต่อการนาไปประยุกต์ใช้ เน่ืองจากไคตินและไคโตซานเป็นโคโพลิเมอร์
ระหว่างสองโมโนเมอร์ของ N–Acetyl-D-Glucosamine และ D-Glucosamine ภาวดี และคณะ
(2543) กล่าวว่า ระดับการกาจัดหมู่อะซีติลจึงเป็นตัวบ่งช้ีความเป็นไคตินและไคโตซาน ถ้าสัดส่วน
ทอ่ี ยรู่ ่วมกันของโมโนเมอร์แรกมากกว่า คือมีค่าระดับการกาจัดหมอู่ ะซตี ิลตา่ จะแสดง สมบัตเิ ดน่ ของ
ไคตนิ แต่ถา้ สดั ส่วนของโมโนเมอร์ที่สองมีมากกว่า คือมีระดับการกาจดั หมู่อะซีติลสูงจะแสดง สมบัติ
เดน่ ของไคโตซาน
3) ความหนืด (Viscosity) การไหลของโพลเี มอรส์ ามารถใชเ้ ป็นตัวชวี้ ดั ขนาดของสายโซ่ โพลี
เมอร์ได้เป็นอย่างดีเน่ืองจากหากสายโซ่โพลีเมอร์มีความยาวมากจะแสดงสมบัติการไหลที่ช้า โดยค่า
ของความหนืดจะผันแปรไปตามมวลโมเลกลุ ของโพลีเมอร์ชนิดนั้น ๆ คา่ ความหนืดของสาร ละลายไค
โตซานข้นึ อยู่กับปัจจัยหลายอยา่ ง เช่น สภาวะการกาจดั หมู่อะซตี ิล มวลโมเลกลุ ความ เข้มขน้ ความ
เป็นกรดด่าง และอุณหภูมิ (ศูนย์วัสดุชีวภาพไคตินไคโตซาน , 2548)โดยทั่วไปแล้ว ความหนืดของ
สารละลายโพลีเมอร์จะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงข้ึน นอกจากน้ีชนิดของกรดที่ใช้ในการ ปรับค่า pH ยัง
ส่งผลต่อความหนืดที่แตกต่างกันด้วย เช่น ความหนืดของไคโตซานในกรดอะซิติกจะ เพ่ิมข้ึนเมื่อ
สารละลายมีค่า pH ลดลง ในขณะท่ีความหนืดของไคโตซานในกรดไฮโดรคลอรกิ จะ เพิ่มขึ้นเมื่อ pH
สูงข้นึ (สุวบุญ และคณะ, 2544)
2.4.3 การนาไคตนิ และ ไคโตซานไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ
ปจั จุบันมีการนาไคตินและไคโตซานมาเป็นสว่ นผสมในผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพอื่ ใช้ประโยชน์ ใน
รปู แบบทหี่ ลากหลายมากข้นึ ดังน้ี
1) ด้านการเกษตร สามารถนา มาใช้เป็นส่วนผสมของสารปรับสภาพดินสาหรับเพาะปลูก
(Hirano, 1996) ช่วยเพิ่มอัตราการงอกของเมล็ด (Li and Wu, 1998) ใช้เป็นสารกระตุ้นการ
เจริญเตบิ โตของต้นข้าวและสารต้านทานโรคพืชเช่น เช้ือราของต้นข้าวโพด โดยใชเ้ ป็นส่วนผสม ของ
สารฉีดพ่น (Chandrkrachang, 2002)
2) ดา้ นเสน้ ใยและสงิ่ ทอ ใช้ผลิตเป็นเส้นใยและเส้นด้าย (Struszczyk, 1997) เป็นสารชว่ ยใน
กระบวนการสง่ิ ทอ โดยใช้เป็นตัวประสาน และเป็นสารให้ความหนดื ในแป้งพิมพ์ของงานพิมพ์บน ผืน
ผ้า (Arab-Bahmani et al., 2000)
3) ด้านอาหารใช้ทาฟิลม์ หอ่ หมุ้ เพื่อถนอมอาหาร เนื่องจากมคี ุณสมบตั ติ ่อตา้ นแบคทเี รีย และ
เช้ือรา รวมท้งั มคี วามสามารถในการควบคมุ ความชน้ื ของอาหาร (Krasavtsev et al., 2002)
4) ด้านเคร่อื งสาอาง เน่ืองจากไคโตซานมคี ุณสมบัติในการอุ้มน้าและต่อต้านจุลนิ ทรยี ์ จึงใช้
เป็นส่วนผสมของสารทีใ่ ห้ความชมุ่ ช้ืน ในครมี บารงุ และโลชนั่ ตา่ ง ๆ (Hirano, 1996)
11
5) ด้านการแพทย์ละเภสัชกรรม ใช้เป็นวัสดุปิดบาดแผล เช่น พลาสเตอร์ปิดแผล ไหมเย็บ
แผล โดยมีคุณสมบัติป้องกันการติดเช้ือจึงทาให้แผลหายเร็วขึ้น (Mi et al., 2001) ใช้เป็นส่วนผสม
ของเม็ดยา เพอื่ ควบคมุ การแพร่และซมึ ผ่านของยา (Li et al., 2002)
6) ด้านการบาบัดน้าใช้เป็นสารตกตะกอนชีวภาพ ในการแยกโปรตีน และไขมันออกจากน้า
เสีย (Selmer-Olsen et al., 1996) ใช้กาจัดสีในน้าท้ิง(Chiou and Li, 2003) ใช้เป็นตัวจับไอออน
โลหะ เช่นปรอท ทองแดง ในน้าเสียของอตุ สาหกรรมโรงงาน (Felse and Panda, 1999) ใช้เปน็ สาร
ตกตะกอนชีวภาพในบ่อเลี้ยงกุ้ง โดย Wanichpongpan, et al. (2002) พบว่า สามารถลดความขุ่น
ปริมาณตะกอนแขวนลอยในบ่อเล้ียงกุ้งลงได้ รัตนา และจินตนา (2544) ไดน้ าไคโตซานผสมกับ เส้น
ใยเซลลูโลสไปใชใ้ นการกาจดั สีนา้ ทิ้งจากอตุ สาหกรรมส่ิงทอพบวา่ สามารถดูดซับสจี าก ตัวอยา่ งนา้ ท้ิง
ของโรงงานไดส้ ูงถึง 94% สถาบนั วิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (2540, อ้างถึงใน
รัตมณี, 2540) ไดน้า ไคโตซานมา กาจัดโลหะหนักจากน้าทิ้ง ได้แก่ ทองแดง โครเมียม แคดเมียม
แมงกานสี โคบอลต์ ตะก่วั เหลก็ เงนิ ไซยาไนด์ นิกเกิล และสังกะสี เป็นต้น นอกจากน้ีเกษม (2543)
ยังได้ศึกษาพบว่า เม่ือความเข้มข้นของไคโตซานเพ่ิมสูงข้ึนจะส่งผลให้ ประสิทธิภาพในการกาจัด
ไอออนโลหะสูงข้ึนดว้ ย
จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าไคโตซานสามารถใช้บาบัดน้าเสียได้หลายอย่าง ทั้งกรณี
การกาจัดสารแขวนลอย อินทรยี ์สาร โลหะหนัก สีย้อม และลดความขุ่นของนา้ เปน็ ต้น จากรายงาน
แสดงปริมาณการใช้ไคโตซานในตลาดโลกปี พ.ศ. 2543 ของ Sandford (2002, อ้างถึงใน ศูนย์วัสดุ
ชวี ภาพไคตินไคโตซาน, 2548) พบว่ามีปริมาณการใช้รวมอยู่ท่ี 2,000 ตัน โดยมีการนา ไคโตซานมา
ใชเ้ ป็นสารตกตะกอนในน้าเสียมากเป็นอนั ดับสองรองจากการใช้ผสมในอาหารคอื 19.30%
2.5 ลักษณะเชอ้ื รา Alternaria sp.
เชื้อรา Alternaria sp.เป็นเชื้อราสาเหตุโรคพืชท่ีก่อความเสียหายให้กับพืชหลายชนิด เช่น
ผักตระกูลกะหลา่ มะเขือเทศ กหุ ลาบ แครอท เปน็ ต้น ซ่ึงทาใหผ้ ลผลติ เสียหายเป็นจานวนมาก เชอ้ื รา
ชนดิ น้สี ามารถจาแนกทางอนกุ รมวิธานตามวธิ ีของ Barmett and Hunter (1972) ไดด้ ังน้ี
Kingdom Fungi
Phylum Ascomycota
Subdivision Pezizomycotima
Class Dothideomycetes
Order Pleosporales
Genus Alternaria
Species alternate
Race/Pathover
เชื้อรา Alternaria sp. มีหลายสายพันธุ์ซ่ึงปัจจุบันพบประมาณ 40-50 สายพันธ์ุส่วนที่พบ
เป็นโรคบนพืชตระกูลกระหล่าได้แก่ A.brassiace , A.brassicicola และ A.raphani ลักษณะโคโลนี
12
บนอาหาร จะเป็นสีดาเคลือบเขียวมะกอกจนถึงสีน้าตาล โตและสร้างโคนิเดีย (Conidia) ได้ดีที่
อุณหภูมิ 22 องศาเซลซียส และอุณภูมิสูงสุดท่ืเชื้อยังสามารถโตคือ 35 องศาเซลเซียส เช้ือราชนิดนี้
สามารถพบได้ในดนิ บนซากพชื ท่ีตายแลว้ อาหารเสื้อผ้า และพืชทอี่ ่อนแอตอ่ เชอ้ื สาเหตุโรคพชื ชนดิ นี้
ลักษณะของโคนิเดีย (Conidia) มีรูปร่างคล้ายกระบอง (obclavate) สีน้าตาลมี Beak ซ่ึงเป็นส่วน
ปลายของโคลโิ นเดียวอาจมลี ักษณะอ้วนส้นั หรอื ยาวมากคลา้ ยเส้นดา้ ย มีผนังกน้ั เซลล์ ท้ังตามยาวหรือ
เอียง (Longitudinal septa) และตามขวาง(transvers septa) โคนิเดียอาจเกิดเดี่ยวๆ หรือต่อเป็น
ลูกโซ่บนก้านชโู คนิเดีย (Conidiophores)สีนา้ ตาลไมแ่ ตกแขนง (บทปฏิบัติการโรคพืชเบื้องต้น,2551)
2.5.1 ลกั ษณะอาการของโรคทเี่ กดิ จากเชอื้ รา Alternaria sp.ในพชื
เชื้อรา Alternaria sp. จะเข้าทาลายทุกส่วนในทุกระยะการเจริญเติบโตของพืชโดยพบจุด
แผลเล็กๆสีน้าตาลที่โคนต้นและบนใบ ในพืชต้นโตอาการบนใบจะมีแผลวงกลมสีน้าตาลจะพบจุด
เล็กๆสีน้าตาลเข้มหรือสีดาซ้อยกันหลายชั้น เนื้อเย่ือรอบๆแผลเปล่ียนเป็นสีเหลือง ลักษณะแผล
คอ่ นข้างกลมมีขนาด 0.5-2.0 เซนตเิ มตรโรคน้ีจะเกิดและเห็นได้ชัดที่ใบล่างหรือใบแก่ก่อนแล้วลามสู่
ยอดใบ เชื้อสามารถเข้าทาลายท่ีก้านดอกและฝักเกิดเป็นแผลสีน้าตาลเข้มหรือดา จะทาให้ช่อดอก
แห้งท้ังช่อ ฝักแห้งและไม่มีการสร้างเมล็ด แต่ถ้าเกิดโรคกับฝักที่ติดเมล็ดแล้ว ทาให้เมล็ดเน่าเสีย ไม่
สมารถงอกได้หรือเชื้ออาศัยอยู่ต่อไปทาให้เกิดเป็น seed born ระบาดไปยังแหล่งผลิตหรือต้นใหม่
(ศศิธร,2549) โดยโรคนี้จะทาให้ใบเป็นแผลเนื้อที่บนผิวใบถูกทาลายใบเหลืองเน่าต้นพืชจึงไม่สามาร
สังเคราะห์แสงเพื่อสรา้ งอาหารและนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้อย่างเต็มที่ (Kucharek,1994)
โคนิเดียจะงอกเมื่อมีความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศสูง อุณหภูมิค่อนข้างสูงประมาณ 27-35 องศา
เซลเซียส ติดต่อนาน 9-10 ชั่วโมง โคนิเดียของเชือ้ สาเหตุสามารถติดหรือปลิวไปได้ไกลๆโดยไปตาม
น้า ลม แมลง สัตว์ เคร่ืองมือการเกษตร มนษุ ย์ และสามารถติดไปกับเมล็ดพันธ์ุหรืออาศัยอยู่กับเศษ
ซากพืชหรือวัชพืชในแปลง เมื่อพบสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมจะงอก germ tube แทงเข้าสู่พืชได้
โดยตรง (ศศิธร,2549)
13
บทท่ี 3
อุปกรณแ์ ละวธิ ีการดาเนนิ การ
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การศกึ ษาและเปรียบเทียบชนดิ ของสาร Chitosan ทส่ี กัดจากสาร Chitin
ของก้งุ และหอยเชอรี่ ในการยับยั้งเชอื้ Alternaria sp. ผู้ศึกษาได้ดาเนนิ ตามข้ันตอน ดงั ต่อไปนี้
1. ร่วมกันประชุมวางแผน, แสดงความคิด
2. วางแผนการเตรยี มโครงงาน
3. นาเสนอครทู ปี่ รึกษาโครงงาน
4. ลงมอื ปฏิบตั เิ พ่ือทาโครงงาน
5. สรปุ บันทึกการทาโครงงานเปน็ รปู เลม่
6. นาเสนอโครงงาน
3.1 วัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี
3.1.1 เปลือกกงุ้
3.1.2 เปลอื กหอยเชอรี่
3.1.3 เชอื้ รา Alternaria sp.
3.1.4 โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)
3.1.5 กรดเกลือ (HCl) เข้มขน้ ร้อยละ 4
3.1.6 กรดอะซิตกิ (CH3COOH)
3.1.7 น้ากล่นั
3.1.8 อาหารเล้ียงเชือ้ (PDA)
3.1.9 ชุดเคร่อื งแกว้ พ้นื ฐาน
3.1.10 เครือ่ งชง่ั
3.1.11 เมเนติกบาร์
3.1.12 เทอรโ์ มมิเตอร์
3.1.13 โกร่งบดสาร
3.1.14 ตู้อบ
3.1.15 ต้บู ม่ เชอื้
3.1.16 หม้อน่ึง
3.1.17 HOTPLATE MAGNETIC STIRRER
14
3.2 วธิ กี ารดาเนนิ การ
3.2.1 การผลิตไคตนิ
ไคตินในธรรมชาติ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ อัลฟาไคติน และเบต้าไคติน วสั ดุท่ีนาผลิตไคตินคือ
เปลือกกงุ้ และเปลือกหอยเชอรีเ่ ปน็ ชนดิ อลั ฟาไคติน มขี น้ั ตอน ดังน้ี
1) เตรียมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ร้อยละ 4 โดยนาโซเดียม
ไฮดรอกไซด์ 4 กรัม ละลายในน้า 100 ml จะได้โซเดียมไฮดรอกไซด์สีขาวขุ่นและอุณหภูมิสูง
ตัง้ สารละลายโซเดยี มไฮดรอกไซด์ไวจ้ นเยน็ และมสี ีใส ค่อยนาไปใชง้ าน
2) กาจดั โปรตีน (Deproteinization) ออกจากเปลอื กกงุ้ และเปลอื กหอยเชอรี่
โดยนาไปต้มในโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ที่เตรียมไว้ท่ีอุณหภูมิในช่วง 80-90 องศาเซลเซียส
นาน 2-3 ช่ัวโมง โปรตนี จะถูกกาจดั ออกพรอ้ มกบั ไขมัน และสบี างสว่ น
3) นาเปลือกกุ้ง และเปลอื กหอยเชอรี่ ไปล้างน้าใหส้ ะอาดแล้วตากให้แห้งก่อนเข้าสู่
ขนั้ ตอนตอ่ ไป
4) กาจัดเกลือแร่ (Demineralization) ออกจากเปลือกกุ้ง และเปลือกหอยเชอรี่
ด้วยการนาไปต้มในกรดเกลือ (HCl) ความเข้มข้นร้อยละ4 ท่ีอุณหภูมิห้อง นาน 24 ชั่วโมง หรือแช่ไว้
2-3 วัน แร่ธาตจุ ะถูกกาจดั ออกในรูปของอนินทรีย์สารทล่ี ะลายนา้ ได้
5) จากน้ันนาเปลือกกงุ้ และเปลอื กหอยเชอรี่ลา้ งน้าให้สะอาดและตากใหแ้ หง้ ก่อนส่
เขา้ สูข่ ้ันตอนต่อไป
6) นาเปลือกกุ้ง และเปลอื กหอยเชอร่ี มาบดเป็นไคติน
3.2.2 การผลติ ไคโตซาน
1) เตรียมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ร้อยละ 40 โดยนาโซเดียม
ไฮดรอกไซด์ 400 กรัม ละลายในน้า 1 ลิตร จะได้โซเดียมไฮดรอกไซด์สีขาวขุ่นและอุณหภูมิสูง
ตั้งสารละลายโซเดยี มไฮดรอกไซดไ์ ว้จนเยน็ และมสี ีใส คอ่ ยนาไปใชง้ าน
2) นาไคตินจากเปลือกกุ้ง และเปลือกหอยเชอร่ี ไปต้มในสารละลายโซเดียม
ไฮดรอกไซด์ (NaOH) รอ้ ยละ 40 ทอี ณุ หภมู ิ 90-120 องศาเซลเซยี สนาน 4 ชัว่ โมง หรอื แช่ไว้ 1-2 วนั
3) นาเปลือกกุ้ง และเปลือกหอยเชอร่ี ล้างด้วยน้ากล่ันแล้วไปต้มต้มในสารละลาย
โซเดยี มไฮดรอกไซด์ (NaOH) ซ้าอกี 1 คร้ัง
4) จากนน้ั นาเปลอื กกุ้ง และเปลือกหอยเชอร่ี ล้างดว้ ยนา้ กล่นั แลว้ ตากใหแ้ ห้ง
5) นาเปลือกกงุ้ และเปลือกหอยเชอร่ี ไปบดเปน็ ไคโตซาน
15
3.2.3 การนาไคโตซานไปใชง้ าน
นาไคโตซาน 10 กรัมไปละลายในกรดอะซิติก (CH3COOH) หรือกรดน้าส้มเข้มข้นร้อยละ 1
ถงึ 2 หรอื น้าสม้ สายชใู นท้องตลาด 1 ลติ รก่อนนาไปใชง้ าน
3.2.4 การเตรียมเชื้อ Alternaria sp.เพื่อใชในการทดลอง
1) นา plate ฆา่ เช้ือท่ีตู้อบอณุ หภูมิ 180°C เป็นเวลา 3 ชว่ั โมง
2) เตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA (Potato dextrose agar) ทง้ั หมด 5 จาน (plate)
3) นาเชอื้ จาก stock (Alternaria sp.) มาวางบนอาหารเลี้ยงเชือ้ PDA ทเี่ ตรียมไว้
4) ละลายไคโตซานกับกรดน้าส้ม (acetic acid) เข้มข้นร้อยละ 10/กรัม หรือน้าส้มสายชู
ตามท้องตลาดแล้วนาเมเนติกบาร์ใส่ลงไปในขวดรูปชมพู่จากนั้นตั้งบน HOTPLATE MAGNETIC
STIRRER เพ่ือใหส้ ารละลายไดด้ ใี นกรดนา้ ส้ม
5) นา disc ท่ฆี ่าเช้ือแลว้ (180°C นาน 3 ชั่วโมง) จุ่มลงในไคโตซานจากเปลือกหอยเชอร่ี และ
ไคโตซานจากเปลอื กกุ้งอยา่ งละ 2 plate
6) นา disc ท่ีจุ่มไคโตซานวางบน plate ละ 4 จุด ที่มีเชื้อราอยู่ตรงกลางของแต่ละ plate
ท้ังหมด 8 plate พรอ้ มกับ plate ของ control อีก 2 plate
7) นา plate ท้ังหมดไปบมในตูบมท่ีอุณหภูมิ 30 oC นาน 8-10 วัน โดยระหวางที่บมเชื้อให
สังเกตการณ์เจริญของเช้ือราและวัดระยะห่างของเชื้อรา Alternaria sp. กับแผ่น disc ที่จุ่มกับ
สารละลายไคโตซานทงั้ สอง
16
บทที่ 4
ผลการดาเนนิ การ
จากการศกึ ษาและเปรยี บเทียบชนดิ ของสาร Chitosan ทีส่ กดั จากสาร Chitin ของกงุ้ และหอยเชอรี่
ในการยับยงั้ เชอ้ื Alternaria sp. ในพชื ได้ผล ดังน้ี
4.1 ปรมิ าณของสาร Chitosan ท่สี กดั จากสาร Chitin ของก้งุ และหอยเชอรี่
4.2 ผลการเปรียบเทียบสาร Chitosan ที่สกัดจากสาร Chitin ของกุ้งและหอยเชอร่ี ในการ
ยับยั้งเชือ้ Alternaria sp.
4.1 ปรมิ าณของสาร Chitosan ท่ีสกดั จากสาร Chitin ของกงุ้ และหอยเชอรี่
ตารางท่ี 1 ผลการทดลองของการสกัดสาร Chitosan ทีส่ กัดจากสาร Chitin ของกงุ้ และหอยเชอร่ี
วสั ดุ นาหนัก (g) ปรมิ าณ Chitin (g) ปริมาณ Chitosan (g) หมายเหตุ
เปลอื กกงุ้ 137.79 53.77 27.40 -
เปลอื กหอยเชอร่ี 210.71 140.52 120.76 -
จาการทดลองการสกดั สาร Chitosan ทีส่ กดั จากสาร Chitin ของกงุ้ และหอยเชอร่ี น้าหนกั
ของเปลอื กกุ้ง และเปลอื กหอยเชอร่ี 137.79 , 210.71 ปรมิ าณของไคตินอยทู่ ี่ 53.77 ,140.52 และ
ปรมิ าณของไคโตซานอยทู่ ี่ 27.40 , 120.76 กรมั ตามล้าดบั
4.2 ผลการเปรยี บเทยี บสาร Chitosan ทีส่ กัดจากสาร Chitin ของกุ้งและหอยเชอรี่ ในการยับยัง
เชอื Alternaria sp. ในพชื
ตารางที่ 2 ผลของสาร Chitosan ท่สี กดั จากสาร Chitin ของก้งุ ในการยบั ย้งั เช้ือ Alternaria sp.
วันที่ Chitosan จากเปลอื กกงุ้ (ระยะหา่ ง cm )
Plate 1 Plate 2 control
1 3.5 cm 3.5 cm 3.5 cm
3 3.2 cm 3.0 cm 3.0 cm
6 2.2 cm 2.42 cm 1.9 cm
8-10 0.7 cm 1.0 cm 0.2 cm
17
จากตารางการทดลองสาร Chitosan ที่สกัดจากสาร Chitin จากเปลือกกุ้ง ในการยับย้ัง
เช้ือรา Alternaria sp. พบว่า วันท่ี 3,6 และ 8 มีระยะของ Alternaria sp กับแผ่น disc ท่ีจุ่ม
สารละลาย Chitosan จากเปลือกกุ้งใน plate 1 เป็น 3.2 ,2.2 ,0.7 cm และ plate 2 เป็น 3.0
,2.42 ,1.0 cm ตามลา้ ดบั
ตารางท่ี 3 ผลของสาร Chitosan ท่ีสกดั จากสาร Chitin ของหอยเชอร่ีในการยบั ยงั้ เชอื้ Alternaria
sp.
วันที่ Chitosan จากเปลือกหอยเชอรี่ (ระยะหา่ ง cm )
Plate 1 Plate 2 control
1 3.5 cm 3.5 cm 3.5 cm
3 3.1 cm 2.9 cm 3.0 cm
6 2.0 cm 1.8 cm 1.9 cm
8-10 0.4 cm 0.5 cm 0.2 cm
จากตารางการทดลองสาร Chitosan ท่ีสกัดจากสาร Chitin จากเปลือกหอยเชอรี่ ในกา
ยับย้ังเชอื้ รา Alternaria sp. พบว่า วันท่ี 3,6 และ 8 มีระยะของ Alternaria sp กบั แผน่ disc ที่จุ่ม
สารละลาย Chitosan จากเปลือกหอยเชอร่ีใน plate 1 เป็น 3.1 ,2.0 ,0.4 cm และ plate 2 เป็น
2.9 ,1.8 ,0.5 cm ตามล้าดบั
ตารางที่ 4 การเปรียบเทยี บสาร Chitosan ทีส่ กัดจากสาร Chitin ของก้งุ และหอยเชอรี่ ในการยบั ย้ัง
เช้ือ Alternaria sp.
วันที่ Chitosan จากเปลอื กกุ้ง Chitosan จากเปลอื กหอยเชอร่ี
1 วางแผ่น disc ห่างจากเชอ้ื รา 3.5 cm วางแผ่น disc หา่ งจากเชอื้ รา 3.5 cm
3 ราเรม่ิ มีการเจรญิ แตย่ งั ไมล่ ามเขา้ สู่แผ่น disc ราเรมิ่ มกี ารเจริญแตย่ ังไมล่ ามเข้าสแู่ ผ่น disc
6 เชอ้ื ราเจรญิ เข้าใกลแ้ ผ่น disc แต่ยงั ไม่ถงึ ขอบ เชอื้ ราเจริญเขา้ ใกลบ้ รเิ วณขอบแผน่ disc
แผน่ disc
8-10 เชอื้ รา Alternaria sp ถูกยบั ยัง้ การเจริญ โดย เชือ้ รา Alternaria sp มีการเจริญคุมแผน่
สงั เกตจาก วงใส(clear zone ) รอบแผน่ disc disc มากข้ึน
18
จากการเปรียบเทียบสาร Chitosan ที่สกัดจากสาร Chitin ของเปลือกกุ้งและเปลือกหอย
เชอรี่ในการยับยั้งเชื้อรา Alternaria sp.พบว่า chitosan ท่ีสกัดได้จาก chitin ของเปลอื กกุ้งสามารถ
ยับย้ังการเจริญของเช้ือราได้ดีกว่า chitosan ท่ีสกัดได้จาก chitin ของเปลือกหอยเชอร่ีสังเกตจาก
ระยะในการเขา้ ใกล้ของของเชือ้ รา Alternaria sp กบั แผ่น disc ทจ่ี มุ่ กับสารละลายทง้ั สอง
16
บทที่ 5
สรุปผลการดาเนินการ /อภปิ รายผลการดาเนนิ การ
การทาโครงงาน การศึกษาและเปรียบเทียบชนิดของสาร Chitosan ที่สกัดจากสาร Chitin
ของกุ้งและหอยเชอร่ี ในการยับย้ังเช้ือ Alternaria sp. ครั้งนี้สามารถสรุปและอภิปรายผล
จากการดาเนนิ การ ดงั นี้
5.1 สรปุ ผลการทดลอง
จากการทดลอง พบว่า chitosan ที่สกัดไดจ้ าก chitin ของเปลือกกงุ้ สามารถยับย้ังการเจริญ
ของเชื้อราได้ ในขณะที่ chitosan ที่สกัดได้จาก chitin ของหอยเชอร่ีไม่สามารถยับยั้งการเจริญของ
เช้อื รา Alternaria sp.ได้ ดังน้นั จากผลการทดลองจึงสามารถนาสารสกัด chitosan จากเปลอื กกงุ้ ไป
ใชพ้ ัฒนาต่อเปน็ สารยับยงั้ กรเจริญของเช้ือราในพืชได้ต่อไป
5.2 อภิปรายผลการทดลอง
Chitosan ท่ีสกัดได้จาก chitin ของเปลือกกุ้งให้ผลในการยับย้ังการเจริญของเชื้อราได้ โดย
chitosan ท่ีสกัดได้จะมีความเป็นขั้วบวกสูง (strong positive polarity) จึงสามารถเข้าไปจับกับ
เซลล์ของเย่ือหุ้มเซลล์ซ่ึงเป็นประจุลบได้โดยง่าย ทาให้เซลล์ของเช้ือจุลินทรีย์ทางานผิดปกติ (สุธีรา
และ สุทิดา, 2560) สาหรับ chitosan ที่สกดั จากหอยเชอร่ีที่ไม่สามารถยับย้ังการเจริญของเชอื้ ราได้
อาจเปน็ ผลมาจากปรมิ าณ chitosan ท่ีสกัดออกมาไดม้ ีปรมิ าณเม่อื เทียบต่อน้าหนกั วตั ถดุ บิ แล้วมีน้อย
เกินไป นอกจากนี้อาจเป็นผลข้างเคียงจากการกาจัดแร่ธาตุและโปรตีนออกไม่หมด จึงส่งผลต่อ
คุณสมบัติของ chitosan ในการยบั ยงั้ เช้อื รา Alternaria sp.
5.3 ขอ้ เสนอแนะ
1. การทดลองการยับยั้งเชื้อ Alternaria sp. ในพืชครั้งนี้เป็นเพียงการทดลองใน
หอ้ งปฏิบตั กิ ารควรนาไปตอ่ ยอดโดยการใช้จรงิ กบั พืชท่มี ลี กั ษณะการเกดิ โรคของเช้ือราชนิดน้ี
2. จากการทดลองเราสามารถนาเอาวัตถุดิบที่มีในท้องถ่ินมาใช้ได้ เช่น เปลือก กระดองของ
สัตว์ทไ่ี มม่ กี ระดกู สนั หลงั หรือพืช นามาใช้ประโยชน์อย่างอื่นได้ เพื่อลดต้นทุนในการผลิตและเป็นการ
นามาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์มากที่สดุ
17
บรรณานุกรม
กมล สุกิน, 2546 หยุดสารเคมีเกษตรเพ่ือสุขภาพของคนไทย.สถาบันวิจัยระบบสาธารณะสุข,45
หนา้
นิพนธ์ ทวีชัย, 2550.การควบคุมโรคพืชด้วยวิธีทางธรรมชาติ.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
กรุงเทพมหานคร.37 หน้า.
พรทิพย์ วงศ์แก้ว.2533.โรคพืชวิทยาขัน้ สูง.คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น.
สานกั พัฒนาคณุ ภาพสนิ คา้ เกษตร กรมสง่ เสรมิ การเกษตร.2553. โรคใบจุด(Alternaria leaf spot).
21
ภาคผนวก
22
ภาพ A
ภาพ B
ภาพ A เกบ็ หอยเชอร่ีท่ีมีอยใู่ นแปลงนาของมหาวทิ ยาลัยเอาสว่ นเน้อื อกเอาเฉพาะเปลอื ก
ภาพ B กุง้ ที่นำมาประกอบอาหารแกะเอาสว่ นเปลอื ก
ภาพ C
ภาพ C นำเปลือกหอยเชอร่ี และกงุ้ ลา้ งน้ำใหส้ ะอาดและตากให้แหง้
23
ภาพ D
ภาพ D เตรียมสารละลาย NaOH
ภาพ E
ภาพ E นำเปลอื กหอยเชอรีแ่ ละเปลอื กกุ้งไปช่งั นำ้ หนกั
ภาพ F
ภาพ F นำเปลอื กกุ้งและเปลือกหอยเชอรี่ไปต้มกับสารละลาย NaOH รอ้ ยละ 4 นาน 3 ช่วั โมง แลว้
ล้างให้สะอาดและตากให้แห้ง
24
ภาพ G
ภาพ G เตรียมสารละลาย HCl รอ้ ยละ 4 แล้วนำเปลือกกุ้งและเปลือกหอยเชอรี่ไปต้มในสารละลาย
HCl นาน 24 ชั่วโมงจากนัน้ ลา้ งใหส้ ะอาดตากให้แหง้ จะได้ไคติน
ภาพ H
ภาพ H นำเปลือกหอยเชอรี่และเปลือกกุ้งมาบดเป็นไคตินแล้วนำไปต้มกบั สารละลาย NaOH ร้อยละ
40 ท้ังหมด 2 รอบจะได้ไคโตซาน
25
ภาพ I
ภาพ I นำไคโตซานจากเปลือกกงุ้ และหอยเชอร่ที ี่ไดไ้ ปบดเปน็ ผงให้ละเอียด
ภาพ J
ภาพ J นำ pate ไปฆา่ เช้ือทีต่ ู้อบ ทีอ่ ุณหภูมิ 180°C นาน 3 ช่ัวโมง
26
ภาพ K
ภาพ K เตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA
ภาพ L
ภาพ L เตรยี มอาหารเลยี้ งเช้อื PDA ลงใน pate แลว้ ทงิ้ ให้อาหารแข็งตวั
27
ภาพ M
ภาพ M เตรยี มสารละลายไคโตซานจากเปลอื กกุ้งและเปลอื กหอยเชอรใี่ นกรดนำ้ สม้ (acetic acid)
ภาพ N
ภาพ N เตรยี ม disc ใช้จมุ่ ลงในไคโตซานจากเปลือกกุ้งและเปลอื กหอยเชอรี่ไว้วางบน pate
เพอ่ื ดูการยับยัง้ เชื้อรา
28
ภาพ O
ภาพ O นำเชื้อจาก stock (Alternaria sp.) และแผ่น disc ที่จุ่มในสารละลายไคโตซานจากเปลือก
กงุ้ และเปลอื กหอยมาวางบนอาหารเลีย้ งเชือ้ PDA ท่เี ตรยี มไว้
ภาพ P
ภาพ P นำ plate ทงั้ หมดไปบมในตบู มท่อี ุณหภูมิ 30 oC นาน 10-12 วัน
29
ภาพ Q
ภาพ Q ลักษณะของ plate ระยะเวลา 3 วัน
ภาพ R ภาพ S
ภาพ R ลกั ษณะของ plate ทม่ี ีไคโตซานจากเปลือกก้งุ ยับย้ัง Alternaria sp ระยะเวลา 6 วนั
ภาพ S ลกั ษณะของ plate ท่ีมไี คโตซานจากเปลือกหอยเชอรีย่ ับยั้ง Alternaria sp ระยะเวลา 6 วนั
30
ภาพ T ภาพ U
ภาพ T ลักษณะของ plate ท่ีมไี คโตซานจากเปลอื กกุ้งยบั ยง้ั Alternaria sp ระยะเวลา 8-10 วัน
ภาพ U ลักษณะของ plate ท่มี ไี คโตซานจากเปลือกหอยเชอรยี่ ับยง้ั Alternaria sp
ระยะเวลา 8-10 วัน
31