The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปก่อนสอบกลางภาค ว30192

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tramgang, 2022-07-10 22:26:38

สรุปก่อนสอบกลางภาค ว30192

สรุปก่อนสอบกลางภาค ว30192

สรุปก่อนสอบกลางภาคเรยี นที่ 1/2565 ว30192 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 1

1. แบบจำลองอะตอม

2. อนุภาคมลู ฐานของอะตอม
2.1 อิเล็กตรอน (electron) => e- => ประจุ -1

2.2 โปรตอน (proton) => p => ประจุ +1

2.3 นวิ ตรอน (neutron) => n => เปน็ กลางทางไฟฟ้า

สรุปก่อนสอบกลางภาคเรยี นที่ 1/2565 ว30192 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 1

3. สารทมี่ กี ารให้อิเลก็ ตรอนไปจะมสี ภาพกลายเป็น ไอออนบวก (Na => Na+)

4. สารท่ีมกี ารรบั อเิ ลก็ ตรอนมาจะมีสภาพกลายเปน็ ไอออนลบ (Cl => Cl-)

5. การจัดเรยี งอเิ ลก็ ตรอนจะจัดเรยี งตามสตู ร 2n2 = 2 , 8 , 18 , 32 , 50 และ ช้นั สดุ ท้ายต้องมี

อิเลก็ ตรอนไดเ้ พยี ง 1 – 8 ตวั เท่านั้น ช้ันสุดท้ายเราจะเรยี กวา่ เวเลนซ์อิเล็กตรอน หรือ อเิ ลก็ ตรอน

วงนอกสุด ซึ่งจะบอกวา่ ธาตุตวั นน้ั อย่อู ยู่อะไรในกลุ่มของธาตุหมู่ A

6. สัญลกั ษณน์ ิวเคลียร์ เลขมวล (ผลรวมของโปรตอนกับนวิ ตรอน)

AZX
เลขอะตอม (จำนวนของโปรตอน)

7. ข้อสังเกตเก่ียวกบั จำนวนของ โปรตรอน นิวตรอน และ อิเล็กตรอน
*** ในนวิ เคลยี สของอะตอมจะมี โปรตรอน กบั นวิ ตรอน อยูภ่ ายใน คือ เลขมวล
*** เมื่อธาตุมีลกั ษณะเปน็ ไอออน ให้นึกถึงจำนวนอเิ ลก็ ตรอนเทา่ นั้น (p และ n ไม่มีการ

เปล่ียนแปลง
***** ถ้าเปน็ ไอออนบวก = อะตอมศูนยเ์ สียอเิ ลก็ ตรอน
***** ถ้าเป็นไอออนลบ = อะตอมรับอิเล็กตรอนมาเพ่ิม

8. ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์
*** ไอโซโทป (p) – ธาตชุ นิดเดยี วกนั มีโปรตอนเทา่ กัน (มตี ัวเลขดา้ นลา่ งเท่ากนั )
*** ไอโซโทน (n) – ธาตุตา่ งกันมีนวิ ตรอนเท่ากัน (ต้องหกั ลบจำนวน A – Z ให้ดีๆ)

*** ไอโซบาร์ (a) – ธาตตุ า่ งกนั มีเลขมวลเท่ากัน (ตวั เลขด้านบนเทา่ กนั )
9. ตารางธาตุในปจั จบุ นั => จัดเรยี งตามเลขอะตอมจากน้อยไปมาก

=> จากซา้ ยไปขวา
=> จากบนลงล่าง
10. ตารางธาตุ

หมู่ A (ธาตุเรพพรีเซนเททฟี )

หมู่ B (ธาตุทรานซชิ นั )

คาบ

สรปุ ก่อนสอบกลางภาคเรยี นที่ 1/2565 ว30192 วิทยาศาสตร์กายภาพ 1

11. ปรมิ าณธาตุท่ีพบในอากาศ
11.1 ไนโตรเจน (N2) เป็นก๊าซที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่ช่วยให้ไฟติด และไม่ติดไฟ อีกทั้งยังเป็น

องค์ประกอบในสิ่งมชี ีวิตทกุ ชนิด ในอากาศมีปรมิ าณของก๊าซไนโตรเจนอยู่ประมาณ 78.084% ซึ่งเป็น
สัดสว่ นท่มี ากท่ีสุดในอากาศ

11.2 ออกซิเจน (O2) เป็นก๊าซที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่ติดไฟ แต่ช่วยให้ไฟติด เป็นก๊าซที่มีความ
จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมชี ีวิต ในอากาศมีปรมิ าณของก๊าซออกซิเจนมากเป็นอนั ดับสองรองจาก

กา๊ ซไนโตรเจน คือ 20.948%
11.3 อาร์กอน (Ar) เป็นก๊าซเฉื่อยที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส และไม่ติดไฟ ใช้เป็นแก๊สบรรจุใน

หลอดไฟ เพอื่ ใหไ้ ส้หลอดมีอายุการใช้งานที่ยาวนานขนึ้ ในอากาศมปี ริมาณของก๊าซอาร์กอนประมาณ
0.934%

11.4 คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) เป็นก๊าซทไี่ มม่ ีสี ไมม่ ีกลน่ิ และไมต่ ดิ ไฟ หากได้รับเข้าสู่รา่ งกาย
ในปริมาณมาก อาจส่งผลให้เกิดการระคายเคืองในจมูกหรือทางเดินหายใจได้ ในอากาศมีปริมาณของ

กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ 0.031%
11.5 นอี อน (Ne) เป็นกา๊ ซเฉอื่ ย ไม่มสี ี ไมม่ กี ลน่ิ ใช้บรรจุในหลอดไฟโฆษณาให้แสงสสี ม้ แดง ใน

อากาศมีปรมิ าณของนอี อนประมาณ 0.002%
12. พันธะเคมี => แรงยึดเหนยี่ วระหว่างอะตอมกับอะตอม

=> กฎออกเตต คือ กฎท่ีอะตอมพยายามที่จะทำให้เวเลนซ์อเิ ล็กตรอนของตัวมันเองให้
ครบแปดซึ่งมีการจดั เรยี งอิเลก็ ตรอนเหมอื นแกส๊ เฉอ่ื ยและเป็นสภาพท่ีเสถยี รทส่ี ุด คอื มีครบ 8 ตวั

12.1 พนั ธะโคเวเลนต์ => อะตอมของอโลหะ + อะตอมของอโลหะ
=> ใช้อเิ ลก็ ตรอนรว่ มกัน
=> โครงสรา้ งแบบจุดของลิวอีส (1 จุดแทน 1 อิเลก็ ตรอน)

=> โครงสร้างแบบเสน้ (เสน้ 1 เส้น แทน อเิ ล็กตรอน 1 คู่)

=> การเรียกชื่อเรียกตัวหนา้ ตามดว้ ยตัวหลังแล้วตดั สระพยางค์สดุ ท้าย
เตมิ ไ-ด์ (ide) แทน

สรุปกอ่ นสอบกลางภาคเรยี นที่ 1/2565 ว30192 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 1

12.2 พันธะไอออนกิ => อะตอมของโลหะ + อะตอมของอโลหะ

=> โลหะให้ e- กลายเปน็ ไอออนบวก

=> อโลหะรบั e- กลายเป็นไอออนลบ

=> การเรยี กช่อื เรียกโลหะก่อนแล้วตามดว้ ยอโลหะตดั สระพยางค์

สุดท้ายเติม ไ-ด์ (ide) แทน

13. ประโยชน์ของธาตุบางชนดิ

อะลมู ิเนยี ม (Al) ใช้ทำแผน่ อลมู ิเนยี มฟอยล์ เพือ่ ใชห้ อ่ อาหารเมื่อนำไปเผาหรอื ใหค้ วามรอ้ น

ใชท้ ำสว่ นประกอบของแครอื่ งบนิ และสายไฟฟ้าแรงสูง

สงั กะสี (Zn) ใชท้ ำถ่านไฟฉาย และเปน็ ส่วนประกอบของเอนไซม์ชว่ ยย่อยโปรตีน

เหล็ก (Fe) เป็นธาตุท่มี ีมากเป็นที 4 ในโลก ใช้ทำเปน็ โครงสรา้ งในการก่อสร้างสงิ่ ต่างๆ

เงนิ (Ag) เป็นตวั นำไฟฟ้าและความรอ้ นทดี่ ีทส่ี ดุ ทนทานต่อการกัดกร่อนของกรด

อนิ ทรีย์ และโซดาไฟ ใชท้ ำเครอื่ งประดับ

ทองแดง (Cu) ใช้ทำสายไฟ เปน็ ตัวนำไฟฟา้ ท่ีดีมาก ลองมาจากเงิน

เยอรเ์ มเนียม (Ge) เป็นธาตกุ ง่ึ ตวั นำท่หี ายากมาก ใชเ้ ปน็ สว่ นประกอบของเคร่อื ง

ทรานซิสเตอร์ และใชใ้ นเคร่ืองอเิ ล็กทรอนกิ สต์ ่างๆ

ทังสเตน (W) ปัจจุบันใช้ทำไสห้ ลอดไฟฟ้า ใชผ้ สมกับเหล็กใชท้ ำ Tungsten carbide ซึ่ง

จดั วา่ เป็นสารทแ่ี ขง็ มาก ใชป้ ระกอบเครื่องมอื ตัดโลหะดว้ ยความเรว็ สงู

ทองคำ (Au) เป็นธาตทุ ่ีหายากมาก มีในโลกประมาณ 1% ของเงิน ความบริสทุ ธิ์ของ

ทองคำใช้วดั เปน็ กะรตั ทองคำทบ่ี ริสุทธิจ์ ริงคอื ทองคำ 24 กะรตั ใชท้ ำ

เครอื่ งประดับ

ไฮโดรเจน (H) เป็นธาตอุ โลหะท่มี ไี ม่มสี ี ไมม่ ีกลิ่น และสามารถตดิ ไฟได้ ไฮโดรเจนจะมี

น้ำหนักเบากวา่ อากาศมาก จงึ นิยมนำมาใสใ่ นลูกโปง่ และเป็นสาร

เช้ือเพลงิ

ไนโตรเจน (N) ไนโตรเจนเปน็ ธาตทุ ี่ไมม่ สี แี ละกลิน่ เรานยิ มใชไ้ นโตรเจนเป็นส่วนประกอบ

ของปุย๋ เพราะว่าไนโตรเจนช่วยกระตุ้นและทำให้พืชเจรญิ งอกงามดี

คาร์บอน (C) เป็นอโลหะที่เป็นองค์ประกอบของถ่าน ใส้ดินสอ เพชร และปโิ ตรเลยี ม ซ่ึง

นยิ มนำมาใช้ประโยชนใ์ นการผลิตเช้ือเพลงิ ท่ใี ห้พลังงานแสงสว่างและ

ความรอ้ น

ออกซเิ จน (O) มีคณุ สมบตั ิไม่มสี ี ไมม่ ีกลิ่นและไมต่ ิดไฟ แต่ออกซเิ จนช่วยทำให้ไฟติด

ออกซิเจนมีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ เมอ่ื เราหายใจเขา้ ไป

จะเคล่ือนตัวไปยงั ส่วนต่างๆ ของร่างกายโดยเกาะไปกบั เลือดช่วยในการ

เผาผลาญอาหาร

สรปุ กอ่ นสอบกลางภาคเรยี นท่ี 1/2565 ว30192 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 1

คลอรีน (Cl) เปน็ ธาตุทม่ี ีสเี หลอื ง และเปน็ กา๊ ซพิษ นิยมนำมาทำเป็นสว่ นผสมของ นำ้ ยา
ฟลูออรีน (F) ฟอกขาว และนำ้ ยาฆ่าเชื้อโรคที่ใช้ล้างสระวา่ ยน้ำ
โบรอน (B) เปน็ ธาตุทมี่ กี ลน่ิ ฉุน นยิ มนำมาใช้เป็นส่วนประกอบของยาสีฟนั เพราะ
ซลิ ิคอน (Si) ฟลูออไรด์ปอ้ งกนั ไม่ให้ฟนั ผุ
สารโบรอนที่รู้จกั กันอย่างมาก ไดแ้ ก่ สารบอแร็ก ท่นี ิยมนำมาเปน็ ส่วนผสม
ของผลติ ภัณฑท์ ำความสะอาดผลิตภณั ฑ์ และสารป้องกันจุลนิ ทรีย์

เปน็ สารก่ึงตวั นำ ใชท้ ำวงจรไฟฟา้ และอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์


Click to View FlipBook Version