The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โมดูลที่ 4 การจัดการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

โมดูลที่ 4 การจัดการ

โมดูลที่ 4 การจัดการ

บทเรยี นออนไลน์
กำรเป็นผู้ประกอบกำร (Entrepreneurship)

โมดลู ท่ี 4 กำรจดั กำร

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ
กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

บทเรยี นออนไลนช์ ุดน้จี ดั ทำขน้ึ เพอื่ ประโยชน์ทำงกำรศึกษำ มไิ ด้จดั ทำเพ่อื กำรคำ้

บทเรียนออนไลน์
กำรเป็นผูป้ ระกอบกำร (Entrepreneurship)

โมดลู ท่ี 4 กำรจัดกำร

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ
กระทรวงศึกษำธิกำร

บทเรยี นออนไลน์ชุดนจ้ี ัดทำขนึ้ เพือ่ ประโยชนท์ ำงกำรศึกษำ มิได้จดั ทำเพื่อกำรค้ำ

บทเรยี นออนไลน์ โมดลู ที่ 4 กำรจดั กำร

ข้นั ตอนกำรใชบ้ ทเรยี นออนไลน์

ทำแบบทดสอบก่อนเรียน
ศึกษำเนอ้ื หำบทเรียนออนไลน์
ทำแบบทดสอบหลังเรียน

ไม่ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 80 ผา่ นเกณฑ์
ทบทวนโมดูลทไี่ ม่ผ่ำน ศกึ ษำโมดูลถดั ไป

บทเรียนออนไลน์ โมดลู ท่ี 4 กำรจดั กำร

 คำแนะนำสำหรบั ผูเ้ รยี น

บทเรียนออนไลน์ โมดูลท่ี 4 การจัดการ เป็นบทเรียนออนไลน์ท่ีผลิตข้ึนมาเพื่อใช้เป็นส่ือประกอบ
การศกึ ษาออนไลน์ของหลกั สตู รการเปน็ ผู้ประกอบการ (Entrepreneurship)

 บทเรียนออนไลน์ โมดูลท่ี 4 ประกอบดว้ ย

1. แบบทดสอบก่อนเรียน
2. จดุ ประสงค์
3. ความรู้พ้นื ฐาน
4. เนือ้ หา
5. แบบทดสอบหลงั เรยี น

 คำแนะนำในกำรใช้บทเรียนออนไลน์โมดลู ท่ี 4 กำรจัดกำร

1. ให้ผู้ศกึ ษา ศึกษาหลักการและเหตุผล (Prospectus) และ
จุดประสงค์ (Objectives) ของบทเรยี นออนไลน์โมดลู ท่ี 4 ให้
เข้าใจ

2. ให้ผู้ศึกษา ปฏบิ ตั ติ ามคาแนะนาและข้นั ตอนการใชอ้ ย่างเคร่งครัด
3. ผู้ศึกษาต้องมีความซอ่ื สตั ยต์ อ่ ตนเอง
4. บทเรียนออนไลน์โมดูลนี้ ผู้ศึกษาสามารถใช้เรียนได้ตามความ

ต้องการ ความพรอ้ มและความสะดวกโดยไม่จากัดเวลาเรียน และ
สถานทีเ่ รียน

 ขน้ั ตอนกำรใช้บทเรียนออนไลน์ โมดูลท่ี 4 กำรจัดกำร

1. ผู้ศึกษา ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2. ผู้ศึกษา ศกึ ษาเน้ือหาบทเรยี นออนไลน์
3. ผู้ศกึ ษา ทาแบบทดสอบหลังเรยี น

 หลกั กำรและเหตุผล (Prospectus)

บทเรียนออนไลน์หลักสูตรการเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship) เป็นรายวิชาท่ีจดั ทาขึ้นเพ่ือใช้ใน
การศึกษาบทเรียนออนไลน์ สาหรับผู้ศึกษาได้เรียนรู้วิธีการดาเนินธุรกิจ สามารถนาไปใช้ในการประกอบธุรกิจได้
ตลอดจนสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้ประกอบธรุ กิจเพิม่ พนู ความรแู้ ละทักษะดา้ นการบริหารจัดการธรุ กจิ ของตนเอง

บทเรียนออนไลน์ โมดูลที่ 4 การจัดการ จัดทาข้ึนเพื่อเป็นสื่อประกอบการเรียนหลักสูตรการเป็น
ผปู้ ระกอบการเพอื่ ให้ผู้ศกึ ษาได้เรียนรู้วธิ ีการบริหารจัดการธุรกิจ สามารถศึกษาด้วยตนเอง เปน็ การเพิ่มพนู ความรู้
และทกั ษะในดา้ นการจดั การ

 จดุ ประสงค์ (Objectives)

เมื่อผู้ศึกษา ได้ศึกษาและทดสอบผ่านบทเรียนออนไลน์ โมดูลที่ 4 การจัดการน้ีแลว้ ผู้ศกึ ษาจะมีความรู้ใน
เร่ือง รูปแบบของกิจการเจ้าของคนเดียว รูปแบบของห้างหุ้นส่วน รูปแบบของบริษัท รูปแบบของธุรกิจสัมปทาน
การวางแผนกาลงั คน จริยธรรมของผปู้ ระกอบการ และกฎหมายท่เี กย่ี วข้อง

 ควำมร้พู น้ื ฐำน (Prerequisites)

ในการเรียนบทเรียนออนไลน์ โมดูลที่ 4 การจัดการนี้ให้ได้ผลดีนั้น ผู้ศึกษาจาเป็นต้องมีความรู้พื้นฐาน
เกย่ี วกบั การผลิต การคา้ และการบรกิ าร

บทเรยี นออนไลน์ โมดลู ท่ี 4 กำรจดั กำร

4.1 กำรจัดตัง้ ธุรกจิ

4.1.1 รปู แบบของกิจกำรเจ้ำของคนเดียว
กิจกำรเจ้ำของคนเดียว (Single Proprietorship) เป็นกิจการขนาดเล็กมีเจ้าของคนเดียว

บรหิ ารงานเองทั้งหมดเป็นผรู้ ับกาไรและภาวะขาดทุนท่ีเกดิ ขน้ึ แต่เพียงผู้เดียวการดาเนินงานไม่สลบั ซบั ซ้อนมีความ
คลอ่ งตัวสูงในการตดั สินใจดาเนินงาน ตัวอย่างกิจการประเภทนี้ เชน่ ร้านค้าปลีก ร้านเสรมิ สวย ร้านตัดเยบ็ เสื้อผ้า
เปน็ ต้น

ทีม่ า : http://www.knowledge-

4.1.2 รปู แบบของห้ำงหุ้นส่วgนreen.org
ห้ำงหุ้นส่วน เป็นการประกอบธุรกิจที่มีบุคคลต้ังแต่ 2 คนข้ึนไปมาลงทุน และเป็นเจ้าของกิจการ

ร่วมกันมีหุ้นส่วน 2 ชนิด ได้แก่หุ้นส่วนท่ีจากัดความรับผิด และหุ้นส่วนที่ไม่จากัดความรับผิดห้างหุ้นส่วนมี 3
ประเภท ได้แกห่ ้างหนุ้ สว่ นสามัญ ห้างหุ้นส่วนสามัญนิตบิ ุคคล และห้างห้นุ ส่วนจากัด

ห้างหนุ้ สว่ น หา้ งหนุ้ ส่วนสามัญนติ ิ ห้างหนุ้ สว่ นจากัด
สามญั บุคคล

หนุ้ สว่ นที่ไมจ่ ากัด หุ้นสว่ นทจี่ ากดั
ความรับผิด ความรับผดิ

จดทะเบยี นเปน็ นิติบคุ คลตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์

1. ห้ำงหุ้นส่วนสำมัญ เป็นห้างหุ้นส่วนที่มีแต่หุ้นส่วนชนิดไม่จากัดความรับผิดซ่ึงจะต้องรับผิดชอบในหนี้
ตา่ งๆ ที่เกิดขึน้ จากการประกอบธุรกจิ อยา่ งไม่จากดั จานวน

2. ห้ำงหุ้นส่วนสำมัญนิติบุคคล เป็นห้างหุ้นส่วนที่มีแต่หุ้นส่วนชนิดไม่จากัดความรับผิดเช่นเดียวกับห้าง
หุ้นส่วนสามัญ แต่ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคลจะต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณชิ ย์

3. ห้ำงหุ้นส่วนจำกัด เป็นห้างหุ้นส่วนที่มีหุ้นส่วนท้ัง 2 ชนิด หุ้นส่วนที่ไม่จากัดความรับผิด จะต้อง
รบั ผิดชอบในหน้ตี ่าง ๆ ทีเ่ กดิ ขนึ้ จากการประกอบธุรกิจอย่างไม่จากัดจานวน และหุ้นส่วนที่จากดั ความรับผิดจะรับ
ผิดในหน้ีต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนไม่เกินจานวนเงินท่ีตกลงจะร่วมทุนห้างหุ้นส่วนจากัดต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์

4.1.3 รูปแบบของบริษทั
บรษิ ทั มี 2 ประเภท ไดแ้ ก่
1. บรษิ ัทจำกัด คือกจิ การท่ีมีบุคคล3 คนขึน้ ไปมาลงทนุ และเป็นเจ้าของกิจการเรียกวา่ “ผูถ้ ือหุน้ ”

ผูถ้ อื หนุ้ จะรับผดิ ในหน้ตี ่างๆ ที่เกิดข้ึน จากการประกอบธุรกจิ ไม่เกินจานวนเงนิ ผู้ถอื หุ้นแต่ละคนตกลงจะร่วมลงทุน
บริษทั จากัดจะตอ้ งจดทะเบยี นเป็นนติ บิ คุ คลตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์

2. บริษัทมหำชนจำกัด การประกอบธุรกิจทมี่ ีบคุ คล 15 คนขน้ึ ไปมาลงทุนและเปน็ เจ้าของกิจการ
เรียกว่า “ผู้ถอื หุ้น” ผู้ถือหุ้นจะรับผิดในหน้ตี ่างๆ ทีเ่ กิดข้ึน จากการประกอบธุรกจิ ไมเ่ กินจานวนเงินของผู้ถือห้นุ แต่
ละคน ตกลงจะร่วมลงทุน คลา้ ยกบั บรษิ ัทจากดั จะต่างกัน ก็คือบริษัทมหาชนจากัดสามารถนาหุน้ ออกเสนอขายต่อ
ประชาชนโดยท่ัวไปได้และมีกฎข้อบังคับท่ีจะต้องปฏิบัติเคร่งครัดกว่าบริษัทจากัด บริษัทมหาชนจากัด จะต้องจด
ทะเบยี นเปน็ นิตบิ คุ คลตามพระราชบัญญัตบิ รษิ ัทมหาชนจากัด พ.ศ.2535

บรษิ ทั จากัด บริษัทมหาชน
จากดั

บคุ คล 3คน บคุ คล15คนขนึ้ ไป
ข้นึ ไป สามารถเสนอ
ขายหนุ้ ให้
ประชาชนได้

จดทะเบยี นเป็นนิตบิ ุคคลตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

4.1.4 รปู แบบของธุรกจิ สัมปทำน
ธุรกิจสัมปทำนหรือธุรกิจแฟรนไชส์ (Franchise) มิใช่ลักษณะของการเป็นเจ้าของแต่เป็นสิทธิ์ของ

การได้มาซึ่งการดาเนินธรุ กิจดว้ ยการสมั ปทาน โดยอาจจะดาเนินการตามลักษณะการเป็นเจ้าของธุรกิจ ในรูปแบบ
เจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นส่วน หรือบริษัทจากัด ซ่ึง เป็นระบบการดาเนินธุรกิจในการกระจายสินค้า หรือบริการสู่
ผู้บริโภค โดยผู้ซึ่งพัฒนาสินค้า หรือบริการ ตลอดจนวิธีการรูปแบบที่ประสบความสาเร็จท่ีต้องการจะขยายธุรกิจ
โดยการให้สทิ ธิ์ในการประกอบธรุ กจิ ให้กบั ผู้ท่ีสนใจร่วมทาธุรกิจโดยท้งั สองฝ่ายทาสัญญา หรอื ขอ้ ตกลงร่วมกนั

ผู้ซ้อื แฟรนไชส์จะต้องปฏิบตั ิตามแผนการหรอื ระบบทเี่ กย่ี วเนื่องกับเครอื่ งหมายการค้า เครื่องหมาย
บริการ ช่ือทางการค้า แบบโลโก้ การโฆษณา หรือสัญลักษณ์ทางการค้าอื่นๆตามรูปแบบที่เจ้าของแฟรนไชส์
กาหนด โดยต้องจา่ ยคา่ ตอบแทนในการให้สิทธิ์นั้น รวมท้ังจ่ายค่าตอบแทนตามผลประกอบการและค่าธรรมเนียม
อ่ืน ๆ เช่น ค่ารอยัลต้ีฟี (Royalty Fee) ซ่ึงเป็นค่าตอบแทนที่ต้องจ่ายอย่างต่อเนื่องตามสัดส่วนของผลการ
ดาเนนิ งาน อาจจะเรยี กเก็บเป็นอตั รารอ้ ยละตอ่ เดือนหรือต่อปจี ากยอดขาย

ทมี่ า : https://www.cpall.co.th

ทีม่ า : http://thenectarcollective.com

4.2 กำรวำงแผนกำลังคน

4.2.1 โครงสร้ำงองคก์ ร
การจัดโครงสร้างองค์กรเป็นการกาหนดอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานไว้ให้ชัดเจน
เพื่อให้เอื้อต่อการดาเนินงานให้บรรลวุ ตั ถุประสงคข์ ององค์การอย่างมปี ระสทิ ธิภาพโดยแสดงเป็นแผนผังการจดั การ
หรือ Organization Chart แสดงโครงสร้างการบังคับบัญชาในส่วนงานต่าง ๆ ท่ีธุรกิจกาหนดไว้ ซ่ึงจะรวมถึงการ
แสดงจานวนพนกั งานหรอื บคุ ลากรในสว่ นงานดว้ ย เพ่ือใช้ในการกาหนดแผนงานและค่าใช้จ่ายเกยี่ วกับบุคลากร

ทมี่ า :http://www.nvsurvey.com/
ในกิจการขนาดเล็กอาจจัดโครงสร้างขององค์กรได้ดังรูปด้านล่างน้ี ซ่ึงในกิจการขนาดใหญ่อาจมีฝ่าย
ต่าง ๆ เพิ่มขึ้นได้ เช่น ฝา่ ยตรวจสอบแยกจากฝ่ายผลติ ฝา่ ยจัดซื้อแยกจากฝ่ายผลติ ฝ่ายการเงนิ แยกจากฝ่ายบัญชี
เป็นตน้

โครงสรำ้ งธุรกิจกำรผลติ
ผจู้ ดั กำรทว่ั ไป

ฝำ่ ยผลิต ฝำ่ ยบัญชี ฝ่ำยกำรตลำด ฝำ่ ยบคุ คล

โครงสรำ้ งธุรกจิ กำรบรกิ ำร
ผู้จัดกำรท่วั ไป

ฝำ่ ยบรกิ ำร ฝ่ำยบัญชี ฝ่ำยกำรตลำด ฝำ่ ยบุคคล

4.2.2 หน้ำทขี่ องแต่ละฝำ่ ยในโครงสร้ำงองคก์ รธุรกจิ
เป็นการแสดงรายละเอียดเก่ียวกับบุคลากรหลักท่ีมีหน้าท่ีเกี่ยวข้องในการบริหารจัดการธุรกิจ ใน

ด้านคุณสมบัติต่าง ๆ เช่น วุฒิการศึกษา เพศ ระดับเงินเดือนรายได้ ค่าจ้างหรือเง่ือนไขต่างๆ ที่บุคลากรต้องมี
รวมถึงหนา้ ท่คี วามรบั ผดิ ชอบตา่ ง ๆ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีโดยควรแสดงให้ครบทุกสว่ นงานหนา้ ทหี่ ลกั

จากโครงสรา้ งองคก์ ร อาจกาหนดหน้าท่คี วามรบั ผิดชอบได้ดงั น้ี
1. ผจู้ ัดกำรทัว่ ไป มีหน้าที่ความรบั ผิดชอบ ดงั นี้

1. วางนโยบายการบรหิ ารงานภายในองค์กร
2. ควบคมุ ดูแลการผลิต และการขาย
3. การกาหนดตลาดเปา้ หมาย
4. การแสวงหาโอกาสทางการตลาด
5. การวางแผนการตลาด
6. การกาหนดกลยุทธส์ ่วนผสมทางการตลาด
7. การส่อื สารการตลาด
8. การตดิ ตามและวิเคราะหส์ ถานการณ์ทางการตลาดอย่างต่อเนอ่ื ง
9. การคดั สรรผู้จัดจาหนา่ ยวตั ถดุ ิบ เพ่ือให้ได้วตั ถดุ ิบที่มีคณุ ภาพไดม้ าตรฐานเขา้ สู่กระบวนการ
ผลิต รวมถึงการสร้าง สัมพันธภาพทด่ี ีกบั ผู้จดั จาหน่ายวัตถุดบิ
10. ควบคมุ ให้การใชว้ ัตถดุ บิ เป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
11. ควบคุมและตรวจสอบกระบวนการผล ผลิตทกุ ข้นั ตอน รวมทงั้ การหาแนวทางแก้ไขปญั หา
ตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง
12. การจดั การด้านบุคลากร ไดแ้ ก่ การสรรหา คัดเลือก การประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน การ
พิจารณาคา่ ตอบแทน และการฝึกอบรม

ทีม่ า :http://www.ptocouncil.org ทม่ี า :http://essentialsofbusiness.ufexec.ufl.edu

2. ฝ่ำยกำรเงินและบัญชี มีหนา้ ท่คี วามรบั ผดิ ชอบ ดงั นี้
1. ควบคุมดูแลการเงนิ และบัญชี
2. ปฏบิ ัติงานด้านการเงินและบัญชี
3. วางระบบบัญชี
4. ฝึกอบรมด้านบัญชี
5. ใหค้ าปรกึ ษาทางดา้ นการเงิน การบญั ชแี ละภาษีอากร
6. จดั ทาแผนงาน และประมาณการทางการเงนิ
7. วเิ คราะห์ และควบคุมอัตราสว่ นทางการเงินใหเ้ ปน็ ไปตามทก่ี าหนดไว้
8. วิเคราะห์ และควบคุมตน้ ทุนสินคา้
9. วเิ คราะห์ และควบคุมตน้ ทุนทางการเงิน

ท่มี า :http://forex-tradeinfo.com
3. ฝำ่ ยผลิต มหี น้าท่ีความรับผิดชอบ ดงั นี้

1. ร่วมกาหนดนโยบายและทิศทางของกจิ การด้านการบริหารทวั่ ไป
2. วางแผน และควบคุมนโยบายด้านการผลิต
3. ควบคมุ การผลติ
4. การบริหารสินคา้ วสั ดสุ ินค้าและวสั ดุคงคลงั

ที่มา :https://en.wikipedia.org

4. ฝ่ำยกำรตลำด มีหนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบ ดังนี้
1. ควบคุมดแู ล การตลาดและงานขาย
2. ปฏบิ ัติงานดา้ น การจดั ส่ง และรับชาระค่าสนิ ค้า
3. วางแผนและปฏบิ ตั ิงานด้านการขายการส่งเสริมการขาย
4. รับผิดชอบการขยายฐานลูกคา้ รวมทงั้ รักษาฐานลูกค้าเดิม
5. ติดต่อกบั ลกู คา้ รวมถึงเข้าไปนาเสนอสินคา้ ให้กบั ลูกคา้
6. ตดิ ตามการชาระคา่ บรกิ ารของลูกคา้

ทีม่ า :http://work.chron.com
5. ฝ่ำยบุคคล มีหนา้ ทคี่ วามรบั ผิดชอบ ดังน้ี

1. กาหนดระเบยี บ ข้อบงั คับ สวัสดิการ ของพนักงาน
2. จา่ ยเงนิ เดือนพนักงาน
3. การอานวยความสะดวกให้พนักงาน
4. การแนะนาวธิ ีการทางานรวมไปถงึ การจดั หาบคุ ลากร

ท่มี า :http://www.sciseek.com

สาหรับการจัดทาแผนงานด้านบุคลากรและค่าใช้จ่ายบุคลากรของธุรกิจในการเขียนแผนธุรกิจ ควรแสดง
รายละเอยี ดเก่ยี วกับจานวนบุคลากรและค่าใช้จ่ายของบุคลากรในธุรกจิ โดยแสดงรายละเอยี ดแยกตามฝา่ ยงานซ่ึง
จะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ฝ่ายงานท่ีเกี่ยวข้องกับด้านการให้บริการ และฝ่ายงานที่เก่ียวข้องกับด้านบริหารและ
การขาย โดยรายละเอียดที่ระบุควรประกอบด้วย ฝ่ายงาน จานวน อัตราเงินเดือนหรือค่าจ้างต่อคน และจานวน
เงินเดือนหรอื คา่ จา้ งท้งั หมดของบุคลากรในธุรกิจ ซึ่งอาจแสดงเป็นรายเดอื นหรือรายปกี ไ็ ด้

แผนธุรกจิ

คา่ ใช้จ่ายของ คา่ ใช้จ่ายของ
บคุ ลากรที่เกี่ยวขอ้ ง บคุ ลากรทีเ่ ก่ยี วข้อง
กับ การให้บรกิ าร/ กับ การบรหิ ารและ

ผลติ การขาย

- ฝา่ ยงาน
- จานวนพนกั งาน
- อตั ราเงินเดอื น/ค่าจา้ งต่อคน

- จานวนเงนิ เดอื น/คา่ จา้ งท้ังหมด

4.3 จริยธรรมของผปู้ ระกอบกำร

4.3.1 จรยิ ธรรมของผู้ประกอบกำรที่มีต่อลกู คำ้
1. ผลิตสินคา้ และบริการท่มี คี ณุ ภาพ
2. ใหก้ ารรบั ประกันสนิ ค้า และบริการภายใต้เงื่อนไขในเวลาอันเหมาะสม
3. รักษาความลับของลกู ค้าอยา่ งจรงิ จังและสมา่ เสมอ รวมถึงไมน่ ามาใช้เพือ่ ประโยชน์ของตนเองและ

ผทู้ เี่ กยี่ วข้องโดยมิชอบ
4. พยายามรักษาต้นทุนการผลิตให้ต่าสุด แต่ต้องรักษาคุณภาพของสนิ ค้าและบริการให้ได้มาตรฐาน

ตลอดเวลา
5. แสวงหาล่ทู างอย่างไม่หยดุ ยง้ั ท่จี ะเพม่ิ ประโยชน์ใหแ้ กล่ ูกค้าอย่างต่อเน่ือง
6. ปฏิบตั ิตามเง่ือนไขต่าง ๆ ที่มีต่อลูกค้าอยา่ งเคร่งครัด
7. กรณีที่อาจไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อใดได้ ต้องรีบแจ้งให้ลูกค้าทราบล่วงหน้า เพ่ือร่วมกัน

พิจารณาหาแนวทางแก้ไขปัญหา
8. ไมค่ า้ กาไรเกนิ ควรเมื่อเปรียบเทยี บกับคุณภาพของสนิ ค้าหรือบริการ และไมก่ าหนดเง่ือนไขการค้า

ทไี่ มเ่ ปน็ ธรรมต่อลูกคา้

ที่มา : http://blogs.discovermagazine.com/ ทมี่ า : http://www.thaiairways.com

4.3.2 จรยิ ธรรมของผ้ปู ระกอบกำรที่มีตอ่ พนักงำน
1. ให้ผลตอบแทนทเี่ ป็นธรรมแกพ่ นกั งาน
2. ดูแลรักษาสภาพแวดล้อมในการทางานให้มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของพนักงานอยู่

เสมอ
3. การแตง่ ตง้ั และโยกย้าย รวมถึงการใหร้ างวัลและการลงโทษพนกั งานต้องกระทาด้วยความสุจริตใจ

และตัง้ อยูบ่ นพนื้ ฐานของความรู้ความสามารถของพนักงานนน้ั ๆ
4. ให้ความสาคัญต่อการพัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงานโดยให้โอกาสพนักงานอย่างทั่วถึง

และสมา่ เสมอรวมทั้งรบั ฟงั ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะซงึ่ ต้ังอยบู่ นพ้นื ฐานความรทู้ างวชิ าชีพของพนักงาน

5. ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบงั คับตา่ งๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับพนกั งานอย่างเคร่งครัด
6. บริหารงานโดยหลีกเล่ียงการกระทาใด ๆ ที่ไม่เป็นธรรม ซ่ึงอาจมีผลกระทบต่อความมั่นคงใน
หน้าทก่ี ารทางานของพนักงาน
7. หลีกเลี่ยงการดาเนินการใด ๆ ที่ไม่เป็นธรรม ซ่ึงอาจคุกคามและสร้างความกดดัน ต่อสภาพจิตใจ
ของพนกั งาน
8. ปฏิบัติต่อพนักงานด้วยความสุภาพ และให้ความเคารพต่อความเป็นปัจเจกชนและศักด์ิศรีของ
ความเปน็ มนษุ ย์
9. ย้าให้พนักงานเข้าใจในเร่ืองจรรยาบรรณและบทบาทซึ่งพนักงานสามารถปฏิบัติได้เพ่ือส่งเสริมให้
เกิดพฤติกรรมทอี่ ยูใ่ นกรอบของจรรยาบรรณอยา่ งทัว่ ถึงทัง้ องค์กร
10. เปิดโอกาสให้พนกั งานสามารถแจ้งเรอ่ื งการทาผิดกฎหมายขององค์กร

ทมี่ า : http://news.tlcthai.com ทมี่ า : http://btknewsonline.blogspot.com

4.3.3 จรยิ ธรรมของผปู้ ระกอบกำรท่มี ีตอ่ คแู่ ข่งขนั
1. ละเว้นจากการกล่ันแกลง้ ใหร้ า้ ยป้ายสีทบั ถมไมว่ า่ โดยทางออ้ ม หรอื ด้วยการข่มข่แู ละกีดกันอันทา

ให้ค่แู ข่งเสยี โอกาสอยา่ งไมเ่ ปน็ ธรรม เชน่ การขายตดั ราคา การทมุ่ เทสนิ คา้ เข้าตลาด
2. ให้ความร่วมมือในการแข่งขัน เพื่อสร้างสภาวะตลอดที่ดี เช่น การให้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวสินค้าหรือ

สรา้ งสรรค์สนิ ค้าหรอื บรกิ ารใหม่ ๆ

ท่มี า : http://www.thesteel.co.th

4.3.4 จรยิ ธรรมท่ีมีต่อสงั คม
1. ไมก่ ระทาการใด ๆ ท่ีจะมีผลเสียหายตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติ และสภาพแวดล้อม
2. คืนผลกาไรสว่ นหนงึ่ ขององคก์ ร ใหแ้ กก่ ิจกรรมทจ่ี ะมสี ่วนสร้างสรรคส์ งั คมอย่างสม่าเสมอ
3. ปลูกฝังจิตสานึกของความรับผิดชอบต่อสังคมให้เกิดข้ึนในหมู่พนักงานทุกระดับอย่างต่อเน่ือง

และจรงิ จัง
4. ปฏิบัติหรือควบคุมให้มีการปฏิบัติอย่างเคร่งครัดตามเจตนารมณ์ของกฎหมายและกฎระเบียบที่

ออกโดยหน่วยงานกากบั ดแู ล
5. ไม่กระทาการช่วยเหลือ สนับสนุน หรือยอมเปน็ เครือ่ งมือที่จะทาให้เกิดการหลีกเลี่ยงการปฏิบัติ

ตามกฎหมายหรือกฎระเบยี บต่าง ๆ
6. ใหค้ วามรว่ มมือกับหนว่ ยงานกากับดแู ล และรายงานข้อมลู ทีเ่ กยี่ วกับการฝ่าฝนื หรือการไม่ปฏบิ ัติ

ตามกฎหมายหรอื กฎระเบียบตา่ ง ๆ ต่อหนว่ ยงานนั้น

ที่มา : http://www.hrcsrnetwork.com ท่ีมา : http://www.digithun.com

4.4 กฎหมำยทเ่ี ก่ียวข้อง

4.4.1 ทรพั ย์สนิ ทำงปญั ญำ
1. ลิขสิทธ์ิ หมายถึง สิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทาการใด ๆ เก่ียวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ริเริ่ม

โดยการใช้สติปัญญาความรู้ ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะของตนเองในการสร้างสรรค์ โดยไม่ได้
ลอกเลียนงานของผู้อ่ืน โดยผู้สร้างสรรค์จะได้รับความคุ้มครองทันทีท่ีสร้างสรรค์โดยไม่ต้องจดทะเบียน
กฎหมายลิขสทิ ธ์ิใหค้ วามค้มุ ครองแกง่ านสร้างสรรค์ 9 ประเภทตามทีก่ ฎหมายกาหนด ได้แก่

1. งานวรรณกรรม
2. งานนาฎกรรม
3. งานศลิ ปกรรม

4. งานดนตรกี รรม
5. งานส่ิงบันทกึ เสยี ง
6. งานโสตทัศนวสั ดุ
7. งานภาพยนตร์
8. งานแพร่เสียงแพรภ่ าพ
9. งานอืน่ ใดเก่ียวกับวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือศลิ ปะ

ท่ีมา : http://www.bloggang.com ทม่ี า : http://www.smesreport.com

2. สทิ ธิบัตร (Patent) หมายถึง หนังสือสาคัญทร่ี ัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) หรือ
การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกาหนด เป็นสิทธิพิเศษ ท่ีให้ผู้ประดิษฐ์
คดิ ค้นหรอื ผู้ออกแบบผลติ ภณั ฑ์ มสี ทิ ธิทจี่ ะผลติ สนิ คา้ จาหนา่ ยสนิ คา้ แตเ่ พียงผเู้ ดียว ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง

2.1 กำรประดิษฐ์ (Invention) หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ ลักษณะองค์ประกอบ
โครงสร้างหรือกลไกของผลิตภัณฑ์ รวมท้ังกรรมวิธีในการผลิต การรักษา หรือปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดี
เพิ่มขน้ึ หรอื ทาให้เกดิ ผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ ที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น กลไกของเครื่องยนต์ ยารักษาโรควิธกี ารในการ
เก็บรกั ษาพชื ผักผลไม้ไมใ่ หเ้ นา่ เสียเรว็ เกินไป เป็นต้น

ทม่ี า : https://sites.google.com

2.2 อนุสทิ ธบิ ัตร (Petty Patent) หมายถงึ หนงั สือสาคัญท่ีรัฐออกให้เพ่ือคุ้มครองการประดิษฐจ์ ะมี
ลกั ษณะคล้ายกันกับการประดษิ ฐ์ แตเ่ ปน็ ความคิดสร้างสรรค์ท่มี รี ะดับการพัฒนาเทคโนโลยีไมส่ ูงมาก หรือเปน็ การ
ประดิษฐ์คิดคน้ เพยี งเลก็ นอ้ ย และมีประโยชน์ใชส้ อยมากขน้ึ

ทม่ี า : https://www.udvc.ac.th
3. เคร่ืองหมำยกำรค้ำ หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์หรือตราท่ีใช้กับสินค้าหรือบริการ ซ่ึง
เครอ่ื งหมายท่ใี ห้ความคมุ้ ครองตาม พระราชบัญญัตเิ ครอ่ื งหมายการค้า ดงั ตอ่ ไปนี้

3.1 เคร่ืองหมำยกำรค้ำ (Trade Mark) คือเครื่องหมายท่ีใช้เป็นที่หมายเกี่ยวขอ้ งกับสินค้าเพ่ือแสดง
ว่าสินค้าที่ ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับสินค้าท่ีใช้เคร่ืองหมายการค้าของบุคคลอื่น เช่น บรีส มาม่า กระทิงแดง
เปน็ ต้น

ท่มี า : https://www.google.co.th/search?q=เครอ่ื งหมายการคา้

3.2 เครื่องหมำยบริกำร (Service Mark) คือ เคร่ืองหมายท่ีใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับบริการ
เพ่ือแสดงว่าบริการท่ีใช้เคร่ืองหมายนั้นแตกตา่ งกับบริการที่ใช้เครื่องหมาย บริการของบุคคลอ่ืน เช่น เครื่องหมาย
ของสายการบิน ธนาคาร โรงแรม เปน็ ต้น

ทม่ี า : https://www.google.co.th/search?q=เครอ่ื งหมายการคา้

3.3 เครื่องหมำยรบั รอง (Certification Mark) คือ เครื่องหมายท่ีเจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้เป็น
ที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับ สินค้าและบริการของบุคคลอ่ืน เพื่อเป็นการรับรองคุณภาพของสินค้า หรือบริการน้ัน
เชน่ เชลล์ชวนชิม แมช่ อ้ ยนางรา ฮาลาล (Halal) เปน็ ต้น

ที่มา : https://www.google.co.th/search?q=เครอ่ื งหมายการคา้

3.4 เคร่ืองหมำยร่วม (Collective Mark) คือ เครื่องหมายการค้าหรือเคร่ืองหมายบริการท่ีใช้โดย
บริษัทหรือวิสาหกิจในกลุ่ม เดียวกัน หรือโดยสมาชิกของสมาคม กลุ่มบุคคล หรือองค์กรของรัฐ เอกชน เช่น
ตราชา้ งของบรษิ ัท ปูนซเิ มนต์ไทย จากัดเปน็ ตน้

ท่มี า : https://www.google.co.th/search?q=เครอ่ื งหมายการคา้

4.4.2 ภำษอี ำกร

1. ภำษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดำ
กิจการเจ้าของคนเดียว หรือห้างหุ้นส่วนสามัญที่มีเงินได้เกิน 30,000 บาท ต่อปี มีหน้าที่ต้องนา
รายการรายได้ไปแสดงในแบบแสดงรายการภาษี เพ่ือคานวณเงินได้พึงประเมินสาหรับเสียภาษีเงินได้บุคคล
ธรรมดา เงินได้ในที่นี้นอกจากเงินสดแล้ว ยังหมายรวมถึงทรัพย์สินและประโยชน์อ่ืนใดที่ได้รับ ซึ่งสามารถ
คานวณเปน็ เงนิ ได้ โดยปกติจัดเกบ็ เป็นรายปี รายไดท้ ่ีเกิดขึ้นในปีท่ีผ่านมา จะยนื่ แบบแสดงรายการเสยี ภาษเี งินได้
บุคคลธรรมดา ภ.ง.ด.90 หรอื ภ.ง.ด.91 ภายในเดอื นมกราคมถงึ มีนาคมของปีถัดไป

2. ภาษีเงินได้นติ ิบคุ คล
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนท่ีจดทะเบียนนิติบุคคลจะต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล โดยนารายได้ที่ได้
จากการประกอบธุรกิจทั้งภายในประเทศและต่างประเทศภายในรอบบัญชีหักออกด้วยรายจ่ายจะเหลือเป็นกาไร
สุทธิ หลังจากนั้นคิดภาษีเป็นร้อยละจากกาไรสุทธิในอัตราก้าวหน้า เร่ิมต้นที่อัตราร้อยละ 15 เป็นต้นไป โดยยื่น
แบบแสดงรายการและชาระภาษีปีละ 2 ครง้ั กิจการจะตอ้ งคานวณภาษจี ากยอดประมาณการกาไรสทุ ธิครง่ึ ปีแล้ว
ย่ืนเสียภาษีโดยย่ืนแบบแสดงรายการภาษี ภ.ง.ด.51 ภายในระยะเวลา 2 เดือนนับจากวันสุดท้ายของทุก 6 เดือน
แรกของรอบระยะเวลาบญั ชี และเสยี ภาษจี ากยอดกาไรสทุ ธิท่ีแทห้ ลังจากสนิ้ รอบระยะเวลาปกตโิ ดยย่ืนแบบแสดง
รายการภาษี ภ.ง.ด.50 ภายใน 150 วนั นบั แตว่ ันสดุ ท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี

ท่มี า : http://www.rd.go.th

3. ภำษมี ูลคำ่ เพ่ิม
ภาษีมูลค่าเพ่ิมเป็นภาษีท่ีเก็บจากมูลค่าสินค้าหรือบริการเฉพาะส่วนท่ียังไม่ได้เสียภาษีมาก่อน
ปจั จบุ ันอตั ราภาษีมูลค่าเพ่ิมมี 2 อตั รา ไดแ้ ก่ อัตราภาษีรอ้ ยละ 0 (ผู้ที่เสยี ภาษีมูลค่าเพิ่มอัตราร้อยละ 0 เช่น การ
ส่งออกสินค้าของผู้ประกอบการจดทะเบียน การขายสินค้าหรือบริการให้กับองค์การสหประชาชาติ ทบวงการ
ชานญั พเิ ศษของสหประชาชาติ เปน็ ตน้ ) และอัตราภาษีปกติ (ปัจจุบนั ใชอ้ ตั ราภาษีรอ้ ยละ 7)
การคานวณภาษีมูลค่าเพ่ิมจะคานวณเป็นรายเดือนโดยนาภาษีที่ผู้ประกอบการจ่ายให้กับผู้ขาย
สนิ คา้ หรอื บริการทจี่ ดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่มิ ซ่ึงเรยี กว่าภาษซี ้ือ มาลบกับภาษีที่ผูป้ ระกอบการเก็บจากผู้ซื้อสนิ ค้า
เรียกว่าภาษีขาย ถ้าในเดือนใดกิจการมีภาษีขายมากกว่าภาษีซื้อ กิจการจะต้องเสียภาษีมูลค่าเพ่ิมให้กับ
กรมสรรพากร แต่ถ้ากิจการมีภาษีซ้ือมากกว่าภาษีขาย กิจการมีสิทธิ์ได้รับคืนภาษีหรือนาไปลดยอดภาษีที่ต้อง
ชาระให้ในเดอื นถดั ไป
ผู้ประกอบการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิมมีหน้าที่ต้องออกใบกากับภาษี จัดทารายงานภาษีซ้ือ
รายงานภาษีขาย รายงานสินค้าและวัตถดุ บิ และย่นื แบบ ภพ.30 ภายในวันท่ี 15 ของเดอื นถดั ไป

ทมี่ า : http://www.rd.go.th

4. ภำษีธรุ กจิ เฉพำะ
ภาษีธุรกิจเฉพาะเป็นภาษีท่ีจัดเก็บจากการประกอบกิจการเฉพาะอย่างแทนภาษีการค้าท่ีถูก
ยกเลกิ เร่มิ ใช้บังคบั พรอ้ มกับภาษีมูลค่าเพม่ิ
กิจการที่จะต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ได้แก่ การธนาคาร การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจ
หลักทรัพย์ ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ การรับประกันชีวิต การรับจานา การประกอบกิจการโดยปกติเย่ียงธนาคาร
พาณิชย์ การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากาไร การขายหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยตลาด
หลกั ทรัพยแ์ ห่งประเทศไทยในตลาดหลกั ทรพั ย์ และการประกอบกจิ การอืน่ ตามกาหนดโดยพระราชกฤษฎีกา

กิจการทต่ี ้องเสีย
ภาษีธุรกิจเฉพาะ

ธนาคารพาณิชย์

บริษทั เงนิ ทนุ

ประกนั ชีวิต

โรงรบั จานา

ขายอสังหารมิ ทรัพย์

4.4.3 ภำษีอน่ื ๆทเี่ ก่ยี วข้อง

1. ภำษีสรรพสำมิต เป็นภาษีท่ีเก็บจากผู้ผลิต ผู้ประกอบการ ผู้นาเข้าสินค้าและบริการบาง
ประเภท เชน่ สินคา้ ทีเ่ ปน็ อันตรายต่อสขุ ภาพและศลี ธรรม เปน็ ต้น

2. ภำษที ้องถิน่ ประกอบด้วย
1. ภาษีโรงเรือนและที่ดินหากกจิ การมีรายไดจ้ ากการใช้ประโยชน์ในท่ีดินหรือส่ิงปลูกสร้าง เช่น

ใหเ้ ช่าเปน็ ต้น กจิ การต้องเสยี ภาษโี รงเรือนและทดี่ นิ ในอัตรารอ้ ยละ 12.5ตอ่ ปี ของรายไดท้ ่ีจัดเก็บ
2. ภาษบี ารุงท้องที่ เป็นภาษีที่จดั เก็บจากเจ้าของทดี่ นิ ตามราคาปานกลางท่ดี ินและตามท่ีบญั ชี

อัตราภาษีบารุงท้องท่ี ตามปกติประเมินโดยเจ้าพนักงานประเมินที่ดินโดยมีหลักการพิจารณาหากเป็นท่ีดินเพื่อ
เกษตรกรรมจะเสียภาษนี อ้ ยกวา่ ภาษที ด่ี นิ ประเภทอืน่

3. ภาษีป้ายเป็นภาษีท่ีเก็บจากผู้ประกอบการเจ้าของป้ายซ่ึงแสดงชื่อกิจการบริเวณด้านหน้า
ของอาคาร หรือในสถานท่สี าธารณะเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ คานวณภาษีตามขนาดของปา้ ย

ที่มา : http://www.rd.go.th

4.4.4 กำรกระทำควำมผดิ ทำงคอมพิวเตอร์

พระราชบัญญัติการกระทาความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ได้กาหนดการกระทาความผิดท่ี
มีวัตถปุ ระสงคท์ ่ีไม่ดมี ุ่งต่อระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นซึ่งจะก่อให้เกิดความผดิ การกระทาที่ถอื วา่ เป็นความผิด
ตามพระราชบัญญตั ิสาหรับผู้ใชง้ าน มีดังน้ี

ที่มา : http://www.acisonline.net

1.การล่วงล้าเข้าไปในระบบคอมพวิ เตอร์ หรือ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ (เช่นหน้าเว็บ หรือ directory/folder)
ของผู้อ่ืนท่ีมีมาตรการป้องกันไว้โดยเฉพาะ รวมถึงหากผู้ท่ีทราบมาตรการการป้องกันนามาตรการที่ล่วงรู้มาไป
เผยแพร่

2. การดักจับข้อมูลของผู้อื่นที่อยู่ระหวา่ งการสือ่ สาร
3. การทาลาย แกไ้ ข หรอื เปลีย่ นแปลงข้อมลู ของผู้อน่ื โดย
มชิ อบ
4. การกระทาการใดๆเพอ่ื ทาใหร้ ะบบคอมพิวเตอรข์ องผู้อน่ื ถกู ระงบั ชะลอ หรือถูกรบกวน
5. การส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือ Email ที่ปกปิด/ปลอมแปลงที่มาของข้อมูล (spam mail) ที่เป็นการรบกวน
ผอู้ ืน่
6. การนาข้อมูลไม่เหมาะสมเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งทาให้เกิดความเสียหายต่อประชาชนและประเทศ
ตัวอย่างข้อมูลไม่เหมาะสมได้แก่ ข้อมูลปลอม ข้อมูลอันเป็นเท็จ ข้อมูลอันเป็นความผิดเกี่ยวกับความม่ันคงของประเทศ
และภาพลามก
7. การเผยแพร่หรอื ส่งต่อขอ้ มูลทไี่ ม่เหมาะสมดังกลา่ ว
8. การยอมใหผ้ ูอ้ น่ื บรรจุข้อมูลที่ไมเ่ หมาะสม ลงบนระบบคอมพวิ เตอรท์ ต่ี นรับผิดชอบ
9. การสร้าง ตดั ตอ่ ดดั แปลงภาพของผอู้ น่ื ที่ทาใหผ้ ้อู นื่ เสียหาย หรอื อับอาย
10.การเผยแพร่ software ทเ่ี ปน็ เคร่อื งมือในการทาผิดตามขอ้ อน่ื ๆ

ที่มา : https://leknarong48.wordpress.com ท่ีมา : www.manager.co.th

ศกึ ษำโมดลู ถดั ไป


Click to View FlipBook Version