บทเรียนออนไลน์
การเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship)
โมดูลที่ 6 การเขียนแผนธุรกจิ
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
บทเรียนออนไลน์ชุดนี้จดั ทำขน้ึ เพอื่ ประโยชน์ทางการศกึ ษา มิได้จดั ทำเพอื่ การคา้
บทเรียนออนไลน์
การเป็ นผปู้ ระกอบการ (Entrepreneurship)
โมดลู ท่ี 6 การเขียนแผนธุรกิจ
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ
บทเรยี นออนไลนช์ ดุ นจี้ ัดทำขนึ้ เพอ่ื ประโยชน์ทางการศกึ ษา มไิ ด้จดั ทำเพอ่ื การคา้
บทเรยี นออนไลน์ โมดูลท่ี 6 การเขียนแผนธรุ กจิ
ขนั้ ตอนการใชบ้ ทเรียนออนไลน์
ท ำ แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รี ย น
ศกึ ษาเนอ้ื หาบทเรียนออนไลนแ์ ละตวั อยา่ งแผนธรุ กจิ
ท ำ แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รี ย น
ไมผ่ ่าน ผา่ น
เกณฑ์ เกณฑ์
ทบทวนโมดลู ทไ่ี มผ่ ่าน รอ้ ยละ 80
วฒุ ิบตั ร
บทเรียนออนไลน์ โมดูลท่ี 6 การเขียนแผนธุรกิจ
➢ คำแนะนำสำหรับผู้ศึกษา
บทเรียนออนไลน์ โมดูลที่ 6 การเขียนแผนธุรกิจ เป็นบทเรียนออนไลน์ที่ผลิตขึ้นมาเพื่อใช้เป็น
ส่อื ประกอบการเรยี นการสอนออนไลน์ของหลักสตู รการเปน็ ผปู้ ระกอบการ (Entrepreneurship)
➢ บทเรยี นออนไลน์ โมดูลท่ี 6 ประกอบด้วย
1. แบบทดสอบก่อนเรียน
2. จุดประสงค์
3. ความร้พู น้ื ฐานจากการศกึ ษาโมดลู ท่ี 1 ถึง โมดลู ท่ี 5
4. เนื้อหาและตัวอย่างแผนธุรกจิ
5. แบบทดสอบหลังเรียน
บทเรยี นออนไลน์ โมดลู ที่ 6 การเขียนแผนธุรกิจ
➢ คำแนะนำในการใช้บทเรียนออนไลน์โมดลู ที่ 6 การเขียนแผนธรุ กิจ
1. ให้ผู้ศึกษาศึกษาหลกั การและเหตุผล (Prospectus) และจุดประสงค์ (Objectives) ของบทเรียน
ออนไลน์โมดลู ที่ 6 ใหเ้ ขา้ ใจ
2. ให้ผู้ศกึ ษาปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำและขนั้ ตอนการใช้อยา่ งเคร่งครดั
3. ผู้ศกึ ษาตอ้ งมีความซื่อสตั ย์ตอ่ ตนเอง
4. บทเรียนออนไลน์โมดูลนี้ ผู้ศึกษาสามารถใช้ศึกษาได้ตามความต้องการ ความพร้อมและความ
สะดวกโดยไมจ่ ำกัดเวลาเรียน และสถานทเี่ รยี น
➢ ข้ันตอนการใช้บทเรยี นออนไลน์ โมดลู ที่ 6 การเขยี นแผนธรุ กจิ
1. ผู้ศกึ ษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน
2. ผู้ศกึ ษาศึกษาเน้อื หาบทเรียนออนไลน์
3. ผู้ศึกษาทำแบบทดสอบหลังเรียน
➢ หลักการและเหตผุ ล (Prospectus)
บทเรียนออนไลน์หลักสูตรการเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship) เป็นรายวิชาท่ีจัดทำขึ้นเพื่อ
ใช้ในการศึกษาบทเรียนออนไลน์ สำหรับผู้ศึกษาเรียนรู้วิธีการดำเนินธุรกิจ สามารถนำไปใช้ในการประกอบ
ธุรกจิ ได้ ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้ประกอบธรุ กิจเพมิ่ พูนความรู้และทักษะดา้ นการบรหิ ารจดั การธุรกจิ ของตนเอง
บทเรียนออนไลน์ โมดูลที่ 6 การเขียนแผนธุรกิจ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นสื่อประกอบการเรียนหลักสูตรการ
เป็นผู้ประกอบการเพื่อให้ผู้ศึกษาเรียนรู้วิธีการดำเนินธุรกิจ สามารถศึกษาด้วยตนเอง เป็นการเพิ่มพูนความรู้
และทักษะในการเขียนแผนธรุ กจิ ตอ่ ไป
➢ จดุ ประสงค์ (Objective)
บทเรียนออนไลน์ โมดูลที่ 6 การเขียนแผนธุรกิจเมื่อผู้ศึกษาได้ศึกษาและทดสอบผ่านบทเรียน
ออนไลน์โมดลู นี้แล้ว ผู้ศกึ ษาจะมคี วามรู้ในเร่ืองเบ้อื งตน้ เกี่ยวกบั แผนธุรกิจ ซ่งึ ประกอบไปด้วย
• ความหมายของแผนธุรกิจ
• ประเภทของธุรกจิ ตามพระราชบญั ญตั วิ ิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม
• ประโยชนข์ องแผนธุรกิจ
• ลักษณะของแผนธุรกิจทดี่ ี
• องค์ประกอบของแผนธุรกจิ
➢ ความรู้พ้ืนฐาน (Prerequisites)
ในการเรียนบทเรียนออนไลน์โมดูลน้ีให้ได้ผลดีนั้นผู้ศึกษาจำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
การประกอบธรุ กจิ โมดูลที่ 1 ถึง โมดลู ที่ 5
บทเรยี นออนไลน์ โมดลู ที่ 6 การเขยี นแผนธรุ กิจ
6.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแผนธุรกิจ
6.1.1 ความหมายของแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ (Business Plan) หมายถึงเครื่องมือที่ผู้ประกอบการใช้กำหนดขนั้ ตอน และวางแผนการ
ดำเนินธุรกิจอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพ เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ตามที่กำหนดไว้ ได้แก่ กำไร หรือ
อ่นื ๆ ท่ีคาดหวงั เอาไว้ สามารถใช้เป็นเคร่อื งมือในการนำเสนอต่อหนุ้ สว่ น หรือสถาบนั การเงินตา่ งๆ เพอื่ ประโยชน์
ในการพจิ ารณารว่ มลงทุน หรือการพจิ ารณาเงนิ กู้
ทีม่ า : https://www.xn--12cg1cxchd0a2gzc1c5d5a.net
6.1.2 ประเภทของธรุ กจิ
ประเภทของธรุ กจิ ตามพระราชบัญญัตวิ ิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมได้แบ่งธรุ กจิ เป็น 3 กลมุ่
ได้แก่
1. ธุรกิจการผลติ (Production Sector)
2. กจิ การการค้า (Trading Sector)
3. กจิ การบรกิ าร (Service Sector)
ทมี่ า : https://www.loanbaba.com/blog/9-things-to-know-about-small-and-medium-enterprises/
1.1 ธุรกิจการผลิต เป็นธุรกิจที่เปลี่ยนรูปวัตถุดิบให้เป็นผลิตภณั ฑ์สำเร็จรูป กระบวนการผลิตจึงเปน็
ธุรกิจที่เกี่ยวข้องและจำเป็นต้องใช้วัตถุดิบในการแปรรูปให้เป็นสินค้าเพื่ออุตสาหกรรมและการบริโภค ซึ่งมี
สินค้าจำนวนมากที่ผลิตขึ้นและจำหน่ายเองโดยใช้เคร่ืองจักรในการแปรรปู ใช้แรงงานและฝีมือในการแปรรูป
ส่วนธรุ กจิ การผลิตภาคเกษตรกรรมกม็ ีลกั ษณะเชน่ เดียวกนั
ทีม่ า : http://www.daikinthai.com/daikin-quality/production
2.1 ธรุ กจิ การคา้ (Trading Sector) ครอบคลุมการค้าส่ง (Wholesale) และการคา้ ปลีก (Retail)
2.1.1 ธุรกิจค้าส่ง (Wholesaling) หมายถึง ธุรกิจที่คนกลางดำเนินการโดยขายสินค้าต่อ
ให้แก่คนกลางอื่น ๆ และผู้ใช้ในอุตสาหกรรม และพาณิชยกรรมเปน็ จำนวนคร้งั ละมากๆ แต่ไม่ขายให้กับผูบ้ ริโภค
คนสุดท้าย ธุรกิจค้าส่งจะมีประสบการณ์ทางด้านการตลาดและมีช่องทางการจัดจำหน่ายให้แก่ร้านค้าปลีก
โดยให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม เช่น การค้าส่งอะไหล่ เครื่องใช้ไฟฟ้า ค้าส่งยาหรือเวชภัณฑ์ บุหรี่ สุรา น้ำมัน
เป็นต้น
ทีม่ า : https://sites.google.com/site/ ทม่ี า : https://brandinside.asia/next-destination-
nangsawsuphakrcanthkes of-siam-makro-is-china-and-india/
2.2.2 ธุรกิจค้าปลีก (Retailing) เป็นธุรกิจที่ขายสินค้าเป็นจำนวนเล็กน้อยแก่ผู้บริโภคคน
สุดท้ายโดยตรงและจะเป็นคนกลางระหว่างผู้ค้าส่งและผู้ผลิต กับผู้บริโภคคนสุดท้ายและกิจกรรมทั้งสิ้นที่
เก่ยี วข้องโดยตรงกบั การขายสินคา้ และหรอื บรกิ ารให้ผบู้ รโิ ภคคนสุดท้าย
ท่มี า : https://news.mthai.com/social-news/681496.html ทม่ี า : http://i-newsmedia.net/2019/10/10/40925/in/
3.1 ธุรกิจการบริการ (Service Sector)เป็นธุรกิจที่จำหน่ายสินค้าในรูปบริการให้แก่ผู้บริโภคหรือ
ผู้ผลิต ธุรกิจบริการส่วนใหญ่จะมีตัวตน และมักจะถูกบริโภคในขณะเดียวกับที่ผลิตขึ้นมา เช่น โรงพยาบาล
โรงแรม ธนาคาร สถานบี รกิ ารน้ำมนั เปน็ ต้น
ทมี่ า : www.pattanakit.net ทม่ี า : https://www.primo.co.th
6.1.3 ประโยชน์ของแผนธรุ กจิ
1. แผนธุรกิจจะเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงความเจริญเติบโตและผลตอบแทนในการลงทุนของ
กิจการในอนาคต
2. ผู้ประกอบการสามารถนำไปเสนอเพ่ือขอรับการสนับสนุนทางการเงนิ จากสถาบนั การเงนิ ได้
3. แผนธรุ กิจทด่ี จี ะนำไปสู่การได้ค่คู า้ ทางธุรกิจและการไดร้ ับความรว่ มมือจากธุรกจิ อน่ื ๆ
4. แผนธุรกจิ ช่วยลดความเสี่ยงและความผิดพลาดในการประกอบธุรกิจทีมผู้บริหารประสานความคิด
มุง่ สเู่ ปา้ หมาย
ท่มี า : http://pakamart2133.blogspot.com/2014/09/definition-of-innovation-vocabulary.html
6.1.4 ลักษณะของแผนธรุ กิจทด่ี ี
1. มีลักษณะน่าเชื่อถอื และสามารถเป็นไปไดจ้ ริงในทางปฏบิ ัติ จะทำให้ผู้ร่วมลงทุนหรือผู้ให้กู้มคี วาม
เชอ่ื ถอื
2. แสดงใหเ้ หน็ ถึงความเช่ียวชาญของผปู้ ระกอบการ แผนธรุ กิจจะเป็นตวั สะท้อนใหเ้ หน็ ความสามารถและ
ความตง้ั ใจจรงิ ของผู้ประกอบการ
3.มีลักษณะเฉพาะตัวที่ชี้ให้เห็นถึงความแตกต่างจากแนวความคิดเดิมที่ผ่านมาทำให้แผนมีลักษณะ
เดน่ และควรสร้างความนา่ เชอ่ื ถือโดยมขี ้อมลู พรอ้ มอา้ งอิง
4. สามารถสะท้อนให้เห็นว่าผู้ประกอบการมีการวางแผนการดำเนินงานมาอย่างดี ทำให้ผู้ร่วมลงทุน
หรอื ผ้ใู หก้ ู้รู้สกึ เส่ยี งน้อยลงเทา่ นั้น
5.แสดงใหเ้ หน็ วา่ ผู้ประกอบการมคี วามมุ่งมั่น มวี สิ ัยทศั น์ คือ เป็นผ้เู ลง็ การณ์ไกลและมีวิธจี ะจดั การกับสง่ิ
ท้าทายในอนาคต
ท่ีมา : https://outcomes.business
6.1.5 องคป์ ระกอบของแผนธุรกจิ
1. บทสรุปผูบ้ รหิ าร
2. ความเป็นมาของธุรกจิ
3. การวิเคราะหอ์ ุตสาหกรรมและสถานการณท์ างธรุ กิจ
4. วตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายของธรุ กิจ
5. แผนการตลาด
6. แผนการผลิต/การบรกิ าร/การคา้
7. แผนการบริหารจดั การ
8. แผนการเงิน
9. แผนฉุกเฉนิ หรอื แผนการบริหารความเสี่ยง
6.2 การเขียนแผนธรุ กิจ
6.2.1 บทสรปุ ผบู้ รหิ าร (Executive Summary)
เป็นส่วนที่สรุปใจความสำคัญ ๆ ของแผนธุรกิจทั้งหมด และต้องเป็นเอกสารที่สมบูรณ์ในตัวเอง
(Standalone Document) โดยจะชี้ให้เห็นว่า สินค้าและบริการที่จะทำนั้น สามารถใช้โอกาสในตลาดให้เป็น
ประโยชน์ได้อย่างไร “บทสรุป” จึงต้องเขียนให้สั้น กระชับ และกะทัดรัด ประมาณ 2–3 หน้าและเป็นส่วน
สุดทา้ ยในการเขียนแผนท้งั หมด เน้อื หาในบทสรุปของผู้บรหิ ารควรมีขอ้ มูลดงั นี้
- ชอื่ และทีต่ ง้ั กิจการ/ชื่อผู้บรหิ ารที่สำคัญ/ประเภทสินค้าทผี่ ลติ /ย่หี ้อสินค้า (ถ้าม)ี
- กลมุ่ ลกู ค้าหลกั /สว่ นแบ่งตลาด/คูแ่ ข่งท่ีสำคัญความสามารถในการแข่งขนั ของกิจการ
- ฐานะการเงินของกจิ การ (เงินทุน-เงนิ ก)ู้ แหล่งท่ีมาของเงินทุนและผลประกอบการใน
ปัจจบุ ัน
- โอกาสทางธรุ กจิ และแนวคิดในการจดั ทำโครงการหรือวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ (เพื่อ
ขยายสาขา/เพ่ือจัดต้งั กิจการใหม่/เพ่ือปรบั ปรุงกิจการ)
- ผลตอบแทนจากการลงทนุ ในโครงการ เชน่ ระยะเวลาคืนทุน จดุ ค้มุ ทุน เปน็ ต้น
ท่ีมา : https://www.facebook.com/118559662188236/posts/141491719895030/
6.2.2 ความเป็นมาของธรุ กิจ
ในสว่ นนี้เป็นการให้ขอ้ มูลเบอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั ความเปน็ มาของการก่อต้ัง มูลเหตจุ งู ใจ หรอื แรงบนั ดาลใจ
ที่ทำให้ประกอบธุรกิจ เช่น การตอ่ ยอดธุรกิจจากครอบครัว การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรในท้องถิ่น ประวัติผู้ก่อต้ัง
มีใครบ้างบอกรายชื่อหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้น และสัดส่วนที่ถือครอง ปีที่ก่อตั้ง ทุนจดทะเบียน/ทุนที่ชำระแลว้
(กรณีเป็นบริษัทจำกดั )
ท่มี า : https://sites.google.com/site/31907kulnithi ทม่ี า : www.oknation.net
6.2.3 การวเิ คราะห์อตุ สาหกรรมและสถานการณ์ทางธรุ กิจ
ทำให้ผู้ประกอบการทราบถึงแนวโน้มของตลาดและอุตสาหกรรมที่ได้จากการวิเคราะห์จะให้ข้อมูล
เกี่ยวกับกลยุทธ์ที่ช่วยสร้างความสามารถทางการแข่งขันและกำหนดทิศทางในการดำเนินธุรกิจเพื่อความ
เจรญิ เติบโตตลอดจนชว่ ยผปู้ ระกอบการ กำหนดแผนการทำธรุ กจิ ในระยะยาวได้
ท่มี า : https://www.terrabkk.com/articles/94890/-five-forces
การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ทางธรุ กิจ
การวิเคราะห์จุดแข็ง (Strengths) และจุดอ่อน (Weaknesses)เป็นการประเมินหรือวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมภายในองค์กรที่ทำให้ธรุ กิจได้เปรียบหรือเสียเปรียบคู่แข่งขัน
การวิเคราะห์โอกาส (Opportunities) และอุปสรรค (Threats) เป็นการประเมินหรือวิเคราะห์
สภาพแวดลอ้ มภายนอกทท่ี ำใหผ้ ลดีถือเป็นการสร้างโอกาสของธรุ กิจ ถา้ เป็นผลเสยี ถือเป็นอปุ สรรคธรุ กจิ ในการ
ประกอบธุรกิจเจ้าของกิจการต้องมีความสามารถในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์กร
ไดเ้ พราะเป็นปัจจัยท่ีจะทำใหธ้ รุ กจิ ประสบความสำเรจ็
ท่มี า : http://freedom0073.blogspot.com/2017/03/swot-analysis.html
6.2.4 วัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายของธรุ กิจ
บอกถงึ การกำหนดวสิ ัยทัศน์ (Vision) พันธกจิ (Mission)เป้าหมาย (Goals) และปจั จัยแห่ง
ความสำเร็จของธรุ กิจ
• วิสยั ทัศน์ เป็นการกำหนดภาพในอนาคต หรอื ทศิ ทางในอนาคตขององคก์ ร
• พนั ธกจิ เป็นข้อความที่แสดงถึง วธิ ีการท่ีจะไปสู่วิสัยทัศน์ท่ีกำหนดไว้นยิ มเขยี นเปน็ รายข้อ
• เป้าหมายเป็นการกำหนดเป้าหมายของธุรกิจ ผู้บริหารต้องกำหนดให้ชัดเจนว่า ต้องการให้องค์กร
บรรลเุ ป้าหมายอะไรภายในเวลาใด มกั กำหนดเปน็ เป้าหมายระยะสน้ั ระยะปานกลาง และระยะยาว
• ปจั จยั แห่งความสำเรจ็ ขององคก์ รเปน็ ส่งิ กำหนดความสำเรจ็ ของธรุ กจิ ว่ามีอะไรบ้าง
ท่มี า : https://www.ddproperty.com/en/property
6.2.5 แผนการตลาด
เป็นการอธิบายให้ทราบถึงข้อมูลด้านการตลาดของธุรกิจก่อนการดำเนินงานตามโครงการ ระบุชื่อคู่
แข่งขนั ขอ้ ไดเ้ ปรียบ เสียเปรยี บของกจิ การที่ มีต่อคแู่ ขง่ ขัน กล่มุ ลกู คา้ เปา้ หมาย (ระบุให้ละเอียดถึง เพศ อายุ
ระดบั การศกึ ษา พฤติกรรมในการเลือกซื้อสินค้าโดยย่อ พื้นที่อยู่อาศยั ฯลฯ)และใหร้ ายละเอียดกลยุทธ์การตลาด
ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน โดยจำแนกเป็นกลยุทธ์ด้านตัวผลิตภัณฑ์ ราคา การจัดจำหน่าย และการส่งเสริมการตลาด
(ศึกษาเพ่ิมเติมจาก Module ท่ี 2)
ทีม่ า : https://www.tereb.in.th/erp/marketing-mix
กล่มุ ลูกค้าเปา้ หมาย
ทม่ี า : https://th.harafunnel.com/blogs/th-marketingautomation/target-audiences
คแู่ ข่งขัน
ที่มา : https://today.line.me/th/article
6.2.6 แผนการผลติ
เป็นการกำหนดให้จัดทำFlow Chartแสดงให้เห็นขั้นตอนการผลิตสินค้า ตั้งแต่จัดเตรียมวัตถุดิบ
จนกระทั่งสำเร็จเป็นสินค้าสำเร็จรูป และระบุเวลาโดยประมาณของแต่ละขั้นตอนหากสามารถระบุได้ และ
อธิบายทำเลท่ีตั้ง และการวางผังโรงงาน/สถานที่ทำการค้า/บริการให้ละเอียด หรือวาดเป็นแผนท่ี ระบุที่ตั้งให้
ชดั เจน การสัง่ ซือ้ วัตถดุ ิบจากที่ไหน (ศึกษาเพิ่มเตมิ จาก Module ที่ 3)
ทีม่ า : https://www.thaisugarmillers.com/tsmc-02-02.html
ตัวอยา่ ง Flow Chart
ท่มี า : http://fic.nfi.or.th/mena/index.php/moroc-opnw/moroc-fishery
6.2.7 แผนการจัดการ
เป็นการกำหนดโครงสร้างองค์กร และผู้บริหารที่สอดคล้องกับแผนการดำเนินธุรกิจด้านอื่น ๆ
ของกจิ การรวมทง้ั แผนดา้ นทรัพยากรบคุ คลดว้ ย (ศกึ ษาเพม่ิ เตมิ จาก Module ที่ 4)
• ข้อมูลธุรกิจ เชน่ ชอื่ กจิ การ ที่อยู่/ทต่ี ้ังกจิ การ/รูปแบบการดำเนนิ การ/ทุนจดทะเบียน
• รายชอ่ื ผถู้ ือหุ้น/หนุ้ ส่วนและสัดส่วนการถอื ครอง
• โครงสรา้ งองค์กร
• หน้าที่ความรับผิดชอบ
• แผนงานด้านบคุ ลากรและค่าใช้จา่ ยบคุ ลากรของธุรกิจ
ทีม่ า : https://th.jobsdb.com/th-th/articles
6.2.8 แผนการเงนิ
เป็นการกำหนดประมาณการลงทุนในโครงการธุรกจิ กำหนดโครงสร้างทางการเงินจากเจ้าของกิจการ
หรือการกู้ยืมเงิน การประมาณการงบเงินต่าง ๆ เช่นงบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด และงบแสดงฐานะ
การเงินตลอดจนการแสดงผลตอบแทนจากการลงทุน และการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินที่จำเป็น (ศึกษา
เพมิ่ เตมิ จาก Module ท่ี 5)
• ต้นทนุ โครงการและแหลง่ ท่มี าของเงนิ ทุน
• ประมาณการยอดขาย
• ประมาณการตน้ ทนุ สนิ คา้ ท่ขี าย
• ประมาณการคา่ ใช้จ่ายในการขาย
• ประมาณการคา่ ใช้จา่ ยในการบรหิ าร
• ประมาณการงบการเงินตา่ ง ๆ
• วเิ คราะห์ผลตอบแทนจาการลงทนุ และอัตราสว่ นทางการเงนิ
ทมี่ า : https://144lifeplanner.com/2018/06/05/money-plan/
6.2.9 แผนฉกุ เฉนิ หรือแผนบริหารความเส่ียง
เป็นการกำหนดแผนฉุกเฉินหรือแผนประเมนิ ความเสีย่ งในการลงทนุ พจิ ารณาจากจดุ อ่อนหรือปัญหา
ของแผนการตลาด แผนการจัดการ แผนการผลิต และแผนการเงินและบัญชีเช่น การลดราคาของคู่แข่งขัน
ตน้ ทุนการผลิตท่ีสงู ขึ้น การลอกเลยี นแบบสนิ คา้ หรือบริการ ภยั พิบัติทาง ธรรมชาติ การกอ่ การรา้ ย โรคอุบัติ
ใหม่ เป็นต้น
ท่ีมา : http://www.jmplabel.com/product/226
โรคอบุ ตั ิใหม่
ทีม่ า : https://www.thansettakij.com/content/world/445659
น้ำทว่ มรา้ นค้า
ทม่ี า : https://www.clipmass.com/story/102899
ไฟไหมซ้ านติกา้ ผับ
ท่มี า : https://www.thairath.co.th/news/local/469169
ประท้วงคา่ แรงของพนกั งาน
ท่มี า : https://www.one31.net/news/detail/374
แผ่นดินไหว
ท่มี า : https://www.thairath.co.th/news/foreign/1756181
ภยั แล้ง
ทมี่ า : https://www.prachachat.net/local-economy/news-229683
ลำดบั ลกั ษณะปัญหาหรือความเสี่ยง ลกั ษณะปัญหาหรือความเส่ียง แนวทางในการแกไ้ ข
1. ภยั ธรรมชาติ
- น้ำทว่ ม นกั ทอ่ งเทยี่ วลดลงและไมส่ ามารถ จัดโปรโมชั่นและกิจกรรม
- ภัยแล้ง
- พายุ ดําเนนิ กิจกรรมตา่ ง ๆ ได้ พเิ ศษ เพ่ือดึงดดู นักท่องเท่ยี ว
ฯลฯ
2. นกั ทอ่ งเท่ียว - ความไม่แน่นอนของจํานวน จัดหาพันธมิตรทางธุรกิจที่มี
3. คู่แขง่ ขันเพม่ิ ขึ้น นักท่องเที่ยวในแต่ละวัน เช่น ความสามารถในการให้บริการ
หาก นักท่องเที่ยวมีจํานวน เพิ่มเติม โดยท่มี ีคุณสมบัตดิ ้าน
มากกว่าหรือ เพิ่มขึ้นสูงกว่า การบริการด้วยความปลอดภัย
เป้าหมายที่ได้ กําหนดไว้ ที่ ใกล้เคียงกับพันธ มิตร
ปจั จบุ นั
- รายไดล้ ดลง - หาลูกค้ากลุ่มใหม่
- สร้างความแตกต่างในด้าน
ก า ร ใ ห ้ บ ร ิ ก า ร เ ช ่ น จั ด
โปรแกรมท่องเที่ยวใหม่ท่ี
เหมาะกบั กลุ่มลูกคา้ นน้ั ๆ
- สร้างความจงรักภักดีต่อตรา
สินค้า โดยสร้างฐานข้อมูล
ลูกคา้ เพื่อการสื่อสารทางตรง
แบบฟอรม์ แผนธรุ กจิ
แผนธุรกจิ
(Business Plan)
ชอ่ื ธุรกจิ ……………………………………………………………………………………………………………
ทอ่ี ยู่ ……………………………………………………………………………………………………………
หมายเลขโทรศพั ท์ ……………………………………………………………………………………………………………
หมายเลขโทรสาร ……………………………………………………………………………………………………………
E-mail Address ……………………………………………………………………………………………………………
นำเสนอต่อ
…………………………………………………………………………………………………………….
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
……………………………………………………………………………………………………………
สารบัญ หน้า
1. บทสรุปผู้บริหาร
2. ความเป็นมาของธุรกจิ
2.1 ประวัตคิ วามเปน็ มา หรือแนวคดิ ในการจดั ต้ังธรุ กิจ
2.2 ข้ันตอนการเรม่ิ ตน้ ดำเนนิ งาน
3. การวิเคราะหอ์ ตุ สาหกรรมและสถานการณท์ างธุรกจิ
3.1 การวเิ คราะห์อตุ สาหกรรม และสภาวะตลาด
3.2 การวิเคราะหส์ ถานการณ์ทางธรุ กจิ
3.2.1 การวเิ คราะหป์ จั จัยภายใน
3.2.2 การวเิ คราะหป์ จั จยั ภายนอก
4. วัตถุประสงค์และเป้าหมายทางธุรกิจ
4.1 วิสยั ทัศน์
4.2 พันธกิจ
4.3 เปา้ หมายทางธุรกิจ
4.4 ปจั จยั แหง่ ความสำเร็จ
5. แผนการตลาด
5.1 เป้าหมายทางการตลาด
5.2 การกำหนดลกู ค้าเป้าหมาย
5.3 กลยทุ ธท์ างการตลาด
5.3.1 กลยุทธ์ด้านผลิตภณั ฑ์
5.3.2 กลยุทธ์ดา้ นราคา
5.3.3 กลยทุ ธด์ า้ นชอ่ งทางการจัดจำหนา่ ย
5.3.4 กลยทุ ธด์ า้ นการสง่ เสรมิ การตลาด
6. แผนการบรหิ ารจัดการ
6.1 ข้อมลู ธรุ กจิ
6.2 ชื่อการเปน็ ผปู้ ระกอบการ/ผู้ถือหุ้น/สดั ส่วนการถอื ครอง
6.3 แผนผงั องค์การ
6.4 หน้าทค่ี วามรบั ผิดชอบของบุคลากรหลกั
6.5 แผนงานบคุ ลากร และค่าใช้จ่ายบคุ ลากรของธรุ กิจ
7. แผนการผลิต/การบรกิ าร/การคา้
7.1 สถานประกอบการในการผลติ /การบริการ/การคา้
7.2 เครื่องจักร เคร่อื งมือ อปุ กรณ์ ในการผลติ สินคา้ /การบริการ/การคา้
7.3 รายละเอียดวัตถุดิบทีใ่ ช้ในการผลิต/การบรกิ าร/การค้า
7.4 ข้ันตอนการผลติ /การบรกิ าร/การค้า
7.5 แผนผงั กระบวนการผลติ /การบริการ/การค้า
8. แผนการเงิน
8.1 ตน้ ทุนโครงการและแหลง่ ทมี่ าของเงนิ ทุน
8.2 ประมาณการยอดขาย
8.3 ประมาณการรายไดจ้ ากการขาย
8.4 ประมาณการตน้ ทุนวัตถดุ บิ และบรรจุภัณฑ์/ฉลาก/สนิ คา้ สำเรจ็ รปู อ่ืนทีใ่ ชใ้ นการผลิต
8.5 ประมาณการตน้ ทุนการผลติ
8.6 ประมาณการค่าใช้จ่ายในการบรหิ าร
8.7 ประมาณการงบการเงินต่างๆ
8.7.1 การงบกำไรขาดทนุ
8.7.2 การงบแสดงฐานะทางการเงิน
8.7.3 งบกระแสเงนิ สด
8.7.4 วเิ คราะห์ผลตอบแทนจากการลงทนุ และอตั ราสว่ นทางการเงนิ
9. แผนฉกุ เฉนิ หรือแผนประเมนิ ความเสย่ี ง
1. บทสรปุ ผู้บริหาร
.......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
2. ความเป็นมาของธรุ กจิ
2.1 ประวตั ิความเปน็ มา หรือแนวคดิ ในการจดั ตง้ั ธุรกิจ
ประวตั ิของกจิ การ/ผู้เริม่ กิจการ
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
แนวความคิดในการก่อตัง้ กจิ การ
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
การเปลย่ี นแปลงของกจิ การ
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
2.2 ขัน้ ตอนการเรม่ิ ต้นดำเนินงาน
ลำดบั รายการดำเนนิ งาน ระยะเวลาดำเนนิ การ ระยะเวลาที่คาดว่าจะแลว้ เสร็จ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ระยะเวลาท้ังสิ้น
3. การวิเคราะหอ์ ตุ สาหกรรมและสถานการณ์ทางธุรกจิ
3.1 การวเิ คราะห์อุตสาหกรรมและสภาวะตลาด
ภาพรวมของธุรกจิ ………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….......................
การแบ่งส่วนตลาดและตลาดเปา้ หมาย…………………………………………………………………………………………………….
….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวโน้มทางการตลาด……………………………………………………………………………………………….………………
…..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ลกั ษณะทวั่ ไปของลกู ค้า……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
สภาพการแข่งขนั ………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ค่แู ขง่ ขัน………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
รายละเอียดการเปรียบเทยี บกับคแู่ ขง่ ขนั คแู่ ขง่ รายที่ 1 คูแ่ ขง่ รายท่ี 1 คู่แขง่ รายที่ 1
การเปรียบเทียบ ธุรกิจของเรา
ด้านสินคา้
ดา้ นราคา
ด้านชอ่ งทางการจัด
จำหน่าย
ดา้ นสง่ เสริมการตลาด
3.2 การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ทางธรุ กจิ
3.2.1 การวเิ คราะหป์ จั จัยภายใน
ปัจจยั การพจิ ารณา จดุ แขง็ (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses)
ด้านการบรหิ ารจดั การ
1……………………………………………… 1………………………………………………
ดา้ นการตลาด 2……………………………………………… 2………………………………………………
3……………………………………………… 3………………………………………………
ดา้ นการบรกิ าร
1……………………………………………… 1………………………………………………
ดา้ นการเงิน 2……………………………………………… 2………………………………………………
3……………………………………………… 3………………………………………………
1……………………………………………… 1………………………………………………
2……………………………………………… 2………………………………………………
3……………………………………………… 3………………………………………………
1………………………………………… 1………………………………………
2……………………………………… 2………………………………………
3………………………………………… 3………………………………………
3.2.2 การวเิ คราะห์ปจั จยั ภายนอก
ปจั จยั การพิจารณา จุดแขง็ (Strengths) จดุ ออ่ น (Weaknesses)
ตลาดและกลุ่มลูกค้าเปา้ หมาย 1……………………………………….. 1………………………………………………
2………………………………………… 2………………………………………………
สถานการณ์การแข่งขนั 1………………………………………… 1………………………………………………
2………………………………………… 2………………………………………………
สังคม 1………………………………………… 1………………………………………………
2………………………………………… 2………………………………………………
เทคโนโลยี 1………………………………………… 1………………………………………………
2………………………………………… 2………………………………………………
สภาพเศรษฐกจิ 1………………………………………… 1………………………………………………
2………………………………………… 2………………………………………………
กฎหมาย, ระเบยี บ,ข้อบังคบั 1………………………………………… 1………………………………………………
2………………………………………… 2………………………………………………
กล่มุ ผจู้ ำหน่าย,เครอื ข่าย 1………………………………………… 1………………………………………………
2………………………………………… 2………………………………………………
4. วตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายทางธุรกิจ
4.1 วสิ ัยทัศน์
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
4.2 พันธกจิ
1. …………………………………………………………………………………………………………………………………
2. …………………………………………………………………………………………………………………………………
3. …………………………………………………………………………………………………………………………………
4. …………………………………………………………………………………………………………………………………
5. …………………………………………………………………………………………………………………………………
4.3 เปา้ หมายทางธุรกจิ
เปา้ หมายระยะสั้น……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
เป้าหมายระยะปานกลาง…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
เป้าหมายระยะยาว…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
4.4 ปัจจัยแหง่ ความสำเรจ็
1. …………………………………………………………………………………………………………………………………
2. …………………………………………………………………………………………………………………………………
3. …………………………………………………………………………………………………………………………………
4. …………………………………………………………………………………………………………………………………
5. แผนการตลาด
5.1 เปา้ หมายทางการตลาด
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
5.2 การกำหนดลูกคา้ เป้าหมาย
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
5.3 กลยทุ ธ์ทางการตลาด
5.3.1 กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
5.3.2 กลยุทธ์ดา้ นราคา
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
5.3.3 กลยุทธ์ดา้ นช่องทางการจดั จำหน่าย
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
5.3.4 กลยทุ ธ์ดา้ นการส่งเสริมการตลาด
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
6. แผนการบรหิ ารจัดการ
6.1 ข้อมูลธุรกจิ
ช่ือกิจการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………
ท่ีอยู่/ท่ตี ั้ง …………………………………………………………………………………………………………………..
เงนิ ทนุ …………………………………………………………………………………………………………………………………….
6.2 ช่อื การเปน็ ผู้ประกอบการ/ผู้ถอื หุ้น/สดั ส่วนการถอื ครอง
ลำดบั ช่อื – นามสกลุ จำนวนหนุ้ มลู คา่ ห้นุ เปอร์เซ็นต์
1.
2.
3.
4.
5.
6.
รวมจำนวนหุ้น
6.2 แผนผงั องค์กร
6.4 หนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของบคุ ลากรหลกั
1. ชอ่ื -สกลุ ………………………………………………………………………………………………
ตำแหนง่ ………………………………………………………………………………………………
หน้าทค่ี วามรับผิดชอบ ………………………………………………………………………………………………
2. ชอ่ื -สกลุ ………………………………………………………………………………………………
ตำแหนง่ ………………………………………………………………………………………………
หน้าที่ความรบั ผดิ ชอบ ………………………………………………………………………………………………
3. ชอ่ื -สกุล ………………………………………………………………………………………………
ตำแหน่ง ………………………………………………………………………………………………
หนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบ ………………………………………………………………………………………………
4. ชอ่ื -สกุล ………………………………………………………………………………………………
ตำแหน่ง ………………………………………………………………………………………………
หน้าท่ีความรบั ผดิ ชอบ ………………………………………………………………………………………………
6.5 แผนงานบคุ ลากรและค่าใชจ้ ่ายบคุ ลากรของธรุ กิจ อัตราเงินเดือน รวมเงินเดอื น
ลำดับ ตำแหนง่ /หนา้ ทคี่ วามรับผดิ ชอบ จำนวน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
7. แผนการผลิต/การบริการ/การค้า
7.1 สถานประกอบการในการผลติ /การบริการ/การค้า
ที่ตัง้ /สถานที่ …………………………………………………………………………………………………………………………
รายละเอียด …………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
แผนท่ีทีต่ ั้งสถานประกอบการในการผลิต/การบรกิ าร/การคา้
7.2 เครอ่ื งจักร เครอ่ื งมือ อุปกรณ์ ในการผลติ สนิ ค้า/การบรกิ าร/การค้า
ลำดับ รายการ จำนวน การใช้งาน ราคาทนุ อายุ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
7.3 รายละเอยี ดวัตถุดิบทใ่ี ชใ้ นการผลิต/การบริการ/การค้า
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
7.4 ขั้นตอนการผลิต/การบริการ/การค้า
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
7.5 แผนผงั กระบวนการผลิต/การบริการ/การค้า
แผนผงั หรอื Flow Chart ขน้ั ตอนและกระบวนการในการผลิต/การบรกิ าร/การค้า
8. แผนการเงนิ
8.1 ตน้ ทุนโครงการและแหล่งที่มาของเงินทนุ
รายการ จำนวนเงนิ แหลง่ ทมี่ าของเงินทุน
เงินกู้ เจ้าของ
1. เงนิ ทุนหมนุ เวียน (4)
1.1 เงินสด % (5) (6)
%%
1.2 เงนิ ฝากธนาคาร
1.3 วัตถดุ บิ /สินคา้ คงเหลือ
1.4 วสั ดสุ ำนักงาน
1.5….. ฯลฯ…….
รวมเงินทนุ หมนุ เวียน(1)
2. สนิ ทรพั ย์ไมห่ มุนเวยี น
2.1 ที่ดนิ
2.2 อาคาร
2.3 อุปกรณ์
2.4……ฯลฯ…..
รวมสนิ ทรัพย์ไมห่ มนุ เวียน(2)
3. รายจา่ ยก่อนการดำเนนิ งาน(3)
รวมตน้ ทุนโครงการทั้งหมด
(1)+(2)+(3)
อัตราสว่ นหนสี้ ิน : เจ้าของ
8.2 ประมาณการยอดขาย
รายการ เดอื น เดือน เดือน เดอื น เดอื น เดอื น เดอื น เดอื น เดอื น เดือน เดอื น เดอื น
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
จำนวนหนว่ ยสินคา้ ที่ขาย
สินคา้ A
สินคา้ B
สินค้า C
ยอดขายรวม
ราคาสนิ คา้ ที่ขาย(บาท/หน่วย)
สนิ ค้า A
สินค้า B
สนิ ค้า C
ราคาสนิ คา้ เฉล่ีย
รายได้จากการขาย (บาท)
สินคา้ A
สนิ คา้ B
สนิ คา้ C
รวมรายได้จากการขาย
รวมรายได้สะสม (บาท)
ลูกหนี้การคา้ (บาท)
เงนิ สดรบั จากการขาย (บาท)
8.3 ประมาณการรายได้จากการขายสนิ ค้า
รายการ ปีท่ี 1 ปที ่ี 2 ปีท่ี 3
จำนวนหน่วยสินคา้ ที่ขาย
สินคา้ A
สนิ ค้า B
สินค้า C
รวมจำนวนสนิ ค้าทข่ี าย
ราคาสินคา้ (บาท/หน่วย)
สินคา้ A
สินค้า B
สินคา้ C
ราคาสนิ คา้ เฉล่ยี
รายได้จากการขายสินคา้ (บาท)
สินค้า A
สินค้า B
สินคา้ C
รวมรายได้จากการขายสินคา้ (บาท)
ประมาณการลูกค้าการคา้
ขายด้วยเงนิ สด
ขายดว้ ยเงินเชือ่ (เครดิตการค้า)
ระยะเวลาให้เครดิตการค้า (วัน/เดอื น)
ลกู หน้กี ารคา้ รวม (บาท)
เงนิ สดรบั จากการขายสนิ คา้ (บาท)
8.4 ประมาณการตน้ ทนุ วตั ถดุ บิ และบรรจุภัณฑ์/ฉลาก/สินค้าสำเรจ็ รูปอื่นทใ่ี ช้ในการผลิต
รายการ ปีท่ี 1 ปที ่ี 2 ปีท่ี 3
จำนวนวตั ถุดิบในการผลิตต่อหนว่ ย
วัตถุดิบชนิดที่ 1
วัตถุดิบชนดิ ที่ 2
วัตถุดิบชนดิ ท่ี 3
ราคาต่อหน่วยของวตั ถุดบิ (บาท/หนว่ ย)
วตั ถดุ บิ ชนิดท่ี 1
วัตถุดบิ ชนิดท่ี 2
วตั ถดุ บิ ชนดิ ท่ี 3
ต้นทนุ วตั ถดุ บิ ในการผลิต (บาท)
วัตถุดิบชนดิ ท่ี 1
วัตถดุ บิ ชนิดท่ี 2
วตั ถุดบิ ชนดิ ท่ี 3
รวมต้นทุนวตั ถดุ ิบในการผลติ (บาท)
จำนวนบรรจุภณั ฑ/์ ฉลาก/สนิ คา้ สำเรจ็ รูปอนื่ ทีใ่ ชใ้ นการผลิต
บรรจภุ ณั ฑ/์ ฉลาก/สินคา้ สำเรจ็ รูปอ่ืนที่ใชใ้ นการผลิต1
บรรจุภณั ฑ์/ฉลาก/สนิ ค้าสำเรจ็ รปู อ่นื ทีใ่ ชใ้ นการผลติ 2
ราคาต่อหน่วยของวตั ถุดบิ (บาท/หน่วย)
บรรจภุ ณั ฑ/์ ฉลาก/สินค้าสำเร็จรูปอื่นทใ่ี ช้ในการผลติ 1
บรรจภุ ณั ฑ์/ฉลาก/สนิ คา้ สำเรจ็ รูปอื่นท่ใี ชใ้ นการผลิต2
ตน้ ทนุ บรรจุภณั ฑ/์ ฉลาก/สินค้าสำเร็จรปู อ่ืนทใ่ี ช้ในการผลิต (บาท)
บรรจุภณั ฑ์/ฉลาก/สนิ คา้ สำเร็จรูปอื่นทใ่ี ชใ้ นการผลติ 1
บรรจุภณั ฑ์/ฉลาก/สินคา้ สำเร็จรปู อน่ื ที่ใช้ในการผลติ 2
รวมต้นทนุ บรรจภุ ณั ฑฯ์ ทใ่ี ชใ้ นการผลติ (บาท)
ประมาณการเจา้ หนา้ การค้า
ซ้ือมาดว้ ยดว้ ยเงนิ สด
ซื้อมาดว้ ยเงนิ เชื่อ (เครดิตการคา้ )
ระยะเวลาใหเ้ ครดิตการคา้ (วัน/เดอื น)
มูลคา่ เจา้ หน้ีการค้าวตั ถดุ บิ และบรรจภุ ณั ฑฯ์ รวม (บาท)
8.5 ประมาณการตน้ ทุนการผลติ ปที ่ี 1 ปที ่ี 2 ปที ่ี 3
รายการ
ต้นทุนผลิตสินคา้ (บาท)
คา่ วตั ถดุ ิบในการผลติ สินค้า
คา่ สนิ คา้ สำเร็จรูปซือ้ มาเพอ่ื การผลิต
คา่ แรงงานในการผลิต
ค่าไฟฟา้ ในการผลิต
ค่านำ้ ประปาในการผลิต
คา่ วสั ดุสิ้นเปลืองในการผลติ
ค่าบำรุงรกั ษาเคร่ืองจักรและอปุ กรณ์
คา่ ขนสง่ วัตถุดิบเพอื่ ใช้ในการผลิต
รวมต้นทนุ การผลิตสนิ ค้า (1)
คา่ เส่อื มราคาในการผลติ (บาท)
ค่าเสอื่ มราคาอาคารในการผลิต
ค่าเส่ือมราคาเครือ่ งจกั รและอปุ กรณ์
คา่ เสอ่ื มราคายานพาหนะ
รวมต้นทนุ คา่ เส่ือมราคาในการผลิตสนิ คา้ (2)
รวมตน้ ทุนการผลิตสนิ คา้ ท้งั สน้ิ (1) +(2)
+ วตั ถดุ ิบคงเหลอื ต้นงวด
- วตั ถดุ บิ คงเหลอื ปลายงวด
+ ซอื้ สินคา้ เพอื่ ผลติ คงเหลอื ตน้ งวด
- ซือ้ สินค้าเพ่อื ผลติ คงเหลือปลายงวด
+ สินคา้ ระหวา่ งทำคงเหลือตน้ งวด
- สินค้าระหวา่ งทำคงเหลอื ปลายงวด
+ สินคา้ สำเร็จรปู คงเหลือต้นงวด
- สินค้าสำเรจ็ รปู คงเหลอื ปลายงวด
รวมตน้ ทนุ ผลติ สินค้า (บาท)
8.6 ประมาณการค่าใชจ้ า่ ยในการบรหิ ารและการขาย
รายการ ปที ่ี 1 ปีท่ี 2 ปีท่ี 3
คา่ ใชจ้ า่ ยในการบรหิ ารและการขาย (บาท)
เงนิ เดือนบุคลากร
ค่าใชจ้ า่ ยดา้ นสวสั ดกิ ารบคุ ลากร
คา่ ใช้จา่ ยสำนกั งาน
คา่ ใชจ้ า่ ยไฟฟา้ ส่วนสำนกั งาน
คา่ ใช้จา่ ยประปาสว่ นสำนักงาน
ค่าใชจ้ า่ ยโทรศัพท์,โทรสาร
คา่ แบบพมิ พ์เอกสาร
คา่ ใชจ้ า่ ยวัสดสุ ิ้นเปลอื งสำนักงาน
ค่าธรรมเนยี มราชการ
ค่านำ้ มันยานพาหนะในการขาย
ค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์
ค่าใชจ้ า่ ยงานแสดงสนิ ค้า
ค่า commission จากการขาย
ค่าใช้จา่ ยในการชำระดอกเบ้ยี เงนิ กู้
คา่ ใช้จา่ ยในการชำระภาษีเงินไดน้ ติ บิ คุ คล
ค่าใช้จา่ ยเบ็ดเตลด็ อ่นื ๆ
รวมค่าใช้จา่ ยในการบรหิ ารและการขาย (1)
คา่ เส่อื มราคาสว่ นการบรหิ ารการขาย
ค่าเส่ือมราคาอาคารสว่ นสำนักงาน
ค่าเส่ือมราคาอปุ กรณ์เคร่ืองใชส้ ำนกั งาน
ค่าเสอ่ื มราคายานพาหนะ
รวมค่าเสอื่ มราคาสว่ นการบรหิ ารและการขาย (2)
รวมคา่ ใชจ้ า่ ยในการบรหิ ารและการขายท้งั สิ้น (1) +(2)
8.7 ประมาณการงบการเงนิ ตา่ งๆ
8.7.1 งบกำไรขาดทุน
รายการ ปีที่ 1 ปที ่ี 2 ปีท่ี 3
รายได้
รายได้จากการขายสินค้า
รายได้อื่นๆ
รวมรายได้
หกั – ตน้ ทุนขายสนิ คา้
กำไรข้นั ตน้
หกั – คา่ ใชจ้ า่ ยในการบรหิ ารและการขาย
กำไรจากการดำเนินการ
หกั – ดอกเบย้ี จา่ ย
กำไรก่อนหักภาษเี งินได้หรอื ภาษเี งินไดน้ ิตบิ คุ คล
หกั – ภาษีเงนิ ได้ หรือภาษีเงนิ ได้นติ ิบุคคล
กำไรสุทธิ
หกั – เงนิ ปันผลจ่าย (ถา้ มี)
กำไรสะสม
กำไร (ขาดทนุ ) สุทธติ ่อหุน้
มลู คา่ ทางบัญชีตอ่ หุ้น
8.7.2 งบแสดงฐานะทางการเงิน ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3
รายการ
สนิ ทรัพย์
สนิ ทรพั ย์หมุนเวยี น
เงินสดและรายการเทยี บเทา่ เงนิ สด
ลกู หน้ี
สนิ คาคงเหลือ
วสั ดสุ ำนกั งาน
สนิ ทรัพย์หมุนเวยี นอน่ื
รวมสนิ ทรพั ยห์ มุนเวยี น
สินทรัพย์ไมห่ มนุ เวียน
เงินลงทุนระยะยาว
เงนิ ให้กู้ยมื ระยะยาว
ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์
สินทรพั ย์ไมม่ ีตัวตน
รวมสินทรพั ย์ไมห่ มุนเวยี น
รวมสนิ ทรัพย์
หนส้ี นิ และส่วนของเจ้าของ
หนีส้ ิน
หน้ีสนหมุนเวยี น
เงินเบกิ เกินบัญชี
เจา้ หนี้การค้า
เงนิ กู้ยมื ระยะส้นั
หนีส้ ินหมุนเวยี นอ่นื
รวมหนสี้ ินหมุนเวียน
หนสี้ นิ ไมห่ มุนเวยี น
เงินกู้ระยะยาว
หน้ีสินไม่หมุนเวยี นอื่น
รวมหนีส้ นิ ไมห่ มุนเวยี น
รวมหนสี้ นิ
ส่วนของเจา้ ของ
ทุน
รวมส่วนของเจ้าของ
รวมหน้สี ินและส่วนของเจ้าของ
8.7.3 งบกระแสเงนิ สด ปีท่ี 1 ปที ่ี 2 ปีท่ี 3
รายการ
กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดำเนินงาน
เงินสดรบั จากการขายสนิ คา้
เงินสดรับจากรายไดอ้ ่นื
เงินสดจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยในการผลติ
เงินสดจา่ ยคา่ ใชจ้ ่ายการบรหิ ารและการขาย
เงนิ สดจา่ ยคา่ ใช้จ่ายอ่ืนๆ
เงนิ สดจ่ายภาษเี งินได้นิตบิ คุ คล
กระแสเงินสดจากกจิ กรรมการดำเนินงานรวม (1)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน
เงินสดรบั จากการขายสินทรัพยร์ ะยะยาว
เงินสดรบั จากขายเงินลงทนุ
เงนิ สดจา่ ยคา่ การลงทุนในสินทรัพย์
เงินสดรบั จากขายเงินลงทนุ
กระแสเงนิ สดจากกจิ กรรมการลงทุนรวม (2)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมการจดั หาเงนิ
เงนิ สดรับจากการออกหุ้นทุน
เงินสดรับจากการกอ่ หน้ีสนิ
เงินสดจ่ายคา่ ดอกเบย้ี เงนิ กรู้ ะยะสัน้
เงนิ สดจา่ ยชำระคืนเงนิ กู้ระยะสัน้
เงินสดจ่ายคา่ ดอกเบยี้ เงนิ กู้ระยะยาว
เงนิ สดจ่ายชำระคืนเงินกรู้ ะยะยาว
เงินสดจ่ายปันผล
กระแสเงนิ สดจากกิจกรรมการจดั หาเงนิ รวม (3)
กระแสเงินสดสทุ ธิ (1) + (2) + (3)
บวก กระแสเงนิ สดต้นงวด
กระแสเงินสดสทุ ธปิ ลายงวด
8.7.4 วเิ คราะห์ผลตอบแทนจากการลงทุนและอตั ราสว่ นทางการเงนิ
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
9. แผนฉุกเฉนิ หรอื แผนประเมนิ ความเสย่ี ง
ลำดบั ลกั ษณะปัญหาหรือความเสี่ยง ผลทค่ี าดว่าจะเกดิ ขึ้น แนวทางแกไ้ ขปัญหา
1.
2.
3.
4.
5.
ตวั อยา่ งแผนธุรกิจ
แผนธุรกจิ (Business Plan) “การทอ่ งเทีย่ วเชงิ เกษตรเกาะยอ Simple Koh Yor”
1. บทสรปุ ผู้บรหิ าร
การดําเนินชีวิตของมนุษย์ในสมัยโบราณมีความแตกต่างกับการดําเนินชีวิตในยุคปัจจุบัน เนื่องจาก
ประชากรเพิ่มมากขึ้น ทําให้เกิดความวุ่นวาย จึงทําให้นักท่องเที่ยวบางส่วนต้องการหาที่สงบ และสถานท่ี
พักผ่อนหย่อนใจ ตําบลเกาะยอจึงได้จัดตั้งศูนย์ท่องเที่ยวเชิงเกษตร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์
ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้มีอาชีพเพื่อสร้างรายได้ภายในชุมชนและพัฒนา
ระบบการปกครองการบริหารให้มีประสิทธิภาพ โดยได้แบ่งกลุ่มนักท่องเที่ยวออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มเปา้ หมายหลกั นกั ทอ่ งเทยี่ วเชิงอนุรักษจ์ ังหวดั สงขลาและจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง กลมุ่ เปา้ หมายรอง นกั ทอ่ งเที่ยว
จากประเทศเพื่อนบ้าน ทั้ง 2 กลุ่มจะมีอายุ 20-30 ปี ที่มีความสนใจทางด้านการท่องเท่ียวเชิง อนุรักษ์ ด้าน
วฒั นธรรม ด้านธรรมชาติ ดา้ นวถิ ีชีวิตชมุ ชน และภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น โดยมีกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ หลากหลาย
โดยคิดอัตราค่าบริการ 120บาท/คน ในแผนการตลาดจะเน้นเรื่องของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และเรียนรู้วิถี
ชีวิตชาวเกาะยออย่างแท้จริง โดยมีกิจกรรมท่องเที่ยวที่หลากหลาย โดยจะบริการนักท่องเที่ยวแบบไป-กลับ
และแบบค้างคืน และยังมี บริการจองที่พัก จอดรถ และมีรถวนรอบเกาะเพื่ออํานวยความสะดวกให้กับ
นักท่องเที่ยว นอกจากนี้ยังมี ศูนย์บริการท่องเที่ยวเพื่อคอยให้ข้อมูลและเอกสารการท่องเที่ยววางแผนการ
เดินทางและบรรยายให้ความรู้ เกี่ยวกับเกาะยอ ในแผนการดําเนินงานของธุรกิจท่องเที่ยวเชิงเกษตรตําบล
เกาะยอจะเน้นในเรื่องของการพฒั นาภูมิ ทัศน์และจุดสําคัญต่าง ๆ ของสถานที่ท่องเที่ยวในตําบลเกาะยอเป็น
อนั ดบั แรก เนือ่ งจากสถานท่ที ่องเท่ยี วมี สภาพทที่ รุดโทรม เมือ่ มีการพัฒนาภมู ิทัศน์เสรจ็ เรียบร้อยก็จะมีการให้
ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโครงการ และเงื่อนไขในการเข้าร่วมกิจกรรม จัดหาหน่อยงานธุรกิจเข้าร่วม
โครงการและจัดทาํ MOU กับสถานศกึ ษา เพอื่ จดั หาไกดแ์ ละ Host เยาวชน โดยท่ีสมาชิกชดุ แรกจะเป็นกลุ่มที่
ทาง อบต. จําเป็นตอ้ งทาํ เพื่อเป็นการการัน ตคี วามสําเร็จเนื่องจากสภาพปจั จุบันประชาชนในตําบลไม่ให้ความ
ร่วมมือ เราจงึ จะใช้สมาชิกกลมุ่ แรกเปน็ ตวั อย่างของความสาํ เร็จเชิงประจักษ์ เพื่อจะดึงดดู ใหป้ ระชาชนทเี่ หลือ
เขา้ ร่วมโครงการและสรา้ งการแขง่ ขนั ทางธรุ กิจ ในแผนการเงินใชเ้ งินลงทนุ เรม่ิ แรกประมาณ 2,000,000 บาท
โดยประมาณในยอดขายไว้ 13,038,360 บาท มีต้นทุนจํานวน 6,825,744 บาท ค่าใช้จ่ายในการขายและ
บริหาร 1,215,198 บาท คงเหลือกําไรสุทธิทั้งสิ้น 5,610,546 บาท เมื่อดูจากผลการดําเนินงานจะเห็นได้ว่า
ผลการตอบแทนจากการดาํ เนินงานสูง และเป็นกิจกรรมที่ นา่ สนใจ เพ่ือเป็นการยกระดบั คุณภาพชวี ิตของชาว
ตําบลเกาะยอ และสามารถบรกิ ารนักทอ่ งเท่ียวเกาะยอ มี การเตบิ โตและพัฒนาการท่องเทยี่ วไดอ้ ย่างยั่งยนื
2. ความเปน็ มาของธุรกจิ
การดําเนินชีวิตของมนุษย์ในสมัยโบราณ มีความแตกต่างกับการดําเนินชีวิตในยุคปัจจุบัน เนื่องจาก
จํานวนประชากรเพิ่มมากขึ้นทําให้เกิดความวุ่นวาย จึงทําให้นักท่องเที่ยวบางส่วนต้องการหาที่สงบ และ
สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตําบลเกาะยอและคนในชุมชนตําบลเกายอ ได้เปิดบริการ
ท่องเที่ยวเชิงเกษตรเกาะยอ (Simple Koh Yor) ให้กับนักท่องเที่ยวที่มาเยือน เนื่องจากเกาะยอเป็นเกาะที่มี
กลุ่ม PTBAC วิทยาลัยเทคโนโลยีพัทลุงบริหารธุรกิจ ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติทั้งบนบกและ
ในทะเล มีภูมิทัศน์ที่สวยงาม ภูมิปัญญาชาวบ้านที่ สมควรแก่การเรียนรู้อีกมากมาย และได้สร้างสังคม
วัฒนธรรม บนพนื้ ฐานความเช่ือดัง้ เดิมและความเชือ่ ทาง พทุ ธศาสนา จนพฒั นาเป็นเอกลักษณท์ ส่ี ะทอ้ นให้เห็น
ถึงวิถีทางสังคมและวัฒนธรรมของชาวเกาะยอไม่ว่าจะ เป็นลักษณะของบ้านเรือน วัด การทอผ้า การทํา
เครื่องปั้นดินเผา การเกษตร และอาหารการกิน สิ่งเหล่านี้เป็น ความภาคภูมิใจที่ชาวเกาะยออยากให้
นักท่องเท่ยี วมาไดร้ บั รู้คุณคา่ แห่งวถิ ชี ีวิตท่ีสงบสุขและวฒั นธรรมท่ีพวก เขาไดส้ บื สานกนั มา
3. การวเิ คราะหป์ จั จัยท่ีมีผลต่อธุรกจิ (SWOT ANALYSIS)
3.1 การวเิ คราะหป์ ัจจัยภายใน
จดุ แขง็ (Strengths)
• สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาสยามราชกุมารีทรงพระราชทานเกียรติบัตรรางวัลอนุรักษ์ศิลปะ
สถาปตั ยกรรมดีเดน่ ประเภทปูชนียสถานและวดั อาราม
• มีภูมิทัศน์ทีส่ วยงามและเป็นแหล่งรวมที่มีทรพั ยากรทีม่ ีคณุ ค่า
• มวี ัตถขุ องจรงิ ภายในอดีตมาจัดแสดงให้นักท่องเที่ยวได้รับชมเพ่ือความรแู้ ละความสนกุ เพลิดเพลิน
• ห้องพกั มีราคาถูกและมีหลากหลายรูปแบบ เชน่ รีสอรท์ บนบกและโฮมสเตย์ในนำ้
• มีส่งเสรมิ และสนับสนุนการรวมกลมุ่ และพฒั นาอาชีพของประชาชนในชมุ ชน
จดุ ออ่ น (Weaknesses)
• ประชาชนขาดจิตสํานึกทางสังคมหรือขาดจิตสาธารณะในการช่วยเหลอื ชุมชน
• ปญั หาดา้ นการประกอบกจิ การโฮมสเตย์ปจั จบุ นั มาพักผอ่ นเพื่อความบนั เทิงมากกวา่ เรียนร้วู ิถชี วี ิต
• จํานวนเกษตรกรลดลง เนอ่ื งจากหนั ไปประกอบอาชีพอนื่
• ขาดการประชาสัมพันธ์
• การคมนาคมค่อนข้างแคบมีส่ิงกดี ขวาง เช่น กิ่งไม้และสายไฟไม่เป็นระเบยี บ ทําให้ไม่สามารถจอด
รถบสั หรือรถ ขนาดใหญไ่ ด้
• ขาดการวางแผนเรื่องของบคุ ลากรทจ่ี ะรับผดิ ชอบในสว่ นของการท่องเทีย่ วโดยตรง
• บางหม่บู ้านไมม่ ีทรัพยากร
• แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเสือ่ มโทรม สกปรก กลมุ่ PTBAC วทิ ยาลยั เทคโนโลยีพทั ลุงบริหารธรุ กิจ
3.2 การวิเคราะหป์ ัจจัยภายนอก
โอกาส (Opportunities)
• รัฐบาลให้การสนับสนนุ ในการท่องเทย่ี วเชงิ อนรุ กั ษ์
• รัฐบาลส่งเสริมการท่องเทีย่ วไทย จึงทําให้มีการรณรงค์ให้ไทยเที่ยวไทยเกิดขึ้น จึงเป็นช่องทางการ
จัด การ ทอ่ งเที่ยวในรูปแบบเชิงเกษตร
• นักท่องเที่ยวในปัจจุบันใหค้ วามใส่ใจตอ่ สุขภาพ จึงเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดในการเลอื กการท่องเท่ยี ว
ใน รูปแบบเชงิ เกษตรท่อี าศัยธรรมชาติบาํ บัด
• ได้รับการส่งเสริมสนับสนนุ จากภาครัฐและภาคเอกชนให้มีหนึง่ ตําบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์และเพิ่มมูลค่า
สินค้าและการเกษตร
อุปสรรค (Threats)
• เศรษฐกิจชะลอตวั เนือ่ งจากความไมแ่ นน่ อน
• สภาพอากาศและฤดูกาลทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง
4. ปัจจัยแหง่ ความสำเรจ็
จิรฐั และนงลกั ษณ์ (2557) กล่าวถงึ แนวทางของการพัฒนาธุรกจิ ทอ่ งเทย่ี วไว้ดงั นี้
ด้านการดำเนนิ งาน
• คดิ เสน้ ทางทอ่ งเท่ยี วใหม่อยา่ งสร้างสรรค์
• ซอื่ สัตย์ ให้ข้อมลู ทช่ี ดั เจน
• นําเสนอการบรกิ ารท่มี ีคณุ ภาพ
• การสร้างเครอื ข่ายกับผปู้ ระกอบการประเภทอื่นๆ เชน่ โรงแรม สายการบิน รา้ นอาหาร ชมุ ชน
• อบรมมัคคุเทศก์ใหม้ ีความเช่ยี วชาญ
• รับฟังความคิดเห็นของนกั ทอ่ งเท่ียวเพ่ือการปรบั ปรงุ ดา้ นการตลาด
• สร้างความแตกต่างของผลติ ภณั ฑแ์ ละเส้นทางท่องเทย่ี ว
• ราคาท่ตี ำ่ กว่าบนพื้นฐานของคณุ ภาพ
• ช่องทางการจัดจาํ หนา่ ย โดยเฉพาะผ่านทางเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต
• การส่งเสริมการตลาดและส่วนลดสําหรับลูกค้าเก่า กลุ่ม PTBAC วิทยาลัยเทคโนโลยีพัทลุง
บริหารธรุ กิจ
5. แผนการตลาด
5.1 เปา้ หมายทางการตลาด
สมาชิกชุดแรก เป็นกลุ่มที่ทางอบต.จําเป็นต้องทีการการันตีความสําเร็จ เนื่องจากสภาพปัจจุบันท่ี
ประชาชนไม่ให้ความรว่ มมือ เราจงึ จะใชส้ มาชิกกลุ่มแรกเป็นตวั อย่างของความสาํ เรจ็ เชิงประจักษ์ ซ่ึงจะดึงดูด
ให้ประชาชนทีเ่ หลอื ใหเ้ ข้ารว่ มโครงการและสรา้ งการแข่งขนั ทางธุรกิจ
เปา้ หมายระยะ 1-3 ปี
• กลุ่มเป้าหมายหลัก 50% กลุ่มเป้าหมายรอง 20% มี Brand Awareness ต่อการท่องเที่ยวเชิง
เกษตรเกาะยอ
• ทําให้กลุ่มลูกคา้ ทีม่ ี Brand Awareness 30% รู้จักการท่องเที่ยวเชงิ เกษตรเกาะยอ (Simple Koh
Yor) ในฐานะเปน็ ผู้ใหบ้ ริการการท่องเทยี่ วเชงิ เกษตรครบวงจร
• Simple Koh Yor มรี ายไดเ้ พิม่ ข้นึ เฉลยี่ 30% ทกุ เดอื น
5.2 การกำหนดลูกค้าเปา้ หมาย
การแบง่ ตลาด (Segmentation) จากการสํารวจข้อมลู นกั ท่องเที่ยว ทางกล่มุ ไดจ้ ดั แบ่งนกั ท่องเท่ียว
ออกเป็น 2 กลุ่มหลัก คือ นักท่องเที่ยวชาวไทย และต่างชาติ ซึ่งในที่น้ีจะเน้นหนักไปทางนักท่องเที่ยวชาว
มาเลเซียเนื่องจากมีชายแดน ติดกับจังหวัดสงขลา กลุ่ม PTBAC วิทยาลัยเทคโนโลยีพัทลุงบริหารธุรกิจ
นกั ท่องเทยี่ วชาวไทย ปจั จัยดา้ นประชากรศาสตร์ พิจารณาตามชว่ งอายแุ ละรายได้ ดังนี้
• แบ่ง Life Style การทอ่ งเทย่ี วออกเป็น ดังน้ี
1. เนน้ หรหู รา ไม่ให้ความสาํ คญั กับราคาแตเ่ น้นระดบั คุณภาพการบรกิ ารท่เี หนือกว่าผู้อ่ืน
2. เน้นทา้ ทาย ชนื่ ชอบการผาดโผน ผจญภัย
3. เน้นสะดวกสบาย ตอ้ งการบรกิ ารที่ครบครนั ไมต่ ้องหาข้อมูลมาก
เป้าหมายหลัก : กลุ่มนักท่องเทยี่ วชาวไทย
เป้าหมายรอง : กลุ่มนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย สาเหตุที่จัดให้นักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียแยกเป็น
กลุ่มเป้าหมายรองเนื่องจากปัจจัยด้านศาสนาที่ นักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียจํานวนไม่น้อยนับถือศาสนาอิสลาม
ในขณะทแ่ี หล่งท่องเทีย่ วหลายจุดเนน้ พุทธ ศาสนา
5.3 การกำหนดตำแหนง่ ผลติ ภัณฑ์
1. คุณภาพที่นําเสนอแก่นักท่องเที่ยว จะเน้นในส่วนของคุณค่าทางด้านจิตใจที่นักท่องเที่ยวจะได้รับ
จากการศึกษาวิถีชีวิตช่วงหนึ่งในแบบฉบับความเป็นอยู่ของคนในท้องถิ่น สัมผัสอารยธรรม ศึกษา
ศลิ ปะวฒั นธรรมและประเพณีอยา่ งลกึ ซึ้ง
2. การมีสว่ นร่วมในการทํากิจกรรมของนกั ทอ่ งเที่ยวร่วมกับชาวบา้ นทม่ี คี วามหลากหลาย
3. การบริการ ธุรกิจท่องเที่ยวเชิงเกษตรตําบลเกาะยอ แสดงให้เห็นถึงความหลากหลายในการ
ให้บริการ เช่น การบริการรถ Hop on hop off บรกิ ารมคั คุเทศก์ บรกิ ารเจ้าหน้าทีค่ อยให้ความร้ตู าม สถานท่ี
ทอ่ งเทย่ี วและจุดตา่ ง ๆ
5.4 กลยทุ ธ์ทางการตลาด
เนื่องด้วยจํานวนนักท่องเที่ยวในปัจจุบันที่มีจํานวนค่อนข้างน้อย แต่นักท่องเที่ยวที่มาเยือนล้วน
ประทับใจกับมรดกทางวัฒนธรรมและเกษตรกรรมของเกาะยอ ทางกลุ่ม PTBAC จึงเลือกกลยุทธ์ Market
Development ซ่งึ เป็นการใชผ้ ลิตภัณฑเ์ ดมิ ทม่ี อี ยใู่ นการขยายตลาดให้กวา้ งข้นึ
5.4.1 กลยุทธก์ ารใหบ้ รกิ าร
• Simple Koh Yor เป็นผู้ใหบ้ ริการท่องเที่ยวเกาะยอทีเ่ ป็นมติ รกบั ชมุ ชน
• Simple Koh Yor เปน็ ผใู้ หข้ ้อมลู การท่องเที่ยวเกาะยออย่างครบครัน
• Simple Koh Yor มบี ริการนกั ท่องเท่ียวที่หลากหลาย
• ศนู ย์บริการนักทอ่ งเที่ยวและทีร่ ะลึก
• จัดแพคเกจทัวร์และวางแผนการเดินทาง แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท
o เส้นทางหัตถศิลป์ ถิ่นเมืองพุทธ (08.00-12.00 น.) เน้นเข้าชมสถานที่ทางศาสนาและ
วัฒนธรรม เช่น วัดต่างๆ ลงมือฝึกทํางานหัตถกรรมที่หมู่บ้านทอผ้าและปั้นดินเผา เก็บกลับ บ้านเป็นที่ระลึก
กับประสบการณด์ ีๆครัง้ หน่ึง ณ เกาะยอ
o เส้นทางวิถีเกาะยอ วิถีพอเพียง (13.00-18.00 น.) เน้นการเข้าชมสวนผลไม้ ร่วมกันเก็บ
เกี่ยว ชิมและแปรรูปผลผลิตเป็นของฝากนํากลับบ้าน จากนั้นเข้าสู่เส้นทางประมง ลงเรือหางยาวไป ดูปลาใน
กระชัง วางไซ ยกยอ ตักปลา ชมวิวยามเย็นของทะเลสาบสงขลาและเพลิดเพลินไป กับการย่างอาหารทะเล
ทาน เคล้าคลอไปกับเสยี งคลื่นและอากาศอนั สดชื่น กล่มุ PTBAC วทิ ยาลยั เทคโนโลยีพัทลงุ บรหิ ารธรุ กิจ
o เส้นทางสมรม (08.00-18.00 น.) เป็นการรวมกันระหว่างเส้นทางหัตถศิลป์ ถิ่นเมืองพุทธ
และ เส้นทางวิถีเกาะยอวิถีพอเพียง เหตุผลที่ทาง PTBAC แนะนําให้จัดทัวร์ในลักษณะนี้เพ่ือควบคุมต้นทุน
โดยเราคาดการณ์ว่าจะมี นักท่องเที่ยวท่ีจองเส้นทางสมรม และเส้นทางหัตถศลิ ป์รวมกันแล้วเตม็ รถในช่วงเช้า
เมือ่ ถงึ เวลา 12.00 น. เรา จะนํานกั ท่องเท่ียวสมรมไปส่งที่ร้านอาหาร จากน้นั นาํ นักท่องเที่ยวหัตถศิลป์ไปส่งที่
วัดแหลมพอ้
5.4.2 กลยุทธด์ า้ นราคา
ธุรกจิ ทอ่ งเท่ยี วเชิงเกษตรตําบลเกาะยอมีการเสนอการบริการท่ีหลากหลายท่ีคอยอํานวยความสะดวก
ให้กับนักท่องเที่ยว จากการที่กลุ่มเป้าหมายมีรายได้ปานกลาง ต่ำกว่า 20,000 บาทต่อเดือน เราจึงตั้งราคา
ดงั นี้
• ศนู ย์บรกิ ารนกั ท่องเทีย่ ว ปรึกษาวางแผนการเดินทาง ให้บริการฟรี
• แพคเกจทัวร์ ใช้กลยุทธ์เจาะตลาด (Penetration Pricing) ซึ่งจะเน้นการต้ังราคาต่ำ (เมอื่ เทียบ กับ
ราคาตลาดของแพคเกจทัวร์ทั่วไป) แต่มีคุณภาพเกินราคา เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว โดยเสนอ ดังนี้ ชื่อทัวร์
ระยะเวลา ราคา ราคานีร้ วม ราคานไ้ี มร่ วม *เปน็ ราคาท่ีไมม่ ีการบังคับจ่าย
- ทัวร์สมรม 10 ชั่วโมง 120 บาท (ต้นทุน 87 บาท) - ค่าไกด์ - ค่ารถ - ค่าเรือหางยาว - ค่า
บํารุงสถานที่ - ค่าอาหารเทีย่ ง - ค่าสินค้าหัตถกรรมหากต้องการนาํ ผลงานกลับ บ้าน - ค่าอาหารทะเลและค่า
เช่าอุปกรณ์ทําอาหาร กรณีต้องการทําอาหารเย็น - ค่าผลไม้ที่เก็บเกี่ยว และผลผลิตแปรรูปกรณี ต้องการ
นาํ กลบั บ้าน - ค่าทปิ ไกดแ์ ละคนขบั รถ
- ทัวร์หัตถศิลป์ ถิ่นเมืองพุทธ 4 ชั่วโมง 70 บาท (ต้นทุน 32 บาท) - ค่าไกด์ - ค่ารถ - ค่า
บํารุงสถานท่ี - ค่าสินค้าหตั ถกรรมหากต้องการนาํ ผลงานกลับ บ้าน - ค่าทิปไกด์และคนขับรถ ทัวร์วิถีเกาะยอ
วิถีพอเพียง 5 ชั่วโมง 90 บาท (ต้นทุน 55 บาท) - ค่าไกด์ - ค่ารถ - ค่าเรือหางยาว - ค่าบํารุงสถานที่ -
คา่ อาหารทะเลและค่าเช่าอปุ กรณ์ทําอาหาร กรณตี อ้ งการทาํ อาหารเย็น - คา่ ผลไมท้ ี่เกบ็ เกีย่ ว และผลผลิตแปร
รูปกรณี ต้องการนํากลับบ้าน - ค่าทิปไกด์และคนขับรถ ลักษณะการตั้งราคาแบบนี้เพื่อให้ทัวร์สมรม ซึ่งมี
ระยะเวลา 1 วัน มีราคาน่าดงึ ดูด แม้ว่าในด้าน ของกําไรอาจจะน้อย แต่สามารถเพ่ิมค่าใช้จ่ายสู่ชุมชนโดยตรง
ได้มากกว่า
• ของที่ระลึก ใช้กลยุทธ์ Skimming Pricing เพื่อเร่งคืนทุนค่าผลิต และเปิดโอกาสให้คนใน
ชมุ ชน ผลิตขึน้ มาเปน็ คแู่ ข่งได้ ผลติ ภณั ฑ์ ราคา เส้อื ยืด 150 พวงกุญแจ สต๊ิกเกอร์ 100
• บริการรถวน คิดค่าบริการ 20 บาท ขึ้นได้ไม่จํากัดจํานวนครั้ง กลุ่ม PTBAC วิทยาลัย
เทคโนโลยพี ัทลุงบริหารธุรกิจ
• ไกด์เยาวชน คิดค่าบริการ 240 บาท เวลาทํางาน 08.00-16.00 น. จองล่วงหน้า 3-7 วัน
ต้อง แจ้งแผนการเดินทางล่วงหนา้
5.4.3 กลยทุ ธ์ด้านช่องทางการจดั จำหน่าย
1. เว็บไซต์ www.simplekohyor.com ในปัจจุบัน อินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทมากในการหาข้อมูล
ต่างๆ นอกจากนี้ยงั มีคณุ สมบตั ิ แสดงผลขอ้ มูลทเี่ ปน็ ปัจจุบนั อัพเดตแก้ไขง่าย และมีการโต้ตอบไดร้ วดเรว็ เมื่อ
ดูจากกลุ่มเป้าหมายหลักของเราท่ีเปน็ กลุ่มอายุ 20-40 ปี เป็นวัยทํางาน ส่วนใหญ่มี สมาร์ทโฟน และต้องการ
ความรวดเร็วในการหาข้อมูล ดังนั้น ช่องทางหลักหนึ่งในการจัดจําหน่ายจึงเป็นเว็บไซต์ทางการ
SimpleKohYor.com มีเป้าหมายทจ่ี ะพัฒนาใหเ้ ปน็ one-stop service สาํ หรับการท่องเทยี่ วเกาะยอ
2. บริษัททัวร์ระยะแรกจะร่วมมือกับบริษัททัวร์ที่เน้นการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เช่น บริษัท Local
Alike จากน้นั จึงขยายไปยังบริษทั ทัวร์ทีร่ ับนักท่องเท่ียวต่างชาติ โดยเฉพาะมาเลเซยี
3. ศูนย์บริการนกั ทอ่ งเท่ียววัดแหลมพ้อ
5.4.4 กลยุทธ์ด้านสง่ เสรมิ การตลาด
การโฆษณา
1. Facebook Fanpage รายละเอียด เปิดแฟนเพจในเฟซบุ๊ค โดยจะทําการโปรโมทเพจและโพสต์
คาดการณ์จํานวนผู้ติดตาม ขั้นต่ำที่ 15,600 คน ระยะเวลาดําเนินการ ช่วงวันศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ ของทุก
สัปดาห์ ยกเว้นช่วงเดือนที่ 4-5 ที่จะโปรโมทในช่วงวัน ธรรมดาด้วย เริ่มตั้งแต่เดือนที่ 1 เพื่อเล่าเรื่องราวของ
เกาะยอ สร้างความสนใจและความ ตระหนักล่วงหน้า ต้นทุน เฉลี่ยคิดเป็นงบประมาณวันละ 160 บาทต่อวัน
160 บาท x 3 วนั x 52 สัปดาห์ = 24,960 บาท ตอ่ ปี
2. Magazine / หนังสือพิมพ์ รายละเอียด ส่ง Press Kit ซึ่งก็คือเอกสารแสดงข้อมูลความน่าสนใจ
ของเกาะยอไปให้ Magazine และ หนังสือพิมพ์ต่างๆ โดยเป้าหมายหลักคือการลงบทความใน In-Flight
Magazine ของสาย การบนิ ตา่ งๆ และหนงั สือพมิ พร์ ายวนั กล่มุ PTBAC วทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ัทลงุ บรหิ ารธุรกจิ
ระยะเวลาดําเนินการ จะเริ่มส่ง Press Kit ในเดือนที่ 2 เนื่องจากต้องรอรายชื่อธุรกิจที่จะเข้าร่วมกับเราก่อน
และทํา Press Kit ทีค่ รอบคลมุ ถงึ ธุรกจิ เหลา่ นัน้ เพ่ือหวงั ผลระดับสูงในการเผยแพรใ่ น เดอื นท่ี 4 ก่อนการเปิด
เส้นทางอย่างเป็นทางการ หลังจากนั้นก็จะยังส่ง Press Kit อย่าง ต่อเนื่องและมากขึ้นช่วงเดือนที่ 9 เพื่อหวัง
ผลในเดือนท่ี 11 ทปี่ ระชาชนเร่มิ วางแผนการ เดนิ ทางช่วงปใี หม่
การสง่ เสริมการขาย
1. ส่วนลด รายละเอียด จัดขอโปรโมชันส่วนลดต่างๆจากสมาชิกและธุรกิจต่างๆ ทําเป็นคูปองให้
สามารถดาวน์โหลด ไดจ้ ากเวบ็ ไซต์ ระยะเวลาดําเนินการ ตลอดปี ต้นทนุ ไมม่ ี
2. การบอกต่อ รายละเอยี ด เพราะจากสถิติ 77.1% รับรขู้ อ้ มูลแหลง่ ทอ่ งเที่ยวจากเพื่อนหรือญาติ เรา
จึงต้องการให้ นักท่องเที่ยวบอกเล่าเรื่องราวของเกาะยอต่อไป โดยจะมีการจัดกิจกรรมให้นักท่องเที่ยวโพ สต์
รูปภาพของตนเองพร้อม #SimpleKohYor #เกาะยอ รูปที่มีคนกดไลค์มากที่สุดในแต่ละ สัปดาห์ก็จะมีของ
สมนาคุณจากหน่วยธุรกิจท่ีให้การสนับสนุน ระยะเวลาดาํ เนนิ การ ตลอดปี ต้นทนุ ไม่มี กลมุ่ PTBAC วิทยาลัย
เทคโนโลยพี ทั ลุงบริหารธุรกิจ
การสรา้ งลกู ค้าสมั พันธ์
1. Line@ รายละเอียด เปิดบัญชี Line@ ซ่ึงมีลักษณะคล้ายแฟนเพจบนไลน์ เพื่อแจง้ ข่าวสาร สง่ ภาพ
และสามารถรบั ลงโฆษณาให้กบั หน่วยธุรกจิ ตา่ งๆในท้องถน่ิ กบั ผตู้ ดิ ตาม
2. การขายตรง 1. Promotional Package รายละเอียด จัดทําโปรโมชันแพคเกจนําเสนอให้กับ
องคก์ รต่างๆ เพ่ือดงึ ลกู คา้ แบบกลุ่มใหญ่ ระยะเวลาดาํ เนินการ ตลอดปี เน้นในช่วงเดือนท่ี 3-7 เพราะต้องการ
ให้บรรยากาศคึกคกั รบั การเริม่ ตน้ ตน้ ทุน ไม่มี
6. แผนการบรหิ ารจัดการ
6.1 ข้อมูลธุรกิจ ชื่อเจ้าของกิจการ นายคํารพ เสาวคนธ์ ชื่อกิจการ ธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
ตําบลเกาะยอ ทอ่ี ยู่/ทีต่ ั้งกจิ การ ตําบลเกาะยอ อาํ เภอเมอื งสงขลา จังหวัดสงขลา เปน็ ตําบลท่ี ประกอบไปด้วย
9 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านอ่าวทราย บ้านตีน บ้านนอก บ้านทุเรียน บ้านท่าไหร บ้านในบ้าน บ้านป่าโหนด บ้าน
ท้ายเสาะ และบา้ นสวนใหม่ ตง้ั อยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอําเภอเมือง สงขลา รูปแบบการดําเนินการ
ของธุรกจิ การปกครองระดับหมบู่ ้านมีกาํ นันและผู้ใหญ่บา้ นเป็นหัวหน้าหมู่บ้าน ระยะเวลาดําเนนิ การที่ผ่านมา
ปี 2539 – ปัจจุบัน
6.2 ประวัติความเป็นมา ตําบลเกาะยออําเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา เป็นตําบลที่ประกอบไป
ดว้ ย 9 หมู่บา้ นได้แก่ หมู่ท่ี 1 บา้ นอ่าวทราย หม่ทู ่ี 2 บา้ นตีน หมู่ที่ 3 บ้านนอก หมทู่ ่ี 4 บ้านสวนทุเรียน หมู่ท่ี
5 บ้านท่าไทร หมู่ที่ 6 บ้าน ในบ้าน หมู่ที่ 7 บ้านป่าโหนด หมู่ที่ 8 บ้านท้ายเสาะและหมู่ที่ 9 บ้านสวนใหม่ใน
ตําบลเกาะยอมีเนื้อที่ทั้งหมด 11,220 ไร่ โดยมีนายคํารพ เสาวคนธ์ ดํารงตําแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วน
ตําบลเกาะยอ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 – ปัจจุบัน ประชาชนในตําบลเกาะยอส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ การทํา
ประมงพื้นบ้านการเลี้ยงปลากะพง ขาวในกระชัง การทําสอนผลไม้ การทอผ้า การบริการห้องพัด ธุรกิจ
รา้ นอาหาร ฯลฯ วิถดี ําเนินชีวิตของประชาชนในตําบลเกาะยอทุกหมบู่ ้านหรือตําบลจะมองในแง่ของวฒั นธรรม
ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ และความเป็นอยู่ ที่เหมือนกันทุกหมู่บ้านเนื่องจากในตําบลเกาะยอมี
สถานที่โบราณคดีที่ประชาชนชาวเกาะยอสกั การะบูชา เช่น ทวดเอราวัณ วัดโคกเปรี้ยว ศาลเจ้าไท้กง วัดท้าย
ยอ ฯลฯ นอกจากมอี าชีพวฒั นธรรมที่หลากหลายแล้วเกาะยอยังเป็นพนื้ ท่ี ทม่ี ภี ูมิทัศน์ที่สวยงาม ทรัพยากรที่มี
คุณค่าและภูมิปัญญาชาวบ้านที่มีคุณค่า เกาะยอยังได้รับรางวัลพระราชทานเกียรติบัตรรางวัลอนุรักษ์ศิลปะ
สถาปัตยกรรมดีเด่นประเภทปูชนียสถานและวัฒนธรรมจากสมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาสย ามบรมราชกุมารี
กลุม่ PTBAC วิทยาลัยเทคโนโลยีพัทลุงบริหารธุรกิจ
6.3 แผนผังองค์กร
ประธาน
รองประธาน
กรรมการบริหาร
ฝา่ ยการตลาด ฝา่ ยบุคลากร ฝา่ ยบญั ชีการเงนิ ฝ่ายการผลติ และบรกิ าร
6.4 แผนงานดา้ นบุคลากร
1. ฝ่ายการตลาด ประกอบด้วย
- งานประชาสัมพันธ์ ทําหน้าที่ให้ข้อมูลและสื่อสารรายละเอียดในภาพกว้างสู่สาธารณชน เกี่ยวกับ
สถานที่ เพอื่ ใหน้ กั ทอ่ งเทีย่ วเกิดความเข้าใจการท่องเท่ียวเชิงเกษตร ผา่ นสื่อตา่ งๆ
- งานขาย นําเสนอแพคเกจต่างๆต่อลูกคา้ องค์กร สถานศกึ ษา
- งานสร้างเครือข่าย สร้างความร่วมกับธุรกิจอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นสายการบิน ที่พัก ร้านอาหาร บริษัท
เชา่ รถเพอ่ื นําเขา้ เป็นส่วนหนึ่งและขยายโครงการ
- งานส่งเสริมการตลาด กระตุ้นตลาดเพื่อเพิ่มลูกค้าตลอดปี - งานวิจัยและวิเคราะห์ ทําหน้าที่วิจัย
และวิเคราะห์ความต้องการและความพงึ พอใจของลูกค้า สง่ ผลการวิจัยสูฝ่ ่ายอ่ืนๆเพอ่ื การปรบั ปรงุ
2. ฝา่ ยบุคลากร ประกอบด้วย
- งานพัฒนาบคุ ลากร ทาํ หนา้ ที่อบรมผูเ้ ข้าร่วมโครงการปฏบิ ตั งิ านตามหนา้ ที่
- งานจัดหาจัดจ้าง ทําหน้าที่ติดต่อประสานงานไปยังหน่วยงานและสถานศึกษาต่าง ๆ เพื่อจัดทํา
MOU
- งานบริหารบุคลากร ทําหน้าจัดคนไปประจําจุดต่างๆ เช่น จุดบริการนักท่องเที่ยว จุดบริการปริ๊นท์
สติก๊ เกอร์ Youth Guide Youth Host และคนขบั รถ เป็นต้น
3. ฝา่ ยบญั ชกี ารเงิน ประกอบดว้ ย
- งานการเงิน มหี นา้ ที่ ในการบันทึกและดูแลจัดเตรียม เช็คสงั่ จ่าย การรับเงนิ การจัดเก็บเงิน การนํา
เงินฝากธนาคาร รวมทง้ั การตรวจสอบความถกู ตอ้ ง เงินฝากธนาคาร
- งานบัญชี มีหน้าที่รับผิดชอบในการตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของการบันทึกรายการ การ
จดั ทาํ รายงานทางการเงินและบญั ชี และการจดั เก็บเอกสารทางบญั ชี
4. ฝ่ายการผลติ และบรกิ าร ประกอบดว้ ย
- งานผลิต ทําหน้าที่ผลิตโปรแกรมท่องเที่ยว วางแผนจัดนําเที่ยว ควบคุมดูแลการนําเที่ยวและเป็นผู้
กําหนดแพคเกจตา่ งๆ รวมท้งั การผลติ เอกสาร สนิ ค้าที่ระลึก
- งานบริการ ทําหน้าท่ีให้บรกิ ารนักทอ่ งเที่ยวทั้งทางตรง และทางโทรศพั ท์ ณ จุดบรกิ าร นกั ท่องเที่ยว
รับจองบรกิ ารตา่ งๆ
- งานประสานงาน ทําหน้าที่ประสานและกระจายงานสู่ outsource ต่างๆ ตามรายการจอง เช่น ท่ี
พัก ร้านอาหารและรถ
- งานควบคุมคุณภาพ นําผลจากการประเมินของนักท่องเที่ยวมาปรับปรุงการให้บริการ
กรรมการบริหาร
6.5 วิสยั ทัศน์
การท่องเที่ยวเชงิ เกษตรเกาะยอ (Simple Koh Yor) มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางธุรกิจท่องเที่ยวเชงิ เกษตร
และวฒั นธรรม ทจี่ ะอนรุ กั ษ์ภูมิปญั ญาท้องถ่ินเพื่อสร้างรายไดภ้ ายในชมุ ชนอยา่ งยั่งยนื ควบคู่ไปกับการให้ความ
สะดวก สรา้ งความตระหนกั และความประทบั ใจให้นักท่องเที่ยว
6.6 พันธกิจ
1. อนุรักษ์และสนับสนุนกิจกรรมทางด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น 2.
ส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้ประชาชนในท้องถิ่นมีอาชีพเสริมเพื่อรายได้ภายในชุมชน 3. สร้างการแข่งขันเพื่อ
พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์ ให้ประชาชน ท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วม นําไปสู่
การพฒั นาตนเองและสงั คม
6.7 เป้าหมายทางธรุ กิจ
1. การท่องเที่ยวเชิงเกษตรเกาะยอ (Simple Koh Yor) เป็นที่รู้จักในฐานะผู้ให้บริการการท่องเที่ยว
เชิง เกษตรและวัฒนธรรมครบวงจร และเป็น Top Three of Mind สําหรับนักท่องเที่ยวเชิงเกษตร กลุ่ม
PTBAC วิทยาลัยเทคโนโลยีพทั ลงุ บริหารธุรกจิ
2. เพิ่มรายได้เพ่อื นาํ ไปพัฒนาชมุ ชน
3. ชุมชนตา่ งๆ และประชาชนมรี ายได้และความเป็นอย่ทู ีด่ ีขน้ึ
4. มจี าํ นวนสมาชกิ เขา้ รว่ มเสน้ ทางท่องเท่ียวเพ่มิ ขน้ึ
7. แผนการผลิต
7.1 เคร่อื งจกั ร อปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมือในการผลิต
1. รถ Hop on Hop oof 1 20 350,000 30
2. รถยนต์ outsource
3. เรอื หางยาว outsource
7.2 ขอ้ มลู การจัดทัวร์ จํานวนกลุ่มนําเท่ียวสงู สดุ ต่อวัน 20 กลมุ่ ตอ่ วนั
กลุ่มละ 16 คน จำนวนนักท่องเที่ยวสูงสุด 3,780 คน เฉลี่ยวันละ 126 คน กำหนดวันหยุดมี
นักทอ่ งเท่ียวเป็น 2 เท่าของวนั ธรรมดา คอื 152 คน แต่ละรอบรับนักท่องเทีย่ วได้ 16 คน คิดเป็น 16 รอบ เรา
จะถือเป็น 80% ของกำลังการผลิตสูงสุด อัตราเฉลี่ย 8 กลุ่ม ต่อวัน เป้าหมายหน่วยการผลิต 8 กลุ่ม ต่อวัน
เวลาที่ใช้ในต่อรอบการนําเที่ยว 10 ชั่วโมง ต่อกลุ่ม จํานวนแรงงานที่ใช้ในการผลิต 2 คน ต่อกลุ่ม (ไกด์และ
คนขบั รถ) อตั ราคา่ แรงงานในการผลติ 300 บาท ต่อวัน (คนขบั รถเทา่ น้ัน) ข้อมลู การบรกิ ารรถ Hop-on Hop-
off จํานวนหน่วยการให้บริการ 2,160 รอบ/ปี (6*30*12) อัตราประมาณการในการบริการ 1,800 รอบ/ปี
(5*30*12) เปา้ หมายการใหบ้ ริการ 1,440 รอบ/ปี (4*30*12) เวลาที่ใช้ในการบรกิ ารต่อรอบต่อการบริการ 12
ช.ม/วัน จํานวนแรงงานที่ใช้ในการบริการ 1 คน อัตราค่าแรงงานในการบริการ 18,000 บาท/เดือน
(12*30*50) กลมุ่ PTBAC วิทยาลัยเทคโนโลยีพทั ลุงบริหารธรุ กจิ
7.3 แผนผงั กระบวนการผลติ
8. แผนการเงนิ
8.1 นโยบายทางการเงิน ลูกค้าจะต้องชําระเงินทันทีหลังการจอง โดยสามารถชําระผ่านการโอนเข้า
บัญชี, บัตร เครดิต, Paypal หรือ Western Union ลูกค้าจองแพคเกจ ลูกค้าชำระเงินและแจ้ง ชำระ รับใบ
จอง เจ้าหนา้ ทีบ่ นั ทึกงาน เจา้ หนา้ ท่ีติดต่อ Outsource, Youth Guide หรือ โฮมสเตย์ พบกับไกดท์ ศี่ นู ย์บรกิ าร
นักท่องเที่ยว ชมวิดิโอความเป็นมา ของเกาะยอ เลือกซื้อของที่ระลึก ออกเดินทางท่องเที่ยว ส่งไกด์กลับที่วัด
แหลม พ้อ ลูกค้าจองผา่ นเวบ็ ไซต์ หรอื โทรศพั ท์ ลูกคา้ ช าระเงนิ และแจง้ ช าระเงิน รับใบจอง เจา้ หน้าทบ่ี นั ทกึ
งาน เจา้ หนา้ ทีต่ ิดต่อ Outsource, Youth Guide หรือ โฮมสเตย์ พบกบั ไกดท์ ่ศี ูนย์บรกิ าร นกั ท่องเท่ยี ว ชมวิดิ
โอความเป็นมาของ เกาะยอ เลือกซื้อของที่ระลึก ออกเดินทางท่องเที่ยว ส่งไกด์กลับที่วัดแหลมพ้อ กลุ่ม
PTBAC วทิ ยาลัยเทคโนโลยีพัทลงุ บรหิ ารธุรกจิ กลมุ่ PTBAC วทิ ยาลยั เทคโนโลยีพทั ลงุ บรหิ ารธรุ กิจ
ท่มี า : http://www.ptbac.ac.th/UserFiles/files/PTBAC.pdf