The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มกิจกรรมการขับเคลื่อนพัฒนาอาชีพและแก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by noppakunflame, 2022-09-07 00:38:50

เล่มกิจกรรมการขับเคลื่อนพัฒนาอาชีพและแก

เล่มกิจกรรมการขับเคลื่อนพัฒนาอาชีพและแก

คานา

ตามท่ีสภาเกษตรกรจังหวดั สมุทรสาครได้จัดทําเวทีระดมความเห็นแบบมีส่วนร่วมของเกษตรกร
และภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง ภายใต้โครงการจัดทําแผนพัฒนาอาชีพในระดับตําบล จังหวัดสมุทรสาคร
ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2565 เม่ือวันที่ 15 ธันวาคม 2564 และได้เก็บรวบรวมข้อมูลด้านการเกษตร
ที่ได้จากการสํารวจแบบสอบถามด้านการเกษตร ความต้องการแก้ไขปัญหาของเกษตรกรกลุ่มเปูาหมายในพ้ืนที่
ตําบลหนองบวั อาํ เภอบ้านแพว้ จงั หวัดสมุทรสาคร นํามาวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมทางการเกษตรของตําบล ปัญหา
ความต้องการ ศักยภาพของตําบลและนํามากําหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาในรูปของกิจกรรมการขับเคลื่อน
พัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาของเกษตรกรตามแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตําบล ภายใต้โครงการจัดทํา
แผนพัฒนาอาชีพในระดับตําบล จังหวัดสมุทรสาคร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2565 โดยจัดกิจกรรมดังกล่าว
เมอ่ื วนั ท่ี 8 กมุ ภาพันธ์ 2565 ณ ท่ที ําการกํานนั ตาํ บลหนองบัว หมู่ท่ี 7 ตําบลหนองบัว อําเภอบ้านแพ้ว จังหวัด
สมุทรสาคร

ในการจัดกิจกรรมการขับเคล่ือนพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาของเกษตรกรตามแผนพัฒนา
เกษตรกรรมระดับตําบล ไดร้ บั ความร่วมมืออย่างดีจากเกษตรกร ผู้แทนองค์กรเกษตรกร หน่วยงานภาคีเครือข่าย
จึงขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสน้ี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดกิจกรรมดังกล่าว จะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกร
ในการประกอบอาชพี เกษตรกรรม อันเปน็ ส่วนหน่ึงในการสรา้ งความยัง่ ยืนให้เกษตรกรต่อไป

สภาเกษตรกรจังหวัดสมุทรสาคร
มีนาคม 2565

สารบญั หนา้
1
บทที่ 1 บทนํา 8
บทท่ี 2 ข้อมูลทัว่ ไป ตาํ บลหนองบวั อาํ เภอบ้านแพว้ จงั หวัดสมุทรสาคร 18
บทที่ 3 สรปุ ผลและสรุปสาระสาํ คัญ กิจกรรมการขบั เคลอื่ นพฒั นาอาชพี และแกไ้ ขปญั หา
28
ของเกษตรกรตามแผนพฒั นาเกษตรกรรมระดับตําบล
บทท่ี 4 การประเมินผลกิจกรรมการขับเคล่ือนพฒั นาอาชีพและแกไ้ ขปญั หาของเกษตรกร 39
43
ตามแผนพฒั นาเกษตรกรรมระดบั ตําบล
ภาพกจิ กรรม
ภาคผนวก

บทที่ 1
บทนา

1. หลักการและเหตผุ ล
ตามทคี่ ณะรัฐมนตรีไดแ้ ถลงต่อรฐั สภา เม่ือวนั ที่ 25 กรกฎาคม 2562 รัฐบาลให้ความสําคัญกับ

ชมุ ชนในการนําความรแู้ ละทรัพยากรในพืน้ ทมี่ าผลิตเปน็ สินค้าและบริการ เพอ่ื เพ่มิ ศักยภาพของเศรษฐกิจฐานราก
ให้สามารถสรา้ งรายได้ กระจายรายไดส้ ูช่ มุ ชน สนับสนุนสนิ ค้าชุมชนและยกระดับวิสาหกิจชุมชนให้มีความเข้มแข็ง
พัฒนาช่องทางการตลาดเช่ือมโยงกับระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และสร้างพลังสังคม พลังชุมชน รวมทั้งสร้าง
การเรียนรู้ฝึกอาชีพกลุ่มอิสระในการร่วมขับเคล่ือนและพัฒนาประเทศ รัฐบาลจึงมีนโยบายดําเนินการ ดังนี้
ส่งเสรมิ วิสาหกจิ ชุมชนและผลิตภัณฑช์ มุ ชน ดว้ ยการสรา้ งมูลค่าเพิ่มธุรกิจชุมชนผ่านอัตลักษณ์ของพ้ืนที่ สนับสนุน
ความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชนผ่านเทคโนโลยี สร้างโอกาสและส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัยและ
บรกิ ารทางการเงนิ ของวสิ าหกิจชมุ ชน ส่งเสรมิ การลงทุนในชุมชนเพื่อสรา้ งงานในชุมชน และสร้างสภาพแวดล้อมที่
เออ้ื ต่อการดําเนนิ ธุรกิจของวสิ าหกจิ ชุมชน สรา้ งความเข้มแข็งของชุมชนด้วยการสรา้ งผนู้ าํ ชมุ ชน ยกระดับคุณภาพ
ตลาดชุมชน สถาบันการเงินของชมุ ชน สวสั ดิการชมุ ชน สาธารณสขุ ชุมชน ปุาชุมชน ไม้มีค่า ท่องเที่ยวชุมชน และ
ส่งเสริมการขยายตลาดออกสู่ต่างประเทศ แก้ไขปัญหาท่ีอยู่อาศัย ที่ดินทํากิน สร้างชุมชนท่ีน่าอยู่ สร้างพลังใน
ชมุ ชน และสร้างเครือข่ายชุมชนท่ีเข้มแข็ง และส่งเสริมบทบาทภาคเอกชนในการช่วยพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ
ฐานราก สภาเกษตรกรแห่งชาติ เป็นองค์กรท่ีจัดตง้ั ข้ึนตามพระราชบัญญตั ิสภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ.2553 เพื่อ
สง่ เสรมิ สนบั สนุนเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร จึงเห็นความจาํ เป็นในการส่งเสริมให้สภาเกษตรกรจังหวัดจัดให้มี
เวทีสาํ หรบั เกษตรกรฐานราก ที่ชว่ ยกนั คดิ วิเคราะห์ ค้นหาทางออก วางแผนพัฒนาแก้ปัญหาความเดือดร้อน และ
ความตอ้ งการประการตา่ งๆ ด้วยตัวของเกษตรกรเอง

จึงอาศัยอํานาจตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ.2553 ประกอบ
กบั มาตรา 11 (6) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม แต่งตั้ง
คณะกรรมการบรหิ ารและคณะทํางานขับเคลื่อนและจัดทําแผนพัฒนาเกษตรกรรมในระดับตําบลแบบมีส่วนร่วม
ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 โดยมอี งคป์ ระกอบและอาํ นาจหนา้ ที่ ดงั นี้

2

ภาพบูรณาการ ระดับสว่ นกลาง
สภาเกษตรกรจังหวัดดําเนินโครงการจัดทําแผนพัฒนาอาชีพในระดับตําบล ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 เพ่ือให้มี
แผนพัฒนาเกษตรกรรมในระดับตําบลแบบมีส่วนรว่ ม สําหรบั ใชเ้ ป็นกรอบแนวทางการพัฒนาอาชีพและแก้ปัญหา
ของเกษตรกรในการทําการเกษตรในพื้นท่ี มีการขับเคลื่อนการพัฒนาอาชีพและแก้ปัญหาของเกษตรกรตาม
แผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตําบล
2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพ่ือให้มีแผนพัฒนาเกษตรกรรมในระดับตําบลแบบมีส่วนร่วม สําหรับใช้เป็นกรอบแนวทาง
การพฒั นาอาชพี และแกป้ ญั หาของเกษตรกรในการทําการเกษตรในพ้นื ที่

2.2 เพื่อให้มีการขับเคลื่อนการพัฒนาอาชีพและแก้ปัญหาของเกษตรกรตามแผนพัฒนาเกษตรกรรม
ระดบั ตําบล
3. เปา้ หมาย

ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ดาํ เนนิ การจงั หวัดละ 1 ตําบล
4. ระยะเวลาดาเนนิ การ

เดือนตุลาคม 2564 – เดือนกันยายน 2565



5. งบประมาณโครงการ
งบประมาณสาํ นกั งานสภาเกษตรกรจงั หวัดสมุทรสาคร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2565

6. หน่วยงานรบั ผิดชอบ
หน่วยงานหลกั
- สภาเกษตรกรจังหวดั สมุทรสาคร
- สํานกั งานสภาเกษตรกรจงั หวัดสมุทรสาคร
- ผู้แทนเกษตรกรระดบั ตาํ บลและเครือขา่ ย
หน่วยงานสนบั สนุน
- องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ในพน้ื ท่ี
- กํานัน ผู้ใหญ่บา้ น ในพืน้ ท่ี
- สถานศึกษาในพ้ืนท่ี
- สาํ นักงานจงั หวดั สมุทรสาคร
- หน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จังหวดั สมุทรสาคร
- สาํ นักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดสมุทรสาคร
- วทิ ยาลัยชมุ ชนสมทุ รสาคร
- สาํ นกั งานพาณชิ ยจ์ งั หวัดสมุทรสาคร
- สํานกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มจังหวดั สมทุ รสาคร
- สํานักงานสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถ่นิ จงั หวัดสมุทรสาคร
- สํานักงานพฒั นาชุมชนจังหวัดสมทุ รสาคร
- สํานกั งานทอ่ งเท่ียวและกฬี าจังหวดั สมทุ รสาคร
- สมาคมสง่ เสริมการทอ่ งเทย่ี วจงั หวดั สมทุ รสาคร
- หอการคา้ จงั หวัดสมทุ รสาคร
- สภาอตุ สาหกรรมจงั หวัดสมทุ รสาคร
- คณะประสานงานขบวนองค์กรชมุ ชนจงั หวัดสมทุ รสาคร
- สถาบนั พฒั นาองคก์ รชุมชน (องค์การมหาชน)/สภาองคก์ รชุมชน



7. ขน้ั ตอนและแนวทางการดาเนนิ งาน
7.1 การเตรียมความพร้อมของเจ้าหน้าที่ ได้แก่ การประชุมช้ีแจงเจ้าหน้าที่ เป็นรายภาค เพ่ือให้เกิด

ความเขา้ ใจในแนวทาง และทศิ ทางของแผนงานโครงการใหส้ ามารถดําเนินงานตามภารกจิ ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
7.2 การคัดเลือกและจาํ แนกตาํ บลเปาู หมาย
7.3 การสํารวจข้อมูลและวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ โดยการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลการเกษตร

ในตาํ บล เพอื่ ใช้เป็นข้อมูลเบอื้ งต้นในการวางแผนและดําเนนิ โครงการ
7.4 การจัดทําแผนปฏิบัติการโครงการ โดยการกําหนดกิจกรรมการทําแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับ

ตําบลโดยชุมชน โดยการสํารวจและวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการทํากิจกรรมเกษตรประเภทต่างๆ ของตําบล
แล้วกําหนดกิจกรรมการสาธติ ทดสอบ และถ่ายทอดเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมต่อไป

7.5 การดาํ เนินงานตามกระบวนการทาํ แผนพฒั นาเกษตรกรรมระดับตําบลโดยชุมชน
7.5.1 พัฒนาและฝึกอบรมผู้แทนเกษตรกร ผ้นู ําชุมชน
7.5.2 การพัฒนากลไกการจัดทาํ แผนเกษตรกรรมระดบั ตําบล โดยสภาเกษตรกร
7.5.3 พัฒนาศูนย์ข้อมลู เกษตรกรรมระดบั ตาํ บล โดยชุมชน
7.5.4 สร้างการเรยี นรู้และทดลองในรูปแบบต่าง ๆ เพือ่ แก้ปญั หาเกษตรกรรม

7.6 การส่งเสริม เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ เพื่อแสดงผลงานรูปธรรมของแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับ
ตําบลท่ีประสบผลสําเร็จ ทั้งในระดับการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในตําบลและระดับการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
ทว่ั ไป

7.7 บรู ณาการความร่วมมอื เพ่อื สนับสนนุ แผนพฒั นาเกษตรกรรมระดบั ตาํ บลสชู่ มุ ชนจัดการตนเอง
7.8 การตรวจสอบ ตดิ ตาม และรายงาน
7.9 การประเมนิ ผล
8. แนวทางการดาเนนิ โครงการ
8.1 การเตรยี มความพร้อมของเจ้าหน้าท่ี โดยดําเนินการประชุมช้ีแจงเจ้าหน้าท่ี ผู้ปฏิบัติงานโครงการ
แนวทาง และขน้ั ตอนการดาํ เนินงาน ให้สามารถดําเนินการตามภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้เข้าถึงหลักการ
ของโครงการ
8.2 การคัดเลือกและจาแนกตาบลเป้าหมาย ตามหลกั เกณฑแ์ ละเงือ่ นไข ดงั น้ี

(1) เป็นตําบลท่มี ีความเหมาะสมต่อการเพ่มิ ศกั ยภาพดา้ นการเกษตร
(2) เปน็ พน้ื ที่มีศกั ยภาพเอ้อื ตอ่ การสรา้ งเครือขา่ ยกระบวนการเรียนรู้
(3) เกษตรกรในตําบลมคี วามพร้อมและตอ้ งการเข้ารว่ มโครงการ
เพือ่ ใหก้ ารถ่ายทอดเทคโนโลยเี กดิ ประสทิ ธภิ าพ จึงได้จาํ แนกกลมุ่ ของตําบล ตามหลกั เกณฑ์และ
เงอื่ นไข เปน็ 3 ระดบั คอื (1) ระดับเรมิ่ ดาํ เนนิ การ (2) ระดบั พฒั นา และ (3) ระดับสมบูรณแ์ บบ



หลกั เกณฑ์

ระดบั ตาํ บล ความเหมาะสมตอ่ การเพ่ิม ศั ก ย ภ า พ เ อ้ื อ ต่ อ ความพร้อมและความ
ศักยภาพด้านการเกษตร เครอื ข่ายการเรียนรู้ ต้องการของเกษตรกร
ระดับเร่ิมดําเนนิ การ
ระดบั พัฒนา เหมาะสม ศกั ยภาพพอใช้ มคี วามพรอ้ ม
ระดบั สมบรู ณแ์ บบ เหมาะสม ศักยภาพคอ่ นข้างสงู มีความพรอ้ ม
เหมาะสม ศกั ยภาพสงู มคี วามพรอ้ ม

- ให้พิจารณาดาํ เนนิ การคัดเลือกตําบลระดับพัฒนาท่ีมีศักยภาพ และมีกิจกรรมเกษตรเอ้ืออํานวยต่อการ
พฒั นา เขา้ ร่วมโครงการตามเปาู หมายแตล่ ะปี และพัฒนาตอ่ เนือ่ งใหเ้ ปน็ ระดับสมบรู ณ์แบบตอ่ ไป

- ดําเนนิ การจดั เตรียมการพฒั นาตาํ บลระดับเรมิ่ ดาํ เนนิ การ เพอ่ื คดั เลอื กเข้าร่วมโครงการในปตี ่อไป
8.3 การสารวจขอ้ มลู และวเิ คราะหศ์ ักยภาพของพ้ืนท่ี ตําบลเปูาหมาย เพื่อปรับปรุงระบบการส่งเสริม
การเกษตร ใหส้ ามารถสนองตอบตอ่ ความต้องการของชมุ ชน โดย

8.3.1 จัดทําทะเบียนครัวเรือน และจัดเก็บข้อมูลเกษตรกร ในตําบลเปูาหมาย โดยอาศัย
ผนู้ ําทอ้ งถิน่ คณะกรรมการหมบู่ ้าน และ/หรอื แกนนํากล่มุ อาชพี ตา่ งๆ

8.3.2 ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลการผลิตทั้งด้านกายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
ภูมิปัญญาชาวบ้าน และเทคโนโลยีด้านการเกษตรที่มีอยู่อย่างละเอียด ก่อนเร่ิมดําเนินโครงการ เพ่ือกําหนด
กิจกรรมตามโครงการ และใช้เป็นข้อมูลในการประเมินผล

8.4 การจัดทาแผนปฏิบัติการโครงการ โดยกําหนดกิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยีในพื้นท่ี
จากผลการสาํ รวจและวิเคราะห์ความเปน็ ไปได้ในการทํากิจกรรมการเกษตรประเภทตา่ งๆ ของตําบล และพิจารณา
กําหนดกจิ กรรม การสาธติ ทดสอบ และถ่ายทอดเทคโนโลยีท่เี หมาะสม



9. แผนการปฏิบัติงาน

กจิ กรรม เปา้ หมาย งบประมาณ ระยะเวลาดาเนนิ การในปงี บประมาณ 2565 หน่วยงาน
1 ตาํ บล (บาท) รบั ผดิ ชอบ
1. การจดั ทําแผนพฒั นา 30 ราย 22,500 ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสท่ี 4
เกษตรกรรมระดบั ตาํ บล (ต.ค.-ธ.ค.) (ม.ค.-มี.ค.) (เม.ย.–มิ.ย.) (ก.ค.–ก.ย.) - สภจ/สกจ
1 13,500 - ผู้แทน
- การจัดประชมุ โครงการ/ เกษตรกรระดับ
คณะทาํ งานขับเคลื่อนและ กิจกรรม ตําบลและ
จัดทาํ แผนพัฒนาเกษตรกรรม เครอื ข่ายใน
ระดบั ตําบลแบบมีสว่ นร่วม ชมุ ชน
จงั หวัดสมทุ รสาคร - คณะทาํ งาน
ขบั เคล่อื นและ
- การจดั ทาํ ฐานขอ้ มลู ของ จดั ทํา
เกษตรกรภายในตําบล แผนพฒั นา
เกษตรกรรม
- การจดั ชุดขอ้ มูลดา้ น ระดับตําบล
การเกษตรในพื้นที่ตาํ บล แบบมีสว่ นรว่ ม
จังหวัด
- การวเิ คราะห์ สมทุ รสาคร
ประมวล ผลข้อมูลใหเ้ ขา้ ใจ - หนว่ ยงาน
อย่างงา่ ย /ภาคส่วนท่ี
เกย่ี วข้อง
- จัดทําเวทรี ะดม
ความเห็นแบบมีสว่ นรว่ มของ
เกษตรกรและภาคส่วนท่ี
เกยี่ วข้อง
2. การขบั เคล่อื นพฒั นาอาชพี และ
แกไ้ ขปัญหาของเกษตรกรตาม
แผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตาํ บล

รวม 36,000

10. ตัวชวี้ ัด
10.1 มีตําบลท่ีได้รับการพัฒนาศักยภาพเศรษฐกิจชุมชนท้องถ่ินสู่การจัดการตนเองด้านการเกษตร

จํานวน 1 ตําบล
10.2 มกี ารนําแผนพฒั นาตําบลจัดส่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อพิจารณาบรรจุเป็นแผนพัฒนา

องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น หรือพิจารณาเปน็ ขอ้ บัญญัติขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ หรือชมุ ชน หรือหน่วยงาน
ทเี่ กยี่ วข้องนําไปปฏบิ ตั ิ จาํ นวน 1 เรือ่ ง

10.3 มีการจดั โครงการ/กิจกรรมการขับเคลอ่ื นพฒั นาอาชีพและแก้ไขปัญหาของเกษตรกรตามแผนพัฒนา
เกษตรกรรมระดบั ตําบล จาํ นวน 1 โครงการ/กจิ กรรม



11. ผลที่คาดว่าจะไดร้ บั
11.1 ทําให้เกิดตําบลนําร่อง มุ่งเน้นระบบการมีส่วนร่วมของเกษตรกร (People participation)

และมีรูปแบบกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งเป็นแนวทางในการส ร้างชุมชนเครือข่ายพัฒนาการเกษตร
(Technical Cooperation among Developing Villages = TCDV)

11.2 ทําให้มกี ารพฒั นาการเกษตรที่มุ่งเน้นใหม้ กี ารเชือ่ มโยง (Linkage) การปฏบิ ตั งิ านระหว่างเจ้าหน้าที่
ภาครัฐ องค์กร แกนนาํ กลมุ่ อาชีพ และหน่วยงานต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถสนองต่อความต้องการของ
เกษตรกรในชมุ ชน

11.3 เกษตรกรในชุมชนมีแผนที่เหมาะสม สามารถนําไปปรับใช้ในการทําการเกษตรได้จริง ทําให้เพ่ิม
ผลผลติ และลดต้นทนุ การผลิต และสง่ ผลให้เกษตรกรมรี ายไดเ้ พ่ิมข้นึ



บทที่ 2
ขอ้ มูลทว่ั ไป
ตาบลหนองบัว อาเภอบา้ นแพว้ จงั หวดั สมทุ รสาคร

1. บริบทพื้นที่

1.1 ท่ตี งั้ อาณาเขต

ตําบลหนองบัว ตั้งอยู่ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ห่างจากตัวจังหวัดสมุทรสาครประมาณ

30 กโิ ลเมตร

ทศิ เหนอื ติดตอ่ กับ ตําบลตลาดจนิ ดา อําเภอสามพราน จังหวดั นครปฐม

ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กบั ตําบลยกกระบตั ร อาํ เภอบา้ นแพว้ จังหวัดสมทุ รสาคร

ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั ตาํ บลบ้านแพ้ว อาํ เภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร

ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับ ตาํ บลโพหัก อําเภอบางแพ จังหวดั ราชบุรี

เน้ือท่ี ของตําบลหนองบัว อําเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร มีเน้ือที่ท้ังหมดประมาณ

40 ตารางกโิ ลเมตร

ภมู ิประเทศ สภาพพืน้ ท่เี ปน็ ที่ราบลุ่ม พื้นท่ีส่วนใหญ่ใช้ในการทําการเกษตร เช่น มะพร้าว มะนาว

มะมว่ ง ลําไย

จํานวนหมบู่ ้าน ในเขตของตําบลหนองบัว รวมทั้งสิ้น 9 หมบู่ ้าน

หมทู่ ่ี 1 ชุมชนหนองบัวหมทู่ ่ี 1 จาํ นวนครวั เรอื น 253 หลงั คาเรอื น

หมทู่ ี่ 2 ชุมชนบ้านกลางคลองสองห้อง จํานวนครวั เรอื น 278 หลังคาเรือน

หมทู่ ่ี 3 ชมุ ชนร่วมใจหนองบวั จํานวนครัวเรือน 81 หลงั คาเรอื น

หมทู่ ี่ 4 ชุมชนบา้ นหนองบัว (โพธิ์ร้อย) จํานวนครัวเรอื น 165 หลังคาเรือน

หมทู่ ี่ 5 ชุมชนบา้ นดอนวัว จาํ นวนครวั เรือน 196 หลังคาเรอื น

หมทู่ ี่ 6 ชุมชนบ้านรางเสาธง จํานวนครัวเรือน 173 หลงั คาเรอื น

หม่ทู ี่ 7 ชมุ ชนบา้ นสารภี จาํ นวนครัวเรอื น 176 หลังคาเรือน

หมูที่ 8 ชุมชนบา้ นปากคลองสองหอ้ ง จํานวนครัวเรอื น 92 หลังคาเรอื น

หมทู่ ี่ 9 ชมุ ชนบ้านหนองบวั 2 จาํ นวนครัวเรือน 101 หลงั คาเรือน



ประชากร ตําบลหนองบัว อําเภอบา้ นแพ้ว จงั หวดั สมุทรสาคร มีทัง้ สน้ิ 6,756 คน

หมู่ท่ี 1 ชุมชนหนองบวั หมูท่ ่ี 1 จํานวน 1,124 คน

หมู่ที่ 2 ชุมชนบ้านกลางคลองสองห้อง จาํ นวน 1,249 คน

หมูท่ ่ี 3 ชุมชนรว่ มใจหนองบวั จํานวน 329 คน

หมทู่ ่ี 4 ชุมชนบา้ นหนองบัว (โพธิร์ ้อย) จํานวน 691 คน

หมู่ที่ 5 ชุมชนบ้านดอนวัว จาํ นวน 784 คน

หมูท่ ี่ 6 ชุมชนบ้านรางเสาธง จํานวน 713 คน

หม่ทู ่ี 7 ชุมชนบ้านสารภี จาํ นวน 932 คน

หมทู่ ี่ 8 ชมุ ชนบา้ นปากคลองสองห้อง จํานวน 422 คน

หมูท่ ี่ 9 ชมุ ชนบ้านหนองบวั 2 จาํ นวน 512 คน

1.2 สภาพเศรษฐกจิ

ประชาชนส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทั้งในพื้นที่และบริเวณใกล้เคียง บางส่วน

ประกอบอาชพี รับจา้ งทว่ั ไป

1.3 สภาพทางสังคม

ตําบลหนองบัว มีสถานศกึ ษาสาํ หรับเด็กเล็กและเดก็ โต ดังนี้

ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ จํานวน 2 ศูนย์ ได้แก่

- ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนวัดดอนโฆสิตาราม

- ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ โรงเรยี นวดั หนองบวั

โรงเรียน จาํ นวน 2 โรงเรยี น ไดแ้ ก่

- โรงเรียนวัดดอนโฆสิตาราม

- โรงเรียนวดั หนองบัว

1.4 สถาบันและองค์กรทางศาสนา

ตําบลหนองบัว มีวดั จํานวน 3 แห่ง ได้แก่

- วัดดอนโฆสติ าราม

- วดั รางตันนิลประดษิ ฐ์

- วัดหนองบวั

ตําบลหนองบัว มีศาลเจา้ จํานวน 2 แหง่ ไดแ้ ก่

- ศาลเจ้ากิว่ เท่ยี งเนย้ี ว

- ศาลเจ้าแมท่ บั ทมิ

๑๐

1.5 การคมนาคม
ตําบลหนองบัว มีการใชง้ านการคมนาคมท้งั ทางบกและทางน้ํา

1.6 การไฟฟ้า
ตาํ บลหนองบวั มไี ฟฟูาเขา้ ถึงทกุ หม่บู ้าน ทง้ั หมด 9 หมบู่ า้ น

1.7 แหลง่ นา้
ตําบลหนองบัว มแี หลง่ นํ้าธรรมชาติและแหล่งนํ้าท่ีสร้างขึ้นมาเองในพื้นท่ีท้ัง 9 หมู่บ้าน เพื่อใช้ใน

การอุปโภค และการบริโภค รวมทัง้ สน้ิ จาํ นวน 114 สาย ดงั น้ี
- แหลง่ น้ําธรรมชาติ คลอง ลําธาร หมู่ที่ 1 มีจํานวน 7 สาย ได้แก่

ท่ี ช่อื แหลง่ น้าปิด ขนาดแหลง่ นา้

1 คลองยายทวด กว้าง (เมตร) ยาว (เมตร)
2 คลองทงเฮง
3 คลองเรอื ทราย 8 460
4 คลองตาขนุ
5 คลองเชื่อมคลองตาขุน-คลองยายชวด 8 1,900
6 คลองซอย
7 คลองบา้ นเลขท่ี 111 6 460

8 1,090

8 600

8 400

6 300

๑๑

- แหล่งน้ําธรรมชาติ คลอง ลําธาร หมทู่ ่ี 2 มจี ํานวน 40 สาย ไดแ้ ก่

ท่ี ชอื่ แหล่งน้าปดิ ขนาดแหล่งน้า

1 คลองสองหอ้ ง กว้าง (เมตร) ยาว (เมตร)
2 คลองบ้านผู้ช่วยพร
3 คลองบา้ นลุงเหง่ียมเก่า 20 1,700
4 คลองบา้ นนายชวลิต
5 คลองรา้ นสะบัดชอ่ 8 400
6 คลองบ้านนายประเสริฐ
7 คลองบ้านนายเม้ง 8 300
8 คลองบา้ นนายประพัน
9 คลองบา้ นนายวเิ ชยี ร 8 380
10 คลองตาขุน
11 คลองบา้ นนางรวิ้ 8 400
12 คลองบา้ นนายปอู
13 คลองบ้านนายบุญเลิศ 8 500
14 คลองหน้าอนามัย
15 คลองบา้ นนายปรีดา 8 500
16 คลองบา้ นนายวฒั นา
17 คลองบ้านนายจวบ 8 790
18 คลองบา้ นนายอนุชา
19 คลองบ้านนางเหมอื น 6 200
20 คลองบ้านต๋เี ล็ก
21 คลองบ้านเปาู คล้ายเกดิ 10 1,000
22 คลองบา้ นนายบญุ ชว่ ย
23 คลองบา้ นนายกลึง 8 400
24 คลองบา้ นสําราญ
25 คลองบ้านนางมะลิ 6 240
26 คลองบา้ นนายแดง
8 270

8 900

8 360

8 500

8 400

8 270

8 500

8 950

8 1,300

8 510

8 590

8 150

8 850

8 320

๑๒

ท่ี ช่ือแหล่งน้าปดิ ขนาดแหลง่ น้า

27 คลองบ้านนายกบ กวา้ ง (เมตร) ยาว (เมตร)
28 คลองบ้านนายตี๋
29 คลองบา้ นนายเผยใช้ 8 300
30 คลองบ้านปาู สาลี่
31 คลองบ้านต้ีคุณเช้ง 8 300
32 คลองบ้านนายมาก
33 คลองบา้ นนางกิมไน้ 8 250
34 คลองบา้ นนายเกรยี งศักดิ์
35 คลองบา้ นผ้ชู ่วยเฮง 8 440
36 คลองสวนพีห่ มู
37 คลองบา้ นนายกติ ติ 8 140
38 คลองสําราญ
39 คลองบา้ นนายวันชยั 8 130
40 คลองบา้ นนายชู
8 780

8 800

12 565

8 680

8 670

8 270

6 160

8 600

- แหล่งนาํ้ ธรรมชาติ คลอง ลําธาร หมทู่ ี่ 3 มจี ํานวน 9 สาย ได้แก่

ท่ี ชอ่ื แหลง่ น้าปิด ขนาดแหลง่ น้า

1 คลองรางมอญ กวา้ ง (เมตร) ยาว (เมตร)
2 คลองตาเล็ก
3 คลองรวมใจ 8 1,550
4 คลองสุรชยั
5 คลองชัยสิทธ์ิ 8 1,400
6 คลองโชคกาญจนา
7 คลองมนัส 6 500
8 คลองเล่งฮ้วั
9 คลองแพ้วเหนือ 6 540

6 460

8 500

6 440

6 400

12 500

๑๓

- แหลง่ น้ําธรรมชาติ คลอง ลําธาร หม่ทู ่ี 4 มจี าํ นวน 6 สาย ได้แก่

ท่ี ช่ือแหล่งน้าปดิ ขนาดแหลง่ นา้

1 คลองโพธร์ิ ้อย กว้าง (เมตร) ยาว (เมตร)
2 คลองหนองบัวเก่า
3 คลองบา้ นลงุ พุก 8 1,600
4 คลองบ้านนายสวสั ดิ์
5 คลองบ้านผู้ใหญ่ 15 800
6 คลองแพ้วเหนอื
12 400

12 740

8 300

12 1,100

- แหลง่ นา้ํ ธรรมชาติ คลอง ลําธาร หมทู่ ี่ 5 มจี ํานวน 9 สาย ไดแ้ ก่

ท่ี ชือ่ แหล่งน้าปดิ ขนาดแหลง่ นา้

1 คลองสง่ น้าํ 1 กว้าง (เมตร) ยาว (เมตร)
2 คลองสง่ น้ํา 2
3 คลองลาํ ราง 1 8 900
4 คลองลําราง 2
5 คลองหลงั วัดรางตนั 8 300
6 คลองซอยหลงั วดั รางตัน 1-4
7 คลองขดุ ใหม่-รางสามพราน 6 240
8 คลองนายทวี
9 คลองแพ้วเหนอื 6 750

8 1,520

8 990

10 1,480

8 540

12 3,750

๑๔

- แหลง่ นาํ้ ธรรมชาติ คลอง ลาํ ธาร หมูท่ ี่ 6 มีจาํ นวน 11 สาย ไดแ้ ก่

ท่ี ช่ือแหลง่ น้าปดิ ขนาดแหลง่ นา้

1 คลองชยั มงคล กวา้ ง (เมตร) ยาว (เมตร)
2 คลองโชคกาญจนา
3 คลองตาไปฺ 8 720
4 คลองบ้านนายไพบูลย์
5 คลองขา้ งสวนนายมนัส บุญมี 9 1,300
6 คลองข้างรา้ นสุนทรพาณชิ ย์
7 คลองบ้านนายประยุทธ์ 9 890
8 คลองชยั มงคล-รางเสาธง 1-3
9 คลองชยั มงคล-คลองตาไปฺ 8 470
10 คลองรางเสาธง
11 คลองแพ้วเหนอื 6 480

7 480

6 480

5 1,400

5 260

7 1,240

12 625

- แหล่งนา้ํ ธรรมชาติ คลอง ลําธาร หมทู่ ี่ 7 มีจํานวน 18 สาย ได้แก่

ท่ี ชื่อแหลง่ นา้ ปดิ ขนาดแหลง่ น้า

1 คลองสีแ่ ยกรางมอญ กวา้ ง (เมตร) ยาว (เมตร)
2 คลองบา้ นอาํ นวย
3 คลองบา้ นนายนมุ่ 8 1,320
4 คลองตาชู
5 คลองตาวดั 7 510
6 คลองตาวี
7 คลองตาเหลา 6 150
8 คลองตาหอม
9 คลองตาโตง้ 6 710
10 คลองทองเพียร
11 คลองนายอู๊ด 6 140
12 คลองยายธรรม
13 คลองยายแปูน 7 710
14 คลองตาเชน
6 450

7 660

6 750

5 900

6 480

6 110

6 193

6 60

๑๕

ที่ ช่ือแหลง่ นาํ้ ปิด ขนาดแหล่งนํา้

15 คลองตายุ้ย กว้าง (เมตร) ยาว (เมตร)
16 คลองตาหร่ัง
17 คลองซอยสารภี 6 12
18 คลองแพ้วเหนือ
6 240

6 440

10 1,000

- แหลง่ นํา้ ธรรมชาติ คลอง ลําธาร หมูท่ ี่ 8 มีจาํ นวน 4 สาย ได้แก่

ท่ี ชื่อแหล่งนา้ ปดิ ขนาดแหล่งนา้

1 คลองสองห้อง กว้าง (เมตร) ยาว (เมตร)
2 คลองขวางนายบุญธรรม
3 คลองชยั มงคล 18 1,080
4 คลองนายตอ้ ย
8 560

8 1,270

8 560

- แหลง่ นาํ้ ธรรมชาติ คลอง ลําธาร หมูท่ ่ี 9 มจี ํานวน 10 สาย ได้แก่

ท่ี ชื่อแหล่งน้าปดิ ขนาดแหล่งนา้

1 คลองรางสะพาน กวา้ ง (เมตร) ยาว (เมตร)
2 คลองแพ้วเหนือ
3 คลองผ้ใู หญด่ ว่ น 10 1,0860
4 คลองนายธนสริ ิ
5 คลองนายมงคล 10 1,770
6 คลองนายตงั กวย
7 คลองนายประยูร 1 8 430
8 คลองบา้ นนายทิม
9 คลองนายประยูร 2 8 720
10 คลองหนองบวั เก่
ท่ีมา : เทศบาลตาํ บลหลกั ห้า 8 680

8 590

8 617

8 420

8 263

15 1,000

๑๖

1.8 ขอ้ มูลภาคการเกษตร

ประชาชนส่วนใหญ่ของพ้ืนท่ีตําบลหนองบัว อําเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร ประกอบอาชีพ

ภาคการเกษตร มพี นื้ ทเี่ กษตรกรรมทั้งหมด 3,677 ไร่ ประกอบด้วย

- ไม้ผล มเี นอื้ ที่ จาํ นวน 1,697 ไร่

- ไมย้ นื ต้น มเี นือ้ ที่ จํานวน 1,669 ไร่

- พนื้ ทเ่ี พาะเล้ียงสัตว์น้าํ มีเนื้อท่ี จํานวน 159 ไร่

- พ้ืนที่การทาํ ปศสุ ัตว์ มเี นอื้ ที่ จํานวน 152 ไร่

จานวนครวั เรอื นภาคเกษตรตาบลหนองบัว ปี พ.ศ. 2564

หม่ทู ี่ จานวนครัวเรอื นภาคเกษตร (ครวั เรือน)
หมูท่ ี่ 1 147
หมู่ที่ 2 191
หมทู่ ่ี 3 46
หมทู่ ่ี 4 98
หมทู่ ี่ 5 143
หมทู่ ่ี 6 117
หมทู่ ี่ 7 72
หมทู่ ี่ 8 41
หมทู่ ่ี 9 68
รวม 923

ทม่ี า : แผนชมุ ชนตาบลหนองบัว อาเภอบ้านแพ้ว จงั หวดั สมุทรสาคร เทศบาลตาบลหลักหา้

การใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ตาบลหนองบัว ปี พ.ศ.2564

เนอื้ ท่ีท้ังตาบล (ไร)่ เน้อื ทปี่ ่าไม้ (ไร่) เนือ้ ทใ่ี ช้ประโยชน์ เนอื้ ทใ่ี ช้ประโยชน์ เน้ือทใี่ ช้ประโยชน์
นอกการเกษตร ทางการเกษตร ทางการเกษตร
ต่อครัวเรือน (ไร่)
(ไร)่ (ไร)่
2.4
25,000 - - 3,677

ทม่ี า : แผนชมุ ชนตําบลหนองบวั อาํ เภอบ้านแพว้ จงั หวัดสมุทรสาคร เทศบาลตําบลหลกั ห้า

๑๗

การใช้ประโยชนท์ ดี่ ินทางการเกษตร ปี พ.ศ.2564

รวมเนอื้ ทเี่ กษตร นาข้าว พชื ผัก/ไม้ เพาะเลยี้ ง การเกษตรอน่ื ๆ
ทงั้ ตาบล ไร่ % ไมผ้ ล/ไม้ยนื ตน้ ดอก/ไมป้ ระดบั สตั ว์น้า (ปศุสัตว)์
ไร่ % -- ไร่ % ไร่ % ไร่ % ไร่ %
3,366 13.46 - - 159 0.64
3,677 14.70 152 0.61

ท่ีมา : แผนชมุ ชนตาํ บลหนองบัว อําเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมทุ รสาคร เทศบาลตําบลหลกั ห้า

ขอ้ มูลเกษตรกรผปู้ ลูกพืชในพ้ืนทต่ี าบลหนองบัว

ท่ี ชนิดพืช จานวนครวั เรอื น พ้ืนท่เี พาะปลกู พนื้ ทีเ่ ก็บเกีย่ ว
(ไร)่ (ไร่)
ที่เพาะปลกู (ครวั เรือน)
1,849.22 1,805.22
1 มะพร้าว 257 622.50 578.25
697.86 697.86
2 มะนาว 76 291.74 274.99
3,461.32 3,356.32
3 ลําไย 74

4 ฝรัง่ 50

รวม 457

ทม่ี า : ข้อมูลดา้ นการเกษตร ปี พ.ศ.2564 สํานักงานเกษตรอาํ เภอบ้านแพว้

ขอ้ มลู เกษตรกรผเู้ พาะเลย้ี งสัตว์น้าในพ้ืนทต่ี าบลหนองบัว

เนือ้ ทเ่ี ลีย้ งสตั ว์นา้ กุ้งขาวแวนนาไม ปลาสลิด ปลาตะเพยี น ปลาหมอไทยเลีย้ งรวมกับปลาบึก
(ไร่) (ไร)่
(ไร)่ (ไร่) (เลย้ี งในรอ่ งสวน)
242.11 0.50
(ไร)่

210.36 10 21.25

ทีม่ า: ขอ้ มลู เกษตรกรผู้เพาะเลีย้ งสัตว์น้าํ ตําบลหนองบวั อําเภอบา้ นแพว้ จงั หวดั สมุทรสาคร ท่ีขน้ึ ทะเบียน ทบ.1
ปี พ.ศ.2564 สาํ นักงานประมงจงั หวัดสมทุ รสาคร

๑๘

บทที่ 3
สรปุ ผลและสรุปสาระสาคญั
กจิ กรรมการขับเคลื่อนพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาของเกษตรกร
ตามแผนพฒั นาเกษตรกรรมระดับตาบล

สํานักงานสภาเกษตรกรจังหวัดสมุทรสาคร ได้เสนอโครงการจัดทําแผนพัฒนาอาชีพในระดับ
ตําบลจังหวัดสมุทรสาคร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ต่อที่ประชุมสภาเกษตรกรจังหวัดสมุทรสาคร

ครัง้ ท่ี 6/2564 (ประจาํ ปีงบประมาณ 2565 ครั้งท่ี 1) เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2564 ณ ห้องประชุมสํานักงาน
สภาเกษตรกรจังหวัดสมุทรสาคร เพื่อพิจารณาเห็นชอบและรับรองโครงการฯ ซึ่ง ท่ีประชุมมีมติคัดเลือก

ตําบลหนองบัว อําเภอบ้านแพว้ จังหวัดสมทุ รสาคร เปน็ พื้นทีเ่ ปูาหมาย โดยประกอบด้วย 2 กจิ กรรมหลัก คือ
1) กิจกรรมการจัดทําแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตําบล (การประชุมคณะทํางานขับเคล่ือน

และจัดทาํ แผนพัฒนาเกษตรกรรมระดบั ตําบลแบบมสี ว่ นร่วม จังหวัดสมทุ รสาคร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565

และการจดั ประชุมระดมความเห็นแบบมีส่วนรว่ มของเกษตรกรและภาคส่วนท่เี ก่ียวข้อง)
2) กิจกรรมการขับเคล่ือนพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาของเกษตรกรตามแผนพัฒนา

เกษตรกรรมระดบั ตําบล
ทัง้ นี้ จากการที่สํานักงานสภาเกษตรกรจังหวัดสมุทรสาคร ได้จัดประชุมระดมความเห็นแบบมี

สว่ นร่วมของเกษตรกรและภาคส่วนที่เก่ียวข้อง เม่ือวันท่ี 15 ธันวาคม 2564 ณ ที่ทําการกํานันตําบลหนองบัว

หมู่ที่ 7 ตําบลหนองบัว อําเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร เพื่อให้ผู้นําชุมชน เกษตรกรในพ้ืนท่ี หน่วยงาน ท่ี
เกยี่ วขอ้ ง ได้ร่วมกนั เสนอปัญหา แนวทางการพัฒนาและแก้ไขปัญหาภาคการเกษตรในพ้ืนที่ตําบลหนองบัว ตาม

ความต้องการของเกษตรกร

๑๙

ซึ่ง จากการท่ีไ ด้จัดประ ชุมระ ดมความคิดเห็น แบบมีส่วนร่วมของ เกษต รกรและ ภาคส่วน ท่ี
เก่ียวข้องปัญหาประเด็นแรกที่เกษตรกรในพ้ืนท่ีให้ความสําคัญ คือ ปัญหาต้นทุนการผลิตสูง เนื่องจากปัจจัย
การผลิต เช่น ปุ฻ย ยา และค่าจ้างแรงงานราคาสูงขึ้น ราคาผลผลิตโดนกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง ทําให้ราคา
ผลผลิตไม่สมดุลกบั ตน้ ทนุ การผลิต และประสบภาวะขาดทนุ ทาํ ให้เปน็ หนส้ี ิน รวมท้ังปัญหาราคาเช่าท่ีดินที่ไม่เป็น
ธรรม และปัญหาขยะจากการทาํ เกษตรกรรมในพ้ืนที่

ในการน้ี สํานักงานสภาเกษตรกรจังหวัดสมุทรสาคร ร่วมกับศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตร
ราชบุรี, สํานักงานบังคับคดีจังหวัดสมุทรสาคร และสํานักงานพลังงานจังหวัดสมุทรสาคร ดําเนินการอบรม
ถ่ายทอดความรู้ กิจกรรมการขับเคลื่อนพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาของเกษตรกรตามแผนพัฒนาเกษตรกรรม
ระดับตําบล ภายใต้โครงการจัดทําแผนพัฒนาอาชีพในระดับตําบล จังหวัดสมุทรสาคร ประจําปีงบประมาณ
พ.ศ.2565 เม่ือวันท่ี 8 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ที่ทําการกํานันตําบลหนองบัว หมู่ท่ี 7 ตําบลหนองบัว อําเภอ
บ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร ทั้งน้ี มีเกษตรกรและผู้ที่เก่ียวข้อง เข้าร่วมกิจกรรม จํานวน 58 คน โดยเบิกจ่าย
งบประมาณของสํานักงานสภาเกษตรกรจังหวัดสมุทรสาคร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จํานวน
10,009.70 บาท (หนึ่งหมื่นเก้าบาทเจ็ดสิบสตางค์) ซึ่งสรุปสาระสาํ คัญได้ดังน้ี

1. การถ่ายทอดความรู้หัวข้อ “การสร้างมาตรฐานสินค้าเกษตร” (วิทยากร : ศูนย์วิจัยและ
พฒั นาการเกษตรราชบุรี)

มาตรฐานแหล่งผลิตพืช GAP (GOOD AGRICULTURAL PRACTICES) หรือการปฏิบัติการทาง
การเกษตรทด่ี ี สําหรับพืชอาหาร หรือ GAP พืชอาหาร กําหนดโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นแนวทางให้
เกษตรกรผผู้ ลิตนําไปปฏบิ ตั ิโดยคาํ นงึ ถงึ ส่ิงแวดล้อม สุขภาพ ความปลอดภัย และสวัสดิภาพของเกษตรกร เพ่ือให้
ได้สินค้ามีคุณภาพได้มาตรฐานและปลอดภัย ไม่มีการปนเปื้อนส่ิงที่เป็นอันตรายต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค
เป็นมาตรฐานสําหรับการส่งออกผักผลไม้สด โดยจําเป็นจะต้องขอการรับรอง GAP พืชอาหาร ของกรมวิชาการ
เกษตร ซงึ่ เป็นมาตรฐานบังคบั สําหรบั การสง่ ออกในบางประเทศ โดยเฉพาะประเทศกลุ่มสหภาพยุโรป ข้อกําหนด
มาตรฐานจะเก่ียวข้องกับคุณภาพ ความปลอดภัยสินค้า การสอบกลับ สุขอนามัยในแปลง การจดบันทึก เป็นต้น
ซึ่งผู้ต้องการใบรับรอง สามารถติดต่อได้ที่ สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร ในแต่ละท้องท่ี ค้นหาข้อมูลติดต่อ
สาํ นกั วิจัยและพฒั นาการเกษตร ได้ทีเ่ วบ็ ไซต์ของกรมวิชาการเกษตร https://www.doa.go.th/th/

ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ปลูกจะส่งสินค้าไปยังประเทศใด ควรต้องขอการรับรองมาตรฐาน GAP ของ
กรมวิชาการเกษตรก่อน เป็นพ้ืนฐาน เนื่องจากทําง่ายและเป็นมาตรฐานบังคับในการส่งออกตามกฎระเบียบของ
กรมวิชาการเกษตรในหลายกลุ่มประเทศ หลังจากน้ันจึงพิจารณาขอการรับรองตามลักษณะการปลูก หรือ
ความต้องการของลกู คา้ ปลายทางในตอนตอ่ ไป

พืชอาหารตามมาตรฐานน้ี หมายถึง ผัก ผลไม้ พืชไร่ พืชเคร่ืองเทศ พืชสมุนไพรที่ใช้เป็นอาหาร
การปฏบิ ตั ิทางการเกษตรทีด่ ี สําหรบั พชื อาหาร เพ่อื การขอรับรอง GAP พชื มขี ้อกําหนดหลกั 8 ขอ้ ได้แก่

๒๐

1. น้า นํ้าท่ีใช้ในกระบวนการผลิตต้องมาจากแหล่งท่ีไม่มีสภาพแวดล้อม ซ่ึงก่อให้เกิด
การปนเปอ้ื นต่อผลผลติ

นา้ํ ที่ใชใ้ นแหลง่ เพาะปลูก
- นํา้ ทีใ่ ช้ไมก่ อ่ ให้เกิดการปนเปือ้ นทเี่ ปน็ อนั ตรายตอ่ ผลผลติ
- ไม่ใช้นํ้าเสียจากแหล่งต่างๆ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม แหล่งชุมชน

โรงพยาบาล หากใช้น้ําตอ้ งผา่ นการบําบัดก่อนการใช้
- เกบ็ ตัวอย่างน้ํา อย่างน้อย 1 ครั้ง ในช่วงเริ่มจัดกระบวนการผลิต เพื่อตรวจ

วิเคราะหส์ ิ่งท่ีเป็นอันตราย
- การให้น้ํา ควรให้เหมาะสมแกช่ นดิ ของพชื และดิน
- มีการจดั การนาํ้ เสยี บํารงุ นํ้าใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ ไมท่ าํ ลายสง่ิ แวดล้อม

นา้ํ ทีใ่ ชก้ ับพืชหลงั เกบ็ เกี่ยว เช่น นํ้าล้างผลผลิต ต้องใช้น้ําที่สะอาด สามารถบริโภคโดย
ปลอดภัย

2. พ้นื ทีป่ ลกู
- ไม่อย่ใู นสภาพแวดล้อม ซงึ่ ก่อให้เกิดการปนเปื้อนวตั ถุหรือสิง่ ท่เี ปน็ อนั ตรายต่อ

ผลผลติ
- ส่งตรวจตวั อยา่ งดินวิเคราะห์ส่ิงที่เป็นอันตรายอย่างน้อย 1 ครั้ง ในระยะเร่ิม

จัดระบบการผลติ
- หากใชส้ ารเคมีรมหรอื ราดดนิ ตอ้ งทาํ การบนั ทึกข้อมลู ไว้
- พื้นที่ปลูกใหมต่ อ้ งคํานงึ ถงึ สิ่งแวดล้อม ดแู ลพื้นท่ีปลูกและเลือกชนิดของพืชให้

เหมาะสมเพือ่ ปอู งกันดนิ เสื่อมโทรม
- จัดทาํ ประวตั ิการใชด้ นิ ยอ้ นหลงั 2 ปี และพ้ืนที่ปลกู ตอ้ งเป็นไปตามข้อกําหนด

ของกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง
3. วัตถอุ ันตรายทางการเกษตร
- จัดเก็บเป็นหมวดหมู่ในสถานท่ีเก็บที่มิดชิด และใช้ตามคําแนะนํา

ของกรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- หา้ มใชว้ ตั ถอุ ันตรายทางการเกษตรท่ีระบตุ าม พ.ร.บ.วัตถอุ ันตราย พ.ศ.2535

และฉบบั แกไ้ ขเพ่มิ เติม
- ผู้ใช้ต้องมีความรู้ในการใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตรที่ถูกต้อง ชนิดศัตรูพืช

อุปกรณท์ ่ีเก่ยี วข้อง

๒๑

- มีการจัดการในการใช้ที่ดี เช่น เลือกใช้อุปกรณ์และวิธีพ่นยาท่ีถูกต้อง ไม่ใช้
วตั ถุอนั ตรายทางการเกษตรมากกวา่ สองชนิดผสมกัน มีการเก็บรักษาสารเคมีท่ีถูกต้องเป็นสัดส่วน มีการทําความ
สะอาดเครื่องมอื มเี อกสารแนะนํากรณีมีอบุ ตั ิเหตุฉุกเฉินและมีอปุ กรณป์ ฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้

- ผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้ในการปูองกันอันตรายจากสารพิษ การพ่นยาที่อยู่
เหนือลม การทาํ ความสะอาดร่างกายหลงั พ่นยา

- ภาชนะบรรจุวตั ถุอันตรายทใี่ ชห้ มดแล้ว ต้องทําลายหรอื กาํ จัดดว้ ยวิธีทีถ่ ูกตอ้ ง
4. การจดั การคณุ ภาพในกระบวนการเก็บเกี่ยว

- กรณีปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์ ต้องเฝูาระวังและบันทึกข้อมูลการใช้
สารละลายธาตุอาหารพืช

- เคร่ืองมือและอุปกรณ์การเกษตรมีเพียงพอต่อการทํางาน มีท่ีเก็บเป็นสัดส่วน
ตรวจสอบเครอื่ งมืออย่างสม่าํ เสมอ ทําความสะอาดเคร่ืองมือทกุ คร้งั หลังเสรจ็ งาน

- การกําจัดของเสีย พืชที่เป็นโรคต้องเผาทําลายนอกแปลงปลูก แยกประเภท
ขยะของเสยี ใหถ้ กู ตอ้ ง

- ปัจจัยการผลิต เช่น เมล็ดพนั ธ์ุ ต้นพนั ธ์ตุ อ้ งมาจากแหลง่ เช่ือถือได้ ปุ฻ยหรือสาร
ปรับปรุงดินต้องไม่มีการปนเป้ือนจุลินทรีย์และเคมีไม่ปลอดภัยต่อผลิตผล มีการเก็บปุ฻ยให้สัดส่วนเพื่อไม่เกิดการ
ปนเปอื้ น ปย฻ุ ไม่ทํามาจากอุจจาระคน

5. การเกบ็ เกยี่ วและการปฏิบัตหิ ลงั การเกบ็ เกยี่ ว
- เก็บเกี่ยวผลผลิตท่ีมีอายุเหมาะสม ผลผลิตท่ีมีคุณภาพตามความต้องการของ

ตลาดและข้อตกลงของประเทศคูค่ า้
- คัดแยกผลิตผลที่ไม่ได้คุณภาพออก หากคักแยกผลิตผลตามชั้นคุณภาพและ

ขนาดใหใ้ ชม้ าตรฐานสินค้าเกษตร มกษ. หรือประเทศคูค่ ้า
- ปูองกันการปนเปื้อนสู่ผลิตผล ดูแลอุปกรณ์และภาชนะบรรจุให้สะอาด

ปอู งกันสัตวเ์ ลย้ี งไมใ่ ห้อยู่บรเิ วณปฏบิ ตั งิ าน
6. การพักผลิตผล การขนยา้ ยในแปลงปลกู และการเกบ็ รกั ษา
- การขนย้ายในแปลงปลูกและการเก็บรักษาผลผลิต มีการจัดการ

ดา้ นสุขลกั ษณะ เพื่อปอู งกันการปนเปอ้ื นทม่ี ีผลตอ่ ความปลอดภยั ของผู้บรโิ ภค
- มีสถานที่พักผลิตผลท่ีถูกสุขลักษณะ มีการใช้วัสดุปูรองพ้ืนในบริเวณท่ีพัก

ผลิตผล มวี ธิ ีการขนยา้ ย เก็บรักษาผลิตผลท่ีถกู ต้อง
- ไมค่ วรใชพ้ าหนะที่ใช้ขนวัตถุอันตรายทางการเกษตร ขนส่งผลติ ผล
- สถานท่ีวางผลิตผลในบริเวณพักผลิตผลเหมาะสมสามารถปูองกันการขูดขีด

กระแทก ความร้อน แสงแดด

๒๒

7. สขุ ลกั ษณะส่วนบุคคล
- ผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้ความเข้าใจในสุขลักษณะส่วนบุคคล เพื่อสามารถ

ปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ยา่ งถกู สุขลักษณะ
- มีส่ิงอํานวยความสะดวกด้านสุขลักษณะส่วนบุคคลและด้านพื้นฐานที่เพียงพอ

แกผ่ ู้ปฏิบตั งิ าน
- ผู้ปฏิบัติงานท่ีเก่ียวข้องกับวัตถุอันตรายทางการเกษตรต้องได้รับการตรวจ

สขุ ภาพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ผ้สู ัมผสั กบั ผลิตผลเมอ่ื เจบ็ ปวุ ยต้องแจ้งให้ผู้ดแู ลการผลิตทราบ

8. การบันทกึ ขอ้ มูลและการตามสอบ
- มีการบันทึกข้อมูลการปฏิบัติงานการใช้สารเคมี ข้อมูลผู้รับซ้ือและปริมาณ

ผลผลติ เพ่อื ประโยชน์ตอ่ การตามสอบ
- การตามสอบหากพบปัญหาผลผลิตไม่ปลอดภัยสามารถเรียกคืนสินค้าได้ และ

สามารถสบื หาสาเหตแุ ละแนวทางการแก้ไข และควรมีการทบทวนการปฏิบตั อิ ย่างนอ้ ยปลี ะ 1 คร้งั

๒๓

2. การถ่ายทอดความรหู้ ัวขอ้ “กฎหมายและความรู้ท่ีเก่ียวข้องในการทาสัญญาเช่าท่ีดินเพ่ือ
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม” (วิทยากร : สานักงานบังคบั คดีจงั หวดั สมทุ รสาคร)

ปัญหาการเช่าท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรมของเกษตรกรมีสาเหตุมาจากเกษตรกรส่วนหนึ่งยากจน
ไม่สามารถซ้อื หรอื จับจองที่ดินเปน็ ของตนเองได้ จึงต้องเช่าท่ีดินของผู้อ่ืนเพื่อประกอบเกษตรกรรม ส่วนใหญ่ไม่มี
ทีด่ นิ ทํากินของตนเอง ต้องเช่าทด่ี ินจากนายทุนเพ่อื ทําเกษตรกรรม นายทุนทั้งหลายย่อมต้องการหาประโยชน์จาก
ที่ดินที่ใหผ้ ู้อ่ืนเช่าอยา่ งเต็มที่ เช่น เก็บค่าเช่าในอัตราสูง หรือมีข้อตกลงซ่ึงไม่เป็นธรรมแก่ผู้เช่าที่ดิน ซึ่งหากปล่อย
ให้มีการทําสัญญาตกลงกันเองแล้วผู้เช่าท่ีดินซึ่งมีฐานะยากจนย่อมตกเป็นฝุายเสียเปรียบ เกษตรกรต้องเช่าที่ดิน
เพ่ือทําการเกษตรหรือทําการเกษตรในที่ดินของผู้อื่นส่งผลกระทบต่อการใช้ที่ดินและความมั่นคงในอาชีพของ
เกษตรกร ด้วยเหตดุ ังกลา่ วรฐั บาลจงึ ได้ตรากฎหมายเพื่อคุ้มครองเกษตรกรให้มีความมั่นคงในการเช่าที่ดินและให้
ความเปน็ ธรรมท้ังแกผ่ เู้ ชา่ และผู้ให้เช่าโดยกําหนดหลักเกณฑ์ตา่ งๆ ไว้เปน็ พเิ ศษเพื่อบงั เกิดความเปน็ ธรรมแก่ผู้เช่าท่ี
ดีและผใู้ ห้เช่าทีด่ ิน

รัฐบาลสมัยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการออกกฎหมายควบคุม
การเช่านา โดยการประกาศใช้พระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ.2493 กฎหมายมุ่งให้ความคุ้มครองกับ
ผเู้ ชา่ ท่ดี ินซึ่งเป็นเกษตรกรระดับล่าง ซงึ่ ไร้ทด่ี นิ ทาํ กินและตอ้ งการเช่านาในลักษณะแบบพอยังชีพและขายเล็กน้อย
มากกวา่ ที่จะเนน้ ทําธุรกิจการเกษตรขนาดใหญ่ โดยควบคุมการเก็บค่าเช่านามิให้เกินอัตราตามท่ีกฎหมายกําหนด
เฉลย่ี แล้วสูงสุดไม่เกนิ ร้อยละ 25 ของผลผลิต กําหนดเงินเงื่อนไขขนาดของที่ดินในการทําการเกษตร ต้องไม่เกิน
100 ไร่ สําหรับทํานาหว่าน และไม่เกิน 50 ไร่ สําหรับนาดํา ถ้าเกินกว่านั้นจะไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของ
กฎหมายฉบับน้ี กําหนดระยะเวลาการเช่านาให้เป็นไปตามความสมัครใจของผู้เช่า แต่ไม่เกิน 5 ปี โดยกฎหมาย
ฉบบั นเี้ น้นให้ความสาํ คัญกบั ผ้ใู ห้เชา่ โดยกําหนดอัตราค่าเช่าไวใ้ นกฎหมายและห้ามมิให้ผู้ให้เช่าเรียกเก็บเกินอัตรา
ที่กาํ หนด มฉิ ะนั้นจะถกู ลงโทษทางอาญา

เนอ่ื งจากกฎหมายควบคุมการเชา่ นา พ.ศ.2493 มีขอ้ จํากัดเนือ่ งจากกําหนดมาตรการที่เน้นให้ผู้
เช่ามากกว่าเน้นที่การใช้พ้ืนท่ีเกษตรกรรมให้เกิดความเหมาะสมและทําให้เกิดความเท่าเทียมเป็นธรรมระหว่าง
คสู่ ัญญาคือผใู้ ห้เชา่ นากบั ผู้เชา่ นา ขณะเดียวกันการกําหนดอัตราค่าเช่าท่ีตายตัวไม่สอดคล้องกับลักษณะท่ีดินของ
แต่ละภูมิภาค ทําให้การควบคุมค่าเช่านาตามกฎหมายดังกล่าวไม่ค่อยจะมีผลในทางปฏิบัติมากนัก จึงทําให้ต้อง
ยกเลิกไปในท่ีสุด และตราพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ.2517 ข้ึนใช้บังคับแทน โดยเหตุผลเนื่องจาก
สภาพการทํางานมีการเปล่ียนแปลงไป มาตรการท่ีกฎหมายกําหนดไว้นั้นยังไม่เป็นธรรม การกําหนดค่าเช่านา
ขน้ั สงู ทีก่ าํ หนดไวเ้ ปน็ การแน่นอนในกฎหมายยังไม่เหมาะสม สมควรกําหนดตามสภาพของท้องที่และประเภทของ
ข้าวหรือพืชไร่ท่ีเพาะปลูก โดยคํานึงถึงค่าใช้จ่ายในการลงทุนของผู้เช่านาประกอบด้วย โดยสาระสําคัญของ
กฎหมายฉบับน้ีได้มีการจัดต้ังองค์กรควบคุมการเช่านาในระดับจังหวัดและอําเภอ โดยในระดับอําเภอมี
คณะกรรมการการควบคุมการเช่านาประจําอําเภอ ทําหน้าท่ีกําหนดอัตราค่าเช่านาขั้นสูงของพืชหลัก ตาม

๒๔

การจําแนกคุณภาพของทด่ี ินแต่ละท้องทใี่ นเขตอําเภอ รวมท้ังพิจารณาไกล่เกลี่ยข้อพิพาท นอกจากนี้กฎหมายยัง
กําหนดให้มีคณะกรรมการควบคุมการเช่านาประจําตําบลขึ้นตามบทบัญญัติของมาตรา 50 ท่ีกําหนดให้ภายใน
กําหนดสามปีนับแต่วันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ให้จัดตั้งคณะกรรมการควบคุมการเช่านาประจําตําบลข้ึน
ตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง ตําบลใดท่ีจะตั้งคณะกรรมการควบคุมการเช่านาประจําตําบล
ข้ึนแล้วให้อาํ นาจหนา้ ทีข่ องคณะกรรมการควบคุมการเช่านาประจําตําบล โดยมีผู้แทนผู้ให้เช่าและผู้แทนผู้เช่านา
อย่ใู นคณะกรรมการชดุ นี้ คณะกรรมการชดุ นี้มอี ํานาจพิจารณาขอ้ พิพาทเกี่ยวกับค่าเช่านาและข้อพิพาทอ่ืนๆ ด้วย
และได้ปรับปรงุ ระยะเวลาการเชา่ นา จากเดมิ ผ้เู ช่าสามารถแสดงเจตนาการเช่าให้มีกําหนด 5 ปี เป็นการเช่านาให้
มีกาํ หนดระยะเวลาคราวละไม่น้อยกว่า 6 ปี การเช่านารายใดที่ทําไว้โดยไม่มีกําหนดระยะเวลา หรือมีแต่ตํ่ากว่า
6 ปี ใหถ้ ือว่าการเช่านารายน้ันมีกําหนดเวลา 6 ปี กฎหมายการควบคุมค่าเช่านาฉบับนี้ได้บังคับใช้ในระยะเวลา
สั้นๆ เพียง 7 ปี จนกระทั่งในปี พ.ศ.2524 จึงได้มีการยกเลิกและประกาศใช้พระราชบัญญัติการเช่าท่ีดินเพ่ือ
เกษตรกรรม พ.ศ.2524 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาการเช่านาของเกษตรกรให้สมบูรณ์และมี
ประสิทธภิ าพมากยิ่งขน้ึ อีกทงั้ นอกจากเรื่องของการชาวนาแล้ว ยังเป็นการขยายให้สามารถครอบคลุมถึงการเช่า
ท่ีดินเพื่อประกอบเกษตรกรรมอย่างอ่ืนด้วยเมื่อมีความจําเป็น เช่น ทําไร่ ทําสวน เล้ียงสัตว์ ประมง ทํานาเกลือ
เปน็ ตน้ นอกเหนือจากเหตผุ ลดงั กล่าว ในการตราพระราชบญั ญัตกิ ารเช่าท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ.2524 ข้างต้น
แล้ว อีกเหตุผลหนึ่งที่เก่ียวข้องคือเนื่องจากการเช่าที่ดินของเกษตรกรในประเทศไทยน้ันเป็นลักษณะของ
เกษตรกรรมชั่วคราวและไม่ม่ันคงเพราะเมื่อครบกําหนดระยะเวลาเช่าแล้ว เกษตรกรไม่สามารถท่ีจะรู้ได้ว่าจะได้
เช่าที่ดินในแปลงเดิมอยู่หรือไม่ ซึ่งเป็นเหตุผลให้เกษตรกรผู้เช่าท่ีดินขาดความมั่นใจในการประกอบอาชีพ
เกษตรกรรมในที่ดิน ไม่กล้าลงทุนปรับปรุงคุณภาพดิน หรือพัฒนาเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต ทําให้ผลผลิตตกตํ่า
ไม่มีเงินออม ผู้เช่าส่วนใหญ่ต้องการกู้เงินนอกระบบ ทําให้เป็นหนี้สินเพิ่มขึ้น เป็นวัฏจักรของความยากจนท่ียัง
ปรากฏอยูใ่ นโครงสร้างการเกษตร

ดังนัน้ เจตนารมณ์ของกฎหมายควบคมุ การเช่าที่นาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่มุ่งให้ความคุ้มครอง
กับผูเ้ ชา่ ท่ีนาซง่ึ เป็นเกษตรกรระดับล่าง มกี ารทํานาในพื้นท่ีจาํ นวนไม่มากนกั ถา้ กฎหมายฉบับนี้ได้ขยายกรอบของ
กฎหมายให้รวมถึงการเกษตรกรรมประเภทอน่ื ๆ โดยมไิ ด้มีการจาํ กัดหรือจาํ แนกประเภทของชาวนาหรือเกษตรกร
อีกตอ่ ไป ดังนั้นขอบเขตของกฎหมายการเช่าท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรมฉบับนี้จึงครอบคลุมการเกษตรกรรมท่ีมีความ
หลากหลายมากยิ่งขนึ้ แมว้ ่าในปจั จบุ ันยังไม่มีการประกาศกําหนดประเภทเกษตรกรรมอื่นๆ ท่ีต้องควบคุมการเช่า
ท่ีดนิ เช่นเดยี วกับการเช่านากต็ าม การไม่ได้จําแนกประเภทของชาวนาและกําหนดเกณฑ์ในการถือครองที่ดินท่ีเช่า
จึงทําให้กลุ่มทุนหรือนักธุรกิจที่เช่าที่นาเพื่อทําการเกษตรกรรมขนาดใหญ่ หรือธุรกิจทางการเกษตร ตลอดจน
บุคคลต่างด้าวอาศัยช่องว่างของกฎหมายได้รับประโยชน์จากกฎหมายฉบับน้ีด้วย โดยกฎหมายฉบับนี้ยังคงมีผล
บังคับใชใ้ นปัจจบุ นั

๒๕

พระราชบญั ญัตกิ ารเชา่ ที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ.2524 ได้ใช้บังคับมาเป็นระยะเวลานานกว่า
35 ปี ในขณะที่สภาวการณ์ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีด้านการเกษตร และการใช้ที่ดินเพื่อ
การเกษตรกรรมของประเทศไทย มีการเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จึงทําให้เกิดสภาพปัญหาอุปสรรค
ในการบงั คับใช้กฎหมายการเช่าที่ดนิ เพื่อเกษตรกรรมในหลายประเด็นด้วยกัน ประกอบกับการที่กฎหมายการเช่า
ที่ดนิ เพอ่ื เกษตรกรรมมีกฎเกณฑ์เงื่อนไขที่บังคับเข้มงวดก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรม จึงได้เกิดปัญหาเจ้าของที่ดิน
หลีกเลยี่ งในการทาํ สญั ญาเช่า โดยใช้วิธีการทาํ เปน็ แบบหุ้นส่วน หรือจ้างแรงงาน หรอื จา้ งทําของ และเจ้าของเล่ียง
ท่จี ะปลอ่ ยให้เชา่ แตจ่ ะปล่อยเปน็ พ้นื ทว่ี ่างเปล่าอันนับเป็นการสูญเสียทางเศรษฐกิจและกําลังการผลิตอาหารของ
ประเทศอย่างน่าเสียดาย ในขณะท่ีปัญหาที่เกิดข้ึนต่อเกษตรกรชาวนา คือเกษตรกรชาวนาต้องขาดที่ดินเพื่อเช่า
ทํานา นอกจากนั้น ชาวนาอาจถูกเอาเปรียบในเร่ืองอัตราค่าเช่า เพราะท่ีจ่ายจริงสูงกว่าตามท่ีกฎหมายกําหนด
เปน็ ตน้

จากสภาพปัญหาและอุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมายการเช่าที่ดินเพ่ือเกษตรกรรมดังกล่าว
พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตรี และหัวหน้าคณะรักษาความสะอาดแห่งชาติ (คสช.) จึงได้มอบหมาย
ให้สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกากระทรวงมหาดไทย และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไปร่วมกันพิจารณา
แก้ไขพระราชบัญญัติการเช่าท่ีดินเพ่ือการเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 โดยมีเปูาหมายเพ่ือสร้างความเป็นธรรม
ในการเช่าท่ีดิน ทั้งผู้ให้เช่าและเกษตรกรผู้เช่า ทั้งน้ีเพราะตัวกฎหมายมีเงื่อนไขบังคับเจ้าของท่ีดินและคุ้มครอง
ผู้เช่ามากเกินไป จะทําให้เจ้าของที่ดินตัดสินใจไม่ยอมให้เช่าท่ีดินในท่ีสุด แต่เกษตรกรมีความจําเป็นท่ีต้องขอเช่า
สุดท้ายจงึ กลายเปน็ การเช่าท่ีดนิ กันโดยไม่ทําตามกฎหมาย จึงต้องแก้ไขกฎหมายให้สามารถปฏิบัติได้จริง และดึง
ทุกคนเข้าสู่ระบบ ทําให้เกิดพระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2559 ข้ึน โดยมี
หลักการและเหตุผลว่าพระราชบัญญัติการเช่าทด่ี นิ เพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2524 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานานและมี
บทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการควบคุมการเช่าที่นาท่ีไม่สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
สมควรกําหนดไม่ให้นําพระราชบัญญัตนิ ใ้ี ช้บังคับการเช่าทผี่ เู้ ช่าเปน็ นติ บิ คุ คล ปรับปรุงโครงสร้างและอํานาจหน้าท่ี
ของคณะกรรมการการเช่าท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม และกําหนดระยะเวลาการเช่านาและค่าเช่านา เพ่ือให้เกิด
ความเป็นธรรมแก่ทงั้ ผู้เชา่ และผใู้ ห้เชา่ ตลอดจนการกาํ หนดหา้ มคนต่างด้าวเช่าที่ดินเพ่ือประกอบเกษตรกรรมและ
กาํ หนดหน้าท่ีของนายอําเภอในการสํารวจนาที่ท้ิงว่างไว้โดยไม่ได้ให้เช่าเพื่อให้เกษตรกรสามารถเข้าใช้ประโยชน์
จากทรัพยากรที่มีได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ซ่งึ พระราชบัญญัติการเช่าท่ีดินเพื่อการเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 มี 72
มาตรา ประกอบด้วย 3 หมวด และบทเฉพาะกาล ดงั นี้

หมวด 1 คณะกรรมการการเช่าท่ดี ินเพือ่ เกษตรกรรม
หมวด 2 การเช่านา

ส่วนท่ี 1 ระยะเวลาการเช่าและการบอกเลิกการเช่า
สว่ นท่ี 2 คา่ เช่านา

๒๖

ส่วนท่ี 3 สทิ ธิหน้าที่ของผเู้ ช่านาและผู้ให้เชา่ นา
ส่วนท่ี 4 อทุ ธรณ์ และการบงั คับคดี
สว่ นที่ 5 บทกาํ หนดโทษ
หมวด 3 การเช่าที่ดินเพื่อประกอบอาชีพเกษตรกรรมอยา่ งอื่น
บทเฉพาะกาล
สว่ นพระราชบัญญตั กิ ารเช่าที่ดนิ เพือ่ เกษตรกรรม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2559 ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติบางข้อ
เพื่อให้สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ปัจจบุ ัน และเพมิ่ หมวด 4 บทกําหนดโทษ โดยพระราชบัญญัติน้ีมีผลบังคับใช้วันท่ี
30 เมษายน 2559

ทั้งน้ี สํานักงานบังคับคดีจังหวัดสมุทรสาคร ได้ให้ข้อมูลด้านกฎหมายอ่ืนๆ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อ
เกษตรกร โดยสามารถศึกษาไดจ้ ากคิวอารโ์ คด้ ตามภาพ

๒๗

3. การถ่ายทอดความรู้หัวข้อ “แนวทางการจัดการขยะภาคการเกษตร” (วิทยากร :
สานกั งานพลังงานจังหวดั สมทุ รสาคร)

จากการจัดประชมุ ระดมความเห็นแบบมีส่วนรว่ มของเกษตรกรและภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง ในพ้ืนท่ี
ตําบลหนองบัว เมื่อวันท่ี 15 ธันวาคม 2564 ทําให้ทราบว่าพ้ืนท่ีตําบลหนองบัว เกษตรกรส่วนใหญ่ประกอบ
อาชีพทําสวนมะพร้าว จึงทําให้ภายในพื้นท่ีตําบลหนองบัวมีขยะจากการทําสวนมะพร้าวอยู่มาก เช่น เปลือก
มะพร้าว งวงมะพร้าว กะลามะพร้าว เป็นต้น ทําให้เกิดปัญหาเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ศัตรูพืช รวมท้ังปัญหา
ด้านส่ิงแวดล้อมที่ส่งผลต่อแหล่งน้ําและทัศนียภาพในชุมชน ไม่มีแหล่งท้ิงที่สามารถรองรับปริมาณขยะภาค
การเกษตรไดเ้ พยี งพอ ดงั น้ัน สาํ นักงานพลังงานจังหวดั สมุทรสาคร จึงเสนอว่าขยะภาคการเกษตรเหล่าน้ีสามารถ
นําไปผลิตเป็นพลังงานทางเลือกได้ จึงได้ติดต่อประสานงานกับภาคเอกชนที่มีความต้องการขยะจากภาค
การเกษตร เหล่านี้ และได้นําข้อมูลจากการ ประสานงานมาช้ีแจง เป็นแนวทางการ จัดการขยะ
ภาคการเกษตรให้แก่เกษตรกรในพ้ืนท่ีตําบลหนองบัว ท้ังนี้ จากกรณีปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้ประกอบการล้ง
มะพร้าวในพื้นท่ีตําบลหนองบัวและตําบลใกล้เคียง ในพื้นที่อําเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร ได้รวมตัวจัดต้ัง
กลุ่ม “ผู้ค้ามะพร้าวน้ําหอมบ้านแพ้ว” โดยขึ้นทะเบียนองค์กรเกษตรกรกับสํานักงานสภาเกษตรกรจังหวัด
สมทุ รสาคร เพือ่ ร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหาต่อไป

๒๘

บทท่ี 4
การประเมินผล
กิจกรรมการขับเคลอ่ื นพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาของเกษตรกร
ตามแผนพฒั นาเกษตรกรรมระดับตาบล

การประเมินผลกิจกรรมการขับเคล่ือนพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาของเกษตรกร ตาม
แผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตําบล ภายใต้โครงการจัดทําแผนพัฒนาอาชีพในระดับตําบล จังหวัดสมุทรสาคร
ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2565 เม่ือวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ท่ีทําการกํานันตําบลหนองบัว อําเภอ
บา้ นแพ้ว จงั หวดั สมทุ รสาคร มรี ายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปนี้

1. วัตถุประสงค์ของการประเมิน
1.1 ขอ้ มูลท่ัวไปของผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม
1.2 ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเก่ียวกับการบรรยายของวิทยากร สถานที่และ

ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม และการบรกิ ารของเจ้าหนา้ ท่ี
1.3 ความรู้ความเขา้ ใจในเนอื้ หาของผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม กอ่ นและหลังการอบรม
1.4 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ในการนําความรู้ท่ีได้รับการถ่ายทอดจากวิทยากร ไปใช้

ประโยชน์ในการประกอบอาชพี เกษตรกรรมของผูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรม

2. ขอบเขตการประเมินผล
การประเมินผลกิจกรรมคร้ังน้ีเป็นการประเมินผลเพ่ือวัดระดับความพึงพอใจเฉพาะของบุคคล

ของผ้ทู ี่เขา้ ร่วมกจิ กรรมการขบั เคลื่อนพฒั นาอาชีพและแกไ้ ขปญั หาของเกษตรกรตามแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับ
ตําบล ภายใตโ้ ครงการจดั ทําแผนพฒั นาอาชพี ในระดับตาํ บล จังหวัดสมทุ รสาคร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2565
เมอ่ื วันที่ 8 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 จากแบบสอบถาม จํานวน 30 ชดุ

3. วิธกี ารประเมินโครงการ
ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมินผล คือ เกษตรกรในพ้ืนท่ีตําบลหนองบัว อําเภอ

บา้ นแพว้ จงั หวัดสมทุ รสาคร ท่เี ขา้ รว่ มกิจกรรม จํานวน 30 คน

4. การเก็บรวบรวมข้อมลู
การจัดกิจกรรมการขับเคล่ือนพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาของเกษตรกรตามแผนพัฒนา

เกษตรกรรมระดับตําบล เม่อื วนั ท่ี 8 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 มขี ั้นตอนการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ดังนี้

๒๙

4.1 ผจู้ ดั กิจกรรมแจง้ เชิญเกษตรกรเปาู หมายเพือ่ เข้าร่วมกิจกรรม โดยขอความร่วมมือจากผู้นํา
ชุมชนตําบลหนองบวั เพอ่ื ให้ได้เกษตรกรกลุ่มเปาู หมายที่ครอบคลมุ

4.2 ผู้จัดกิจกรรมแจกแบบประเมินผลการจัดกิจกรรมการขับเคล่ือนพัฒนาอาชีพและแก้ไข
ปัญหาของเกษตรกรตามแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตําบล ให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม และขอความร่วมมือ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในการตอบแบบประเมินผล เพอ่ื ประเมินความพงึ พอใจ วิทยากร สถานที่/ระยะเวลา การบริการ
ของเจ้าหน้าท่ี ความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม และข้อคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม โดยให้กรอกแบบ
ประเมนิ ผลและส่งใหผ้ ้จู ัดกจิ กรรมเมอ่ื การจดั กจิ กรรมเสรจ็ ส้ิน

5. เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการประเมนิ ผล
เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการประเมินผลกิจกรรม คือ แบบสอบถาม จาํ นวน 1 ชุด ประกอบดว้ ยคําถาม

4 สว่ นดังน้ี
สว่ นที่ 1 ข้อมูลท่ัวไป เช่น เพศ อายุ ระดบั การศึกษา
ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เช่น ด้านวิทยากร ด้านสถานท่ี/

ระยะเวลา และดา้ นการบริการ
ส่วนที่ 3 ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาท่ีวิทยากรถ่ายทอดของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ก่อน

และหลงั การอบรม
ส่วนท่ี 4 ข้อคิดเห็นเก่ียวกบั กจิ กรรม

6. การวิเคราะห์ขอ้ มลู
การวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามท่ีมีความครบถ้วนสมบูรณ์มาทําการวิเคราะห์ข้อมูล

เพือ่ หาคา่ เฉล่ีย ค่าร้อยละ ซึง่ กาํ หนดเกณฑ์ในการประเมินไว้ ดังนี้
เกณฑก์ ารประเมินในการให้คะแนน ระดบั ความคิดเหน็ แบง่ เปน็ 5 ระดบั ประกอบด้วย

คา่ คะแนนระดบั ความคิดเหน็ ความหมาย
1 มีความพึงพอใจนอ้ ยทสี่ ดุ
2
3 มคี วามพงึ พอใจน้อย
4 มีความพึงพอใจปานกลาง
5
มีความพึงพอใจมาก
มคี วามพึงพอใจมากทส่ี ุด

๓๐

7. ผลการประเมิน
จากการประเมินผลกิจกรรมการขับเคล่ือนพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาของเกษตรกรตาม

แผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตําบล ภายใต้โครงการจัดทําแผนพัฒนาอาชีพในระดับตําบล จังหวัดสมุทรสาคร
ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2565 เมื่อวันท่ี 8 กุมภาพันธ์ 2565 จากเกษตรกรเปูาหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม
จํานวนทั้งส้ิน 46 คน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ตอบแบบประเมินผลการจัดกิจกรรม จํานวน 30 ชุด โดยแบ่งแบบ
ประเมินผลการจดั กจิ กรรม ออกเป็น 4 สว่ น ประกอบดว้ ย

สว่ นที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไป ได้แก่ เพศ อายุ และระดบั การศึกษา
1. เพศ

แผนภมู แิ สดงเพศของเกษตรกรผทู้ าแบบประเมิน
30

21

20

10 9

0 เพศหญิง
เพศชาย

ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม ส่วนใหญเ่ ป็นเพศชาย จํานวน 21 คน คิดเป็น 70.00% รองลงมาเปน็ เพศ
หญิง จํานวน 9 คน คดิ เป็น 30.00%

2. อายุ

แผนภมู ิแสดงช่วงอายขุ องเกษตรกรผ้ทู าแบบประเมิน
30

20 15

10 7 5

3

0 41-50 ปี 51-60 ปี 61-70 ปี
20-30 ปี

ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม สว่ นใหญ่อายุ 51-60 ปี จํานวน 15 คน คิดเปน็ 50.00% รองลงมาคือ ช่วง
อายุ 41-50 ปี จํานวน 7 คน คิดเป็น 23.33% ลําดับถัดมาคือ ช่วงอายุ 61-70 ปี จํานวน 5 คน คิดเป็น
16.67% และชว่ งอายุ 20-30 ปี จาํ นวน 3 คน คดิ เปน็ 10.00%

๓๑

3. ระดับการศกึ ษา

แผนภูมิแสดงระดบั การศกึ ษาของเกษตรกรที่ทาแบบประเมนิ
30

20 17

10 8 1 22

0 ปวช. ปวส. ปริญญาตรี
ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษา

ผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา จํานวน 17 คนคิดเป็น 56.67%
รองลงมาจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา จํานวน 8 คน คิดเป็น 26.67% ลําดับถัดมา คือ จบการศึกษาระดับ
ปริญญาตรี ซึ่งมจี ํานวนเทา่ กับผู้จบการศกึ ษาระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชนั้ สูง (ปวส.) คือ จาํ นวน 2 คน คิดเป็น
6.67% และจบการศกึ ษาระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) จํานวน 1 คน คิดเปน็ 3.32%

ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ ด้านวิทยากร ด้านสถานที่/ระยะเวลา
การจดั กิจกรรม และดา้ นการบรกิ าร

1. ด้านวิทยากร
1.1 วิทยากรมีความรู้ ความสามารถ อธิบายเน้ือหาได้ชัดเจน ตรงตาม

วตั ถุประสงคข์ องกจิ กรรม

ระดบั ความพงึ พอใจ

30

25

20 16 10
15
4
10

5

0
มากที่สดุ (5) มาก(4) ปานกลาง(3) น้อย(2) น้อยท่ีสุด(1)

๓๒

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อวิทยากรท่ีมีความรู้ สามารถอธิบายเนื้อหา
ไดช้ ัดเจน ตรงตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรม อยู่ในระดับมากที่สุด จํานวน 16 คน คิดเป็น 53.33% รองลงมา
มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก จาํ นวน 10 คน คิดเป็น 33.33% และลาํ ดบั สุดท้าย มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ
ปานกลาง จํานวน 4 คน คิดเป็น 13.34%

1.2 วทิ ยากรเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เข้าร่วมกจิ กรรม มีสว่ นรว่ มในกจิ กรรม

30 ระดบั ความพงึ พอใจ
25
20 20
15
10 5 มาก (4) 4 น้อย (2) 1
5 ปานกลาง (3) นอ้ ยท่สี ุด (1)
0

มากทีส่ ุด (5)

ผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อวิทยากรท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีส่วน
รว่ มในกิจกรรม อย่ใู นระดับมาก จาํ นวน 20 คน คิดเปน็ 66.67% รองลงมา มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับมากทส่ี ุด
จํานวน 5 คน คิดเป็น 16.67% รองลงมา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง จํานวน 4 คน คิดเป็น
13.33% และลาํ ดับสดุ ทา้ ย มคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดับน้อยที่สดุ จํานวน 1 คน คิดเปน็ 3.33%

1.3 การตอบข้อซักถามของวิทยากรในประเด็นปัญหาตา่ งๆ

30 ระดบั ความพงึ พอใจ

25 22

20 มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) นอ้ ยทีส่ ดุ (1)

15
10 8

5

0
มากทส่ี ดุ (5)

๓๓

ผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม สว่ นใหญม่ ีความพงึ พอใจต่อการตอบข้อซักถามของวิทยากรในประเด็นปัญหา
ตา่ งๆ อยใู่ นระดบั มากทสี่ ุด จาํ นวน 22 คน คดิ เปน็ 73.33% และมีความพงึ พอใจอยู่ในระดับมาก จํานวน 8 คน
คดิ เปน็ 26.67%

2. ด้านสถานที่/ระยะเวลาการจัดกจิ กรรม
2.1 สถานทใี่ นการจัดกจิ กรรมมคี วามเหมาะสม

ระดบั ความพงึ พอใจ

30
25 24

20

15

10 5 1 น้อย (2) น้อยทสี่ ุด (1)
มาก (4) ปานกลาง (3)
5

0
มากทีส่ ดุ (5)

ผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรม ส่วนใหญม่ คี วามพงึ พอใจด้านสถานท่ีในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม อยู่ใน
ระดับมากที่สุด จํานวน 24 คน คิดเป็น 80.00% รองลงมาอยู่ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก จํานวน 5 คน
คดิ เป็น 16.67% และลาํ ดบั สดุ ทา้ ย มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับปานกลาง จาํ นวน 1 คน คดิ เป็น 3.33%

2.2 ความพร้อมของอปุ กรณโ์ สตทัศนูปกรณ์

ระดบั ความพงึ พอใจ

30 14 6 3 1
มาก (4) ปานกลาง (3) นอ้ ย (2) นอ้ ยทสี่ ดุ (1)
25

20

15

10 6
5

0
มากทีส่ ดุ (5)

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อความพร้อมของอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ อยู่ใน
ระดับมาก จํานวน 14 คน คิดเป็น 46.67% รองลงมา มีความพึงพอในอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งเท่ากับระดับ

๓๔

ปานกลาง จํานวน 6 คน คิดเป็น 20.00% รองลงมา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย จํานวน 3 คน คิดเป็น
10.00% และลําดับสดุ ท้าย มคี วามพึงพอใจอย่ใู นระดบั นอ้ ยท่สี ดุ จํานวน 1 คน คดิ เปน็ 3.33%

2.3 ระยะเวลาในการจดั กิจกรรมมคี วามเหมาะสม

ระดบั ความพงึ พอใจ

30

25

20 17
15

10
10
53

0 มาก (4) ปานกลาง (3) นอ้ ย (2) นอ้ ยทสี่ ุด (1)
มากทส่ี ดุ (5)

ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ส่วนใหญม่ คี วามพึงพอใจต่อระยะเวลาในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม อยู่
ในระดับมาก จาํ นวน 17 คน คิดเป็น 56.67% รองลงมา มีความพึงพอในอยู่ในระดับปานกลาง จํานวน 10 คน
คดิ เปน็ 33.33% และลําดับสดุ ท้าย มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับมากท่สี ุด จาํ นวน 3 คน คิดเปน็ 10.00%

3. ดา้ นการบรกิ าร
3.1 การลงทะเบยี นและบรกิ ารของเจา้ หน้าที่

30 ระดับความพงึ พอใจ

25 20

20 มาก (4) 4 นอ้ ย (2) น้อยท่ีสดุ (1)
ปานกลาง (3)
15

10 6
5

0
มากท่สี ุด (5)

๓๕

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการลงทะเบียนและการบริการของเจ้าหน้าท่ี
อยใู่ นระดบั มาก จาํ นวน 20 คน คดิ เป็น 66.67% รองลงมา มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด จํานวน 6 คน
คดิ เปน็ 20.00% และลําดับสดุ ท้าย มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง จาํ นวน 4 คน คดิ เป็น 13.33%

3.2 ความเหมาะสมในการจดั อาหารและเคร่อื งดืม่

ระดบั ความพงึ พอใจ

30

25

20 16
15
4
10
10
5

0 มาก (4) ปานกลาง (3) นอ้ ย (2) น้อยท่ีสุด (1)
มากทส่ี ุด (5)

ผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรม ส่วนใหญม่ คี วามพึงพอใจตอ่ ความเหมาะสมในการจัดอาหารและเครื่องด่ืม อยู่
ในระดบั มาก จํานวน 16 คน คิดเป็น 53.33% รองลงมา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด จํานวน 10 คน
คิดเป็น 33.3% และลาํ ดับสดุ ท้าย มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง จาํ นวน 4 คน คิดเปน็ 13.34%

ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อภาพรวมของการจัดกิจกรรม

ระดบั ความพงึ พอใจ

30

25

20

15 12 10 8
10

5

0 มาก (4) ปานกลาง (3) นอ้ ย (2) นอ้ ยท่ีสุด (1)
มากทสี่ ุด (5)

ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อภาพรวมของการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับมากท่ีสุด

จํานวน 12 คน คดิ เปน็ 40.00% รองลงมา อย่ใู นระดับมาก จาํ นวน 10 คน คิดเป็น 33.33% และลําดับสุดท้าย

อยู่ในระดับปานกลาง จาํ นวน 8 คน คดิ เป็น 26.67%

๓๖

ส่วนท่ี 3 ความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าร่วมกจิ กรรม
1. ความรูค้ วามเข้าใจเก่ียวกบั การสรา้ งมาตรฐานสินคา้ เกษตร

30

25

20 16 15 10 ความเขา้ ใจก่อนรว่ มกิจกรรม
15 5 ความเขา้ ใจหลังรว่ มกิจกรรม
10 9
5 5

0
มากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) นอ้ ย (2) น้อยที่สดุ (1)

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการสร้างมาตรฐานสินค้าเกษตร
ก่อน เข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในระดับปานกลาง จํานวน 15 คน คิดเป็น 50.00% รองลงมา อยู่ในระดับน้อย
จาํ นวน 10 คน คิดเป็น 33.33% และลาํ ดบั สุดทา้ ย อยู่ในระดับนอ้ ยท่สี ดุ จํานวน 5 คน คิดเป็น 16.67% ทั้งน้ี
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างมาตรฐานสินค้าเกษตร หลัง เข้าร่วม
กิจกรรม อยู่ในระดับมาก จํานวน 16 คน คิดเป็น 53.33% รองลงมา อยู่ในระดับมากที่สุด จํานวน 9 คน คิด
เปน็ 30.00% และลําดับสดุ ทา้ ย อย่ใู นระดบั ปานกลาง จํานวน 5 คน คดิ เปน็ 16.67%

2. ความร้คู วามเขา้ ใจเกี่ยวกับกฎหมายและความรทู้ ีเ่ กยี่ วข้องในการทําสญั ญาเช่าที่ดิน
เพอ่ื ประกอบอาชพี เกษตรกรรม

30

25 ความเข้าใจกอ่ นร่วมกจิ กรรม
ความเขา้ ใจหลังร่วมกิจกรรม
20
20

16
15

10 8
54 6

4
2

0
มากท่สี ดุ (5) มาก (4) ปานกลาง (3) นอ้ ย (2) น้อยทสี่ ดุ (1)

๓๗

ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม สว่ นใหญ่มีระดบั ความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับกฎหมายและความรู้ที่เกี่ยวข้องใน
การทําสัญญาเช่าท่ีดินเพ่ือประกอบอาชีพเกษตรกรรม ก่อน เข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในระดับน้อย จํานวน 20 คน
คดิ เป็น 66.67% รองลงมา อยู่ในระดบั น้อยท่ีสุด จาํ นวน 6 คน คิดเปน็ 20.00% และลาํ ดับสุดท้าย อยู่ในระดับ
ปานกลาง จํานวน 4 คน คิดเป็น 13.33% ทั้งนี้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ
กฎหมายและความรู้ท่ีเกี่ยวข้องในการทําสัญญาเช่าท่ีดินเพื่อประกอบอาชีพเกษตรกรรม หลัง เข้าร่วมกิจกรรม
อยู่ในระดับมาก จํานวน 16 คน คิดเป็น 53.33% รองลงมา อยู่ในระดับปานกลาง จํานวน 8 คน คิดเป็น
26.67% อยู่ในระดับมากที่สุด จํานวน 4 คน คิดเป็น 13.33% และลําดับสุดท้าย อยู่ในระดับน้อย จํานวน
2 คน คิดเปน็ 6.67%

3. ความร้คู วามเข้าใจเกี่ยวกบั แนวทางการจดั การขยะภาคการเกษตร

30
25

25

20 19

15 ความเขา้ ใจกอ่ นร่วมกจิ กรรม
ความเขา้ ใจหลังร่วมกจิ กรรม
10
5 7
4
5

0 มาก (4) ปานกลาง (3) นอ้ ย (2) น้อยท่สี ุด (1)
มากท่ีสดุ (5)

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการจัดการขยะภาค
การเกษตร กอ่ น เข้ารว่ มกจิ กรรม อยใู่ นระดับปานกลาง จาํ นวน 19 คน คิดเป็น 63.33% รองลงมา อยู่ในระดับ
น้อย จํานวน 7 คน คิดเป็น 23.33% และลําดับสุดท้าย อยู่ในระดับน้อยที่สุด จํานวน 4 คน คิดเป็น 13.34%
ท้งั น้ี ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม ส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับแนวทางการจัดการขยะภาคการเกษตร หลัง
เข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในระดับมาก จํานวน 25 คน คิดเป็น 83.33% และลําดับสุดท้าย อยู่ในระดับมากท่ีสุด
จาํ นวน 5 คน คดิ เป็น 16.67%

๓๘

ส่วนที่ 4 ข้อคดิ เห็นเกี่ยวกบั กจิ กรรม
การนาํ ความร้ทู ีไ่ ดร้ บั การถ่ายทอดจากวิทยากรไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ของผ้เู ข้าร่วมกิจกรรม

30

25

20 18
15

10 8 4
5

0 มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) นอ้ ยท่สี ุด (1)
มากที่สดุ (5)

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ส่วนใหญ่คาดว่าองค์ความรู้ท่ีได้รับการถ่ายทอดจากวิทยากรในกิจกรรม
การขับเคล่ือนพัฒนาอาชพี และแกไ้ ขปญั หาของเกษตรกรตามแผนพฒั นาเกษตรกรรมระดับตําบล ภายใต้โครงการ
จัดทาํ แผนพัฒนาอาชพี ในระดบั ตาํ บล จงั หวัดสมทุ รสาคร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จะเป็นประโยชน์และ
สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพของผู้เข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในระดับมาก จํานวน 18 คน คิดเป็น
60.00% รองลงมา อยู่ในระดับมากที่สุด จํานวน 8 คน คิดเป็น 26.67% และลําดับสุดท้าย อยู่ในระดับ

ปานกลาง จํานวน 4 คน คิดเปน็ 13.33%

๓๙

ภาพกิจกรรม

ประมวลภาพกิจกรรมการขบั เคล่อื นพัฒนาอาชพี และแก้ไขปญั หาของเกษตรกร

ตามแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตาบล

ลงทะเบียนชแ้ี จงท่ีมาและความสาคัญ วัตถุประสงค์ ของการจดั กจิ กรรม
การขบั เคล่อื นพฒั นาอาชพี และแก้ไขปญั หาของเกษตรกรตามแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตาบล

๔๐

ประมวลภาพกิจกรรมการขับเคลอื่ นพฒั นาอาชพี และแก้ไขปัญหาของเกษตรกร
ตามแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตาบล

การบรรยายถ่ายทอดความรู้ หัวข้อ “การสร้างมาตรฐานสนิ คา้ เกษตร”
โดย วทิ ยากรจากศูนยว์ ิจัยและพฒั นาการเกษตรราชบุรี

๔๑

ประมวลภาพกจิ กรรมการขับเคล่ือนพัฒนาอาชพี และแกไ้ ขปญั หาของเกษตรกร
ตามแผนพฒั นาเกษตรกรรมระดบั ตาบล

การถ่ายทอดความร้หู ัวขอ้
“กฎหมายและความรู้ที่เกี่ยวขอ้ งในการทาสญั ญาเช่าทีด่ นิ เพอ่ื ประกอบอาชีพเกษตรกรรม”

โดย วทิ ยากรจากสานักงานบงั คบั คดจี ังหวัดสมุทรสาคร

๔๒

ประมวลภาพกิจกรรมการขบั เคลอ่ื นพฒั นาอาชพี และแกไ้ ขปญั หาของเกษตรกร
ตามแผนพฒั นาเกษตรกรรมระดับตาบล

การถา่ ยทอดความรู้หัวข้อ “แนวทางการจดั การขยะภาคการเกษตร”
โดย วิทยาการจากสานกั งานพลังงานจงั หวดั สมุทรสาคร

ภาคผนวก








Click to View FlipBook Version