The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

082 ภัทรชนก 088 วไลณัฐ 090 ศศินา (แหล่งการเรียนรู้)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khatwiang, 2022-03-24 06:58:10

082 ภัทรชนก 088 วไลณัฐ 090 ศศินา (แหล่งการเรียนรู้)

082 ภัทรชนก 088 วไลณัฐ 090 ศศินา (แหล่งการเรียนรู้)

แหล่งทรัพยากร
การเรียนรู้

แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้
ประเภททรัพยากรบุคคล

ข้อมูลทั่วไป รศ.กุลวรา ชูพงศ์ไพโรจน์ หรือ ป้ากุล ข้าราชการบำนาญจากภาควิชาวรรณกรรมสำหรับเด็ก คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยการทำงานของท่านที่ผ่านมา สามารถสรุปได้ดังนี้

เป็นบรรณารักษ์วิชาชีพของสถานศึกษา เป็นครูสอนภาษาไทย ชื่นชอบวิชาภาษาไทย นักเขียนนิทานสําหรับเด็กที่มีผลงานกว่า 50
ระดับมหาวิทยาลัยผู้เสียสละอุทิศตนและ ชื่นชอบสร้างสื่อการสอนภาษาไทย ชอบ เรื่อง เช่น ทำไม ช.ช้าง จมูกยาว, เป็ดน้อยมี
ทุนทรัพย์ส่วนตัวพัฒนาห้องสมุด และ สอนวิชาภาษาไทย โดยเน้นการสอนภาษา น้ำใจ, พ่อปลาผู้กล้าหาญ, เป็นต้น เพื่อเป็น
ส่งเสริมการรู้หนังสือต่อเนื่องกว่า 38 ปี ไทยอย่างไรให้สนุก และชอบสอนการ เครื่องมือช่วยส่งเสริมให้ผู้ปกครองใช้
ผ่านกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพื่อพัฒนา ทำสื่อภาษาไทย นิทานเพื่อปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน
ศักยภาพเด็กและเยาวชนให้รักการอ่าน มีสมาธิ สติปัญญา ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของ
ผ่านโรงเรียนไทยรัฐ-วิทยากว่า 101 แห่ง เป็นนักเล่านิทานผ่านสื่อทั้งวิทยุโทรทัศน์ การเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไป
ควบคู่กับการจัดทําห้องสมุดพุทธศาสนา
อาทิ ห้องสมุดสวนโมกขพลาราม และ
โรงเรียนพระปริยัติธรรม 84 แห่ง


- นิทานส่วนใหญ่จะมุ่งที่การสั่งสอน และมีกุศโลบายที่แยบยล เช่น เรื่องของหมาป่าตัวร้ายชอบรังแก แต่ถ้าเป็นคนดี
องค์ความรู้ที่ได้จาก หมาป่าก็ทำอะไรไม่ได้ ซึ่งทำให้เด็กได้เรียนรู้ที่จะทำแต่ความดี และช่วยในเรื่องของภาษาให้กับเด็ก ทำให้เด็กได้เรียนรู้
คำศัพท์ต่าง ๆ ที่กว้างขวางมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยสานสัมพันธ์ที่ดีให้กับครอบครัวอีกด้วย
แหล่งการเรียนรู้ - ในการจัดการเรียนการสอนสามารถเพิ่มกิจกรรมอ่านไปพับไปให้เด็กได้ทำ เพื่อกระตุ้นความสนใจของเด็ก ทำให้
เด็กมีสมาธิจดจ่ออยู่กับงานมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยพัฒนากล้ามเนื้อมือของเด็กได้
- การเล่านิทานควรเพิ่มน้ำเสียงให้เข้ากับตัวละคร และเนื้อเรื่อง โดยดัดเสียงให้เข้ากับอารมณ์ของตัวละคร รวมไปถึง
สีหน้า ท่าทาง เพื่อให้เด็กรับรู้ถึงเรื่องราวในนิทานมากขึ้น อีกทั้งยังควรให้เด็กมีการโต้ตอบระหว่างการเล่านิทานด้วย
- ในปัจจุบันเด็กจะเป็นโรคสมาธิสั้นกันมาก เพราะเกิดจากการไม่ได้ฝึกสมาธิ และสื่อในปัจจุบันมีลักษณะเร็ว เร่ง เร้า
ทำให้สมาธิหลุดได้ง่าย ซึ่งการอ่านหนังสือสามารถช่วยฝึกสมาธิได้ และยังช่วยลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กที่เกิด
จากการเลียนแบบสื่อเทคโนโลยี เช่น อินเทอร์เน็ต ฯลฯ อีกด้วย
- สื่อการสอนเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้เด็กเกิดความสนุกสนานในการเรียนรู้ และช่วยให้เข้าใจเนื้อหาเพิ่มมากยิ่งขึ้น
เพราะสามารถจับต้องได้ และเห็นภาพได้ชัดเจนมากขึ้น

รศ. กุลวรา ชูพงศ์ไพโรจน์ (ป้ากุล)

๐ ความเชื่อมโยงกับสาขาวิชาเอก

จากการเรียนเอกการประถมศึกษาจะได้เรียนรู้พัฒนาการของ
เด็กแต่ละวัย และได้เรียนรู้ว่าธรรมชาติของเด็กประถมศึกษาคือการชอบเรียนรู้
ชอบเล่น ชอบการแข่งขัน ชอบความสนุกสนาน และชอบทำกิจกรรมที่มีการ
เคลื่อนไหวร่างกายมากกว่าการนั่งฟังครูสอนเพียงอย่างเดียว ซึ่ง
รศ. กุลวรา ชูพงศ์ไพโรจน์ (ป้ากุล) เป็นบุคคลที่รักในการสอน และเข้าใจ
ธรรมชาติของเด็กได้เป็นอย่างดี จึงได้สร้างสรรค์นิทานที่ช่วยส่งเสริมการ
เรียนรู้ให้กับเด็ก เช่น
- ด้านสติปัญญา ที่ช่วยให้เด็กได้เรียนรู้ภาษา คำศัพท์ และเพิ่มสมาธิ
- ด้านร่างกาย ในการทำกิจกรรมพับกระดาษตามนิทานจะช่วยเสริมสร้าง
กล้ามเนื้อมัดเล็ก

และมีการเสนอแนวคิดการสร้างสรรค์สื่อการเรียนรู้ การคิดกิจกรรม
ต่าง ๆ ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนในอนาคตได้

แหล่งอ้างอิง
แนวหน้า. (2558). เสาร์สร้างสุข เปิดโลกจินตนาการ ฟังนิทานกับป้ากุล. สืบค้นเมื่อ 23 มีนาคม 2565, จาก https://www.naewna.com/lady/160334
แพง ชินพงศ์. (2550). พลังแห่งการเล่านิทาน. สืบค้นเมื่อ 23 มีนาคม 2565, จาก https://mgronline.com/qol/detail/9500000111523

แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ “น้ำตกภูซางและแหล่งเรียนรู้เต่าปูลู บ้านฮวก”
ประเภททรัพยากรธรรมชาติ อุทยานแห่งชาติภูซาง

แหล่งเรียนรู้น้ำตกภูซางและแหล่งเรียนรู้เต่าปูลู บ้านฮวก เป็นสถาน ความ
ที่ที่ให้ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์แก่นักเรียนได้ นักเรียนสามารถ เชื่อม
เรียนรู้เกี่ยวกับพืชพันธุ์หายาก ลักษณะป่าไม้ที่แตกต่างกัน ได้แก่ ป่า โยง
กับ
พรุและป่าดิบแล้ง ศึกษาต้นกำเนิดน้ำตกอุ่นที่มีเพียงที่เดียวใน วิชา
ประเทศไทย รวมทั้งเต่าปูลูที่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ใกล้สูญพันธุ์ โดย เอก
ตามธรรมชาติแล้วนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาจะเรียนรู้ได้ดีหาก
ได้ลงมือกระทำ และสัมผัสกับของจริง แหล่งเรียนรู้น้ำตกภูซางและ
แหล่งเรียนรู้เต่าปูลู บ้านฮวกมีเส้นทางธรรมชาติที่เหมาะกับการให้
นักเรียนได้เดินสำรวจและศึกษาธรรมชาติ เชื่อมโยงเข้ากับเนื้อหา

วิชาวิทยาศาสตร์ รวมทั้งปลูกฝังเจตคติที่ดีด้านการอนุรักษ์และ
หวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามปกติแล้วมี

โรงเรียนต่างๆนำนักเรียนมาทัศนศึกษาเป็นจำนวนมาก ทาง
อุทยานแห่งชาติภูซางมีสถานที่ให้ความรู้และทีมเจ้าหน้าที่คอยให้
คำแนะนำและดูแลความปลอดภัยของนักเรียน แหล่งเรียนรู้นี้จึง

เหมาะอย่างยิ่งที่จะนำนักเรียนมาศึกษาเรียนรู้

น้ำตกภูซาง

ข้อมูลทั่วไป องค์ความรู้ที่ได้จากแหล่งเรียนรู้

น้ำตกภูซาง เป็นน้ำตกหินปูน มีเส้นทางศึกษาธรรมชาติน้ำตกภูซาง ตั้งอยู่
ขนาดเล็กมีน้ำไหลสม่ำเสมอตลอดปี สูง เหนือน้ำตกภูซาง มีระยะทางในการเดินศึกษาประมาณ 900 เมตร เปิดให้เดินศึกษา
ประมาณ 25 เมตร จุดเด่นของน้ำตกภูซางอยู่ ระหว่างเวลา 08.00 - 17.00 น. มีการเก็บค่าเข้าชม โดยเก็บผู้ใหญ่คนละ 20 บาท เด็ก 10
ตรงที่เป็นกระแสน้ำอุ่น อุณหภูมิประมาณ 35 บาท สำหรับชาวต่างชาติคนละ 50 บาทตามเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติแห่งนี้จะได้
องศาเซลเซียส น้ำใส ไม่มีกลิ่นของกำมะถัน เพลิดเพลินไปกับป่าไม้ซึ่งเป็นเป็นป่าดิบแล้งและป่าพรุที่มีความสมบูรณ์มาก
สามารถอาบน้ำ เล่นน้ำ อย่างสบายในช่วงฤดู นอกจากเดินชมป่าแล้วตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติจะมีจุดต่าง ๆ ที่น่าสนใจหลาย
หนาว น้ำตกภูซางตั้งอยู่ที่ ตำบลภูซาง อำเภอภู จุด โดยแต่ละจุดจะมีป้ายให้ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของน้ำตกภูซาง เช่น ผึ้งหลวง
ซาง จังหวัดพะเยา อยู่ห่างจากที่ทำการอุทยาน สองป่าใหญ่ในเส้นทาง ป่าดิบแล้ง บ่อซับน้ำอุ่น เป็นต้น
แห่งชาติภูซาง ประมาณ 200 เมตร ในสมัย
อดีตกาลไม่ปรากฏหลักฐาน มีตำนานเล่าสืบต่อ แหล่งเรียนรู้เต่าปูลู บ้านฮวก
กันมาว่า มีปู่กับย่าเป็นนักแสวงบุญได้มาปฏิบัติ
ธรรมอยู่บนภูเขาลูกหนึ่งและได้ก่อสร้างพระ
ธาตุขึ้น ก่อนตายชาวบ้านละแวกนั้นเรียกว่า พระ
ธาตุปู่สร้าง และเพี้ยนมาเป็นภูซาง ถือเป็นที่มา
ของชื่ออำเภอและชื่อน้ำตก

ข้อมูลทั่วไป

เป็นแหล่งเรียนรู้การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ส่งเสริมการปลูกฝังการรัก
และหวงแหนเต่าปูลูและเต่าอื่นๆ อยู่เหนือขึ้นไปจากอุทยานแห่งชาติภูซาง ประมาณ 1
กิโลเมตร

องค์ความรู้ที่ได้จากแหล่งเรียนรู้

ได้ศึกษาเรียนรู้และปลูกฝังการอนุรักษ์เต่าปูลู
ซึ่ง “เต่าปูลู” ได้รับการประกาศให้เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ประเภทที่ 1 โดยมีลักษณะทั่วไป
เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่ค่อนข้างแปลก กล่าวคือ มันจะมีหางยาว และส่วนหัวมีขนาดใหญ่
ด้านบนมีแผ่นแข็งปกคลุม ปากงุ้มคล้ายตะขอ มีกามใหญ่ และแข็งแรง กระดองมีขนาด
เล็ก จึงไม่สามารถหดหัว และคอเข้าในกระดองได้ ส่วนหางมีความยาวมากกว่ากระดอง มี
ลักษณะเป็นข้อปล้อง รูปสี่เหลี่ยมเรียงต่อกัน

แหล่งอ้างอิง สำนักอุทยานแห่งชาติ. (2565). น้ำตกภูซาง - อุทยานแห่งชาติภูซาง. สืบค้นเมื่อ 23 มีนาคม 2565, จาก http://portal.dnp.go.th/Content/nationalpark?contentId=3362
สำนักอุทยานแห่งชาติ. (2565). แหล่งเรียนรู้เต่าปูลู บ้านฮวก - อุทยานแห่งชาติภูซาง. สืบค้นเมื่อ 23 มีนาคม 2565, จาก http://portal.dnp.go.th/Content/nationalpark?
contentId=3364

แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ประเภทสื่อ

กลองสะบัดชัย
ศิลปะการแสดงล้านนา

ความเชื่อมโยงกับสาขาวิชาเอก ข้อมูลทั่วไป

ในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาที่ต้อง การตีกลองสะบัดชัย เป็นศิลปะการ
บูรณาการให้เชื่อมโยงกับท้องถิ่น เพื่อให้เด็กชั้น แสดงพื้นบ้านในล้านนาซึ่งมักจะพบเห็นใน
ประถมศึกษาได้เรียนรู้ภูมิปัญญาของท้องถิ่น เห็น ขบวนแห่หรืองานแสดงศิลปะพื้นบ้านโดย
ความสำคัญ ทำให้เกิดการอนุรักษ์และหวงแหน จึง ทั่วไป ลีลาในการตีกลองมีลักษณะโลดโผน
ได้นำเอาศิลปะพื้นบ้านของคนล้านนา เรื่อง การตี เร้าใจ โดยใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
กลองสะบัดชัย มาให้นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้ เช่น ศอก เข่า ศีรษะ ประกอบในการตีด้วย
เนื่องจากเป็นศิลปะพื้นบ้านที่สำคัญ และเป็นจุด ด้วยเหตุนี้จึงทำให้การแสดงตีกลองสะบัดชัย
เริ่มต้นของการเปิดงานพิธีการต่าง ๆ ในปัจจุบัน เป็นที่ประทับใจของผู้ที่ได้ชม จนเป็นที่นิยม
อีกทั้งในการเรียนรู้เรื่องการตีกลองสะบัดชัย เด็ก กันอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน และนับว่าการตี
ชั้นประถมศึกษาสามารถฝึกปฏิบัติได้โดยง่าย กลองสะบัดชัยเป็นศิลปะที่นำชื่อเสียงทาง
เพราะไม่ทำให้เกิดอันตราย และไม่ซับซ้อน การตี ด้านวัฒนธรรมมาสู่ล้านนาได้ไม่น้อย
กลองสะบัดชัยจึงถือเป็นแหล่งการเรียนรู้หนึ่งที่
สามารถให้เด็กศึกษาเรียนรู้ได้ ประวัติของกลองสะบัดชัย

ในสมัยก่อนนั้นมีกลองชนิด ใช้ตีในการออกศึก ตีเรียกฝนฟ้าให้ตกต้อง
ตามฤดูกาล หรือประกอบพิธีกรรมต่างๆ มีทำนองอยู่หลายทำนอง แล้วแต่ใช้
ประกอบในงานหรือพิธี เช่น ทำนองออกศึก เป็นทำนองที่ใช้ตีเมื่อจะไปออกศึก
เพื่อให้นักรบมีความฮึกเหิม เป็นการปลุกขวัญกำลังใจให้แก่นักรบ ใช้ประกอบ
พิธีกรรมทางศาสนา ทำนองฝนแสนห่า ใช้ตีเรียกฟ้าฝนให้ตกต้องตามฤดูกาล

ปัจจุบันศิลปะการตีกลองสะบัดชัย เป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่ได้นำชื่อเสียงทาง
ด้านวัฒนธรรมพื้นบ้านสู่ล้านนา และบทบาทของกลองสะบัดชัย จึงอยู่ในฐานะการ
แสดงในวัฒนธรรมล้านนาต่างๆ เช่น งานขันโตก งานพิธีต้อนรับแขกเมือง ขบวน
แห่ แต่โอกาสใช้กลองสะบัดชัยแต่เดิมมาถึงปัจจุบันยังมีอีกหลายประการ

องค์ความรู้ที่ได้จากแหล่งการเรียนรู้

ได้ศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับศิลปะการตีกลองสะบัดชัย ซึ่งถือเป็นศิลปะ
วัฒนาธรรมของชาวล้านนา โดยการสืบสานถ่ายทอดความรู้เรื่องการตีกลองสะบัด
ชัย จะส่งผลให้กลองสะบัดชัยถูกประยุกต์ให้เข้าไปมีบทบาทในกิจกรรมต่าง ๆ ทั้ง
ในระดับชาติและนานาชาติ ทั้งในรูปแบบการแสดงในพิธีเปิด การใช้เป็นสัญลักษณ์
ในการให้อาณัติสัญญาณในกิจกรรมที่เป็นมงคล รวมถึงถูกสร้างสรรค์ให้เป็นการ
แสดงสำคัญของชาวล้านนา

ดังนั้นควรมีการศึกษาและเรียนรู้วัฒนธรรมกลองสะบัดชัยไว้ เพื่อเป็นการ
รักษาและอนุรักษ์ ซึ่งถือเป็นวิธีการหนึ่งในการอนุรักษ์ไว้ซึ่งศิลปะการตีกลองสะบัด
ชัย เพื่อให้เยาวชนได้ศึกษาถึงความดั้งเดิมของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
ปัจจุบัน

แหล่งอ้างอิง

พระนคร ปญฺญาวชิโร (ปรังฤทธิ์). (2555). กลองสะบัดชัย : ศิลปะการแสดงล้านนา. สืบค้นเมื่อ 23 มีนาคม 2565, จาก https://cm.mcu.ac.th/images/upload/file/book_5.pdf
เชียงใหม่นิวส์. (2563). กลองสะบัดชัย มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมศิลปะการแสดง พ่อครูมงคล เสียงชารี. สืบค้นเมื่อ 23 มีนาคม 2565, จาก https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/1444918/

ปรแะหเภล่ทงทวัตรัพถุแยลากะอรากคาารรเรสียถนานรู้ที่

พิพิธภัณฑ์ศูนย์ถ่านหินลิกไนต์ศึกษา (เหมืองแม่เมาะ)ฯ

ข้อมูลทั่วไป

พิพิธภัณฑ์ศูนย์ถ่านหินลิกไนต์ศึกษา (เหมืองแม่เมาะ) เฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ตระหนักถึงความ
สําคัญของพลังงานจากถ่านหินและความสําคัญของโรงไฟฟ้าแม่เมาะที่มี

ต่อความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ เข้าใจถึงกระบวนการผลิต
กระแสไฟฟ้า กฟผ. แม่เมาะและมาตรการในการลดผลกระทบต่อสิ่ง
แวดล้อม และชุมชนอย่างใส่ใจ เปิดทำการวันอังคาร – วันอาทิตย์ เวลา

09:00 - 16:00 น. หยุดวันจันทร์ ตั้งอยู่เลขที่ 801 หมู่ 6 ต.แม่เมาะ
อ.แม่เมาะ จ.ลำปาง 52220 บริเวณเหมืองถ่านหินลิกไนต์ อ.แม่เมาะ
จ.ลำปาง ซึ่งเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติถ่านหินขนาดใหญ่ที่มีความ
สำคัญในการขับเคลื่อนพลังงาน โดยนํามาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้าแจก
จ่ายให้สู่ประชาชน ทั้งยังให้ความสําคัญต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน โดยมี
มาตราการต่างๆ เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงการดูแลและ

พัฒนาชุมชน เพื่อสามารถอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืน

ความเชื่อมโยงกับสาขาวิชาเอก



จากหลักสูตรการเรียนรู้แกนกลางขั้นพื้นฐานรายวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา จะมี
การเรียนรู้ในเรื่องของหิน พลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน การผลิตกระแสไฟฟ้า ฯลฯ ซึ่งพิพิธภัณฑ์ศูนย์

ถ่านหินลิกไนต์ศึกษา (เหมืองแม่เมาะ) ฯ เป็นสถานที่ที่รวบรวมความรู้ที่ได้กล่าวไปข้างต้นได้เป็นอย่างดี
เนื่องจากมีการให้รายละเอียดข้อมูล และมีแบบจำลองต่าง ๆ เพื่อแสดงให้เด็กได้เห็นภาพอย่างชัดเจน อีกทั้ง
ยังมีการให้ความรู้ผ่านการ์ตูนแอนนิเมชัน ซึ่งเป็นสิ่งที่เด็กประถมศึกษาชื่นชอบ และดึงดูดความสนใจของ
เด็กได้เป็นอย่างดี แหล่งการเรียนรู้นี้จึงเหมาะแก่การพาเด็กไปทัศนศึกษาเพื่อศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจาก

ห้องเรียนอย่างสนุกสนาน และเพิ่มพูนประสบการณ์ให้แก่เด็กได้

แหล่งอ้างอิง EGAT LEARNING CENTER. (2565). พิพิธภัณฑ์ศูนย์ถ่านหินลิกไนต์ศึกษา (เหมืองแม่เมาะ)ฯ. สืบค้นเมื่อ 23 มีนาคม 2565, จาก https://www.egat.co.th/learningcenter/maemohmine/
MUSEUM THAILAND. (2562). พิพิธภัณฑ์ศูนย์ถ่านหินลิกไนต์ศึกษา (เหมืองแม่เมาะ). สืบค้นเมื่อ 23 มีนาคม 2565, จาก https://www.museumthailand.com/th/museum/Mae-Moh-Mine-Museum

องค์ความรู้ที่ได้จากแหล่งเรียนรู้

ภายในอาคารนิทรรศการ แบ่งออกเป็น 7 โซน อีกทั้งยังมีส่วนของห้องฉายภาพยนต์ 4 มิติ และนิทรรศการกลางแจ้ง โดยมีรายละเอียด ดังนี้

นิทรรศการชั่วคราวและนิทรรศการ จักรวาล โลก และถ่านหิน จากผืนน้ำและแผ่นดิน
เฉลิมพระเกียรติ พระราชประวัติ กำเนิดจักรวาลจากเหตุการระเบิดครั้งใหญ่ สู่ แอ่งแม่เมาะ จ.ลำปาง เป็นแหล่งถ่านหิน
การรวมตัวกันของมวลสารและพลังงานมหาศาล ลิกไนต์ที่สำคัญของประเทศไทย ฟอสซิลสิ่งมีชีวิต
พระราชประวัติ และพระราชกรณียกิจที่สำคัญใน กลายเป็นดวงดาว กาแล็กซี และ “โลก” ของเรา ดึกดำบรรพ์หลากหลายชนิด เป็นหลักฐานสำคัญใน
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวด้าน ความเปลี่ยนแปลงกว่าหลายพันล้านปีจนเหมาะ การศึกษาความเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาของ
สมต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตหลากหลาย พื้นที่แห่งนี้ บ่งชี้ถึงความเก่าแก่ของพื้นที่จากแอ่ง
พลังงาน ผู้ทรงบุกเบิกกิจการพลังงานของไทย ชนิด วิวัฒนาการเหล่านี้เองที่ทำให้เกิด ทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่สู่ยอดเขาสูงในปัจจุบัน
ซึ่งมีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศและส่ง ทรัพยากรธรรมชาติ กลายเป็นแหล่งพลังงานที่
ผลต่อความมั่นคงของไทยการสำรวจและทรงให้ สำคัญของโลกในเวลาต่อมาคือ “ถ่านหิน”

สงวนถ่านหิน ไว้สำหรับใช้ในราชการไทย
เป็นการวางรากฐานด้านพลังงานไทย

จุดเปลี่ยนโลกและวิทยาศาสตร์พื้นฐาน มุ่งสู่อนาคต พลังงานขับเคลื่อนไทย
วิวัฒนาการและการค้นพบไฟฟ้าที่มีมานาน พลังงานไฟฟ้าผลิตโดยเชื้อเพลิงหลาก โรงไฟฟ้าแม่เมาะก่อตั้งบนพื้นที่ซึ่งมีแหล่ง
นับพันปี จากการค้นพบไฟฟ้าสถิตย์สู่การ หลายชนิด ทั้งจากเชื้อเพลิง ฟอสซิล พลังงาน ทรัพยากรถ่านหินที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดใน
นิวเคลียร์ และพลังงานหมุนเวียน โดยใช้ ประเทศไทย มีต้นทุนสำคัญต่อการผลิตกระแส
พัฒนากระแสไฟฟ้า ที่สามารถนำมาใช้ เทคโนโลยีในการผลิตกระแสไฟฟ้าที่แตกต่าง ไฟฟ้าแจกจ่ายสู่ประชาชน การพัฒนา
ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน เพิ่มความสะดวก กัน ขึ้นอยู่กับต้นทุนทางทรัพยากรในแต่ละ เทคโนโลยีตั้งแต่อดีต และมีการพัฒนาอย่าง
สบายในชีวิต และวิทยาศาสตร์พื้นฐานเพื่อ ต่อเนื่อง ตั้งแต่กระบวนการผลิตถ่านหิน ไป
พื้นที่ ซึ่งส่งผลต่อต้นทุน จนถึงกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้า และมาตรา
เรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับไฟฟ้า ในการผลิตกระแสไฟฟ้า จึงมีความจำเป็นต้อง การในการควบคุมและฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม

แม่เมาะ และชุมชนที่อยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืน บริหารจัดการพลังงานเชื้อเพลิง เพื่อสร้าง นิทรรศการกลางแจ้ง
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย แม่เมาะ กับ ความยั่งยืนและเสถียรภาพ ลานแสดงเครื่องจักรหลักที่ใช้ในการทำเหมือง
กิจกรรมต่างๆ ร่วมกันกับชุมชน เพื่อการพัฒนา
ชุมชนโดยรอบ อ.แม่เมาะ โดยคำนึงถึงศักยภาพ ห้องฉายภาพยนต์ 4 มิติ ลานแสดงเครื่องจักรที่ใช้ในการลำเลียง
ทางพื้นที่ อัตลักษณ์ทางประเพณีและวัฒนธรรม นำเสนอเรื่องราวการทำเหมือง การผลิตไฟฟ้า ลานแสดงเครื่องจักรสนับสนุนการทำเหมือง
ควบคู่กับวิถีชีวิตของคนโดยชุมชนในมิติทาง รวมไปถึงการดูแลสภาพสิ่งแวดล้อม ในรูปแบบ ลานแสดงล้อยางของเครื่องจักรขนาดต่างๆ
การ์ตูนแอนนิเมชั่น ผ่านตัวละครเด็กชายชื่อว่า
เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม "ต้น" ซึ่งเป็นเด็กผู้ชายคนหนึ่งที่ไม่ได้สนใจใน
เรื่องของการประหยัดพลังงาน แต่เมื่อเขาได้มา
เที่ยวที่เหมืองแม่เมาะทำให้ความคิดในเรื่องของ

การประหยัดพลังงานได้เปลี่ยนแปลงไป

แหล่งอ้างอิง EGAT LEARNING CENTER. (2565). พิพิธภัณฑ์ศูนย์ถ่านหินลิกไนต์ศึกษา (เหมืองแม่เมาะ)ฯ. สืบค้นเมื่อ 23 มีนาคม 2565, จาก https://www.egat.co.th/learningcenter/maemohmine/
MUSEUM THAILAND. (2562). พิพิธภัณฑ์ศูนย์ถ่านหินลิกไนต์ศึกษา (เหมืองแม่เมาะ). สืบค้นเมื่อ 23 มีนาคม 2565, จาก https://www.museumthailand.com/th/museum/Mae-Moh-Mine-Museum

จัดทำโดย

082 ภัทรชนก
088 วไลณัฐ
090 ศศินา


Click to View FlipBook Version